You are on page 1of 112

คูมือการสรางเว็บไซตสําเร็จรูปดวยโปรแกรม

Joomla!

การจัดการความรู (Knowledge Management)


คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ
คูมือการติดตั้งและใชงาน Joomla!
คูมือการติดตั้งและใชงาน Joomla CMS เลมนี้ นํามาจาก www.joomlathaiclub.com เพื่อใช
เปน คูมือสําหรับผูเขาอบรมการสรางเว็บไซตสําเร็จ รูปดวยโปรแกรม Joomla เนื้อหาภายในเลมแนะนํา
ขั้นตอนติดตั้งและใชงาน joomla ดวยเครื่องมือที่มีอยูภายในตัว joomla การเตรียมความพรอมกอนลงมือ
ปฏิบัติจริง ศึกษาและเขาใจเครื่องมือตาง ๆ ของ joomla ซึ่งมีรูปภาพประกอบ ทําความเขาใจแลวปฏิบัติตาม
หวั ง เป น อย า งยิ่ ง ว า เอกสารฉบั บ นี้ จ ะเป น ประโยชน แ ก ผู ที่ ส นใจศึ ก ษาการทํ า เว็ บ ไซต ด ว ย
joomlaCMS ผูจัดทํามิไดหวังผลทางการคา แตอยางใด และไมสงวนลิขสิทธิ์ สําหรับขอความ รูปประกอบ
ในทุกสวนของเอกสารฉบับนี้ หากผูใดตองการนําไปเผยแพรตอ ก็สามารถทําได แตขอใหระบุแหลงที่มา
ของเอกสาร

www.joomlathaiclub.com
สารบัญ
ความหมายของ Content Management System (CMS)………………………… …………..……….…….…… ………..4
การติดตั้ง Web Server จําลอง .............................................................................................................................................7
การติดตั้ง AppServ 2.5.10 ……………………………………………………………………………………….……….. 7
เริ่มทําการติดตั้งและใชงาน ...................................................................................................................................27
การเขา – ออกระบบ ผูดูแลระบบ ...............................................................................................................................37
บทบาทหนาที่ของ User Group Access levels for joomla …………………………………………………………… 40
การสรางหมวดหมูไวเก็บเนื้อหาเว็บไซตใน joomla 1.5 …………………………………………………………….. 41
การสรางบทความ (article) …………………………………………………………………………………... 45
การใสรูปภาพลงในบทความ ........................................................................................................................................... 47
การใชงาน menu manager ……………………………………………………………………………………………… 52
การสรางเมนูใหม ………………………………………………………………………………………………………...56
Trash manager ………………………………………………………………………………………………………… 57
User Manager ………………………………………………………………………………………………… 58
สรางปายโฆษณา (banner) …………………………………………………………………………………………….. 59
การสรางแบนเนอรโดยใช Banner Code ……………………………………………………………………………… 61
การสรางรายชื่อผูติดตอ Contact ……………………………………………………………………………….. 62
News Feed Manager …………………………………………………………………………………………………….65
Search component ……………………………………………………………………………………………………72
Web Link Manager ………………………………………………………………………………………………….. 73
Media Manager ……………………………………………………………………………………………………… 76
การติดตั้ง Extensions ของ joomla ………………………………………………………………………………..…… 78
การถอนการติดตั้ง Extensions ของ joomla (Uninstall) ………………………………………………………..……..79
การสรางโมดูลใหม (ตัวอยางการสรางโมดูลคนหา (Search)) ……………………………………………….……… 80
Mass Mail ………………………………………………………………………………………………………… 81
Clean Cache ……………………………………………………………………………………………….…...………. 82
Purge Expired Cache …………………………………………………………………………………………….…...83
Syatem Information …………………………………………………………………………………………….…... 83
เกร็ดความรูเล็ก ๆ นอย ๆ ………………………………………………………………………………………… 104
ขั้นตอนในการ Upgrade Joomla ………………………………………………………………………………………. 104
วิธีการเพิ่มความเร็ว - เพิ่มประสิทธิภาพ Joomla ………………………………………………………………… 107
การใชงาน system legacy ……………………………………………………………………………………………109
การปดเว็บไซตชั่วคราวออฟไลท ………………………………………………………………………………… . 110
ทําให url joomla 1.5 เปน search engine friendly ……………………………………………………………………. 111
มาเปลี่ยน favicon ให joomla กันเถอะ ………………………………………………….………………………. 112
Upload joomla ที่ทําเสร็จจากเครื่องขึ้น hosting………………………………………………………………….. 114
การใชงาน phpmyadmin เบื้องตน ………………………………………………………………………………..... 119
การใชงาน filezilla FTP manager ………………………………………………………………………………... 124
คูมือการติดตั้งและใชงาน Joomla

ความหมายของ Content Management System (CMS)


ระบบการจัดการเนื้อหาของเว็บไซต(Content Management System : CMS) คือ ระบบที่พัฒนา
คิดคนขึ้นมาเพื่อชวยลดทรัพยากรในการพัฒนา(Development) และบริหาร(Management)เว็บไซต ไมวาจะ
เป น เรื่ อ งของกํ า ลั ง คน ระยะเวลา และเงิ น ทอง ที่ ใ ช ใ นการสร า งและควบคุ ม ดู แ ลเว็ บ ไซต
โดยสวนใหญแลว มักจะนําเอา ภาษาสคริปต(Script languages) ตางๆมาใช เพื่อใหวิธีการทํางานเปนแบบ
อัตโนมัติ ไมวาจะเปน PHP, Perl, ASP, Python หรือภาษาอื่นๆ(แลวแตความถนัดของผูพัฒนา) ซึ่งมักตองใช
ควบคูกันกับโปรแกรมเว็บเซิรฟเวอร(เชน Apache) และดาตาเบสเซิรฟเวอร(เชน MySQL)
ลักษณะเดนของ CMS ก็คือ มีสวนของ Administration panel(เมนูผูควบคุมระบบ) ที่ใชในการ
บริหารจัดการสวนการทํางานตางๆในเว็บไซต ทําใหสามารถบริหารจัดการเนื้อหาไดอยางรวดเร็ว และเนนที่
การ จัดการระบบผานเว็บ(Web interface) ในลักษณะรูปแบบของ ระบบเว็บทา(Portal Systems) โดย
ตัวอยางของฟงกชันการทํางาน ไดแก การนําเสนอบทความ(Articles), เว็บไดเรคทอรี(Web directory),
เผยแพรขาวสารตางๆ(News), หัวขอขาว(Headline), รายงานสภาพดินฟาอากาศ(Weather), ขอมูลขาวสารที่
นาสนใจ(Informations), ถาม/ตอบปญหา(FAQs), หองสนทนา(Chat), กระดานขาว(Forums), การจัดการ
ไฟลในสวนดาวนโหลด(Downloads), แบบสอบถาม(Polls), ขอมูลสถิติตางๆ(Statistics) และสวนอื่นๆอีก
มากมาย ที่สามารถเพิ่มเติม ดัด แปลง แกไขแลว ประยุกตนํามาใชงานใหเหมาะสมตามแตรูปแบบและ
ประเภทของเว็บไซตนั้นๆ

Joomla คืออะไร?
Joomla คือระบบที่ชวยในการจัดการเนื้อหา(Content Management System: CMS) บนเว็บไซต เพื่อ
ชวยในการอํานวยความสะดวก ลดขั้นตอน และความยุงยากในการบริหารจัดการเว็บไซต โดยที่ ผูใชไม
จําเปนตองมีความรูใ นดานการเขียนโปรแกรม หรือออกแบบเว็บไซต ก็สามารถจัดทําเว็บไซตดวยตัวเองได

Content Management System: CMS คืออะไร?


Content Management System หรือ CMS ถาแปลตามตัว Content = เนื้อหา,บทความ Management=
การจัดการ System =ระบบ เพราะฉะนั้นจะไดความหายตามตัวคือ ระบบบริหารการจัดการเนื้อหา แตที่จริง
แลว CMS นี้ถูกนํามาใชเรียกงานทางดานเว็บไซตซะสวนใหญ เ ขาจึงเรียกระบบนี้วาเปนระบบบริการการ
จัดการเว็บไซต โดยที่ระบบนี้ นั้นนควาหมาย จะรวมไปถึงการจัดการขอมูลตางๆ ไมวาจะเปน ขอมูลที่เปน
ตัวอักษร รูปภาพ ไฟลงานตางๆดวย แลวแตผูใชงานจะเลือกหรือกําหนดความตองการของตัวเอง
ทําความเขาใจเกี่ยวกับการใชงาน Joomla!
Joomla ถูกพัฒนาขึ้นดวยภาษา PHP และฐานขอมูล MySQL การที่จะใชงานไดนั้นจําเปนตองมี
web server (เครื่องคอมพิวเตอรที่ใหบริการเผยแพรขอมูลทางอินเตอรเน็ต) ซึ่งตองรองรับการทํางานของ
PHP และ MySQL web server ที่เ หมาะสมที่ สุ ด สํ า หรั บ joomla ก็ คื อ web server ที่ ติ ด ตั้ ง ด ว ย
ระบบปฏิบัติการ Unix หรือ Linux นอกจากจะถูกกวา web server ที่ติดตั้งดวยระบบปฏิบัติการ windows
server เพราะไมตองเสียคาลิขสิทธิ์ ปญหาการใชงานเล็ก ๆ นอย ๆ ก็ยังมีนอยกวา windows server

ความตองการของระบบในการติดตั้ง
Software Recommended Minimum More information
PHP* 5.2 + 4.3.10 http://www.php.net
MySQL** 4.1.x + 3.23 http://www.mysql.com
Apache*** 2.x + 1.3 http://www.apache.org
(with mod_mysql, mod_xml,
and mod_zlib)
Microsoft IIS**** 7 6 http://www.iis.net

การติดตั้ง Web Server จําลอง


การติดตั้ง AppServ 2.5.10
AppServ รุน 2.5.10 มีรายละเอียดดังนี้
• Apache 2.2.8

• PHP 5.2.6

• MySQL 5.0.51b

• phpMyAdmin 2.10.3

เหตุที่เลือกตัวนี้เพราะมี php5 ดวยซึ่งการใชงานในปจจุบัน นั้นเริ่มที่จะหลากหลายมากขึ้น แมวาจะมีที่


