You are on page 1of 27

รายละเอียดประกอบการประเมินผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหนาที่

ตําแหนงครู
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

นายธัชวุฒิ กงประโคน
ตําแหนง ครู อันดับ คศ.2
วิทยฐานะ ครูชํานาญการ

โรงเรียนอนุบาลชัยภูมิ
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
ดานที่ 1
ดานการจัดการเรียนการสอน
ดานที่ 1 ดานการจัดการเรียนการสอน
ตัวชี้วัดที่ 1.1 การสรางและหรือพัฒนาหลักสูตร

ด้านการจัดการเรียนการสอน หมายถึง การจัดทําหลักสูตรและหรือพัฒนาหลักสูตรเพื่อพัฒนา


ผู้เรียนให้เป็ นคนดี คนเก่ง มีปัญญา มีศกั ยภาพ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพตามมาตรฐานการเรียนรู้
ตัวชีว้ ดั สมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรสถานศึกษา โดยจัดการเรียนรูด้ ว้ ยวิธกี าร
รูปแบบทีห่ ลากหลาย และเหมาะสมเน้นผูเ้ รียนเป็ นสําคัญให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรูด้ ว้ ยวิธกี ารปฏิบตั ิ
ตัวชี้วดั ที่ 1.1 การสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร
การสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร หมายถึง
การจัดทําและหรือพัฒนาหลักสูตรรายวิชาหรือสาระการ
เรียนรู้ท่รี บั ผิดชอบ โดยมีการวิเคราะห์มาตรฐานการ
เรียนรู้และตัวชี้วดั เพื่อจัดทําคําอธิบายรายวิช า หน่ วย
การเรียนรู้ รวมทัง้ มีการประเมินความสอดคล้องกับ
มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั หรือผลการเรียนรู้
ข้อกําหนดระดับคุณภาพ (5) ตัวอย่างเอกสาร ร่องรอย หลักฐาน
1. วิเคราะห์หลักสูตรมาตรฐานการเรียนรู้ และ 1) คําสั ่งแต่งตัง้ เป็ นคณะกรรมการการวิเคราะห์
ตัวชีว้ ดั และหรือผลการเรียนรู้ และนําไปจัดทํา หลักสูตร
รายวิชา และหน่วยการเรียนรูใ้ ห้สอดคล้องกับ 2) แบบรายงานการวิเคราะห์หลักสูตร
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชีว้ ดั และหรือผลการเรียนรู้ 3) เอกสาร คํา อธิบ ายรายวิช า และโครงสร้าง
2. ปรับประยุกต์หลักสูตรรายวิช า และหน่ วยการ รายวิชา
เรียนรู้ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ ให้สอดคล้องกับ 4) ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องรายวิช ากับ
บริบ ทของสถานศึกษา ผู้เรียนท้องถิ่น และสามารถ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชีว้ ดั และผลการเรียนรู้
นําไปปฏิบตั ไิ ด้จริง 5) คํ า สั ง่ แต่ ง ตั ้ง เป็ นคณะกรรมการพั ฒ น า
3. ประเมินผลการใช้หลักสูตรอย่างเป็ นระบบ หลักสูตร กลุ่มสาระการเรียนรู้
และนํ าผลการประเมิน การใช้หลักสูตรมาปรับปรุง 6) บัน ทึก รายงานการประชุ ม คณะกรรมการ
พัฒนาให้มคี ุณภาพสูงขึน้ พัฒนาหลักสูตร กลุ่มสาระการเรียนรู้
4. เป็ นแบบอย่างทีด่ ี เป็ นผูน้ ํา เป็ นพีเ่ ลีย้ ง และ 7) เอกสารหน่วยการเรียนรู้
เป็ นทีป่ รึกษาด้านหลักสูตร 8) เอกสารหลักสูตร
ข้อกําหนดระดับคุณภาพ (5) ตัวอย่างเอกสาร ร่องรอย หลักฐาน
9) คําสั ่งแต่งตัง้ เป็ นคณะกรรมการการประเมินผล
การใช้หลักสูตร
10) เอกสารการปรับ ปรุ ง หลัก สูต ร โดยมีส่ ว น
เชื่อมโยงนําผลการประเมินหลักสูตรมาใช้
11) คําสั ่งแต่งตัง้ คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร
12) รายงานการประชุม คณะกรรมการปรับปรุง
หลักสูตร
13) เอกสารแสดงขัน้ ตอนการประเมินผลการใช้
หลักสูตรอย่างเป็ นระบบ
14) เกียรติบตั ร/วุฒ ิบตั ร/หนัง สือ เชิญ -ขอบคุ ณ /
ภาพถ่าย/ภาพโล่/คําสั ่ง/หรืออื่นๆทีเ่ กีย่ วข้อง
15) หลักฐานการได้รบั มอบหมายให้เป็ นผูด้ แู ล ให้
คําแนะนํา ช่วยเหลือและอํานวยความสะดวกด้าน
หลักสูตร
16) หลัก ฐานที่แ สดงว่า ได้ร ับ การยอมรับ หรือ
ได้รบั การยกย่องในวงวิชาชีพด้านหลักสูตร
17) หลัก ฐานที่แ สดงการให้คํา แนะนํ า ปรึก ษา
และช่วยเหลือครูดา้ นหลักสูตร
18) หลักฐานผลงานเป็ น ที่ประจักษ์และยอมรับ
หรือ ได้ ร ับ การยกย่ อ งในวงวิช าชีพ และสร้า ง
เครือข่ายในการพัฒนาด้านหลักสูตร
ดานที่ 1 ดานการจัดการเรียนการสอน
ตัวชี้วัดที่ 1.2 การจัดการเรียนรู
ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 การออกแบบหนวยการเรียนรู

