You are on page 1of 16

ติวสบายฟสิกส เลม 4 http://www.pec9.

com บทที่ 13 ไฟฟาสถิต

ตะลุ ย โจทย ทั่ ว ไป ฟ สิ ก ส บ ทที่ 13 ไฟฟ า สถิ ต


ประจุไฟฟา การเหนี่ยวนําทางไฟฟา อิเล็กโทรสโคบ และการตอสายดิน
1(แนว มช) เมื่อนําแทงแกวถูผาไหมจะพบวาวัตถุทั้งสองกลายเปนวัตถุที่มีประจุ การที่วัตถุทั้ง
สองมีประจุได เนื่องจาก
1. ประจุถูกสรางขึน้ 2. การแยกของประจุ
3. การเสียดสี 4. แรงที่ถู
2. เมื่อถูแทงแกวดวยผาไหม แทงแกวจะมีประจุไฟฟาเปนบวกเพราะวาสาเหตุใด
1. โปรตรอนบางตัวในไหมถายเทไปแทงแกว
2. อิเล็กตรอนบางตัวหลุดจากแทงแกวและถายเทไปยังผาไหม ทําใหเหลือประจุไฟฟา
บวกบนแทงแกวมากกวาประจุไฟฟาลบ
3. ทั้งขอ 1. และ 2. ถูกตอง
4. ผิดหมดทุกขอ
3(แนว มช) เมื่อนําแทงพีวีซีที่ถูกับผาสักหลาดแลวไปวางใกล ๆ กับลูกพิธที่เปนกลางทางไฟฟา
จะสังเกตเห็นเหตุการณที่เกิดขึ้นดังนี้
1. ลูกพิธจะหยุดนิ่ง
2. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เขาหาแทงพีวีซี
3. ลูกพิธจะเคลื่อนที่ออกหางจากแทงพีวีซี
4. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เขาหาแทงพีวีซีในตอนแรก แลวจะเคลื่อนที่จากไปภายหลัง
4(แนว มช) เปนที่ทราบกันแลววาอิเล็กตรอนในโลหะ สามารถเคลื่อนที่ไดอยางอิสระและ
มักจะพบเสมอวาอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่มาอยูตามบริเวณผิวของโลหะ เหตุที่อิเล็กตรอนไม
เคลื่อนที่ตอไปในอากาศ เพื่อหนีออกจากโลหะเพราะ
1. อากาศไมเปนตัวนําไฟฟา
2. อิเล็กตรอนมีพลังงานนอยกวาพลังงานยึดเหนี่ยวของโลหะ
3. อากาศมีแรงเสียดทานมาก
4. อิเล็กตรอนถูกอะตอมของโลหะยึดจับไว

1
ติวสบายฟสิกส เลม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟาสถิต
5(แนว En) ในการทําใหวัตถุที่มีประจุไฟฟาเปนลบหรือเปนบวก มีสภาพไฟฟาเปนกลางนั้น
จะตองตอสายดินกับพื้นโลก ทั้งนี้เพราะขอใด
1. โลกมีความตานทานต่ํา 2. โลกมีความจุไฟฟามาก
3. โลกมีสนามไฟฟาต่ํา 4. โลกมีศักยไฟฟาเปนกลาง

แรงระหวางประจุและกฏของคูลอมบ
6. จากรูปใหหาแรงกระทําระหวางประจุทั้งสองนี้ R = 3 ม.
วามีขนาดกี่นิวตัน
1. 0.01 2. 0.05 + –
3. 0.02 4. 0.15 Q1 = +5 x 10–6 C Q2 = –2 x 10–6 C