เปนเวอรชั่น php6 แลวก็ตามอีกอีกยาวไกลกวาจะมีความนิยมอยางหลากหลาย กอนอื่นก็ดาวนโหลดตัว
ติดตั้งที่ http://www.appservnetwork.com/ ตัวนี้คนไทยเปนผูพัฒนาครับ และไดรับความนิยมอยางแพรหลาย
หมายเหตุ กอนอื่นตองแนใจวาคุณไมเคยติดตั้งโปรแกรมจําลองเครื่องเปน Server หากเคยใหถอนออกกอน
การติดตั้ง หากติดตั้ง IIS ไวตองปดการทํางานกอนเชนกัน
เริ่มติดตั้ง
1. ดับเบิลคลิ๊กappserv-win32-x.x.x.exe เพื่อติดตั้ง AppServ บนเครื่องPC

2. คลิ๊ก Next จะพบกับหนาจอ ประกาศเรื่องลิขสิทธิ์ ซึ่งเปน ลิขสิทธิ์แบบ GNU/GPL License


3. เมื่อคลิ๊กI Agree เพื่อยอมรับลิขสิทธิ์แลว ก็จะเขาสูหนาเลือกโฟลเดอร และไดรฟ ที่จะติดตั้ง ในที่นี้เปน
C:\AppServ

4. เมื่อคลิ๊กNext จะเขาสูหนาเลือก คอมโพเนนที่จะติดตั้ง ในที่นี้คลิ๊กใหหมดทุกตัว


5. หนาServer Information

ชอง Server Name ใหใสlocalhost


ชอง Admin Email ใหใสemail ของเราไป
ชอง HTTP Port ใหใสหมายเลข Port ที่ตองการเผยแพรเขาไป ในที่นี้แนะนําเปน 80 จากนั้นคลิ๊ก Next
6. ตั้งคา MySQL
ชอง Enter Root Password ใสรหัสผานสําหรับ Account User: root
หมายเหตุ กรุณาใสรหัสทีจ่ ําไดงายๆ
Re-Enter Root Password ใสรหัสผานสําหรับ root อีกครั้งใหเหมือนเดิม
ชอง Character Sets เลือกเปน TIS620 Thai เพื่อใชงานกับภาษาไทย หรือ UTF-8 ก็ได แต เวลาใชงานจริง
บนโอสติ้งตองตรวจสอบกอนวาโฮสเราสนับสนุน UTF-8 หรือไม
จากนั้นคลิ๊ก Install

7. จากนั้นโปรแกรมจะถูกติดตั้ง รอจนครบ 100% ในระหวางนี้ หาก Windows มีการสอบถามเรื่องการ


Block โปรแกรม ใหคลิ๊ก Unblock โปรแกรมจะถูกติดตั้งอยางสมบูรณ
8. เมื่อระบบติดตั้งจนครบ 100 % ก็จะเขาสูหนาสุดทาย ระบบจะถามวา จะเริ่มให Apache และ MySQL
ทํางานหรือไม จากนั้น คลิ๊ก Finish

9. เมื่อติดตั้งเสร็จ ใหเปด Internet Explorer หรือ Mozilla Firefox ขึ้นมา ชอง Address พิมพ http://localhost
เพื่อทดสอบ หากสําเร็จ จะมีหนาจอดังภาพ
โครงสรางของโฟลเดอร เราจะเก็บ joomla ไวใน โฟลเดอร www (c:\appserv\www\)

เริ่มทําการติดตั้งและใชงาน Joomla!

เมื่อดาวนโ หลดไฟลเสร็จ เรีย บรอยแลว จะได ไฟลที่มี น ามสกุ ล *.zip ใหทําการแตกไฟลออก โดยใช
โปรแกรมจัดการไฟลบีบอัด อยางเชน 7zip, winzip, winRAR ฯลฯ
ทําการแตกไฟลบีบอัด

จะไดไฟลดังในรูป
ใหก็อปปไฟลทั้งหมด นําไปวางไปบน web server จําลองที่ไดติดตั้งไวแลวตาม เนื้อหากอนหนานี้
(Appserv) โฟลเดอร c:\appserv\www\ ทําการสรางโฟลเดอรใหมที่ชื่อวา joomla แลวนําไฟลที่ไดก็อปปไ ว
แลวดังขางตน นํามาวางในโฟลเดอร joomla นี้

รูปโฟลเดอรที่ทําการสรางขึ้นใน โฟลเดอร c:\appserv\www\ ชื่อ joomla

เมื่ อ ทํ า การก็ อ ปป แ ล ว ให เ ข า ที่ โ ปรแกรมเบราว เ ซอร (browser) พิ ม พ ใ นช อ ง address
http://localhost/phpmyadmin เพื่อเขาจัดการสรางฐาน MySQL เอาไวสําหรับติดตั้ง joomla

พิมพชื่อ User name เปน root, password ตามที่ตั้งไวตอนติดตั้งโปรแกรม จากนั้นคลิ๊กปุม Go เพื่อ


ล็อกอินเขาระบบ
จะเขามาสูหนานี้ ในชอง Create new database ใหพิมพชื่อฐานขอมูลตามตองการ (ในที่นี้ขอตั้งชื่อ
เปน joomla) จากนั้นคลิ๊กปุม Create

เมื่อขึ้นเครื่องหมายถูกพรอมกรอบสีเขียวแสดงวา การสรางฐานขอมูลเสร็จเรียบรอย

จากนั้นพิมพในชื่อ address วา http://localhost/joomla สคริปติดตั้งจะนําพามาสูหนาติดตั้งโดย


อัตโนมัติ ใหทําการเลือกภาที่ใชในการติดตั้ง ในที่นี้ขอเลือกเปนภาษาอังกฤษ จากนั้นคลิ๊กปุม Next (ดานมุม
บนขวามือ)
ตัวหนังสือสีแดงที่ขึ้นวา No ใหปลอยไวยังไมตองสนใจในสวนนี้ ใหคลิ๊ก Next เพื่อไปขั้นตอน
ถัดไป

หนานี้เปนการบอกถึงลิขสิทธิ์การใชงาน joomla CMS ใหคลิ๊ก NEXT ตอไป


ในสวนนี้ใหใสรายละเอียดเกี่ยวกับฐานขอมูล
- host name ใสชื่อของ host สวนมากเปน localhost
- User Name ใสชื่อผูใชงานฐานขอมูล คือ root
- Password ใสพาสเวิรด ตามทีต่ องไว
- Data Base ชื่อฐานขอมูลตามที่สรางไวใน phpmyadmin
จากนั้นคลิ๊ก Next

สวนของการกําหนดคา FTP ยังไมใชงานวางไวกอน จากนั้น คลิ๊กปุม Next


ในสวนนี้เปนการกําหนดคาในขั้นตอนสุดทาย
- site name ใสชื่อเว็บไซต กําหนดชื่อตามตองการ
- you E-mail ใสอีเมลของผูดูแลระบบ
- admin password ใสรหัสผานในการเขาระบบของผูดูแลระบบ
- confirm admin password ยืนยันรหัสผานอีกครับ
ในชองลงมา หากตองการติดตั้งขอมูลตัวอยางก็ใหคลิ๊กที่ install sample data (ในที่นี้ไมขอติดตั้งขอมูล
ตัวอยาง) จากนั้นคลิ๊ก Next จากนั้นจะมีหนาตางขึ้นมาใหยืนยันวาขอมูลดังกลาวถูกตอง ให คลิ๊ก OK

เขามาสูหนานี้ ระบบจะบอกวา ชื่อผูใชงานของคุณคือ admin ระบบจะบอกใหทําการลบหรือเปลี่ยนชื่อโฟล


เดอร installation ดังนั้นใหทําการลบโฟลเดอร installation ใน c:\appserv\www\joomla ทิ้งกอน
ทําการลบโฟลเดอร installation ทิ้ง

จากนั้นมาที่เบราวเซอร คลิ๊กที่ site เพื่อเขาดูหนาเว็บไซต หรือ admin เพื่อล็อกอินเขาระบบ

หนาเว็บไซตแรกที่ยังไมมีขอมูลใด ๆ เลย
Note คําที่ใชตอนตอไป
- Front end คือสวนหนาเว็บไซต ผูใชทั่วไปที่ไมตองลงทะเบียนหรือมีหนาที่ดูแลระบบสามารถ
เขาถึงได

- Back end คือสวนดานในเว็บไซตที่ผูดูแลระบบใชจัดการตั้งคาระบบ พิมพเนื้อหาบทความตาง ๆ


ผูใชทั่วไปไมสามารถเขาถึงหนานี้ได
การเขา – ออกระบบ ผูดูแลระบบ
การเขาสู cpanel สามารถทําไดโดยเขา หนา front end ตามปกติแลวพิมพชื่อพาธ /administrator
ตามหลัง

จากนั้นกด enter ก็จะเขาสูหนาล็อกอินของ back end

จากนั้นพิมพ User Name คือ admin, password ตามที่ตั้งไวตอนติดตั้ง จากนั้นคลิ๊ก login

ก็จะเขาสูหนา cpanel

- admin menu คือสวนของเมนูที่อยูดานบน


- cpanel หรือ control panel คือสวนของ back end ทั้งหมด

การออกจากระบบ

คลิ๊กที่ logout ดานมุมบนขวามือของหนาจอ


การตั้งคาเบื้องตน

ทําการล็อกอินเขาหนา back end ของระบบ จากนั้นคลิ๊กที่ Global Configuration หรือไปที่ admin menu >>
Global Configuration

จะเขามาสูหนานี้
- Global Site Meta Description ใสคําอธิบายเกี่ยวกับเว็บไซต วาเปนเว็บไซตอะไร กําหนดตามตองการ
- Global Site Meta Keywords ใสคําคนหาหลักสําหรับเว็บไซตและสําคัญสําหรับ Search Engine (เว็บที่
ใหบริการคนหา เชน Google, yahoo เปน ตน) กําหนดเปนคํา ๆ หรือประโยคที่สั้นเขาใจงายสามารถใส
เทาไหรก็ไดโดยการเวนขึ้นคําใหมใหใช (,) จุลภาค ขั้นไว เชน joomla, joomla thai เปนตน การใสจุลภาค
ควรเวนวรรค (เคาะ Space Bar 1 ที) แลวตามดวยคําตอไป

เลื่อนมาที่แท็บเมนู server
ตั้งคาโซนเวลา ตามประเทศที่ตองการ หากเปนเมืองไทย เลือกเปน (UTC +07.00) Bangkok, Hanoi,
Jakata จากนั้นคลิ๊ก save เพื่อบันทึกการตั้งคาที่ไดกระทําลงไป