ตัวชี้วดั ที่ 1.2 การจัดการเรียนรู้


การจัดการเรียนรู้ หมายถึง การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผูเ้ รียนให้มคี วามรู้ ทักษะ คุณลักษณะตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชีว้ ดั สมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยจัดการเรียนรูท้ เ่ี น้นผูเ้ รียน
เป็ นสําคัญ ให้เรียนรูด้ ว้ ยวิธกี ารปฏิบตั ิ ส่งเสริมให้ผเู้ รียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มตาม
ศักยภาพ โดยคํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
ตัวชี้วดั ที่ 1.2.1 การออกแบบหน่ วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่ ว ยการเรีย นรู้ หมายถึง การจัดทํา
และหรือ พัฒ นาหน่ ว ยการเรีย นรู ้ท ี่ส อดคล้อ งกับ คํา อธิบ าย
รายวิช า ธรรมชาติข องสาระการเรีย นรู้ เหมาะสมกับผู้เ รีย น
บริบทของสถานศึกษาและท้องถิน่ มีกจิ กรรมการเรียนรูด้ ว้ ยวิธกี าร
ปฏิบตั ิ (Active Learning) โดยเลือกรูปแบบการจัดการเรียนรู้ สื่อ
นวัตกรรม เทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้ และการวัดและประเมิน ผล
เพื่อ ให้ผู้เ รีย นได้ร ับ การพัฒ นาเต็ม ตามศัก ยภาพ บรรลุ ต าม
มาตรฐานการเรียนรู้ และประเมินผลหน่วยการเรียนรู้
ข้อกําหนดระดับคุณภาพ (5) ตัวอย่างเอกสาร ร่องรอย หลักฐาน
1. ออกแบบหน่ วยการเรี ย นรู้ โดยการปรับ 1) หลักฐานการออกแบบหน่ วยการเรียนรู้โดย
ประยุ ก ต์ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกับบริบทของสถานศึกษา ประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา
ท้องถิน่ และเหมาะสมกับผูเ้ รียน ท้องถิน่ และเหมาะสมกับผูเ้ รียน
2. มีกจิ กรรมการเรียนรูด้ ว้ ยวิธกี ารปฏิบตั ทิ ส่ี อดคล้อง 2) หน่วยการเรียนรูข้ องรายวิชาทีส่ อน
กับธรรมชาติของสาระการเรียนรูอ้ ย่างหลากหลาย 3) เอกสารหน่ ว ยการเรีย นรู้ท่ีม ีกิจ กรรมการ
และสามารถนําไปปฏิบตั ไิ ด้จริง เรียนรูด้ ว้ ยวิธกี ารปฏิบตั ทิ ส่ี อดคล้องกับธรรมชาติ
3. ประเมินผลการใช้หน่ วยการเรียนรู้ และนําผล ของสาระการเรียนรู้
การประเมินมาปรับปรุงพัฒนาให้มคี ุณภาพสูงขึน้
ข้อกําหนดระดับคุณภาพ (5) ตัวอย่างเอกสาร ร่องรอย หลักฐาน
4. เป็ นแบบอย่างทีด่ เี ป็ นผูน้ ํา เป็ นพีเ่ ลีย้ งและเป็ น 4) เอกสารที่แ สดงกิจ กรรมการเรีย นรู้ด้ว ยวิธ ี
ทีป่ รึกษา ด้านการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ปฏิบตั ทิ ่หี ลากหลายและสอดคล้องกับธรรมชาติ
ของสาระการเรียนรู้ตามสภาพจริง โดยคํานึงถึง
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
5) แบบประเมินผลการใช้หน่วยการเรียนรู้
6) หลัก ฐานที่แ สดงถึง การนํ า ผลการประเมิน
หน่วยการเรียนรูม้ าปรับปรุง
7) ห ลั ก ฐ านที่ แ สด งถึ ง การ เป็ นผู้ ดุ แล ให้
คําแนะนํา ช่วยเหลือ และอํานวยความสะดวกแก่
ครูดา้ นการออกแบบการเรียนรู้
8) ห ลั ก ฐ า น ที่ แ ส ด ง ถึ ง ก า ร ร่ ว ม ป รึ ก ษ า
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการออกแบบหน่ วยการ
เรียนรู้
9) หลักฐานที่แสดงว่าได้รบั การยอมรับและยก
ย่องในวิชาชีพด้านการออกแบบหน่วยการเรียนรู้
10) หลักฐานที่แสดงการให้คําปรึกษา แนะนํา
ช่วยเหลือครู ด้านการออกแบบหน่วยการเรียนรู้
11) หลักฐานผลงานเป็ นที่ประจักษ์และยอมรับ
หรือ ได้ ร ับ การยกย่อ งในวงวิช าชีพ และสร้า ง
เครือข่ายในการพัฒ นาด้านการออกแบบหน่ วย
การเรียนรู้
ดานที่ 1 ดานการจัดการเรียนการสอน
ตัวชี้วัดที่ 1.2 การจัดการเรียนรู
ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 จัดทําแผนการจัดการเรียนรู/แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
(IEP)/แผนการสอนรายบุคคล (IIP)/แผนการจัดประสบการณ

