You are on page 1of 26

ขอสอบรหัสวิชา 94 วิชาคณิตศาสตร

O-NET ม.3
ประจําปการศึกษา 2560
สอบวันที่ 3 กุมภาพันธ 2561
เวลา 08.30 – 10.00 น.
ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |1
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

ตอนที่ 1 แบบปรนัย 4 ตัวเลือก เลือก 1 คําตอบที่ถูกตองที่สุด


จํานวน 18 ขอ (ขอ 1 – 18) ขอละ 4 คะแนน รวม 72 คะแนน

1. 256  3 64 มีคาเทากับเทาใด
1. 8 2. 10
3. 12 4. 14

7 1
2.  มีคาเทากับขอใด
2  32  52 22  32  5
1 1
1. 2.
150 75
3. 0.001 4. 0.01

3. จากสถานีขนสง มีรถโดยสารไปตลาดสด ออกทุก 25 นาที และ


รถโดยสารไปโรงพยาบาล ออกทุก 40 นาที
ถารถโดยสารทั้งสองเสนทาง ออกเที่ยวแรกพรอมกันเวลา 6.00 น.
เวลาทีร่ ถทั้งสองเสนทางออกจากสถานีขนสงพรอมกันในครัง้ ถัดไปคือเวลาใด
1. 8.00 น. 2. 8.40 น.
3. 9.20 น. 4. 10.00 น.

4. นายใจดี ทํางานไดเงินเดือน 22,000 บาท เขาแบงเงินเดือนเปนสามสวน


โดยใหอัตราสวนของคาใชจายสวนตัว ตอ เงินใหยาย ตอ เงินออม เปน 5 : 2 : 1
ในแตละเดือน จํานวนเงินที่นายใจดีใหยายเทากับขอใด
1. 2,750 บาท 2. 4,400 บาท
3. 5,000 บาท 4. 5,500 บาท
ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |2
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

5. ถังทรงกระบอกมีรัศมียาว 7 นิ้ว มีน้ําอยูในถัง โดยระดับน้ําในถังสูง 3 นิ้ว


ถาเติมน้ําลงในถังจนระดับน้ําในถังสูง 15 นิ้ว แลวคาประมาณของปริมาตรของน้ําที่เติมลงในถังเทากับ
22
ขอใด (กําหนดให  )
7
1. 528 ลูกบาศกนิ้ว 2. 588 ลูกบาศกนิ้ว
3. 1,848 ลูกบาศกนิ้ว 4. 2,310 ลูกบาศกนิ้ว

6. รูปสี่เหลี่ยมผืนผามีพื้นที่ 72 ตารางเซนติเมตร มีดานยาว ยาวเปน 2 เทาของดานกวาง


ถานํารูปสีเ่ หลี่ยมผืนผานี้ 4 รูป มาเรียงติดกัน ดังรูป

แลวเสนรอบรูป(เสนทึบ) ยาวเทากับขอใด
1. 72 เซนติเมตร 2. 84 เซนติเมตร
3. 96 เซนติเมตร 4. 108 เซนติเมตร

7. ตารางแสดงจํานวนักเรียนในหองทีม่ ีเหรียญหาบาทจํานวนตางๆกัน

จํานวนเหรียญหาบาท (เหรียญ) 0 1 2 3 4
จํานวนนักเรียน (คน) 10 11 y 3 2

ถาเหรียญหาบาทของนักเรียนทั้งหองรวมกันเปนเงิน 200 บาท


แลวจํานวนนักเรียนที่มเี หรียญหาบาท 2 เหรียญ เทากับขอใดตอไปนี้
1. 4 คน 2. 6 คน
3. 12 คน 4. 14 คน
ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |3
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

8. เด็กชายกันต ตองการซือ้ ของชิ้นหนึง่ จึงนําเงินทัง้ หมดที่มีอยูในกระปุกออมสินออกมานับ พบวา เงินที่มอี ยู


เปนเหรียญหนึง่ บาททั้งหมด และจํานวนเงินที่มีอยูนี้ยงั ไมพอที่จะซื้อของชินนี้ เขาจึงไปถอนเงินจากธนาคาร
อีก 300 บาท ถาเดิม กันตมเี งินในธนาคารเปน 7 เทาของจํานวนเงินในกระปุกออมสิน และหลังจากถอน
เงินแลว เงินที่กันตจะนําไปซือ้ ของมากกวาเงินที่เหลือในธนาคาร จํานวนเงินในกระปุกออมสินทีม่ ากทีส่ ุด
ที่เปนไปไดเทากับขอใด
1. 74 บาท 2. 76 บาท
3. 99 บาท 4. 101 บาท