7. ลูกพิธสองลูกแตละลูกมีประจุ 1.0 ไมโครคูลอมบ เมื่อวางหางกันเปนระยะ 50 เซนติเมตร


และถือวาลูกพิธทั้งสองนี้มีขนาดเล็กมากจนถือไดวาเปนจุดประจุ แรงระหวางประจุที่เกิดขึ้น
มีคาเทาใด
1. 9.0 x 109 นิวตัน 2. 3.6 x 109 นิวตัน
3. 36 นิวตัน 4. 3.6 x 10–2 นิวตัน
8. จงหาระยะหางในหนวยเมตรของจุดประจุที่มีขนาด +1.0 และ –1.0 ไมโครคูลอมบ ซึ่ง
มีแรงดึงดูดตอกัน 360 นิวตัน
1. 5 x 10–3 เมตร 2. 6 x 10–3 เมตร
3. 7 x 10–3 เมตร 4. 8 x 10–3 เมตร
9. ประจุขนาดเทากันชนิดเดียวกันอยูหางกัน 3 เมตร แรงผลักระหวางประจุ 0.4 นิวตัน
ประจุแตละอันจะมีขนาดเทากับกี่คูลอมบ
1. 1 x 10–5 2. 2 x 10–5 3. 1 x 10–6 4. 2 x 10–6
10. กอนโลหะ 2 กอน มีระยะหางระหวางจุดศูนยกลางของโลหะทั้งสองเปน 3 เมตร แตละ
กอนมีอิเล็กตรอนอิสระอยู 1 x 1015 ตัว จงหาขนาดแรงผลักที่เกิดขึ้นวามีกี่นิวตัน

2
ติวสบายฟสิกส เลม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟาสถิต
11. ทรงกลมโลหะลูกเล็กๆ เริ่มแรกไมมีประจุสองลูก จะตองมีการถายเทอิเล็กตรอนจํานวนกี่ตัว
จากลูกหนึ่งไปยังอีกลูกหนึ่ง จึงจะทําใหเกิ ดแรงดึงดูดระหวางทรงกลมทั้งสองเทากับ 1.0
นิวตัน ขณะที่อยูหางกัน 10 เซนติเมตร
1. 6.59 x 1010 ตัว 2. 6.59 x 109 ตัว
3. 6.59 x 108 ตัว 4. 6.59 x 1012 ตัว
12. แรงผลักระหวางประจุที่เหมือนกันคูหนึ่งเปน 3.5 นิวตัน จงหาขนาดของแรงผลักระหวาง
ประจุคูนวี้ ามีคากี่นิวตัน ถาระยะหางของประจุเปน 5 เทาของเดิม
13. ประจุ q1 = +4 x 10–6 คูลอมบ , q2 = –5 x 10–6 คูลอมบ และ q3 = +6 x 10–6 คูลอมบ
วางอยูด ังรูป จงหาแรงที่เกิดขึ้นกับประจุ q2 วามีคากี่นิวตัน
+-– – –2–ม.– – – – – – – – – –4–ม.– – – – –+ –
q1 = + 4x10–6 C q2 = –5x10–6 C q3 = +6x10–6 C
1. 0.029 2. 0.05 3. 0.045 4. 0.151
14. ประจุ +5.0 x 10–6 C และ –3.0 x 10–6 C วางอยูหางกัน 20 เซนติเมตร ถานําประจุทด
สอบขนาด +1.0 x 10–6 C มาวางไวที่จุดกึ่งกลางระหวางประจุทั้งสองขนาด และมีทิศทาง
ของแรงที่กระทําตอประจุทดสอบคือ
1. 0.72 นิวตัน และมีทิศชี้เขาหาประจุลบ
2. 1.80 นิวตัน และมีทิศเขาหาประจุบวก
3. 7.20 นิวตัน และมีทิศเขาหาประจุลบ
4. 7.20 นิวตัน และมีทิศเขาหาประจุบวก
15(แนว มช) ประจุไฟฟา –3 x10–4 C
+ C = +4 x 10–4 C
+2 x10–3 C และ +4 x 10–4 C
วางอยูที่จุด A , B และ C ดัง 3 ม.
รูป จงหาวาแรงกระทําที่มีตอประ A = 3 x 10–4 C
–3
– + B = +2 x 10 C
จุ +2 x 10–3 C มีขนาดกี่นิวตัน 3 ม.
1. 6 x 102 2. 8 x102 3. 1 x 103 4. 1.4 x 103