บทบาทหนาที่ของ User Group Access levels for joomla


joomla ไดแบงระดับการเขาถึงขอมูลไว 2 ระดับ คือ Front-end groups และ Administration section
groups ซึ่งมีระดับการเขาถึงและจัดการที่แตกตางกันไป

Front-end groups มีดวยกัน 4 กลุม


ในกลุมนี้สามารถเขาจัดการในสวนใด ทางดานหนาเว็บไซต
Registered - ผูลงทะเบียน กลุมนี้อนุญาตใหผูใชเขาสูระบบไปยังสวนหนาอินเตอรเฟส. ผูใชที่
ลงทะเบียนไมสามารถมีรวมกับเนื้อหาแตพวกเขาอาจจะเขาสวนจัดการ อื่น ๆ ได เชน เว็บบอรดหรือสวน
ดาวนโหลดสวนถาเว็บไซตของทานมี.
Author - ผูแตง กลุมนี้อนุญาตใหโพสตเนื้อหาผานทางลิ้งกในเมนูผูใช พวกเขาสามารถสงเนื้อหา
ใหมเลือกตัวเลือกการแสดงรายการในหนาแรกและเลือกวัน ที่สําหรับการเผยแพรแตพวกเขาไมสามารถ
เผยแพรเนื้อหาไดโดยตรง เมื่อเนื้อหาถูกสงโดยระดับพวกเขาจะไดรับขอความ ""ขอขอบคุณที่ใหการสง.
การสงของคุณจะถูกตรวจสอบกอนที่การโพสตไปยังไซต" พวกเขาสามารถแกไขบทความของพวกเขาเอง
เทานั้นแตเฉพาะเมื่อบทความที่ไดรับ การเผยแพรและเห็นชอบ
Editor - ผูแกไขหรือผูตรวจสอบ กลุม นี้อนุญาตใหผูใชโพสตและแกไขใดๆ (ที่ไมใชเฉพาะของ
ตัวเอง) จากเนื้อหารายการจากดานหนาเว็บไซต นอกจากนี้ยังสามารถแกไขเนื้อหาที่ไมไดรับการเผยแพร ถา
ไซตของคุณ ใชก ารติด ตั้งดีฟอลตของตัว เลือกเมนู "ขาว" ซึ่งเปน ตารางรายการ - สว นเนื้อหาประเภท
บรรณาธิการยกเลิกการเผยแพรจะเห็นบทความในรายการที่พวกเขา สามารถเลือกสําหรับการแกไขที่ใน
ฐานะผูเขียนหรือผูเผยแพร (ที่ยังไมไดลงทะเบียน)
Publisher - กลุมนี้อนุญาตใหผูใชโพสตการแกไขและเผยแพรใด ๆ (ไมใชเฉพาะของตัวเอง) ผู
เผยแพรสามารถทบทวนบทความทั้งหมดแกไขและเปลี่ยนการเผยแพร ยังสามารถพิจ ารณาเมื่อมีก าร
บทความเพื่อเผยแพรเมื่อมีผเู ขียน หรือผูที่ยังไมลงทะเบียนสงบทความเขามา
Administration section groups ระดับผูบริหารเว็บไซต มีดวยกัน 3 ระดับ
ในกลุมนี้สามารถเขาจัดการในสวนใด ทางดานหลังเว็บไซต

Manager - ผูจัดการ กลุมนี้อนุญ าตใหถึงการสรางขอมูล และระบบขอมูลอื่น ๆ ทางดานหลัง


เว็บไซต พวกเขาสามารถเขาสูระบบผานอินเตอรเฟสผูดูแลระบบแตสิทธิของตนเองและการ เขาถึงถูกจํากัด
ในการจัดการเนื้อหา พวกเขาสามารถสรางหรือแกไขเนื้อหา, การเขาใชบางสวนเฉพาะคุณสมบัติเชนเพิ่มการ
ลบและแกไขหนาและเมนูแตพวก เขาไมมีการเขาถึง "Mechanics" ของ Joomla เชนการจัดการผูใชหรือ
ความสามารถในการติดตั้งองคประกอบหรือโมดูล
Administrator - ผูดูแลระบบ กลุมนี้อนุญาตใหเขาถึงฟงกชันการบริหารสูงสุด ผูดูแลระบบมรสิทธิ์
ในการจัดการผูใช สามารถเขาถึงตั้งคาในการติดตั้ง/ลบ คอมโพเนนท โมดูล ปลั๊กอิน สามารถเขาถึงและดู
สถิติเว็บไซต สิ่งที่พวกเขาไมาสามารถดําเนินการไดคือ ติดตั้ง เทมเพลต

Super Administrator - ผูดูแลระบบแบบซุปเปอร กลุมนี้อนุญ าตใหเขาถึงการจัดการฟงกชั่น


ทั้งหมด
การสรางหมวดหมูไวเก็บเนื้อหาเว็บไซตใน joomla 1.5
โครงสรางการจัดเก็บเนื้อหาของ joomla แบงไดดังนี้

Section คื อ หมวดหมู ใ หญ ที่ สุ ด ซึ่ ง ข า งในจะเป น ที่ เ ก็ บ Category ย อ ย ๆ ภายใน


Category คือหมวดหมูที่ใชสําหรับเก็บเนื้อหา บทความไวภายใน Category จะอยูภายใน Section
Content คือ พื้นที่ ที่ใชเก็บเนื้อหา Content จะอยูภายใน Category

Tip : คุณสามารถสรางเนื้อหาโดยไมตองกําหนด Section และ Category โดยการกําหนดเปน


Uncategorised แทน
เมื่อเขาใจโครงสรางของ joomla แลว ตอไปก็มาเริ่มสราง Section และ Category กัน

การสราง Section ทําการล็อกอินเขาระบบ back end

คลิ๊กที่ Section manager หรือ เขาที่ admin menu >> content >> section manager
จากนั้นคลิ๊กที่ปุม new

กําหนดรายละเอียดของ Section
- Title ชื่อของ section
- Alias ชื่อแทนของ section ควรกําหนดเปนภาษาอังกฤษจะดีที่สุด
- Published กําหนดเปน yes เพื่อเปดเผยแพร ถากําหนดเปน no บุคคลภายนอกจะไมสามารถเห็น
section ได
- Access Level กําหนดเปน
- Public บุคคลทั่วไปเห็นหรือเขาใชงานได
- Registered บุคคลที่ทําการสมัครสมาชิกและล็อกอินเขาระบบจึงจะสามารถเห็นหรือเขาใชได
- Special เฉพาะบุคคลที่เขาถึงหนา back end ไดเทานั้น
- Image รูปสําหรับ section สามารถใสรูปให section ได (ไมตองกําหนดก็ได)
- Image Position กําหนดตําแหนงของรูปภาพ (ไมตองกําหนดก็ได)
- Description รายละเอียด ของ section (ไมตองกําหนดก็ได)

เมื่อใสรายละเอียดครบหมดแลว ใหทําการ save

เมื่อได Section แลวตอไปก็ทําการสราง Category


การสราง Category ขั้นตอนจะคลายการสราง Section

คลิ๊กที่ Section manager หรือ เขาที่ admin menu >> content >> section manager

จากนั้นคลิ๊ก New เพื่อสราง Category ใหม


กําหนดรายละเอียดของ Category
- Title ชื่อของ Category
- Alias ชื่อแทนของ Category ควรกําหนดเปนภาษาอังกฤษจะดีที่สุด
- Published กําหนดเปน yes เพื่อเปดเผยแพร ถากําหนดเปน no บุคคลภายนอกจะไมสามารถเห็น
Category ได
- Section เลือก Section ที่ทําการเก็บ Category
- Access Level กําหนดเปน
- Public บุคคลทั่วไปเห็นหรือเขาใชงานได
- Registered บุคคลที่ทําการสมัครสมาชิกและล็อกอินเขาระบบจึงจะสามารถเห็นหรือเขา
ใชได
- Special เฉพาะบุคคลที่เขาถึงหนา back end ไดเทานั้น
- Image รูปสําหรับ Category สามารถใสรูปให Category ได (ไมตองกําหนดก็ได)
- Image Position กําหนดตําแหนงของรูปภาพ (ไมตองกําหนดก็ได)
- Description รายละเอียด ของ Category (ไมตองกําหนดก็ได)

เมื่อใสรายละเอียดครบหมดแลว ใหทําการ Save


การสรางบทความ (article)
หลังจากไดทําการสราง Section และ Category เพื่อใชเก็บ ตอไปก็ทําการสรางบทความ (article)

คลิ๊กที่ Add new Article

หรือเขาที่ Admin menu >> Content >> Article Manager

จากนั้นคลิ๊กที่ New
- Title ชื่อของบทความ
- Alias ชื่อแทนของ บทความ ควรกําหนดเปนภาษาอังกฤษจะดีที่สุด ถาปลอยวางไว joomla จะนํา
วันที่ เวลาที่บันทึกการสรางบทความนี้มาใสแทน เชน 2009-09-09-01-12 และจะแสดงที่ลิ้งก ทําใหลิ้งกของ
บทความไมสวย เพราะฉะนั้นกําหนดจะดีกวา
- Published กําหนดเปน yes เพื่อเปดเผยแพร ถากําหนดเปน no บุคคลภายนอกจะไมสามารถเห็น
section ได
- Front Page กําหนดเปน yes คือกําหนดใหบทความนี้แสดงที่ดานหนาสุดของเว็บ (home page) ถา
กําหนดเปน no คือบทความนี้จะไมแสดงที่หนาเว็บไซต (home page)
- Section เลือก Section ที่ทําการเก็บบทความ
- Category เลือก Category ที่ทําการเก็บบทความ

สวนนี้สําหรับพิมพ ขอความบทความตาง ๆ ใสรูปภาพ หรืออะไรที่ตองการได


การใสรูปภาพลงในบทความ
การใสรูปภาพ โดยใชรูปภาพที่มีอยูแลว หรืออัพโหลดจากเครื่องคอมพิวเตอรของคุณ

คลิ๊กที่ Image

เลือกรูปที่ตองการจาก โฟลเดอรที่มี หรืออัพโหลดจากเครื่องคอมพิวเตอรของคุณ โดยการ Browser


เมื่อเลือกภาพไดแลวก็คลิ๊ก start upload
เมื่อเลือกรูปได แลวใหคลิ๊ก insert เพื่อแทรกรูปภาพลงบนบทความ