9. กําหนดแบบรูป

2 1 , 4 3 , 6 7 , 8 15 , 10 31 , ... , 16 a

a มีคาเทากับขอใด
1. –511 2. –255
3. –127 4. –63

10. กําหนดให P เปนจุดกึ่งกลางของ AB และ CD โดยที่ AB  CD ดังรูป


D
A 2
1

P
4
3 B
C

ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง
1. ACP  BDP 2. 1  2ˆ
ˆ
3. AC = BD 4. AC  BD
ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |4
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

11. กําหนดให a และ b เปนคาคงตัว


ถา y = ax + b มีกราฟเปนเสนตรงทีผ่ านจุด (3, 10) และ ขนานกับเสนตรง y = 2x
แลว a + b เทากับขอใด
1. 6 2. 10
3. 12 4. 13

12. กําหนดให ABC มีจุด A(–3, 7) จุด B(0, 2) และจุด V(3, 4) เปนจุดยอดมุม

Y
A(3, 7)

C(3, 4)

B(0,2)
X

ถาสะทอน ABC โดยมีแกน Y เปนแกนสะทอน


จากนั้นเลื่อนขนานภาพที่ไดจากการสะทอนไป ทางขวา 5 หนวย แลวไดเปน A BC
พิกัดของจุด A คือขอใด
1. (8, 7) 2. (7, 8)
3. (2, –7) 4. (–2, 7)
ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |5
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

13. กําหนดรูปเรขาคณิตสามมิติ 2 รูป ดังนี้

รูป A รูป B

(ทิศทางของลูกศรแสดงทิศทางการมองดานขาง)

พิจารณาภาพดานหนา ภาพดานขาง และภาพดานบนของรูป A และ B ขอใดถูกตอง


1. ภาพดานหนาของรูป A และ B เหมือนกัน
2. ภาพดานขางของรูป A และ B เหมือนกัน
3. ภาพดานบนของรูป A และ B เหมือนกัน
4. ไมมีภาพดานใดของรูป A และ B ที่เหมือนกัน

14. ถาภาพดานหนาและภาพดานขางของรูปเรขาคณิตสามมิตทิ ปี่ ระกอบขึ้นจากลูกบาศกเปนดังรูป

ภาพดานหนา ภาพดานขาง

แลวจํานวนลูกบาศกที่มากที่สุดที่เปนไปไดของรูปเรขาคณิตสามมิตินเี้ ทากับขอใด
1. 10 ลูก 2. 13 ลูก
3. 15 ลูก 4. 16 ลูก
ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |6
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

15. แบงรูปสีเ่ หลี่ยมจัตุรสั ทีม่ ีดานยาว 2 หนวย ออกเปนรูปสีเ่ หลี่ยมจัตรุ สั ที่มีขนาดเทากัน 4 รูป
และมีวงกลมแนบใน ดังรูป
1

1
B

A 
1

ความยาวของสวนของเสนตรง AB เทากับขอใด
1. 2  1 หนวย 2. 2 2 หนวย
2 1
3. หนวย 4. หนวย
4 2

16. ในการโยนเหรียญ 1 เหรียญ 3 ครั้ง


ความนาจะเปนที่เหรียญจะออกกอยไมเกิน 2 ครั้ง เทากับขอใด
7 3
1. 2.
8 4
1 3
3. 4.
2 8

17. ในการใหคะแนนผลงานภาพวาดชิ้นหนึ่ง ซึ่งมีคะแนนเต็ม 10 คะแนน และมีกรรมการจํานวน 10 คน


ผลปรากฏวา คะแนนรวมของกรรมการทั้ง 10 คน เทากับ 71 คะแนน ถาตัดคะแนนกรรมการที่ให
คะแนนนอยที่สุดออก พบวาคะแนนเฉลี่ยของกรรมการ 9 คน ที่เหลือ เทากับ 7.5 คะแนน
คะแนนที่ถูกตัดออกไปคือคะแนนในขอใด
1. 2 คะแนน 2. 2.5 คะแนน
3. 3 คะแนน 4. 3.5 คะแนน
ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |7
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

18. คะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียน 2 หอง เปนดังนี้

คะแนนของนักเรียนในหอง A : 17 19 a 12 13 15 13

คะแนนของนักเรียนในหอง B : 11 16 b 13 20 18 14

ถาคะแนนของนักเรียนทั้งสองหองมีฐานนิยมเทากัน และมัธยฐานเทากัน แลว a + b เทากับขอใด


1. 24 2. 25
3. 26 4. 27

ตอนที่ 2 แบบระบายตัวเลขที่เปนคําตอบ จํานวน 7 ขอ (ขอ 19-25)


ขอละ 4 คะแนน รวม 28 คะแนน

19. ในงานวันเด็กของหมูบานแหงหนึ่ง มีผูรวมงานทั้งหมด 72 คน


1
โดย ของผูมารวมงานทัง้ หมดเปนผูใหญ สวนที่เหลือเปนเด็ก
9
3
ถา ของเด็กที่มารวมงานเปนเด็กผูชาย แลวมีเด็กผูห ญิงมารวมงานกี่คน
8

20. กําหนดให n เปนจํานวนเต็ม


15 n 47
ถา   แลว n มีคาเทาใด
24 36 72
ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |8
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

21. แผนภูมิรูปวงกลมแสดงสวนประกอบของน้ําผลไมรวมที่บรรจุกลองยีห่ อหนึง่

น้ํามะนาว
15%
น้ําฝรั่ง น้ําสม
20% 40%

น้ําแครอท
25%

ถาน้ําผลไมรวมยี่หอนี้แตละกลองมีปริมาตร 300 มิลลิลิตร


แลวน้ําผลไมรวมยี่หอ นี้หนึง่ กลอง จะมีน้ําสมกี่มลิ ลิลิตร

22. กําหนดให AB  QR และ AC  PR


ˆ  90o
BAC

AB , AC และ PR ยาว 3 , 6 และ 8 เซนติเมตร ตามลําดับ


ดังรูป
A
6 ซม. Q
3 ซม. C

B P

8 ซม.
R

รูปสามเหลี่ยม PQR มีพื้นที่กี่ตารางเซนติเมตร


ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |9
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

23. ปริซมึ มีฐานเปนรูปสามเหลี่ยมขนมเปยกปูน ที่มีเสนทแยงมุมทั้งสองยาว 6 เซนติเมตร และ 8 เซนติเมตร


ถาปริซึมสูง 10 เซนติเมตร แลวจะมีพื้นที่ผิวทัง้ หมดเทากับกี่ตารางเซนติเมตร

24. กลองใบหนึง่ บรรจุสลาก 5 แผน แตละแผนมีหมายเลข 1 , 2 , 3 , 4 , 5 แผนละ 1 หมายเลข


ถาสุมหยิบสลาก 2 แผน พรอมกันจากกลองใบนี้ แลวความนาจะเปนทีจ่ ะไดผลคูณของจํานวนบนสลาก
ทั้งสองแผนเปนจํานวนคี่เทากับเทาใด

25. แมใหเงินลูกจํานวนหนึ่ง ซึง่ นําไปซือ้ ไขไกได 4 ฟอง และไขเปดได 6 ฟอง พอดี หรือ ซื้อไขไกได 8 ฟอง
และไขเปดได 3 ฟอง พอดี ถาแมเปลี่ยนใจใหลูกซื้อเฉพาะไขไกอยางเดียว แลวจํานวนเงินที่แมใหจะซือ้ ไข
ไกไดกี่ฟอง

------------------------------------------------------------
ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |10
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

เฉลย
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตอนที่ 1
1. 3 2. 4 3. 3 4. 4 5. 3 6. 3
7. 2 8. 3 9. 2 10. 2 11. 1 12. 1
13. 2 14. 2 15. 1 16. 1 17. 4 18. 4

ตอนที่ 2
19. 40 20. 23 21. 120 22. 16
23. 248 24. 0.3 25. 12
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ตอนที่ 1
ขอ 1. ตอบ 3.
แนวคิด
256  3 64  16  16  3 4  4  4
 16  4
= 12 
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 2. ตอบ 4.
แนวคิด
7 1  7 2  1 5
        