3
ติวสบายฟสิกส เลม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟาสถิต
16. จากรูป จงหาขนาดของแรงที่กระทําตอ
+10 C
ประจุ +3 C 
1. 0.068 นิวตัน
2. 13.5 นิวตัน 2 cm 2 cm
3. 22.5 นิวตัน
+3 C  2 cm  –10 C
4. 675 นิวตัน
17. ประจุไฟฟาเทากันวางอยูที่จุด A , B และ C โดยระยะ AB = 2 cm , BC = 1 cm
ถาแรงไฟฟาที่กระทําตอ B เนื่องจาก C เทากับ A
2 นิวตัน แรงไฟฟาทั้งหมดที่กระทําตอ B มี
ขนาดกี่นิวตัน 2 cm
1. 12 2. 25 B C
3. 2 5 4. 5 1 cm

18. รัศมีวงโคจรของอิเล็กตรอนรอบโปรตรอนในอะตอมธาตุไฮโดรเจน มีคาประมาณ


5.3 x 10–11 เมตร จงหาอัตราสวนแรงไฟฟาสถิตกับแรงดึงดูดระหวางมวล
กําหนด ประจุอิเล็กตรอน = 1.6x10–19 คูลอมบ
ประจุโปรตรอน = 1.6x10–19 คูลอมบ
มวลอิเล็กตรอน = 9.1x10–31 กิโลกรัม
มวลโปรตรอน = 1.67x10–27 กิโลกรัม
1. 2.3 x 1039 2. 2.7 x 1039 3. 2.8 x 1039 4. 2.9 x 1039

สนามไฟฟารอบจุดประจุ
19. จงหาความเขมสนามไฟฟาที่ระยะ 50 ซม. จากประจุ +10–4 คูลอมบ วาจะมีความเขมกี่
นิวตัน/คูลอมบ
1. 2.3 x 106 นิวตัน/คูลอมบ 2. 5.6 x 106 นิวตัน/คูลอมบ
3. 1.2 x 106 นิวตัน/คูลอมบ 4. 3.6 x 106 นิวตัน/คูลอมบ