Tip : โฟลเดอรที่ใชเก็บรูปภาพของ joomla คือ /images/stories

การแทรกภาพลงบนบทความดวยลิ้งก URL

คลิ๊กที่รูปตนไม จะขึ้นหนาตางใหใสรายละเอียด
ใส Full URL ของรูปภาพ เชน http://www.google.com/images.jpg

การสรางลิ้งก อานตอ Read more


เปนการสรางบทความในสวนของไตเติ้ล กลาวนํากอนแลวใหผูอานเขามาอานตอดานใน

ตองการจะตัดบทความใหเขามาอานตอตรงสวนไหน ก็นําเคอรเซอรมาวางแลว คลิ๊กที่ read more


จะเกิดเสนขึ้นใหเราเห็นวาสวนนีล้ งไปเปนสวนที่ตองเขามาอานตอ

รูปแบบการใช read more ในบทความ

การแบง บทความออกเปนหนา ๆ (Page Break)


ในกรณีที่บทความหนึ่ง ๆ มีความยาวมาก ๆ และตองการแบงออกเปนสวน ๆ เพื่อใหดูดี หรือไมยาว
เกินไป

ตองการจะแบงบทความตรงสวนไหน ก็นําเคอรเซอรมาวางแลว คลิ๊กที่ Page Break


จะปรากฏหนาตางนี้ขึ้นมา page title ใสชื่อตามตองการ Table of contents alias ควรกําหนดเปน
ภาษาอังกฤษ จะดีที่สุด

รูปแบบการแสดงผลจะเปนแบบนี้ มีสารบัญอยูดานขางของบทความ
การไมใช เครื่องมือ editor
สามารถทําไดโดยไมใช เครื่องมือ editor หรือเครื่องมือในการสรางบทความ แถบเครื่องมือที่เห็นมี
หนาที่อํานวยความสะวกในการแทรกคําสั่ง ตาง ๆ ลงไปไดรวดเร็วขึ้นโดยที่ไมตองมานั่งพิมพ แท็กคําสั่งเอง
ทั้งหมด

หากตองการแทรกคําสั่ง HTML เองก็สามารถทําไดโดย คลิ๊กที่ Toggle Editor

จะเห็นคําสั่งที่สามารถแกไขไดเอง
การกําหนดพารามิเตอรของบทความ Parameters Article

สวนนี้เปนการกําหนดชื่อผูเขียน ชื่อแทนผูเขียน วันที่ทําการสรางบทความ คุณสามารถกําหนดวันที่


งดเผยแพรบทความไดที่นี่ดวย
การกําหนดพารามิเตอรแบบ advanced

เปนการกําหนด ใหคาหรือไมแสดง รายละเอียดตาง ๆ ในบทความ

การกําหนด metadata information


ในสวนนี้มีประโยชนตอการคนหา ทั้งใน Search Engine และในเว็บไซต
- Description ใสคําอธิบายเกี่ยวกับบทความ วาเปนบทความอะไร กําหนดตามตองการ
- Keywords ใสคําคนหาหลักสําหรับบทความ กําหนดเปนคํา ๆ หรือประโยคที่สั้นเขาใจ
งายสามารถใสเทาไหรก็ไดโดยการเวนขึ้นคําใหมใหใช (,) จุลภาค ขั้นไว เชน joomla, joomla thai
เปนตน
- robots เปนคําสั่งที่ใชบอก robots (โปรแกรมสําหรับคนหาของ Search Engine) วาวร
จะตองทําอะไรในบทความนี้ คําสั่งหลัก ๆ มีดังนี้
- index ใหนําบทความนี้ไปแสดงที่ Search Engine
- follow ใหคน หาตอ กรณีมีลิ้งกในบทความและตองการให robots ไปตามลิ้งก
URL ปลายทาง
- noindex ไมใหนําบทความนี้ไปแสดงที่ Search Engine
- nofollow ไมใ หคนหาตอ กรณีมีลิ้งกในบทความและไมตองการให robots ไป
ตามลิ้งก URL ปลายทาง
ใสคําสั่งใดคําสั่งหนึ่งก็ได หรือใสทั้งสองคําสั่งโดยใช (,) ขั้นระหวางคําสั่ง

การใชงาน menu manager


การสรางเมนูลิ้งกไปหาบทความ section และ category ทําไดโดยคลิ๊กที่ menu manager

หรือเขาที่ admin menu >> menus >> main menu main menu เปนเมนูหลักที่มีอยูแลวไมจําเปนตอง
สรางใหม
จากนั้นคลิ๊กที่ new เพื่อทําการสรางเมนูยอย ใน main menu

คลิ๊กเลือก Articles
จะปรากฏเมนูยอยลงมา
- Archive คือลิ้งกไปหาบทความที่ถูกเก็บ
- Article คือลิ้งกไปหาบทความ
- Category คือลิ้งกไปหา Category
- Section คือลิ้งกไปหา Section

รูปแบบการแสดงผล
จะเห็นวามีสวนของ blog layout และ list layout
blog layout จะเปนแบบรูปดานลางเหมือนหนา front page

list layout แสดงในสวนหัวขอบทความเทานั้น


เมื่อเขาใจรูปแบบการแสดงผลแลวตอไปก็ทําเมนูลิ้งกไปหาบทความตามตองการ ในที่นี้จะทําลิ้งกไปหา
section

ใสชื่อ title , alias ตามตองการ

เลือก section ที่ตอ งการ เมื่อกําหนดเรียบรอยแลวก็คลิ๊ก save เพื่อบันทึกการเปลี่ยนแปลง


จะเห็นเมนูที่สรางขึ้นดังในรูป

การสรางลิ้งกเมนูอื่น ๆ ก็ทําลักษณะคลาย ๆ กันนี้

การสรางเมนูใหม
เมนูนี้มีลักษณะการทํางานเหมือนกับ main menu ไปที่ admin menu >> menu manager

คลิ๊กที่ new เพื่อสรางเมนูใหม


กําหนดชื่อตาง ๆ ตามตองการ

เมนูที่สรางใหม นี้จะไปปรากฏที่ โมดูล (module) ซึ่งโมดูลนี้สามารถจะเคลื่อนยายไป วางตําแหนง


ไหนของเทมเพลท (template) ก็ได เมื่อกําหนดชื่อเรียบรอยแลว ก็ทําการ save

การใชงานเมนูที่สรางนี้ จะเหมือนกับการใชงาน main menu ดังที่กลาวมาแลวในขางตน

เมนูที่สรางใหม จะกลายเปนโมดูล ไปโดยอัตโนมัติ

Trash manager
ทํางานเปนถังขยะ มีในสวนของ article และ menu เทานั้น ประโยชนคือเมื่อคุณทําการลบ บทความ
หรือเมนู บทความหรือเมนูดังกลาวจะลงมาอยูในถังขยะ เพื่อปองกันความผิดพลาดกรณีลบผิดหรือตองการ
นํามาใชใหม ได ถาทําการลบออกจาก ถังขยะนี้บทความหรือเมนูนั้นจะหายไปและไมสามารถกูไดอีกตอไป

Front page manager


สวนนี้เอาไวสําหรับจัดการ การเผยแพรบทความดานหนาเว็บ

User Manager
สวนจัดการผูใช สามารถลบ แกไขชื่อ รหัสผาน กําหนดสิทธิการใชงาน เพิ่มผูใชงานใหมไดที่นี่ ผูที่
มีสิทธิใชในสวนนี้คือ administrator และ super administrator

การเพิ่มผูใชงานใหม คลิ๊กที่ New กรอกรายละเอียด name, username, e-mail, password กําหนด group จาก
นั้นคลิ๊ก save
สรางปายโฆษณา (banner)
ไปที่ admin menu >> component >> banner

เลื่อนมาที่แท็บเมนู categories เพื่อสราง categories กอนเพื่อใชในการเก็บ banner clients


คลิ๊กที่ new เพื่อสราง categories

ตั้งชื่อตามตองการเหมือนขั้นตอนการสราง section
เลื่อนมาแท็บเมนู clients คลิ๊ก new เพื่อสราง banner clients ใหม กําหนดชื่อ ชื่อผูติดตอ อีเมล และคําอธิบาย
เกี่ยวกับแบนเนอร จากนั้นทําการ save

เลื่อนมาแท็บเมนู banners คลิ๊ก new สราง banner ใหม จากนั้นทกหาร save

Tip : สามารถใชรูปในเว็บไซตมาทําแบนเนอรได โฟลเดอรสําหรับเก็บแบนเนอรอยูที่


/images/banners

การสรางแบนเนอรโดยใช Banner Code


นําโคดปายโฆษณามาใสในชอง Custom Banner Code

การสรางแบนเนอรแบบใชรูปภาพจากภายนอก
สามารถสรางโดยใช URL รูปภาพจากที่อื่น และสงลิ้งกไปยังเว็บปลายทาง ทําไดโดยการสราง code
ขึ้นมาแลวนําไปใสในชอง Custom Banner Code
ตัวอยาง code

<a href="http://www.domain.com (URL ปลายทาง)" target="_blank"><img


src="http://www.domain.org/images/banners/shop-ad-books.jpg(URL ของรูป)" " alt="ปายโฆษณา" /></a>

วิธีนี้จะสงลิ้งกตรง ไปหาเว็บไซตปลายทางโดยไมผานการ redirect (เปลี่ยนเสนทาง)

การใสลิ้งกปลายทางในชองนี้ ตองผานการ redirect กอน เชน เมื่อคลิ๊กที่แบนเนอรจะเปน URL นี้


http://127.0.0.1/joomla/index.php?option=com_banners&task=click&bid=1 ก อ น เสร็ จ แล ว จะเปลี่ ย น
เสนทางไปยัง URL ปลายทาง

การสรางรายชื่อผูติดตอ Contact
ไปที่ admin menu >> component >> contacts
คลิ๊กแท็บเมนู Categories จากนั้นคลิ๊ก new เพื่อสราง Categories ใหม

ใส title และ alias จากนั้น Save

คลิ๊กแท็บเมนู Contacts จากนั้นคลิ๊ก new เพื่อสรางชื่อผูติดตอ


- ใส name, alias
- เลือก Category
- linked to user สามารถกําหนดใหสงขอความติดตอไปหาผูใชงานที่ลงทะเบียนในบัญชี joomla ได