2  32  52 22  32  5  2  32  52 2   22  32  5 5 
14 5
 
22  32  52 22  32  52
9

22  32  52
1

22  52
1

100
= 0.01 
ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |11
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

ขอ 3. ตอบ 3.
แนวคิด
ชวงเวลาที่นอยทีส่ ุดทีร่ ถทั้งสองจะออกพรอมๆกัน จะเทากับ ค.ร.น. ของ 25 นาที และ 40 นาที
หาไดดังนี้
5 25 40
5 8

ค.ร.น. ของ 25 และ 40 เทากับ 5  5  8  200 นาที = 3 ชั่วโมง 20 นาที

ดังนั้นหลังจากที่ออกพรอมเที่ยวแรกเวลา 6.00 น. อีก 3 ชั่วโมง 20 นาที จะออกพรอมกันอีกครัง้


ซึ่งตรงกับเวลา 9.20 น. 
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 4. ตอบ 4.
แนวคิด
นายใจดีแบงเงินเปนสามสวน
โดยมีอัตราสวนของคาใชจายสวนตัว ตอ เงินใหยาย ตอ เงินออม เปน 5:2:1
2
แสดงวาใหยายเทากับ ของเงินเดือนทัง้ หมด ซึ่งเทากับ 2  22, 000 = 5,500 บาท 
8 8
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 5. ตอบ 3.
แนวคิด

12
15
3

ถังทรงกระบอกมีรัศมียาว 7 นิ้ว
มีน้ําอยูในถังโดยระดับน้ําในถังสูง 3 นิ้ว แลวเติมน้ําลงในถังจนระดับน้ําในถังสูง 15 นิ้ว
แสดงวาน้ําที่เติมลงไปทําใหระดับน้ําสูงขึ้น 15 – 3 = 12 นิ้ว
โดยสูตรปริมาตรทรงกระบอก เทากับ r2h
ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |12
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

จะได ปริมาตรน้ําทีเ่ ติมลงในถัง = ปริมาตรของน้ําในถังรัศมียาว 7 นิ้ว และมีระดับน้ําสูง 12 นิ้ว


=   72  12
22 7
  49  12
7
= 1,848 ลูกบาศกนิ้ว 
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 6. ตอบ 3.
แนวคิด
กําหนดรูปสีเ่ หลี่ยมผืนผามีพื้นที่ 72 ตารางเซนติเมตร มีดานยาว ยาวเปน 2 เทาของดานกวาง
ถาใหดานกวางมีความยาว x เซนติเมตร
จะไดดานยาวมีความยาว 2x เซนติเมตร
จากพื้นทีส่ ี่เหลี่ยมผืนผามีพื้นที่ 72 ตารางเซนติเมตร จะไดสมการ คือ

(2x)(x)  72
2x2  72
นํา 2 หารตลอด : x2  36
x6

แสดงวาดานกวางมีความยาว 6 เซนติเมตร และดานยาวมีความยาว 2  6  12 เซนติเมตร


นํารูปสี่เหลี่ยมขนาดกวาง 6 เซนติเมตร และยาว 12 เซนติเมตร มาตอกันดังรูป

6
6
12 12
6
6
6
6
12
12
6
6

จะไดความยาวรอบรูป = 6 + 6 + 12 + 6 + 6 + 12 + 6 + 6 + 12 + 6 + 6 + 12
= 96 เซนติเมตร 
ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |13
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

ขอ 7. ตอบ 2.
แนวคิด
จากตารางแสดงจํานวนักเรียนในหองที่มเี หรียญหาบาทจํานวนตางๆกัน

จํานวนเหรียญหาบาท คาของเงินเหรียญหาบาท จํานวนนักเรียน จํานวนเงิน


(เหรียญ) (บาท) (คน) (บาท)
0 05=0 10 10  0 = 0
1 15=5 11 11  5 = 55
2 2  5 = 10 y y  10 = 10y
3 3  5 = 15 3 3  15 = 45
4 4  5 = 20 2 2  20 = 40