ตัวชี้วดั ที่ 1.2 การจัดการเรียนรู้


การจัดการเรียนรู้ หมายถึง การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผูเ้ รียนให้มคี วามรู้ ทักษะ คุณลักษณะตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชีว้ ดั สมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยจัดการเรียนรูท้ เ่ี น้นผูเ้ รียน
เป็ นสําคัญ ให้เรียนรูด้ ว้ ยวิธกี ารปฏิบตั ิ ส่งเสริมให้ผเู้ รียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มตาม
ศักยภาพ โดยคํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
ตัวชี้วดั ที่ 1.2.2 จัดทําแผนการจัดการเรียนรู้/แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)/แผนการ
สอนรายบุคคล (IIP)/แผนการจัดประสบการณ์
จัด ทํา แผนการจัด การเรีย นรู้ หมายถึง การ
กําหนดแนวทางการจัดการเรียนตามหน่ วยการเรียนรู้
เป็ น การเตรีย มการสอนหรือ การกํา หนดกิจ กรรมการ
เรียนรูล้ ่วงหน้าอย่างเป็ นระบบ และเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
จัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
หมายถึง การวิเคราะห์ความต้องการจําเป็ นพิเศษทาง
การศึกษาหรือการบําบัดฟื้ นฟูของแต่ละบุคคล โดยอาศัย
ความร่วมมือจากผูป้ กครอง ครู ผูบ้ ริหาร และสหวิชาชีพ
เพื่อกําหนดแนวทางการจัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับ
ความต้องการจําเป็ นพิเศษของแต่ละบุคคล ตลอดจนกําหนดสื่อ สิง่ อํานวยความสะดวก บริการ และ
ความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษาให้เฉพาะบุคคลอย่างเป็ นระบบ และเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
จัดทําแผนการสอนรายบุคคล (IIP) หมายถึง การกําหนดแนวทางการจัดการเรียนรูห้ รือการบําบัด
ฟื้ นฟู เป็ นการเตรียมการสอนหรือการกําหนดกิจกรรมการเรียนรู้หรือการบําบัดฟื้ นฟูไว้ล่วงหน้าอย่างเป็ น
ระบบ และเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
จัดทําแผนการจัดประสบการณ์ หมายถึง การกําหนดแนวทางการจัดประสบการณ์ เพื่อส่งเสริม
พัฒนาการที่สมดุลทัง้ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ผ่านกิจกรรมการเล่นที่
เหมาะสมกับวัยและความแตกต่างระหว่างบุคคล
ข้อกําหนดระดับคุณภาพ (5) ตัวอย่างเอกสาร ร่องรอย หลักฐาน
1. วิเคราะห์ผเู้ รียนเป็ นรายบุคคล 1) รายงานการวิเคราะห์ผเู้ รียนรายบุคคล
2. จัดทําแผนการจัดการเรีย นรู้ สอดคล้องกับการ 2) แผนการจัดการเรียนรู/้ แผนการจัดการศึกษา
ออกแบบหน่ วยการเรียนรู้ธ รรมชาติของผู้เรียนและ เฉพาะบุ ค คล (IEP)/แผนการสอนรายบุ ค คล
บริบทของสถานศึกษาและท้องถิ่นที่มอี งค์ประกอบ (IIP)/แผนการจัด ประสบการณ์ ท่ีค รบถ้ ว นทุ ก
ครบถ้วนตามรูปแบบที่หน่ วยงานการศึกษาหรือ องค์ประกอบ มีกิจ กรรมการเรียนรู้ด้วยวิธ ีการ
ส่ ว นราชการต้นสังกัดกําหนดและสามารถนํ า ไป ปฏิบตั แิ ละสอดคล้องกับการเรียนรูแ้ ละปฏิบตั จิ ริง
ปฏิบตั ไิ ด้จริง 3) บันทึกหลังสอน
3. มี กิ จกรรมการเรียนรู้ ด้ ว ยวิ ธี ก ารปฏิ บ ั ติ ท่ี 4) หลัก ฐานที่แ สดงถึง การนํ า ผลที่ไ ด้จ ากการ
สร้ า งสรรค์ อ ย่ า งหลากหลายสอดคล้ อ ง กั บ บันทึกการสอนมาพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้
ธรรมชาติของสาระการเรียนรูแ้ ละผูเ้ รียน 5) หลักฐานที่แสดงถึงการเป็ นแบบอย่างที่ดใี น
4. มีบนั ทึกหลังการสอนที่สอดคล้องกับจุดประสงค์การ การจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้
เรีย นรู้และนํ าผลมาปรับประยุกต์แ ผนการจัด การ 6) หลักฐานทีแ่ สดงการให้คาํ แนะนําแก่ครูในการ
เรียนรูใ้ ห้มคี ุณภาพทีส่ งู ขึน้ จัดทําแผนการจัดการเรียนรู้
5. เป็ น แบบอย่างที่ดีเป็ น ผู้นํ า เป็ น พี่เลี้ยง และ 7) หลักฐานที่แสดงถึง การเป็ น พี่เลี้ยงด้านการ
เป็ น ที่ป รึก ษาด้า นการจัด ทํา แผนการจัด การ จั ด ทํ า แผนการจั ด การเรี ย นรู้ ห รื อ แผนจั ด
เรียนรู้ ประสบการณ์ หรือแผนการจัดการศึกษาเฉพาะ
บุคคล(IEP)
8) หลักฐานการเป็ นทีป่ รึกษา แนะนํา ช่วยเหลือ
เพื่อนครูในด้านการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้
หรือ แผนจัด ประสบการณ์ หรือ แผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบุคคล(IEP)
9) หลัก ฐานการแสดงถึ ง การมีผ ลงานเป็ น ที่
ประจัก ษ์ ยอมรับ หรือ ได้ร ับ การยกย่องในวง
วิชาชีพ
10) หลักฐานการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ท าง
วิชาชีพ
ดานที่ 1 ดานการจัดการเรียนการสอน
ตัวชี้วัดที่ 1.2 การจัดการเรียนรู
ตัวชี้วัดที่ 1.2.3 กลยุทธในการจัดการเรียนรู

ตัวชี้วดั ที่ 1.2 การจัดการเรียนรู้


การจัดการเรียนรู้ หมายถึง การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผูเ้ รียนให้มคี วามรู้ ทักษะ คุณลักษณะตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชีว้ ดั สมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยจัดการเรียนรูท้ เ่ี น้นผูเ้ รียน
เป็ นสําคัญ ให้เรียนรู้ด้วยวิธกี ารปฏิบตั ิ ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ
พัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยคํานึงถึง
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
ตัวชี้วดั ที่ 1.2.3 กลยุทธ์ในการจัดการเรียนรู้
กลยุทธ์ในการจัดการเรียนรู้ หมายถึง วิธีการจัดการ
เรียนรู้ท่แี ยบยล โดยใช้เครื่องมือ รูปแบบ เทคนิค และวิธกี ารอย่าง
หลากหลายทีม่ ปี ระสิทธิภาพ บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้
ข้อกําหนดระดับคุณภาพ (5) ตัวอย่างเอกสาร ร่องรอย หลักฐาน
1. จัด การเรีย นรู้โ ดยใช้ รูป แบบ เทคนิ ค และ 1) แผนการจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้รูปแบบ เทคนิค
วิธีการที่เน้ น การปฏิบตั มิ ีความหลากหลาย ใช้ส่อื แ ล ะ วิ ธ ี ก าร ที่ เ น้ น วิ ธ ี ก าร ปฏิ บ ั ติ ท่ี ม ี ค วาม
นวัต กรรม เทคโนโลยี การจั ด การเรี ย นรู้ หลากหลาย
การวัดผลและประเมินผลตามแผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 2) หลัก ฐาน ร่ อ งรอยการใช้ ส่ื อ นวัต กรรม
สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชีว้ ดั หรือผล เทคโนโลยี การจัดการเรียนรู้ การวัดประเมินผล
การเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้และสอดคล้อง ตามแผนการจัด การเรี ย นรู้ ท่ี ส อดคล้ อ งกับ
กับธรรมชาติของผูเ้ รียนและสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั หรือผลการเรียนรู้
2. ประเมินผลการใช้ กลยุทธ์ในการจัดการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรูแ้ ละสอดคล้องกับธรรมชาติ
และนํ าผลการประเมิน มาปรับปรุงให้ม ีคุณ ภาพ ของผูเ้ รียนและสาระการเรียนรู้
สูงขึน้ 3) หลักฐาน ร่องรอยการประเมิน ผลการใช้กล
3. นิเทศการจัดการเรียนรูใ้ นสถานศึกษา ยุท ธ์การจัดการเรียนรู้และนําผลมมาประบปรุง
4.กลยุ ท ธ์ ก ารจัด การเรี ย นรู้ ส ามารถนํ าไป พัฒนา
ใช้ได้ในสถานศึกษาทีม่ บี ริบทใกล้เคียง 4) หลักฐานการนิเทศการจัดการเรียนรู้
5. เป็ นแบบอย่างทีด่ แี ละเป็ นผูน้ ํา
ข้อกําหนดระดับคุณภาพ (5) ตัวอย่างเอกสาร ร่องรอย หลักฐาน
5) หลักฐาน ร่องรอยการเผยแพร่ในสถานศึกษา
ทีม่ บี ริบทใกล้เคียง
6) หลักฐาน ร่องรอยการเป็ น แบบอย่างที่ดีใ น
ด้ า นการยอมรับ หรือ ได้ ร ับ การยกย่อ งในวง
วิชาชีพ
7) หลักฐาน ร่องรอยการมีผลงานเป็ นทีป่ ระจักษ์
เป็ นทีน่ อมรับ หรือได้รบั การยกย่องในวงวิชาชีพ
8) หลักฐานการสร้างเครือข่า ยการเรียนรู้ท าง
วิชาชีพ
9) หลักฐานและร่องรอยอื่นๆเพิม่ เติมทีเ่ กีย่ วข้อง
ดานที่ 1 ดานการจัดการเรียนการสอน
ตัวชี้วัดที่ 1.2 การจัดการเรียนรู
ตัวชี้วัดที่ 1.2.4 คุณภาพผูเรียน