ในชอง information ใสรายละเอียดเกี่ยวกับที่อยูติดตอ

กําหนดพารามิเตอร ตองการจะแสดงหรือไมแสดงในสวนไหนของ contact ใหผูเยี่ยมชมเว็บไซตเห็น


Advanced Parameter สําหรับเลือกรูปไอคอน
e-mail parameter ใชสําหรับใสรายชื่ออีเมลที่ไมตองการใหติดตอมา (banned) การใชงานสามารถกําหนดได
หลายอีเมลแลวคั่นดวย เซมิโครอน (;)

News Feed Manager


มีไวสําหรับดึงบทความ จากเว็บไซตอื่น ๆ มาแสดงที่เว็บไซตเรา การที่จะดึงมาไดเว็บไซตนั้น ๆ
ต อ งเป ด ให บ ริ ก าร rss feed ด ว ย ตั ว อย า งเว็ บ ไซต ที่ เ ป ด ให บ ริ ก าร rss feed ของไทย คื อ
http://www.rssthai.com รูปแบบ URL feed ที่สามารถจะดึงบทความไดคือ ตองเปนนามสกุล XML เชน
http://www.rssthai.com/rss/lastest.xml
การใชงาน Feed Manager
ไปที่ admin menu >> components >> news feeds

คลิ๊กแท็บเมนู Categories จากนั้นคลิ๊ก new เพื่อสราง Categories ใหม

ใสชื่อ title, alias, description จากนั้น save

คลิ๊กแท็บเมนู Feeds คลิ๊ก New เพื่อสราง Feed ใหม


ใส name, alias, เลือก category , ใส link เมื่อกําหนดทุกอยางเสร็จ คลิ๊ก svae

ตัวอยางลิ้งก feed
การใชงาน Component News Feeds
การใชงานตองสรางเมนูเพื่อลิ้งกไปหา feed ที่ไดสรางไว ไปที่ admin memu >> menus >> meun
ของคุณ

จากนั้นคลิ๊ก new สรางเมนูใหม คลิ๊กเลือก news feed


เลือกรูปแบบการแสดงผล

ตั้งชื่อ title, alias เลือก feed ทําการ save


การแสดงผลดาน front end

การสรางโพลสํารวจ
ไปที่ admin menu >> components >> polls

คลิ๊ก New
Option ของ poll มีทั้งหมด 12 ตัวเลือก
- title ตั้งชื่อ poll
- alias ชื่อแทน
- lag กําหนดเวลาความถี่ในการโหวตครั้งตอไป หนวยเปนวินาที
- Published เลือกเปน yes
จากนั้นทําการ save

การใชงานโพล ใหแสดงผลหนาเว็บไซต ตองสรางเปน โมดูล (module) ไวแสดงผลโพล ซึ่งจะกลาวตอไป


Search component

เปนสวนเก็บสถิติการคนหาภายในเว็บไซต ปกติจะปดการทํางาน สามารถเปดการทํางานไดโดย


คลิ๊กตั้งคาที่ parameter
คลิ๊ก yes จากนั้น save

ระบบจะทําการเก็บขอมูล คําคนหาที่ผูใช ใชคนหา จํานวนครั้งที่ทําการคนหา

Web Link Manager


สําหรับเก็บลิ้งก URL ของเว็บไซตตาง ๆ ใหเปนหมวดหมู งายตอการใชงาน

ไปที่ admin menu >> component >> web links


คลิ๊กที่แท็บเมนู Categories จากนั้น คลิ๊ก new เพื่อสราง Categories

ใสชื่อ tile, alias

คลิ๊กที่แท็บเมนู links จากนั้น คลิ๊ก new เพื่อสราง links


ใสขอมูลตาง ๆ ของลิ้งก ตามตองการ จากนั้น save

เลือกรูปแบบการแสดงผล
- all category การแสดงผลรวมทุก ๆ category
- category การแสดงเฉพาะ category ที่ระบุ
- web link submission layout สําหรับใสเว็บลิ้งกใหม ในหนา front end
ตั้งชื่อ title, alias เลือก category ทําการ save

รูปแบบการแสดงผลดาน front end


Media Manager
สวนนี้มีไวสําหรับจัดการเกี่ยวกับรูปภาพตาง ๆ ทั้งสรางโฟลเดอรสําหรับเก็บไฟลภาพ อัพโหลด
รูปภาพ ลบรูปภาพ

การสรางโฟลเดอรสําหรับรูปภาพ พิมพชื่อที่ตองการแลวคลิ๊ก Create Folder


การอัพโหลดรูปภาพ

คลิ๊ก Browser จะปรากฏหนาตางสําหรับเลือกไฟลภายในเครื่อง จากนั้นกด open คลิ๊ก Start Upload

การลบรูปภาพ

คลิ๊กเลือกรูปที่ตองการลบจากนั้นคลิ๊ก Delete กรณีตองการลบหลายรูป การลบรูปเดียวใหคลิ๊กเครื่องหมาย


กากบาทสีแดงใตรูปภาพ
การติดตั้ง Extensions ของ joomla
การติดตั้ง extensions หรือตัวเสริมตาง ๆ เชนโมดูล เทมเพลท คอมโพเนนท ภาษา ทําไดดังนี้
เขาที่ admin menu >> extensions >> install/uninstall

จากนั้นเลือกไฟล extensions ที่ดาวนโหลดมาจากในเครื่องคอมพิวเตอรของทาน เสร็จแลวกด upload file &


install

หากทําการติดตั้งสําเร็จจะขึ้นขอความ Install ....... Success


Note : Extensions ของ joomla มี 2 เวอรชั่น ที่ใชงานกับ joomla 1.0 กับที่ใชงานบน joomla 1.5 และที่
สามารถใชงานไดบน joomla 1.0 และ joomla 1.5 ในโหมด legacy ตองแนใจวาใชงานกับเวอรชั่นไหน
ไมเชนนั้นจะไมสามารถติดตั้งได

การถอนการติดตั้ง Extensions ของ joomla (Uninstall)


เขาที่ admin menu >> extensions >> install/uninstall

เลือกแท็บเมนู Extensions ที่ตองการถอนการติดตั้ง

คลิ๊กเลือก extension ที่ตองการ จากนั้น คลิ๊ก uninstall


การสรางโมดูลใหม (ตัวอยางการสรางโมดูลคนหา (Search))
ทําการสรางเมนูคนหา (Search) มาที่ menu manager คลิ๊กที่ new เพื่อสรางโมดูลใหม

คลิ๊กเลือกที่ Search จากนั้นคลิ๊ก Next


- title ตั้งชื่อใหกับโมดูล
- Show title เลือกเปน no เพื่อไมใหแสดงชื่อโมดูลที่หนาเว็บไซต
- Enable เลือกเปน yes เพื่อเปดโมดูลใหใชงานได
- Position เลือกตําแหนงในการจัดวาง (User4)
Mass Mail
ฟงกชั่นที่ชวยใหคุณสง อีเมล ไปยังกลุมผูใชงานไดงาย ๆ

การใชงานพิมพขอความในชอง subject, message เลือกรุปที่ตองการสง จากนั้นคลิ๊ก Send mail

Clean Cache
Cache เปนไฟลชั่วคราว ที่ระบบเก็บไว เมื่อมีผูใชเปนประจํา เพื่อเปนการลดจํานวนการคนหาขอมูล
จากฐานขอมูล เปนการเพิ่มประสิทธิภาพ การแสดงขอมูลที่รวดเร็วยิ่งขึ้น เพราะขอมูลที่ใชประจํา ๆ จะอยูใน
Cache ระบบไมจําเปนตองไปคนหาขอมูลในฐานขอมูลใหมทั้งหมด
เมนูนี้ใชสําหรับทําความสะอาดแคช (Clean Cache)

การกําหนดให joomla ใชระบบ cache เขาที่ admin menu >> site >> global configuration แท็บเมนู
system
- cache เลือก yes เพื่อเปดใชงาน เลือก no เพื่อปดการใชงาน
- cache time ระบุเวลาที่ตองการเก็บแคช (หนวยเปนนาที)
Purge Expired Cache
สําหรับลบเฉพาะ cache ที่หมดอายุแลวเทานั้น

Syatem Information
สวนนี้จะบอกขอมูลเกี่ยวกับระบบทั้งหมด
ลงมือปฏิบัติ
เริ่มทําการสรางเนื้อหา และสวนประกอบตาง ๆ บนเว็บไซต
เมื่อเริ่มเขาใจหลักการทํางาน การสรางเนื้อหา สราง section และ category แลว คราวนี้มาเริ่มสราง
เนื้อและโมดูลกันเลย

เริ่มจากไมมีอะไรเลย ดังรูปดานบน Template ดานบนไมคอยสวย ตองทําการเปลี่ยน template กอน การหา


โดยใช google พิมพ free joomla template

จะเจอ template ที่แจกฟรี ของ joomla มีมากมายใหเลือกโหลด


โดยจะเลือก template ตามในรูป จากนั้นก็หาดาวนโหลดมาไวในเครื่อง เลือกเวอรชั่นใหตรงกับ joomla ที่ใช

ทําการติดตั้ง template ไปที่ admin menu >> extensions >> install/uninstall

คลิ๊ก Browser เพื่อเลือกไฟล template ที่ดาวนโหลดมา


เมื่อเลือกไฟลที่จะทําการติดตั้งไดแลว ใหทําการคลิ๊ก Upload file & install

เมื่อติดตั้งสําเร็จ จะขึ้นคําวา Install Template Success

จากนั้นเขา Template manager


จะเห็น Template ที่เราไดทําการติดตั้งไปแลว เมื่อสักครู

การเปลี่ยน template สามารถทําไดโดยการคลิ๊กเลือกที่หนาชื่อ template ที่ตั้องการจากนั้นคลิ๊ก Default (รูป


ดาวสีเหลือง)

จากนั้น ลอง preview ดู


จะเห็นวา หนาเว็บไซตเปลี่ยนไปจากเดิม

การแกไข template สามารถทําไดดดยการคลิ๊กเลือกที่ template ที่ตองการ จากนั้นคลิ๊ก edit

สามารถแกไของคประกอบของ template และ CSS ได ตองมีความรูเกี่ยวกับภาษา PHP, CSS และ


HTML พอสมควร
กอนจะวางตําแหนงโมดูล บนหนา template เราตองรูกอนวา ใน template นี้มีการกําหนดโมดูลไวตรงสวน
ไหนบาง หากไมทราบ ใหใชการกําหนดแบบเดาสุม เลือกตรงไหนแลวขึ้นตรงนั้นก็วางตามความเหมาะสม
User3