โจทยกําหนดเหรียญหาบาทของนักเรียนทั้งหองรวมกันเปนเงิน 200 บาท จะไดสมการคือ


0 + 55 + 10y + 45 + 40 = 200
10y + 140 = 200
10y = 60
y=6

จํานวนนักเรียนที่มเี หรียญหาบาท 2 เหรียญ เทากับ 6 คน 


---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 8. ตอบ 3.
แนวคิด
สมมติใหกันตมเี งินในกระปุกออมสินจํานวน x บาท
จากที่โจทยกําหนดกันตมเี งินในธนาคารเปน 7 เทาของจํานวนเงินในกระปุกออมสิน
แสดงวากันตมีเงินในธนาคารจํานวน 7x บาท

กันตถอนเงินออกมาจากธนาคาร บาท
300
แสดงวาเงินที่นําไปซื้อของ x + 300 บาท
และเหลือเงินในธนาคาร 7x – 300 บาท

จากที่โจทยกําหนดหลังจากถอนเงินแลวเงินทีก่ ันตจะนําไปซือ้ ของมากกวาเงินทีเ่ หลือในธนาคาร


ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |14
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

จะไดอสมการคือ x + 300 > 7x – 300


300 + 300 > 7x – x
600 > 6x
600
>x
6
100 > x

แสดงวาเงินในกระปุกออมสินมีคานอยกวา 100 บาท


และเนื่องจากเงินในกระปุกออมสินเปนเหรียญบาททัง้ หมด
ดังนั้นเงินในกระปุกออมสินมีมากทีส่ ุดทีเ่ ปนไปไดเทากับ 99 บาท 
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 9. ตอบ 2.
แนวคิด
จํานวนในสี่เหลี่ยมขางหนา จํานวนในสี่เหลี่ยมขางหลัง

2 1 2=12 –1 = 1  21

4 3 4=22 –3 = 1  22

6 7 6=32 –7 = 1  23

8 15 8=42 –15 = 1  24

10 31 10 = 5  2 –31= 1  25

  

16 a 16 = 8  2 a = 1  28  255

ดังนั้น a = –255 
ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |15
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

ขอ 10. ตอบ 2.


แนวคิด
กําหนดให P เปนจุดกึ่งกลางของ AB และ CD โดยที่ AB  CD ดังรูป

D
A 2
1

P
4
3 B
C

จากรูปจะพบวา AP = BP [P เปนจุดกึง่ กลางของ AB ]

ˆ  BPD
APC ˆ [มุมตรงขาม]

CP = DP [P เปนจุดกึง่ กลางของ CD ]

ดังนั้น ACP  BDP [ดาน–มุม–ดาน] แสดงวาตัวเลือก 1. ถูกตอง

จากทีเ่ ราไดวา ACP  BDP

จะไดอีกวา AC = BD แสดงวาตัวเลือก 3. ถูกตอง

ˆ4
1 ˆ [ทําใหเกิดมุมแยงเทากัน] แสดงวาตัวเลือก 4. ถูกตอง

และ 2ˆ  3
ˆ

โดยที่โจทยกําหนด AB  CD แสดงวา AP  CP ทําให ˆ ˆ


13

แตเราไดแลววา 2ˆ  ˆ
3 แสดงวา ˆ  2ˆ
1 แสดงวาตัวเลือก 2. ไมถูกตอง 
ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |16
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

ขอ 11. ตอบ 1.


แนวคิด
โจทยกําหนด y = ax + b มีกราฟขนานกับเสนตรง y = 2x
แสดงวาความชันของเสนตรงทั้งสองเทากัน
นั่นคือ a=2
โจทยกําหนด y = ax + b มีกราฟเปนเสนตรงทีผ่ านจุด (3, 10)
แสดงวาแทน x = 3 และ y = 10 จะทําใหสมการเปนจริง
นั่นคือ 10 = 3a + b
แทน a = 2 จะได 10 = 32 + b
10 = 6 + b
b=4
ดังนั้น a+b=2+4=6 
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 12. ตอบ 1.


แนวคิด
กําหนดให ABC มีจุด A(–3, 7) จุด B(0, 2) และจุด V(3, 4) เปนจุดยอดมุม
สะทอน ABC โดยมีแกน Y เปนแกนสะทอน
จะไดภาพภาพจากการสะทอนดังรูป สามเหลี่ยมที่มจี ุดยอดอยูที่จุด (3, 7), (–3, 4) และ (0, 2) ดังรูป
จากนั้นเลื่อนขนานภาพที่ไดจากการสะทอนไปทางขวา 5 หนวย จะไดเปนรูป ABC ดังรูป
Y
A(3, 7) (3, 7) A (8, 7)

(3, 4) C(3, 4)
C
B(0,2) B(5,2)
X

ดังนั้นจากรูป A BC พัดกัดของจุด A คือ (8, 7) 


ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |17
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

ขอ 13. ตอบ 2.