ตัวชี้วดั ที่ 1.2 การจัดการเรียนรู้


การจัดการเรียนรู้ หมายถึง การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผูเ้ รียนให้มคี วามรู้ ทักษะ คุณลักษณะตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชีว้ ดั สมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยจัดการเรียนรูท้ เ่ี น้นผูเ้ รียน
เป็ นสําคัญ ให้เรียนรูด้ ว้ ยวิธกี ารปฏิบตั ิ ส่งเสริมให้ผเู้ รียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มตาม
ศักยภาพ โดยคํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
ตัวชี้วดั ที่ 1.2.4 คุณภาพผู้เรียน
คุณภาพผู้เรียน หมายถึง ผลการ
จัดกิจ กรรมการเรี ย นรู้ ท่ี ทํ าให้ ผู้ เ รี ย นมี
ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ ตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ และตัวชี้วดั ของสาระการเรียนรู้
มีสมรรถนะที่สําคัญ และคุณ ลักษณะอัน
พึงประสงค์ตามหลักสูตร
ข้อกําหนดระดับคุณภาพ (5) ตัวอย่างเอกสาร ร่องรอย หลักฐาน
จํานวนผูเ้ รียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 มีผลการพัฒนา 1) หลัก ฐานแสดงผลการเรีย นของนั ก เรี ย น
คุณ ภาพเป็ น ไปตามค่าเป้ าหมายที่ส ถานศึกษา รายวิช า/กลุ่ ม สาระการเรีย นรู้ ที่ ข อรับ การ
กําหนด ประเมิน มีแนวทางดังนี้
ตรวจสอบข้อมูล ทีแ่ สดงถึงจํานวนผูเ้ รียนไม่น้อย
กว่าร้อยละ 75 มีผ ลการพัฒนาคุณภาพเป็ นไป
ตามค่าเป้ าหมายทีส่ ถานศึกษากําหนด
ด้าน จํ า นวน จํ า น ว น คิ ด
นักเรียน นั ก เรี ย น เ ป็ น
(คน) ที่ ผ่ า นค่ า ร้ อ ย
เป้ าหมาย ละ
(คน)
ผลสัมฤทธิ ์
อ่ า น คิ ด
วิ เ ค ร าะ ห์
เขียน
คุณลักษณะ
อั น พึ ง
ประสงค์
รวมเฉลีย่
ดานที่ 1 ดานการจัดการเรียนการสอน
ตัวชี้วัดที่ 1.3 การสรางและการพัฒนา สื่อ นวัตกรรม
เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหลงเรียนรู

ตัวชี้วดั ที่ 1.3 การสร้างและการพัฒนา สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหล่งเรียนรู้


การสร้ า งและการพัฒ นา สื่ อ นวัต กรรม เทคโนโลยี
ทางการศึกษา และแหล่งเรียนรู้ หมายถึง การเลือก การคัดสรร
ใช้ สร้างและพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และ
แหล่งเรียนรู้ เพื่อนําไปใช้ในการจัดการเรียนรูท้ ่เี หมาะสมกับผู้เรียน
สอดคล้ อ งกับ เนื้ อ หาสาระ มาตรฐานการเรีย นรู้ ตัว ชี้ว ัด และ
จุดประสงค์การเรียนรู้
ข้อกําหนดระดับคุณภาพ (5) ตัวอย่างเอกสาร ร่องรอย หลักฐาน
1. สร้ า งและพัฒ นาสื่อ นวัต กรรม เทคโนโลยี 1) สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษาและ
ทางการศึกษาและแหล่งเรียนรู้ นําไปใช้ในการจัดการ แหล่งเรียนรู้
เรียนรู้ เหมาะสมกับผูเ้ รียน สอดคล้องกับเนื้อหาสาระ 2) บันทึกการใช้ส่อื
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั หรือผลการเรียนรูแ้ ละ 3) แผนการจัดการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ 4) แบบประเมินการใช้ส่อื นวัตกรรม เทคโนโลยี
2. ประเมินผลการใช้ส่ ือนวัต กรรม เทคโนโลยี ทางการศึกษา และแหล่งเรียนรู้
ทางการศึกษา และแหล่ง เรียนรู้ และนํ าผลการ 5) หลักฐานการนํ าผลมาปรับ ปรุง พัฒ นาให้ม ี
ประเมินไปปรับปรุงพัฒนาให้มคี ุณภาพสูงขึน้ คุณภาพสูงขึน้
3. สามารถนํ า สื่อ นวัต กรรม เทคโนโลยีทางการ 6) หลัก ฐานการเผยแพร่ หรือ แบบตอบรับสื่อ
ศึ ก ษา และแหล่ งเรี ยนรู้ ไปปรั บประยุ กต์ ใช้ ใ น นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหล่ง
สถานศึกษาทีม่ บี ริบทใกล้เคียง เรียนรู้
4. เป็ นแบบอย่างทีด่ เี ป็ นผูน้ ํา 7) หลักฐาน ร่องรอยการเป็ นทีย่ อมรับ หรือได้รบั
การยกย่องในวงวิชาชีพ
8) หลักฐาน ร่องรอยการมีผลงานเป็ นทีป่ ระจักษ์
เป็ นทีย่ อมรับ หรือได้รบั การยกย่องในวงวิชาชีพ
9) หลัก ฐานการสร้า งเครือ ข่า ย การสร้า งสื่อ/
พัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา
ข้อกําหนดระดับคุณภาพ (5) ตัวอย่างเอกสาร ร่องรอย หลักฐาน
และแหล่ ง เรีย นรู้ ใ นการพัฒ นาคุ ณ ภาพทาง
การศึกษา
10) หลั ก ฐานและร่ อ งรอยอื่ น ๆเพิ่ ม เติ ม ที่
เกีย่ วข้อง
ดานที่ 1 ดานการจัดการเรียนการสอน
ตัวชี้วัดที่ 1.4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ตัวชี้วดั ที่ 1.4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้