User4

Left Right

Body

Module position ของ template นี้ Debug


จากนั้น จะให main menu มาอยูที่ position left ไปที่ admin meun >> extensions >> module manager
จากนั้นคลิ๊กเขาไปที่ main menu

เลือก position เปน left จากนั้น save

Main menu ก็จะมาอยูดานซายมือของจอภาพ

จากนั้นจะทําการสรางเมนูคนหา (Search) มาที่ menu manager คลิ๊กที่ new เพื่อสรางโมดูลใหม


คลิ๊กเลือกที่ Search จากนั้นคลิ๊ก Next

- title ตั้งชื่อใหกับโมดูล
- Show title เลือกเปน no เพื่อไมใหแสดงชื่อโมดูลที่หนาเว็บไซต
- Enable เลือกเปน yes เพื่อเปดโมดูลใหใชงานได
- Position เลือกตําแหนงในการจัดวาง (User4)

จากนั้นคลิ๊ก save แลวลอง preview

จะเห็นวาโมดูลคนหาไดเพิ่มขึ้นมาตามที่เราตั้งไว

สรางโมดูล Who’s online ไวทางดานตําแหนงขวาของ template ทําตามขั้นตอนเดิมดังที่กลาวขางตน

เลือกที่ Who’s online


ตั้งชื่อโมดูล เลือกตําแหนง position right จากนั้นทําการ save

โมดูล Who’s online เพิ่มขึ้นมาทางดานขวา

ตอไปสรางเนื้อหา เพื่อนํามาแสดงที่หนา Front page


เนื้อหาที่ถูกสรางเพื่อนํามาแสดงบนหนาเว็บไซต

สรางโพล (Poll) เพื่อสํารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับเว็บไซตนี้ ใน joomla มีระบบโพล (Poll) อยูแลว ไมตอง


ติดตั้งเพิ่มเติม
ไปที่ admin menu >> components >> polls
คลิ๊ก New

Option ของ poll มีทั้งหมด 12 ตัวเลือก


- title ตั้งชื่อ poll
- alias ชื่อแทน
- lag กําหนดเวลาความถี่ในการโหวตครั้งตอไป หนวยเปนวินาที
- Published เลือกเปน yes
จากนั้นทําการ save

จากนั้นมาที่ module manager เลือก new เพื่อสรางโมดูล poll ใหม

ตั้งชื่อ กําหนด position ดานขวา (right) module parameters เลือกชื่อโพลที่ไดสรางไวตามขั้น ขางตน


จากนั้นทําการ save แลว preview ดู
โมดูลโพลที่ไดสรางขึ้นมา

สรางปายโฆษณา (banner)
ไปที่ admin menu >> component >> banner
เลื่อนมาที่แท็บเมนู categories เพื่อสราง categories กอนเพื่อใชในการเก็บ banner clients
คลิ๊กที่ new เพื่อสราง categories

ตั้งชื่อตามตองการเหมือนขั้นตอนการสราง section

เลื่อนมาแท็บเมนู clients คลิ๊ก new เพื่อสราง banner clients ใหม กําหนดชื่อ ชื่อผูติดตอ อีเมล และคําอธิบาย
เกี่ยวกับแบนเนอร จากนั้นทําการ save
เลื่อนมาแท็บเมนู banners คลิ๊ก new สราง banner ใหม จากนั้นทกหาร save

Tip : สามารถใชรูปในเว็บไซตมาทําแบนเนอรได โฟลเดอรสําหรับเก็บแบนเนอรอยูที่


/images/banners

จากนั้นมาที่ module manager คลิ๊ก New เพื่อสรางโมดูล banner ใหม


- เลือก Banner Client ที่ไดสรางไว
- เลือก Category ที่ไดสรางไว
ตั้งชื่อโมดูล กําหนด position จากนั้นทําการ save

ตําแหนง banner ที่เพิ่มขึ้นมา


เกร็ดความรูเล็ก ๆ นอย ๆ
ขั้นตอนในการ Upgrade Joomla
เนื่องจาก joomla มีผูใชจํานวนมาก และมีผูพัฒนาตอเนื่อง และไมมีโปรแกรมใดสมบูรณแบบ 100% ดังนั้น
ผูพัฒนาจึงทําการปรับปรุงชองโหวและแกไขขอผิดพลาดตาง ๆ เพิ่มเติมสวนที่จําเปนหรือพัฒนาใหเกิด
รูปแบบใหม ๆ ออกมาเรื่อย ๆ ทําใหเราตองทําการอัพเกรดระบบของเราใหทันตามยุคสมัย ไมใชวาเชย นะ
ครับแตเพื่อความปลอดภัยของเว็บไซตเรา ถาเว็บไซตเราโดงดังขึ้นมา ระบบเกา ๆ อาจจะเปนที่สนใจของ
บรรดาผูรู ผูทดลองทั้งหลาย แฮกเขามาทํามิดีมิราย กับขอมูลของเราได บรรยายมานานแลว เริ่มอัพเกรดเลย
ดีกวา
กอนอื่นก็ตองรูกอนวา joomla เรารุนไหน โดยดูไดที่ หนา back end มุมขวาดานบนสุด
เมื่อรูแลวก็จัดการดาวนโหลดอัพเดทเลยครับ โดยเลือกดาวนโหลดแพ็กแกจ ไดที่
http://joomlacode.org/gf/project/joomla/frs/?action=index เลือก ตามเวอรชั่นของทานเอง

สมมติวาจะอัพเกรด จาก joomla 1.5.10 เปน joomla 1.5.11 ก็โหลดตัวนี้มา Joomla_1.5.10_to_1.5.11-Stable-


Patch_Package จะเปนไฟล *.zip หรือ *.tar.gz ก็ได เมื่อไดแลวทําการแตกไฟลบีบอัดออก (unzip)
ไดแลว ใชโปรแกรม FTP อยางเชน filezilla หรืออะไรที่สามารถ FTP ขึ้น server ได จัดการอัพโหลดไปทับ
ไฟลเกาที่ติดตั้งไว

ล็อกอินเขาไปดูผล ใหม เปนตามเวอรชั่นที่เราอัพเกรดหรือไม


วิธีการเพิ่มความเร็ว - เพิ่มประสิทธิภาพ Joomla
พิจารณาจาก joomla เปนกรอบวาทําไมถึงมีคนใช joomla มากเพราะระบบที่มีความสะดวกและยืดหยุน ใช
งานงายทําให CMS ตัวนี้เปนที่นิยมอยางกวางขวางและเกิดชุมชนการใชงานและการพัฒนา องคประกอบ
ตาง ๆ ของ joomla เกิดขึ้นมากมาย แลวทําไมจุมลาถึงชา
1.ความเร็วและประสิทธิภาพของ Joomla เปนสวนใหญขึ้นอยูกับการเลือก template, addons component /
module / plugin.
2.จํานวน CSS images. javascript ที่ใชงานบนหนาเว็บ
วิธีทีวิเคราะหประสิทธิภาพ Joomla
ไปที่ http://analyze.websiteoptimization.com >> ใส URL >> กด analyze >> ใสรหัส capctha >> รอหนึ่งถึง
สองนาที
พารามิเตอรใดที่สําคัญ
1. HTTP requests
2. Total size
3. Number of HTML / CSS images
4. Number of CSS / JS (scripts) files.
5. Size of CSS / JS / HTML images.
6. Check for duplicate JS files.
7. Check for NOT FOUND items.

สีแดงแสดงวาตองปรับปรุง สีเหลี่ยงใชได สีเขียวดีเมื่อทําการแกไขแลวใหลองมาตรวจสอบอีกครั้ง วาจะ


ผานไหม
สิ่งแรก ๆ - ใชอะไรที่มีอยูแลวใน joomla

GZIP Page Compression


คําสั่ง php เหลานี้ใชสรางเพจ HTML ของหนาเว็บไซตคุณ สามารถใชการบีบอัด Gzip หนาเพจไดโดย การ
บีบอัดหนาเพจบน server แลวทําการสงมาใหเบราเซอร ซึ่งจะทําใหขนาดของหนาเพจ ลดลงประมาณ 70% -
90% ซึ่งจะทําใหลดแบนดวิธและผูชมสามารถโหลดหนาเพจไดเร็วขึ้น และโปรดจําไววา GZIP Page
Compression ใชกําลังของ CPU ในการประมวลผลคอนขางมาก
cache (system cache)
แค ชเปนอีกทางหนึ่งที่ชวยให joomla โดยหลักการทํางานของแคช การเก็บไฟลที่ใชงานบอยหรือใชงานเปน
ประจํานั้น ไวในแคช เมื่อมีการเรียกใชงานครั้งใหม ก็จะนําขอมูลจากแคชไปใชงานไดโดยตรง ไมตองไป
ประมวลผลหรือเรียกหาขอมูลในฐานขอมูลอีกครั้ง
สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงในการเพิ่มประสิทธิภาพ joomla
• Module - นอยดีกวา โมดูลไมควรใชหรือติดตั้งมากเกินความจําเปน เลือกใชโมดูลที่จําเปนเทานั้น ที่
ไมจําเปนใหปดหรือถอนการติดตั้งออกไป เนื่องจากแตละโมดูลจะเปนการเพิ่มคําขอ HTTP และคํา
ขออาจจะโหลด js หรือ CSS เพิ่มจากเดิม
• คอมโพเนนท - ยกเลิกหรือถอนการติดตั้ง คอมโพเนนทที่ไมใชงานออก
• ปลั๊กอิน - ควรคิดถึงประโยชนสูงสุดกอนที่จะทําการติดตั้ง ปลั๊กอินนั้นลงไป
เชน ถาติดตั้ง JCE ลงไป คําขอ HTTP เพิ่มขึ้น 11 คําสั่ง กําลังโหลดที่เพิ่มขึ้นอีก 50 วินาที
(อินเตอรเน็ต 56k) javascript เพิ่ม CSS เพิ่ม โดยรวมตองโหลดเพิ่มอีก 225396 ไบต

Real time monitoring (live users – stats)