แนวคิด
ภาพดานหนา
รูป A รูป B

ภาพจากมองดานหนาของรูป A ภาพจากมองดานหนาของรูป B

ภาพมองดานขาง
รูป A รูป B

ภาพจากมองดานหนาของรูป A ภาพจากมองดานหนาของรูป B

ภาพมองดานบน
รูป A รูป B

ภาพจากมองดานหนาของรูป A ภาพจากมองดานหนาของรูป B

จะพบวาดานมองดานขางของรูป A และ B เหมือนกัน 


ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |18
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

ขอ 14. ตอบ 2.


แนวคิด
ภาพจากดานหนา ภาพจากดานขาง

รูปสามมิตจิ ากภาพดานหนา รูปสามมิตจิ ากภาพมองดานขาง

ดังนั้นจะไดรปู สามมิติทมี่ ีจํานวนลูกบาศกทมี่ ากทีส่ ุดทีเ่ ปนไปได จากภาพจากดานหนา


และภาพจากดานขางดังนี้

จะไดรูปสามมิติมีจํานวนลูกบาศกมากทีส่ ุด 13 ลูก 
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 15. ตอบ 1.


แนวคิด
แบงรูปสีเ่ หลี่ยมจัตุรสั ทีม่ ีดานยาว 2 หนวย ออกเปนรูปสีเ่ หลี่ยมจัตรุ สั ที่มีขนาดเทากัน 4 รูป
และมีวงกลมแนบใน ดังรูป 1

D
 1
B

A 
1 C E

1
ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |19
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

กําหนดให C และ D เปนจุดศูนยกลางของวงกลม สรางรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก CDE ดังรูปขางตน

จะได CA = DB = 0.5 หนวย และ CE = DE = 1

ให AB = x หนวย โดยทฤษฎีบทปทาโกรัส จะไดวา

CD2  CE2  DE2

(0.5  x  0.5)2  12  12

(x  1)2  2

x 1   2

x   2 1

แตเนื่องจาก x > 0 แสดงวา x  2 1

นั่นคือ AB  2  1 หนวย 
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 16. ตอบ 1.


แนวคิด
ในการโยนเหรียญ 1 เหรียญ 3 ครั้ง จะมีผลลัพธทั้งหมดทีเ่ กิดขึ้นได 8 วิธีดังนั้น

HHH , HHT , HTH , HTT, THH , THT , TTH , TTT,

เหตุการณที่เหรียญจะออกกอยไมเกิน 2 ครั้ง จะมีผลลัพธทงั้ หมดที่เกิดขึ้นได 7 วิธี ไดแก

HHH , HHT , HTH , HTT, THH , THT , TTH

7
ดังนั้นความนาจะเปนทีเ่ หรียญจะออกกอยไมเกิน 2 ครั้ง เทากับ 
8
ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |20
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

ขอ 17. ตอบ 4.


แนวคิด
สมมติใหคะแนนที่นอยทีส่ ุดที่ตัดออกไปคือ x คะแนน
จากโจทยกําหนดคะแนนรวมของกรรมการทัง้ 10 คน เทากับ 71 คะแนน
แสดงวาผลรวมของคะแนนของกรรมการ 9 คนที่เหลือ เทากับ 71 – x คะแนน

โจทยกําหนดคะแนนเฉลี่ยของกรรมการ 9 คน ที่เหลือ เทากับ 7.5 คะแนน

71  x
จะไดสมการคือ  7.5
9
นํา 9 คูณตลอด : 71  x  7.5  9
71  x  67.5
x  71  67.5

x  3.5

แสดงวาคะแนนที่ถูกตัดออกไปเทากับ 3.5 คะแนน 


---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 18. ตอบ 4.