การวั ด และประเมิ นผลการเรี ย นรู้ หมายถึ ง
กระบวนการทีไ่ ด้มาซึ่งข้อมูลสารสนเทศทีเ่ ป็ นผลจากการจัดการ
เรียนรู้ เพื่อปรับปรุง พัฒนา ตัดสินผลการเรียนรู้ ความก้าวหน้า
และพัฒนาการ ของผู้เรียน ที่สะท้อนระดับคุณภาพของ
ผูเ้ รียน โดยใช้วธิ กี าร เครื่องมือวัดและประเมินผลทีห่ ลากหลาย
เหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั และ
จุดประสงค์การเรียนรู้
ข้อกําหนดระดับคุณภาพ (5) ตัวอย่างเอกสาร ร่องรอย หลักฐาน
1. สร้างและพัฒ นาเครื่องมือวัดและประเมินผลที่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้
หลากหลายเหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐานการ 2) หลัก ฐาน ร่ อ งรอยการสร้ า งและพัฒ นา
เรียนรู้ ตัวชี้วดั และหรือผลการเรียนรู้ และจุดประสงค์ เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช่ ใ นการวัด และประเมิ น ผลที่
การเรียนรู้ หลากหลาย เหมาะสม
2. มีการประเมินตามสภาพจริง 3) หลักฐาน ร่องรอยการประเมิน ตามสภาพ
3. มีการประเมิน คุณภาพของเครื่องมือ วัดและ จริง
ประเมิน ผลการเรีย นรู้ และนํ า ผลการประเมิน 4) หลักฐาน ร่องรอยการตรวจสอบคุ ณ ภาพ
คุณภาพของเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ของเครื่องมือและประเมินผล
ไปปรับปรุงพัฒนาให้มคี ุณภาพสูงขึน้ 5) หลัก ฐาน ร่ อ งรอยการนํ า ผลการประเมิน
4. เป็ นแบบอย่างที่ดเี ป็ นผู้นํา เป็ นพี่เลี้ยงและให้ คุณภาพ เครื่องมือมาปรับปรุง
คําปรึกษาด้านการวัดและประเมินผล 6) หลักฐาน ร่องรอยการให้คาํ แนะนําด้านการ
วัดและประเมินผล
7) มีหลักฐาน ร่องรอยการเป็ นแบบอย่างที่ดใี น
การวัด และประเมิน ผลการเรีย นรู้ จนเป็ นที่
ยอมรับหรือได้รบั การยกย่องในวงวิชาชีพ
ข้อกําหนดระดับคุณภาพ (5) ตัวอย่างเอกสาร ร่องรอย หลักฐาน
8) หลักฐานร่องรอยการเป็ นพี่เลีย้ งหคําแนะนํา
ช่วยเหลือ อํานวยความสะดวกแกครู ด้านการวัด
และประเมินผลการเรียนรู้
9) หลักฐาน ร่องรอยการให้คาํ ปรึกษาด้านการ
วัดและประเมินผลการเรียนรู้
10) หลัก ฐาน ร่ อ งรอยการมี ผ ลงาน/เป็ นที่
ประจักษ์เป็ นทีย่ อมรับหรือได้รบั การยกย่องในวง
วิชาชีพ
11) หลักฐาน ร่องรอยการสร้างเครือข่ายด้า น
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ใ นการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา
ดานที่ 1 ดานการจัดการเรียนการสอน
ตัวชี้วัดที่ 1.5 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู

ตัวชี้วดั ที่ 1.5 การวิ จยั เพื่อพัฒนาการเรียนรู้


การ วิ จั ย เ พื่ อ พั ฒ นาการ เ รี ย น รู้
ห ม ายถึ ง ก ร ะ บ วน ก าร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห าห รื อ
พัฒนาการจัดการเรียนรู้อย่างเป็ นระบบที่ส่ง ผล
ต่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพผู้ เ รี ย นได้ เ ต็ ม ตาม
ศักยภาพ

ข้อกําหนดระดับคุณภาพ (5) ตัวอย่างเอกสาร ร่องรอย หลักฐาน


1. ใช้กระบวนการวิจยั หรือดําเนินการวิจยั ในการ 1) รายงานผลการวิจยั หรือดําเนินการวิจยั ใน
สร้างองค์ความรูใ้ หม่เพื่อแก้ปัญหาและหรือ การสร้า องค์ค วามรู้ใ หม่ โดยวิธีก ารที่ถู ก ต้อง
พัฒนาการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน โดยใช้วธิ กี ารทีถ่ ูกต้อง เหมาะสมกับ สภาพปั ญ หาและความต้อ งการ
และเหมาะสมกับสภาพปัญหาและความต้องการ จําเป็ น
จําเป็ น 2) หลักฐาน ร่องรอยการนํ าผลการแก้ปัญหา
2. นํ าผลการแก้ปัญหาหรือการพัฒ นาการเรียนรู้ หรื อ การพัฒ นาการเรี ย นรู้ ข องผู้ เ รีย น หรื อ
ของผูเ้ รียนหรือผลการวิจยั ไปใช้ ผลการวิจยั ไปใช้
3 . เ ป็ น ผู้ นํ า แ ล ะ ใ ห้ คํ า แ น ะ นํ า ใ น ก า ร ใ ช้ 3) หลักฐาน ร่องรอยที่แสดงถึง การเป็ น ผู้นํ า
กระบวนการวิจ ยั หรือดําเนิน การวิจ ยั ในการสร้าง หรือให้คาํ แนะนํา
องค์ความรู้ใหม่เพื่อแก้ปัญ หาและหรือพัฒ นาการ 4) หลักฐาน ร่องรอยการสร้างเครือข่ายในด้าน
เรียนรูข้ องผูเ้ รียน การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ดานที่ 2
ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน
ดานที่ 2 ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ 2.1 การบริหารจัดการชั้นเรียน