• ปดการเก็บสถิติทั้งหมดใชเพีย งแค Google Analytics แทนก็พอ การเก็บสถิตินั้น จะเก็บไวใ น
ฐานขอมูลทําใหเสียเวลาในการคนหาขอมูลในฐานขอมูลเปนจํานวนมาก ทั้งบุคคลที่สาม คอมโพ
เนนท โมดูล ทางนี้ google ชวยทาได
o template ควรนําเทมเพต ทําการ analyzer กอนวาควรแกไขจุดไหน
o เพิ่มประสิทธิภาพ CSS โดยใชเครื่องมือนี้ในการ
http://www.cssoptimiser.com/index.php, สามารถรันออนไลทได สามารถชวยลดขนาด
ของไฟล css ได 10 - 30 %
o ทําการบีบอัดไฟล js โดยใชเครื่องมือ http://javascriptcompressor.com/ รันไฟลผานเบรา
เซอร ผลลัพธคือ ลบไฟล js ที่ไมจําเปนและไมเปนปญหาตอการแสดงผลหนาเว็บเพจ
o อยาใชเครื่องมืออัพโหลดรูปภาพที่ลดขนาดรูปภาพโดยอัตโนมัติ ใหใชการยอรูปภาพดวย
ตนเองดีกวาโดยอาจจะใช photoshop และเลือก save for web ในภาพแตละภาพไมควรมี
ขนาดใหญกวา 10k เปนดี เพียงพอตอการมองเห็นรายละเอียดของรูปภาพ
o CSS image เปนภาพที่โหลดโดยเทมเพลท ของคุณ หากคุณใชจํานวน CSS image นอยก็จะ
ทําใหโหลดหนาเว็บเพจเร็วยิ่งขึ้น
o ลาง joomla ลบโมดูล ปลั๊กอิน คอมโพเนนท ที่ไมจําเปนหรือไมไดใชประโยชนออก
o ใชเครื่องมือรวม CSS js เพื่อลดการรองขอของ HTTP เชน minify ซึ่งทํางานแยกออกจาก
ตัว joomla หรือ com_minify ซึ่งสามารถติดตั้งใชงานบน joomla ไดเลย
การใชงาน system legacy
Legacy โหมดถูกสรางขึ้น เพื่อใชกับ joomla 1.5 ใหสามารถใชงาน extensions ของเวอรชั่น 1.0 ได โดยตอง
เปดโหมด system legacy ขึ้นตอนการเปดใชงานโหมด system legacy มีดังนี้
ไปที่ admin menu >> extensione >> plugin manager หาปลั๊กอินที่ชื่อ system - legacy
ทําการ enable

สังเกตเมื่อ system legacy เปดใชงาน มุมบนดานขวามือ

การปดเว็บไซตชั่วคราวออฟไลท
อาจจะมีบางโอกาส ที่คุณตองการทําเว็บไซตใหสมบูรณ โดยที่ไมตองมีใครเขามาดูเว็บไซตของคุณที่ ยังดูไม
ดีหรืออาจจะไมสมบูณ มีขอบกพรอง ที่จะตองปรับปรุงตาง ๆ มีขั้นตอนงาย ๆ ในการสลับออนไลทหรือ
ออฟไลท ไดอยางรวดเร็ว ใน joomla
ในการใช joomla ออฟไลทชั่วคราว
1.เขาสูระดับผูดูแลระบบ (back end)
2.คลิ๊กที่ปุม Global Configuration หรือคลิ๊กที่เมนู Site > Global Configuration
3.ในหนานี้ จะมีหลายตัวเลือกในการกําหนดคาตาง ๆ เขาจึงทําแท็บแยกตางหาก ใหเลือกที่แท็บ "site"
4.จะมีแถบ site offline ใหเลือกปุม "No"
5.ตัวเลือก: เปลี่ยน Offline Message เพื่ออธิบายใหผูเขาชมเว็บไซตเขาใจเกี่ยวกับสาเหตุการปดเว็บไซต
ชั่วคราว
6.คลิ๊กที่ปุม save หรือ apply
- การ save การเปลี่ยนแปลงจะกลับไปสูหนาผูดูแลระบบหรือ Control Panel
- การ apply เปนการบันทึกการเปลี่ยนแปลง แตคุณจะไมออกจากหนาการตั้งคาเดิม
7.จาก นั้นคุณจะเห็นแถบขอมูลสีน้ําเงิน "The Global Configuration details have been updated." ซึ่งเปนการ
ยืนยันการเปลี่ยนแปลงที่คุณไดกระทําลงไป ผูเขาชมเว็บไซตของคุณก็จะเห็นหนา joomla! โลโกและ
ขอความออฟไลทของคุณ
- หากคุณเห็นแถบสีแดงแสดง error วา Cannot save Global Configuration changes. ใหทําการเปลี่ยนสิทธิ
การใชงานไฟล (permissions) ของไฟล configuration.php เปน 660

เพื่อความปลอดภัยของเว็บไซต เมื่อทําการตั้งคาเสร็จใหเปลี่ยนคา permissions ของไฟล configuration.php


เปน 640 (chmod 640)
ทําให url joomla 1.5 เปน search engine friendly
ทําให url joomla 1.5 เปน search engine friendly เพื่อทํา seo แลวมันมีประโยชนอะไร คือ ชวยใหเว็ยเราติด
อันดับใน search engine งายมากขึ้น เมื่อติดอันดับมากขึ้น คนก็เขามากขึ้นเปนที่รูจักมากขึ้น ปจจุบันนี้ คนก็
ใช search engine กันทั้งนั้น เรียกวาแทบทุกคนเลยดวยซ้ํา คิดอะไรไมออกบอก google (สําหรับเมืองไทยนะ
ตางประเทศเขาก็นิยมอีกแบบตามแบบของเขา) มาดูดีกวา
-- URL แบบที่ยังไมเปดใช search engine friendly
http://127.0.0.1/joomla15test/index.php?option=com_content&view=article&id=19:joomla-
overview&catid=29:the-cms&Itemid=37 เปนแบบนี้เปนที่จดจํายาก เต็มไปดวยพารามิเตอรและเซสชั่น
มากมาย
-- URL แบบที่เปดใช search engine friendly http://127.0.0.1/joomla15test/joomla-overview/more-about-
joomla/29-the-cms/19-joomla-overview.html งายกวาเดิมขึ้นเยอะ

การเปดใชงาน search engine friendly เขาไปเปดไดเลยที่ Global Configuration(รูปดานบน)


จากนั้นตัง้ คาตามรูปเลย

จากนั้นไปแกไฟล htaccess.txt เปน .htaccess


สําคัญคือ Alias ใน section,category,menu,content ใสใหหมดและหามซ้ํากัน เชน
http://www.youdomain.com/youcategory/18-joomla-youpage.html youcategory มาจาก Alias ของ category
18-joomla-youpage มาจาก Alias ของ content
http://www.youdomain.com/youpage.html youpage มาจาก Alias ของ menu
มันจะทําให google คนหาเว็บเราไดงายขึ้นใชไดกับโฮส Apache ที่เปด mod_rewrite เทานั้น
สวนถาเว็บคุณอยูบน subdirectory เชน http://www.yourdomain.com/th
ไฟล#RewriteBase
.htaccess ตรง/

แกเปน
RewriteBase /th

ในไฟล .htaccess ไมตองแกอะไรเลย


มาเปลี่ยน favicon ให joomla กันเถอะ

- favicon มีไวทําไม favicon ที่มีอยูตรงหนา address bar นั้นเปนรูปสัญลักษณแทน สิ่งของหรือบุคคลนั้นๆ


จะชวยใหมนุษยจดจําไดดี จะ ทําใหสมาชิก หรือแขกผูเ ยี่ยมชมนั้น สามารถจดไดวาไอคอนนี้นะ...เปนของ
เว็บนี้ๆ ซึ่งจะทําใหชวยในการจดจําไดมากขึ้น ทางวิทยาศาสตรเขาวางั้น เวลา เรากด Bookmarks หรือ
บันทึกหนานั้นไวเปน รายการโปรด ของเราก็จะเห็นไอคอนนั้นไดเดนชัด ใน joomla 1.5 นั้นจะเก็บรูป
สัญลักษณ ไวในชื่อ favicon.ico จะอยูในพาท /templates/youtemplate/favicon.ico สําหรับ favicon หนา
front end และหนา back end จะอยูที่ administrator/templates/khepri/favicon.ico สําหรับเทมเพลทมาตรฐาน
ที่มีอยูแลว
- ขนาดมาตรฐานของ favicon ก็มีขนาด 16*16 Pixel มีนามสกุลเปน *.ico ชื่อก็ตั้งเปนมาตรฐานตามเขาคือ
favicon อาาจะใชโปรแกรมตกแตงภาพทําขึ้นมาเองหรือใชบริการจากเว็บไซตซึ่งก็ทํางาย ๆ แคเตรียมรูปไว
และวเขาไปที่เว็บ http://www.html-kit.com/favicon/ หรือเว็บอื่น ๆ ที่มีบริการทําให เมื่อได ไอดอนแลวก็
จัดการอัพโหลดไปทับ favicon.ico ที่มีอยูเดิมใน joomla
- /templates/youtemplate/favicon.ico สําหรับ favicon หนา front end

- หนา back end จะอยูที่ administrator/templates/khepri/favicon.ico


Upload Joomla ที่ทําเสร็จจากเครื่องขึ้น hosting
หลาย ๆ ทานอาจจะนั่งทําเว็บในเครื่องตนเองโดยใชโปรแกรม web server ติดตั้งในเครื่องกอน เพื่อความ
รวดเร็วและสะดวกในการปรับแตงและไมคอยยุงยากเหมือน ทําใน host จริง ๆ เสร็จแลวทําการอัพขึ้น host
ในทีเดียวเลย ในครั้งนี้ เราลองมาอัพโหลดเว็บ ที่ทําโดยสคริป joomla จากเครื่องตนเองขึ้น hosting กันเถอะ
1. ก อ นอื่ น ก็ ทํ า การ export ฐานข อ มู ล ของ joomla ที่ ทํ า ไว ใ นเครื่อ งออกมาก อ นครั บ โดยเข า หน า
phpmyadmin (http://localhost/phpmyadmin) เลือกฐานขอมูลของ joomla ทําการคลิ๊กที่เมนู export
2. จัดการเลือกที่ select all เพื่อเลือกที่จะนําฐานขอมูลทั้งหมดออกมา จากนั้นเลือกที่ SQL (ที่วงกลมไว) เลือก
ที่ save as file จากนั้นกด GO

โปรแกรมจะทําการดาวนโหลดไฟล ฐานขอมูล ใหเราเก็บไวในเครื่องกอน (ไฟล *.sql)