แนวคิด
คะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียน 2 หอง เปนดังนี้
คะแนนของนักเรียนในหอง A : 17 19 a 12 13 15 13
คะแนนของนักเรียนในหอง B : 11 16 b 13 20 18 14

จะพบวาฐานนิยมของคะแนนนักเรียนในหอง A เทากับ 13
โจทยกําหนดคะแนนของนักเรียนทั้งสองหองมีฐานนิยมเทากัน
แสดงวาฐานนิยมของคะแนนนักเรียนในหอง B เทากับ 13
ทําใหคะแนนของนักเรียนหองตองมี 13 ซ้ํากันมากที่สุด ดังนั้น b ตองมีคาเทากับ 13

พิจารณาคะแนนของนักเรียนหอง B โดยเรียงจากนอยไปหามาก จะไดดังนี้


11 , 13 , 13 , 14 , 16 , 18 , 20

จะพบวามัธยฐานของคะแนนนักเรียนหอง B เทากับ 14
ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |21
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

โจทยกําหนดคะแนนของนักเรียนทั้งสองหองมีมัธยฐานเทากัน
ดังนั้นมัธยฐานของคะแนนนักเรียนหอง A เทากับ 14
และคะแนนนักเรียนหอง A มีจํานวน 7 คะแนน

แสดงวา 14 เปนคะแนนหนึ่งในบรรดาคะแนน 7 คนซึ่งอยูต ําแหนงตรงกลางเมื่อเรียงจากนอยไปมาก


พิจารณาคะแนนของนักเรียนหอง A โดยเรียงจากนอยไปหามาก จะไดดังนี้

12 , 13 , 13 , 14 , 15 , 17 , 19

แสดงวา a มีคาเทากับ 14

ดังนั้น a + b = 13 + 14 = 27 
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ตอนที่ 2
ขอ 19. ตอบ 40
แนวคิด
ในงานวันเด็กของหมูบานแหงหนึ่ง มีผูรวมงานทั้งหมด 72 คน

1
โจทยกําหนด ของผูมารวมงานทัง้ หมดเปนผูใหญ สวนที่เหลือเปนเด็ก
9

8 8
แสดงวามีเด็กมารวมงาน ของผูมารวมงานทั้งหมด ซึ่งเทากับ  72  64 คน
9 9

3
โจทยกําหนด ของเด็กที่มารวมงานเปนเด็กผูชาย
8

5 5
แสดงวา ของเด็กที่มารวมงานเปนเด็กผูห ญิง ซึ่งเทากับ  64  40 คน 
8 8
ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |22
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

ขอ 20. ตอบ 23


แนวคิด
15 n 47
จากอสมการ  
24 36 72

15 n 47
นํา 72 คูณตลอด :  72   72   72
24 36 72

15  3  n2  47

45  2n  47

45 2n 47
นํา 2 หารตลอด :  
2 2 2

22.5  n  23.5

โดยที่ n เปนจํานวนเต็ม แสดงวา n = 23 


---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 21. ตอบ 120


แนวคิด
แผนภูมิรูปวงกลมแสดงสวนประกอบของน้ําผลไมรวมที่บรรจุกลองยีห่ อหนึง่

น้ํามะนาว
15%
น้ําฝรั่ง น้ําสม
20% 40%

น้ําแครอท
25%

โดยที่น้ําผลไมรวมยีห่ อนี้แตละกลองมีปริมาตร 300 มิลลิลิตร


40
จะได น้ําผลไมรวมยี่หอ นี้หนึ่งกลอง จะมีน้ําสม 40% ซึ่งเทากับ  300  120 มิลลิลิตร 
100
ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |23
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

ขอ 22. ตอบ 16


แนวคิด
A
6 ซม. Q
3 ซม. C

B P

8 ซม.
R

เนื่องจาก AB  QR จะได ˆ  RQP


ABC ˆ [มุมแยงของเสนขนาน]

เนื่องจาก AC  PR จะได ˆ  RPQ


ACB ˆ [มุมแยงของเสนขนาน]

เมื่อพิจารณา ABC และ RQP เราไดวา ABC ˆ และ


ˆ  RQP ˆ  RPQ
ACB ˆ

แสดงวามุมทีเ่ หลือของสามเหลี่ยมทั้งสองตองเทากัน
นั่นคือ BACˆ  QRP
ˆ

โจทยกําหนด BAC ˆ  90o จะได ˆ  90o


QRP
และจะไดอกี วา RQP  ABC

โดยสมบัติของสามเหลี่ยมคลาย จะมีอัตราสวนของดานทีส่ มนัยกันเทากัน

RQ RP
จะได 
AB AC

RQ 8
แทน AB = 3, AC = 6 , RP = 8 : 
3 6
8
RQ   3
6
RQ  4

1 1
ดังนั้นพื้นที่รปู สามเหลี่ยม PQR เทากับ  PR  RQ =  8  4  16 ตารางเซนติเมตร 
2 2
ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |24
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