ด้านที่ 2 ด้านการบริ หารจัดการชัน้ เรียน


ด้ า นการบริ ห ารจัด การชัน้ เรี ย น หมายถึง การจัด กิจ กรรมสิ่ง อํา นวยความสะดวก จัด
บรรยากาศ สภาพแวดล้อม ทีส่ ่งเสริม สนับสนุน และช่วยเหลือผูเ้ รียนให้เกิดการเรียนรู้ อย่างมีความสุข
และเป็ นผูเ้ สริมแรง ชีแ้ นะแนวทางให้ผเู้ รียนศึกษาแสวงหาความรู้ คิดวิเคราะห์ ปฏิบตั ิ และค้นพบคําตอบ
ด้วยตนเอง
ตัวชี้วดั ที่ 2.1 การบริ หารจัดการชัน้ เรียน
การบริ หารจัดการชัน้ เรียน หมายถึง
การจัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศในชัน้ เรียนที่
ส่งเสริมและเอือ้ ต่อการเรียนรู้ กระตุน้ ความสนใจ
ใฝ่ รู้ ใฝ่ ศึกษา อบรมบ่มนิสยั ตลอดจนส่งเสริม
ให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวติ ทักษะ
การทํางาน มีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ ค่านิยมที่ดีงาม ปลูกฝั งความเป็ น
ประชาธิปไตยอันมี พระมหากษั ตริย์ ทรงเป็ น
ประมุข สร้างแรงบัน ดาลใจ และเสริม แรงให้
ผูเ้ รียนมีความมั ่นใจในการพัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพ มีความปลอดภัยและมีความสุข
ข้อกําหนดระดับคุณภาพ (5) ตัวอย่างเอกสาร ร่องรอย หลักฐาน
1. ผู้ เ รี ย นและผู้ ท่ี เ กี่ย วข้ อ งมี ส่ ว นร่ ว มอย่ า ง 1) หลักฐาน ร่องรอยที่ผู้เรียนและผูเ้ กี่ยวข้องมี
สร้างสรรค์ในการจัดสภาพแวดล้อมบรรยากาศที่ ส่ ว น ร่ ว ม อ ย่ า ง ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ใ น ก า ร จั ด
เอือ้ ต่อการเรียนรู้ มีความปลอดภัยและมีความสุข สภาพแวดล้อม บรรยากาศทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรู้ มี
2. ส่งเสริมให้ผเู้ รียนเกิดกระบวนการคิดมีทกั ษะ ความปลอดภัย และมีความสุข
ชีวติ และทักษะการทํางาน
ข้อกําหนดระดับคุณภาพ (5) ตัวอย่างเอกสาร ร่องรอย หลักฐาน
3. อบรมบ่ม นิส ยั ให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม 2) หลักฐาน ร่องรอยการส่งเสริมให้ผเู้ รียนเกิด
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค่านิยมทีด่ งี าม ปลูกฝั ง กระบวนการคิด มีท ัก ษะชีว ิต และทัก ษะการ
ความเป็ นประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทํางาน
ทรงเป็ นประมุข 3) หลัก ฐาน ร่ อ งรอยการอบรมบ่ ม นิ ส ัย ให้
4. เสริมแรงให้ผู้เรียนมีความมั ่นใจในการพัฒนา ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึง
ตนเองเต็มตามศักยภาพเกิดแรงบันดาลใจ ประสงค์ ค่ า นิ ย มที่ ดี ง ามปลู ก ฝั งความเป็ น
5.เป็ น แบบอย่า งที่ดีด้า นการบริห ารจัดการชัน้ ประชาธิป ไตยอัน มีพ ระมหากษัต ริย์ท รงเป็ น
เรียน ประมุข
4) แฟ้ มเอกสาร หลักฐานการบริหารจัดการชัน้
เรียน และแหล่งเรียนรูโ้ ดยผูเ้ รียนมีส่วนร่วม
5) แบบบันทึกการใช้หอ้ ง
6) หลักฐาน ร่องรอยการเสริมแรงให้ผเู้ รียน
7) ห ลั ก ฐ าน ที่ แ ส ด ง ผู้ เ รี ย น แ ล ะ ผู้ ม ี ส่ ว น
เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ ในการจัด
สภาพแวดล้อมและบรรยากาศ ผู้เรียนเกิดแรง
บันดาลใจ
8) หลักฐาน ร่องรอยการบริหารจัดการชัน้ เรียน
ทีเ่ ป็ นแบบอย่างทีด่ ี เช่น ภาพกิจกรรม รางวัล โล่
วุฒบิ ตั ร เกียรติบตั ร เป็ นต้น
ดานที่ 2 ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ 2.2 การจัดระบบดูแลชวยเหลือผูเรียน