3. จากนั้นทําการล็อกอินเขา phpmyadmin ของ host การเขาจัดการฐานขอมูลดวยโปรแกรม phpmyadmin
ของแตละ host จะแตกตางกัน แลวแต control panel ที่ทาง host เลือกใช
เมื่อล็อกอินเขา phpmyadmin เรียบรอยแลว ใหทําการ import ฐานขอมูล ดวยเมนู import ดังรูปดานลาง

4. กดปุม bowser... เลือกไฟล SQL ที่เซฟไวตามขั้นตอนขางตน จากนั้นกด GO เพื่อนําเขาฐานขอมูล


5. เปดโฟลเดอร สคริป joomla ที่เราจะทําการอัพโหลดขึ้นบน host จากนั้นหาไฟล configuretion.php เลือก
เปดดวยโปรแกรม text editor อะไรก็ได

6. ทําการแกไขบรรทัดดังตอไปนี้
var $log_path = '/home/www/....../logs'; เปลี่ยนเปนพาทไดเรกทอรี่ของ host
var $tmp_path = /home/www/....../tmp'; เปลี่ยนเปนพาทไดเรกทอรี่ของ host
var $ftp_host = 'youdomain.com'; ชื่อ FTP host ของคุณ
var $ftp_port = '21';
var $ftp_user = 'yourname@youdomain.com '; ชื่อผูใช FTP
var $ftp_pass = 'xxxxxxxxxxxx'; รหัสผาน FTP
var $ftp_root = '/XXXXX'; ไดเรกทอรี FTP
var $dbtype = 'mysql';
var $host = 'localhost'; ชื่อโอสต
var $user = 'XXXXXXXX'; ชื่อผูใชฐานขอมูล
var $db = 'XXXXXX'; ชื่อฐานขอมูล
var $password = 'รหัสผานฐานขอมูล';
หากไมรูพาทของ host ก็สามารถดูไดดังนี้
- ทําการสรางไฟล php ขึ้นมา 1 ไฟล ทําใน notepad ก็ได ใสสคริป php นี้ลงไป

<?
phpinfo () ;
?>

7. เซฟ เปนชื่อ phpinfo.php แลวทําการอัพโหลดขึ้น host เรียกตาม url


(http://www.youdomain.com/phpinfo.php) ทําการหาพาทไดในนั้น เซฟไฟล configuration.php
8. ทําการอัพโหลดขึ้น host จริง โดยใชโปรแกรม FTP อยางเชน โปรแกรม FileZilla (ดาวนโหลดใชงานได
ฟรี)

9. ใสชื่อ host ชื่อยูสสําหรับล็อกอิน และรหัสผาน (ในชองที่ขีดเสนสีแดงไว) จากนั้นกด Quickconnect อัพ


โหลดสคริปไฟล joomla ทั้งหมดขึ้นบน host เปนอันเสร็จสิ้น

10. การอัพ โหลด joomla จากเครื่องขึ้น host ใชเพียงการแกไขไฟล configuretion.php เพียงไฟลเดียว สําคัญ
ตองใสพาท ชื่อฐานขอมูล ชื่อผูใชฐานขอมูลและรหัสผานใหถูกตอง
การใชงาน phpmyadmin เบื้องตน
phpmyadmin เปนโปรแกรมจัดการฐานขอมูล MySQL ผานทางเว็บบราดวเซอร ซึ่งเปนเครื่องมือ ที่สะดวก
ในการจัดการฐานขอมูลในระยะไกล การใชงานนั้นก็ไมยุงยากอะไร แตจะขอกลาวแบบพื้น ๆ ที่ใชงานกัน
เชน การสรางฐานขอมูล การนําเขาฐานขอมูล การนําออกฐานขอมูลการลบตารางฐานขอมูล ที่จําเปนตองใช
กันเปนประจํา อยูแลว

1.การสรางฐานขอมูล Create new database


กอนอื่นก็ใหทําการล็อกอินเขา phpmyadmin กอน ซึ่งการเขาระดับล็อกอินของ phpmyadmin ของแตละ host
ก็มี URL ที่แตกตางกันไป ตามแตโปรแกรมที่ผูใหบริการ host นั้นติดตั้ง
เมื่อล็อกอินเขามาแลวจะเห็นชองใหกรอกชื่อฐานขอมูลที่ตองการสราง Create new database เมื่อกรอกชื่อ
ฐานขอมูลที่ตองการเสร็จใหกด ปุม Create

ก็จะไดฐานขอมูลวาง ๆ ตามที่ตองการ

2.การนําเขาฐานขอมูล Import database

เมื่อทําการสรางฐานขอมูลเสร็จ หนาเว็บจะนําพามาสูหนานี้ เลือกแท็บ import ดานบน


ในชอง Location of the text file ใหคลิ๊กที่ปุม Browse.. เพื่อเลือกฐานขอมูลที่ตองการนําเขา โปรดสังเกต ตรง
Max : ดวยวา ใหนําเขาฐานขอมูลขนาดไมเกินเทาไหร ถาฐานขอมูลมีขนาดพื้นที่ใหญกวาที่กําหนดจะไม
สามารถนําเขาฐานขอมูลได หมด ฐานขอมูลที่จะนําเขาตองมีนามสกุล *.sql เมื่อเลือกฐานขอมูลที่จะนําเขา
เสร็จเรียบรอยใหกด ปุม Go
3. การสงออกฐานขอมูล Export database
ในกรณีนี้เปนการนําฐานขอมูลออกมา เพื่อนําไปติดตั้งที่อื่น หรือสํารอง เอาไวเผื่อ เกิดความเสียหายของ
ฐานขอมูล
แท็บดานบนเลือกที่ Export

เลือกตาราง ที่ตองการนําออก หรือเลือกทั้งหมด


1.ใหเลือกนําออกไฟลเปน SQL
2. คลิ๊กเลือก save as file
3. กดปุม Go
จากนั้นโปรแกรมจะทําการเซฟและดาวนโหลดมายังเครื่องคอมพิวเตอรของเรา
การใชงาน filezilla FTP manager
Filezilla เปนโปรแกรมจัดการรับสงไฟลระหวาง เครื่องคอมพิวเตอรคุณและ server ผานโปรโต
คอน FTP พอรตที่ 21 ที่เว็บมาสเตอรทุกคนตองมีประจําเครื่องไว แตก็มีโปรแกรมประเภทนี้อีกมากมาย
ฟงกชั่นการใชงานก็อาจจะหลากหลายแตกตางกันไป แตที่ติดใจตัวนี้คือ ฟรี ใชงานงาย ไมกินสเปกเครื่อง
สามารถดาวนโหลดโปรแกรมไดที่นี่ http://filezilla-project.org/ เมื่อดาวนโหลดมาแลวก็จัดการติดตั้งเลย
การติดตั้งไมไดซับซอนอะไร ก็ next ไปเรื่อย ๆ จนเสร็จการติดตั้ง จากนั้นใหเขาโปรแกรม filezilla ที่ติดตั้ง
ไดเลย ก็จะมีหนาตาอยางนี้ขึ้นมา

เมนูดานบนจะมีชองใหกรอกชื่อ host ยูสเนม และรหัสผานสําหรับล็อกอินเขา host ของเรา เมื่อ ทําการคอน


เน็ก เรียบรอยแลว ดานลางถัดมาจากชองที่กรอกขอมูลสําหรับล็อกอินที่เปนตัวหนังสือสีเขียว นั่นคือสวน
แสดงคําสั่งการทํางาน สวน (ที่มีตัวหนังสือสีแดงเขียนไว) ฝงทางดานซายมือจะเปนฝงในเครื่องของเรา สวน
ฝงขวาจะเปนฝงของ server
การอัพโหลดขอมูลจากเครื่องขึ้น server ก็มาที่ฝงซาย คลิ๊กที่ไฟลที่ตองการอัพโหลดแลวคลิ๊กขวา จะมีเมนู
แสดงขึ้นมา คลิ๊กที่ upload
การดาวนโหลดขอมูลจาก server ลงมายังเครื่องเรา ก็มาฝงขวามือ เลือกไฟลที่ตองการเสร็จแลวคลิ๊กขวา
เลือกเมนู download

รูปดานบนเปน การแกไขไฟล ที่เปนไฟลสคริป ของโปรแกรม ที่ขางในนั้นเปน text file หรือไฟลที่เปน


ตัวอักษรขางใน

รูปดานบนเปนการสรางไดเรกทอรี ฝง server สวนทางดานเครื่องเราก็สามารถทําได ดวยวิธีนี้เชนกัน


การเปลี่ยนคา permission หรือการกําหนดสิทธิในการใชไฟล ทําโดยการคลิ๊กขวาไฟลหรือไดเรกทอรีที่เลือก
เลือกที่เมนู file attributes...

Owner permissions คือ การกําหนดคาเฉพาะเจาของเทานั้น


Group permissions คือ การกําหนดคาเฉพาะกลุม
Public permissions คือ การกําหนดคาเฉพาะบุคคลทั่วไป
จะมีตัวอักษรใหสังเกตหลังไฟลดังนี้ drwxrwxrwx
d ตัวแรก คือ ไดเรกทอรี ถาเปนไฟล ก็จะเปนอยางนี้ -rwxrwxrwx
r คือ read หรืออาน กําหนดใหสามารถอานไฟลนี้ไดหรือไม
w คือ write หรือเขียน กําหนดใหสามารถเขียนไฟลนี้ไดหรือไม
x คือ execute หรือการสั่งใหรันไฟลนั้น
rwxrwxrwx สังเกตจะมี 3 ชวง rwx rwx rwx เรียงตาม Owner Group Public
ถาเปนตัวเลข
r=4
w=2
x=1
1=--x , 2=-w- , 3=-wx ,4=r , 5=r-x , 6=rw , 7=rwx ก็เอาเลขดานบนมาบวกกัน
เชน 777 = -rwxrwxrwx (4+2+1) , 755 = -rwxr-xr-x , 644= -rw-r--r--
กําหนดคาที่ตองการ เสร็จแลวกด ok
เอกสารอางอิง

www.joomlathaiclub.com . คูมือการติดตั้งและใชงาน Joomla! . 2553 .


สาธิต ชัยวิวัฒนตระกูล . สรางเว็บไซตใหครบสูตรดวย Joomla! . กรุงเทพฯ : วิตตี้ กรุป , 2551 .

You might also like