ขอ 23. ตอบ 248 ตารางเซนติเมตร


แนวคิด
ปริซมึ มีฐานเปนรูปสามเหลี่ยมขนมเปยกปูนที่มเี สนทแยงมุมทั้งสองยาว 6 เซนติเมตร และ 8 เซนติเมตร
โดยปริซึมสูง 10 เซนติเมตร
พิจารณาฐานของปริซึม ดังรูป
กําหนดให x แทนความยาวดานของฐานที่เปนรูปสีเ่ หลี่ยมขนมเปยกปูน
โดยสมบัติของสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน เสนทแยงมุมตัดกับเปนมุมฉาก และแบงครึง่ ซึ่งกันและกัน จะไดดังรูป

x
3

จากรูป โดยทฤษฎีบทปทาโกรัส จะได x2  32  42

x2  9  16

x2  25
x5
ดังนั้นฐานเปนรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนยาวดานละ 5 เซนติเมตร

10

5 10
6 5
8

1
จากสูตรพื้นทีส่ ี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน เทากับ  ผลคูณของเสนทแยงมุม
2
และสูตรพื้นทีส่ ี่เหลี่ยมผืนผา เทากับ กวาง  ยาว
โจทยกําหนดปริซมึ สูง 10 เซนติเมตร

จะได พื้นที่ผิวทัง้ หมดของปริซมึ = พื้นที่หนาตัดทั้งสอง + พื้นที่ผวิ ขางทั้งสี่ดาน


1 
= 2    6  8 + 4  (5  10)
2 
= 48 + 200
= 248 ตารางเซนติเมตร 
ข้ อสอบคณิตศาสตร์ O-NET ม.3 หน้ า |25
ปี การศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561

ขอ 24. ตอบ 0.3


แนวคิด
กําหนดกลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 5 แผน แตละแผนมีหมายเลข 1 , 2 , 3 , 4 , 5 แผนละ 1 หมายเลข
สุมหยิบสลาก 2 แผน พรอมกันจากกลองใบนี้ จะไดผลลัพธทั้งหมด 10 วิธี ไดแก
{1, 2} , {1, 3} , {1, 4} , {1, 5} , {2, 3} , {2, 4} , {2, 5} , {3, 4} , {3, 5} , {4, 5}

ผลลัพธทผี่ ลคูณของจํานวนบนสลากทั้งสองแผนเปนจํานวนคี่ มี 3 วิธี ไดแก


{1, 3} , {1, 5} , {3, 5}

3
ดังนั้นความนาจะเปนทีจ่ ะไดผลคูณของจํานวนบนสลากทัง้ สองแผนเปนจํานวนคี่เทากับ  0.3 
10
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 25. ตอบ


แนวคิด
กําหนดให ไขไกราคาฟองละ x บาท
ไขเปดราคาฟองละ y บาท

จากเงินที่แมใหซื้อไขไกได 4 ฟอง และไขเปดได 6 ฟอง พอดี


แสดงวาเงินที่แมใหเทากับ 4x + 6y บาท

จากเงินที่แมใหซื้อไขไกได 8 ฟอง และไขเปดได 3 ฟอง พอดี


แสดงวาเงินที่แมใหเทากับ 8x + 3y บาท

ดังนั้น 4x + 6y = 8x + 3y
6y – 3y = 8x – 4x
3y = 4x

แสดงวา ไขเปด 3 ฟอง มีราคาเทากับ ไขไก 4 ฟอง


จากที่โจทยกําหนดวาเงินที่แมใหซื้อไขไกได 8 ฟอง และไขเปดได 3 ฟอง พอดี
แตเราไดแลววาราคาไขเปด 3 ฟอง เทากับไขไก 4 ฟอง
ดังนั้นเงินที่แมใหซื้อไขไกอยางเดียวจะได 8 + 4 = 12 ฟอง 
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

You might also like