ด้านที่ 2 ด้านการบริ หารจัดการชัน้ เรียน


ด้ านการบริ หารจัด การชั ้น เรี ย น
หมายถึง การจัดกิจกรรมสิง่ อํานวยความสะดวก
จั ด บรรยากาศ สภาพแวดล้ อ ม ที่ ส่ ง เสริ ม
สนับสนุ น และช่วยเหลือผูเ้ รียนให้เกิดการเรียนรู้
อย่างมีความสุข และเป็ นผูเ้ สริมแรง ชี้แนะแนวทางให้ผเู้ รียนศึกษาแสวงหาความรู้ คิดวิเคราะห์ ปฏิบตั ิ
และค้นพบคําตอบด้วยตนเอง
ตัวชี้วดั ที่ 2.2 การจัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน
การจัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน หมายถึง การดําเนินการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนอย่างเป็ น
ระบบ โดยการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดทําและใช้สารสนเทศของผูเ้ รียน จัดทําโครงการ
และกิจ กรรมเชิง สร้างสรรค์ด้วยวิธ ีการที่หลากหลาย เพื่อส่ง เสริม ป้ องกัน และแก้ปัญ หาของผู้เรียน
รายบุคคล
ข้อกําหนดระดับคุณภาพ (5) ตัวอย่างเอกสาร ร่องรอย หลักฐาน
1. รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดทําและ 1) หลัก ฐาน ร่ อ งรอยระบบดู แ ลช่ ว ยเหลื อ
ใช้สารสนเทศของผู้เรียนในระบบดูแลช่ ว ยเหลือ นักเรียน
ผูเ้ รียน 2) หลัก ฐาน ร่ อ งรอยโครงการและการจัด
2. มีโ ครงการและจัด กิจ กรรมเชิงสร้างสรรค์ด้วย กิจกรรมเชิงสร้างสรรค์
วิธกี ารทีห่ ลากหลายในการดูแลช่วยเหลือผูเ้ รียน 3) หลักฐาน ร่องรอยโครงการส่งเสริม ป้ องกัน
3. ส่งเสริม ป้ องกันและแก้ปัญหาผูเ้ รียนอย่างเป็ น และแก้ไขปัญหาผูเ้ รียนอย่างเป็ นระบบ
ระบบ 4) มีหลักฐาน ร่องรอยการเผยแพร่ระบบดูแล
4. นํ า ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นสถานศึก ษาที่ม ี บ ริบ ท ช่วยเหลือนักเรียน
ใกล้เคียง 5) มี ห ลั ก ฐาน ร่ อ งรอยการจั ด ระบบดู แ ล
5. เป็ นแบบอย่างทีด่ แี ละเป็ นผูน้ ํา ช่วยเหลือนักเรียนจนเป็ นทีย่ อมรับ
6) มีหลักฐาน ร่องรอยการสร้างเครือข่ายระบบ
ดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ดานที่ 2 ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ 2.3 การจัดทําขอมูลสารสนเทศ และเอกสาร
ประจําชั้นเรียนหรือประจําวิชา

ด้านที่ 2 ด้านการบริ หารจัดการชัน้ เรียน


ด้านการบริ หารจัดการชัน้ เรีย น หมายถึง การจัดกิจ กรรมสิ่งอํานวย
ความสะดวก จัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม ที่ส่งเสริม สนับสนุ น และช่วยเหลือ
ผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ อย่างมีความสุข และเป็ นผู้เสริมแรง ชี้แนะแนวทางให้
ผูเ้ รียนศึกษาแสวงหาความรู้ คิดวิเคราะห์ ปฏิบตั ิ และค้นพบคําตอบด้วยตนเอง
ตัวชี้วดั ที่ 2.3 การจัดทําข้อมูลสารสนเทศ และเอกสารประจําชัน้ เรียนหรือประจําวิ ชา
การจัดทําข้อมูลสารสนเทศ และเอกสารประจําชัน้ เรียนหรือประจําวิ ช า หมายถึง การ
ดําเนินการรวบรวมข้อมูลของผู้เรียนในทุกด้านที่ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างเป็ นระบบมีความ
ถูกต้องและเป็ นปัจจุบนั เพื่อเป็ นสารสนเทศในการเสริมสร้างและพัฒนาผูเ้ รียนประจําชัน้ หรือประจําวิช า
ทีร่ บั ผิดชอบ
ข้อกําหนดระดับคุณภาพ (5) ตัวอย่างเอกสาร ร่องรอย หลักฐาน
1. จัดทําข้อมูลสารสนเทศและเอกสารประจําชัน้ เรียน 1) ข้อมูลสารสนเทศ
หรือประจําวิชาอย่างเป็ นระบบ ถูกต้องและเป็ นปัจจุบนั 2) เอกสารประจําชัน้ เรียนหรือประจําวิชา
2. ใช้ส ารสนเทศในการเสริม สร้า งและพัฒ นา 3) หลักฐาน ร่องรอยการใช้ส ารสนเทศในการ
ผูเ้ รียน เสริมสร้างและพัฒนาผูเ้ รียนอย่างเป็ นระบบ
3. ให้คํา ปรึก ษาแก่ ค รูใ นสถานศึก ษาด้า นการ 4) หลักฐาน ร่องรอยการให้คําปรึกษาแก่ครูใน
จัดทําข้อมูลสารสนเทศ สถานศึกษา ด้านการจัดทําข้อมูลสารสนเทศ
4. เป็ นแบบอย่างทีด่ แี ละเป็ นผูน้ ํา 5) มี ห ลั ก ฐ า น ร่ อ ง ร อ ย ก า ร จั ด ทํ า ข้ อ มู ล
สารสนเทศ และเอกสารประจํา ชัน้ เรีย นหรือ
ประจําวิช า จนเป็ น ที่ยอมรับ หรือได้ร บั การยก
ย่องในวงวิชาชีพ
6) มีห ลัก ฐานการสร้ า งเครือ ข่ า ย ด้ า นข้อ มูล
สารสนเทศและเอกสารประจํ า ชัน้ เรีย นหรือ
ประจําวิชา
ดานที่ 3
ดานการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ
ดานที่ 3 ดานการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ
ตัวชี้วัดที่ 3.1 การพัฒนาตนเอง

ด้านที่ 3 ด้านการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิ ชาชีพ


ด้านการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิ ชาชีพ หมายถึง กระบวนการพัฒนาสมรรถนะและวิชาชีพครู โดย
มีแผนการพัฒนาตนเอง และดําเนิ นการพัฒนาตนเองตามแผนอย่างเป็ นระบบสอดคล้อ งกับ สภาพการ
ปฏิบตั งิ านความต้องการจําเป็ น องค์ความรูใ้ หม่ นโยบาย แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานการศึกษาหรือส่วน
ราชการต้นสังกัด มีการแลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ่วมกันในระดับสถานศึกษา หรือระดับเครือข่าย หรือระดับชาติ
และแสดงบทบาทในชุม ชนการเรียนรู้ทางวิช าชีพ (Professional Learning Community : PLC) ด้วย
ความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร ที่มวี สิ ยั ทัศน์ คุณค่า เป้ าหมายและภารกิจร่วมกัน ซึง่ ส่งผลต่อคุณภาพ
ผู้เรียน เพื่อให้เกิดเป็ นวัฒนธรรมองค์กร และสร้างนวัตกรรมจากการเข้าร่วมในชุมชนการเรียนรู้ท าง
วิชาชีพ
ตัวชี้วดั ที่ 3.1 การพัฒนาตนเอง
การพัฒนาตนเอง หมายถึง กระบวนการพัฒนา
สมรรถนะของครูรายบุคคล โดยมีแผนการพัฒนาตนเอง
และดําเนิ น การตามแผนอย่ างเป็ น ระบบและต่ อเนื่อง
สอดคล้องกับสภาพ การปฏิบตั งิ าน ความต้องการจําเป็น
องค์ความรูใ้ หม่ หรือตามนโยบาย หรือแผนกลยุทธ์ของ
หน่ วยงานการศึกษาหรือส่วนราชการต้นสังกัด โดยนํา
ความรู้ ความสามารถ ทักษะ ทีไ่ ด้จากการพัฒนาตนเอง
มาพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรูท้ ส่ี ่งผลต่อคุณภาพผูเ้ รียน
ข้อกําหนดระดับคุณภาพ (5) ตัวอย่างเอกสาร ร่องรอย หลักฐาน
1. จัดทําแผนพัฒนาตนเอง ทีส่ อดคล้องกับสภาพการ 1) แผนพัฒนาตนเอง
ปฏิบตั งิ านความต้องการจําเป็ นหรือตามแผนกล 2) หลักฐานการพัฒนาตนเอง ตามแผนพัฒนา
ยุท ธ์ของหน่ วยงานการศึกษา หรือส่วนราชการต้น ตนเอง
สังกัด 3) ห ลั ก ฐ า น ร่ อ ง ร อ ย ก า ร นํ า ค ว า ม รู้
2. พัฒนาตนเองตามแผน ความสามารถและทักษะมาพัฒนา นวัตกรรมการ
3. นําความรู้ ความสามารถ เรียนรูท้ เ่ี กิดจากการพัฒนาตนเอง
และทักษะที่ไ ด้จ ากการพัฒ นาตนเองมาพัฒ นา 4) หลักฐาน ร่องรอยการสร้างองค์ความรูใ้ หม่
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ท่สี ่งผลต่อคุณ ภาพ 5) หลักฐาน ร่องรอยการเป็ นทีย่ อมรับ หรือได้รบั
ผูเ้ รียน การยกย่องในวงวิชาชีพ
4. สร้างองค์ความรูใ้ หม่ทไ่ี ด้จากการพัฒนาตนเอง 6) หลักฐาน ร่องรอยการสร้างเครือข่าย ในด้าน
5. เป็ นแบบอย่างทีด่ ี และเป็ นผูน้ ํา การพัฒนาตนเอง
ดานที่ 3 ดานการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ
ตัวชี้วัดที่ 3.2 การพัฒนาวิชาชีพ

ด้านที่ 3 ด้านการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิ ชาชีพ


ด้านการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิ ชาชีพ หมายถึง กระบวนการพัฒนาสมรรถนะและวิชาชีพครู โดย
มีแผนการพัฒนาตนเอง และดําเนิ นการพัฒนาตนเองตามแผนอย่างเป็ นระบบสอดคล้อ งกับ สภาพการ
ปฏิบตั งิ านความต้องการจําเป็ น องค์ความรูใ้ หม่ นโยบาย แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานการศึกษาหรือส่วน
ราชการต้นสังกัด มีการแลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ่วมกันในระดับสถานศึกษา หรือระดับเครือข่าย หรือระดับชาติ
และแสดงบทบาทในชุม ชนการเรียนรู้ทางวิช าชีพ (Professional Learning Community : PLC) ด้วย
ความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร ที่มวี สิ ยั ทัศน์ คุณค่า เป้ าหมายและภารกิจร่วมกัน ซึง่ ส่งผลต่อคุณภาพ
ผู้เรียน เพื่อให้เกิดเป็ นวัฒนธรรมองค์กร และสร้างนวัตกรรมจากการเข้าร่วมในชุมชนการเรียนรู้ท าง
วิชาชีพ
ตัวชี้วดั ที่ 3.2 การพัฒนาวิ ชาชีพ
ก า ร พั ฒ น า วิ ช า ชี พ ห ม า ย ถึ ง
กระบวนการพัฒนาวิช าชีพครู โดยการมีส่วนร่วม
แลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ่วมกันในระดับสถานศึกษา หรือ
ระดับเครือข่าย หรือระดับชาติ และแสดงบทบาท
ในชุ ม ชนการเรี ย นรู้ ท างวิ ช าชี พ (Professional
Learning Community : PLC) ด้ ว ยความสั ม พั น ธ์
แบบกัลยาณมิตร มีวสิ ยั ทัศน์ คุณค่า เป้ าหมายและภารกิจร่วมกัน เพื่อให้เกิดเป็ นวัฒนธรรมองค์กร และ
สร้างนวัตกรรมจากการเข้าร่วมในชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพ โดยนําความรู้ ความสามารถ ทักษะ ทีไ่ ด้
จากการพัฒนาวิชาชีพมาพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรูท้ ส่ี ่งผล ต่อคุณภาพผูเ้ รียน
ข้อกําหนดระดับคุณภาพ (5) ตัวอย่างเอกสาร ร่องรอย หลักฐาน
1. เข้าร่วมชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพ 1) การบันทึกกิจกรรม PLC
2. นําองค์ความรู้ท่ไี ด้จากการเข้าร่วมชุมชนการ 2) คําสั ่งแต่งตัง้ ของโรงเรียน กิจกรรมชุมชนการ
เรียนรูท้ างวิชาชีพไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน เรียนรูท้ างวิชาชีพ
3. สร้างนวัตกรรมที่ได้จากการเข้าร่วมในชุม ชน 3) หลักฐาน ร่องรอย ภาพถ่าย
การเรียนรูท้ างวิชาชีพ 4) หลักฐาน ร่องรอยการนําองค์ความรู้ PLC ไป
4. สร้างเครือข่ายชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพ ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
5. สร้างวัฒนธรรมทางการเรียนรูใ้ นสถานศึกษา 5) นวัตกรรมทีเ่ กิดจาก PLC
6. เป็ นผูน้ ําการเปลีย่ นแปลงทีส่ ่งผลต่อวงวิชาชีพ 6) หลักฐาน ร่องรอยการสร้างเครือข่าย PLC
7. เป็ นแบบอย่างทีด่ แี ละเป็ นผูน้ ํา 7) หลักฐาน ร่องรอยการนํา PLC มาใช้ในองค์กร
จนเกิดเป็ นวัฒนธรรม
8) หลัก ฐาน ร่ อ งรอยผลงานที่เ ป็ น ที่ป ระจักษ์
เป็ นที่ยอมรับหรือได้รบั การยกย่องในวงวิชาชีพ
ด้าน PLC
9) หลักฐาน ร่องรอยรางวัลเกียรติบตั รและอื่นๆ
10) หลักฐาน ร่องรอยการเป็ นวิทยากร เป็ น
แกนนํ า การเผยแพร่ การนํ า เสนอ การจัด
นิทรรศการ เป็ นต้น

You might also like