4
ติวสบายฟสิกส เลม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟาสถิต
20. ความเขมสนามไฟฟาที่จุดหางจากประจุ 0.15 เมตร เปน 160 นิวตันตอคูลอมบ ที่จุดหาง
จากประจุ 0.45 เมตร จะมีความเขมสนามไฟฟากี่นิวตัน/คูลอมบ
21. ทีต่ ําแหนงซึ่งหางจากประจุหนึ่งเปนระยะ 2.0 เซนติเมตร มีขนาดของสนามไฟฟาเปน 105
นิวตันตอคูลอมบ จงหาขนาดของสนามไฟฟาที่หางจากจุดนี้ 1.0 เซนติเมตร
1. 4 x 105 นิวตัน/คูลอมบ 2. 2 x 105 นิวตัน/คูลอมบ
3. 7 x 105 นิวตัน/คูลอมบ 4. 9 x 105 นิวตัน/คูลอมบ
22(แนว มช) วางประจุ 3 x 10–3 คูลอมบ , 2 x 10–3
คูลอมบ และ –8 x 10–3 คูลอมบ ที่ตําแหนง A , A B C
B และ C ตามลําดับ จงหาสนามไฟฟาที่ตําแหนง
B ในหนวยของนิวตัน/ คูลอมบ AB = 3 เมตร ,
BC = 2 เมตร
1. 21 x 106 2. 15 x 106 3. 30 x 106 4. 42 x 106
23. จากรูป ถา ABP เปนสามเหลี่ยมดานเทามีแตละดานยาว 1.0 เมตร ถานําจุดประจุ 1.0
ไมโครคูลอมบ วางไวที่จุด A และนําจุดประจุ 1.0 ไมโครคูลอมบ และนําจุดประจุ –1.0
ไมโครคูลอมบ วางไวที่จุด B สนามไฟฟาที่จุด P
เนื่องจากจุดประจุทั้งสองมีคาเทาใด P
1. 90 นิวตันตอคูลอมบ
2. 900 นิวตันตอคูลอมบ
3. 9000 นิวตันตอคูลอมบ A B
1 ม.
4. 90000 นิวตันตอคูลอมบ
24. จงหาความเขมสนามไฟฟาที่จุด B ในหนวยของ
นิวตัน/คูลอมบ ตามรูปที่กําหนด +5 C –3.6 C
( กําหนด cos 127o = –0.6 ) 8 cm
37o
1. 7.00 x106 นิวตันตอคูลอมบ
6 cm
2. 7.05 x 106 นิวตันตอคูลอมบ 10 cm
53o
6
3. 7.26 x 10 นิวตันตอคูลอมบ B
4. 5.23 x 106 นิวตันตอคูลอมบ
5
ติวสบายฟสิกส เลม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟาสถิต
25. ประจุ q1 , q2 มีขนาดเทากันอยูหางกัน 2 เมตร สนามไฟฟา ณ จุดกึ่งกลางระหวางประจุ
ทั้งสองมีทิศพุงเขาหา q2 และมีขนาด 4.8 x 104 โวลต/เมตร จงหา q2 ( หนวย คูลอมบ )
1. + 6.67 x 10–9 2. – 6.67 x 10–9 3. +0.27 x 10–5 4. –0.27 x 10–5
26. จุดประจุ +4 x 10–8 คูลอมบ และ +9 x 10–8 คูลอมบ อยูหางกัน 0.5 เมตร จงหาวา
ตําแหนงตามแนวเสนตรงระหวางจุดประจุทั้งสองที่มีขนาดของสนามไฟฟาเปนศูนย อยูห า ง
จากประจุ +4 x 10–8 คูลอมบ กี่เมตร
27. ประจุสองประจุมีขนาด –16 และ +4 ไมโครคูลอมบ วางอยูในตําแหนงซึ่งหางกัน 3
เมตร จงหาวาตําแหนงที่อยูในแนวระหวางประจุทั้งสองที่จะใหเกิดสนามไฟฟาเปนศูน ย
อยูหางประจุ +4 ไมโครคูลอมบ กี่เมตร
28. ประจุ +1 x 10–5 คูลอมบ และ –4 x 10–5 คูลอมบ วางอยูหางกัน 10 เซนติเมตร จงหา
ตําแหนงของจุดสะเทินวาอยูหางประจุ +1 x 10–5 คูลอมบ กี่เซนติเมตร
1. 5 2. 10 3. 13 4. 15
29. ประจุไฟฟาหนึ่ง (+5 C) ถูกวางไวที่ตําแหนง X = 0 เมตร และประจุไฟฟาที่สอง
(+7 C) ถูกวางไวที่ตําแหนง X = 1 เมตร จะตองวางประจุไฟฟาที่สนามไวที่ตําแหนง
X เปนกี่เมตร จึงจะไดรับแรงสุทธิจากสองประจุแรกเทากับศูนย
1. 0.46 2. 0.79 3. 0.77 4. 0.86
30. จุด A , B และ C เรียงลําดับอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน ระยะ AB = ระยะ BC = X เมตร
จุด A และ B มีประจุอยู +QA และ –QB ตามลําดับ พบวาที่จุด C มีสนามไฟฟาเปนศูนย
ประจุ QA และ QB มีคาตามขอใดตอบตามลําดับ
1. 4Q และ –Q 2. 2Q และ –Q 3. Q และ –4Q 4. –2Q และ Q
31. ประจุไฟฟาขนาด +15 และ –30 หนวย 15 A B –30 C
ประจุวางอยูดังรูป ตําแหนงใดควรเปนจุดสะเทิน
1. A 2. B 3. C 4. ไมมีคําตอบถูก
32. ถา +Q และ –Q เปนประจุตนกําเนิดสนามโดยที่ +q และ –q เปนประจุทดสอบ รูปใด
แสดงทิศของ F และ E ไมถูกตอง
6
ติวสบายฟสิกส เลม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟาสถิต

1. +Q 2. –Q
E +q F E –q F

3. –Q 4. +Q
E –q F E –q F

33. จงหาคาสนามไฟฟาที่เกิดจากประจุ 50 x 10–10 คูลอมบ ณ. จุดที่อยูหางออกไป 80 เซน-


ติเมตร และถามีอิเล็กตรอน 2 ตัว อยูที่จุดนั้น อิเล็กตรอนจะถูกแรงกระทําเทาใด
( กําหนด e 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ )
1. 70.3 นิวตัน/คูลอมบ , 2.25 x 10–17 นิวตัน
2. 75.3 นิวตัน/คูลอมบ , 9.25 x 10–17 นิวตัน
3. 70.3 นิวตัน/คูลอมบ , 8.25 x 10–17 นิวตัน
4. 76.3 นิวตัน/คูลอมบ , 5.25 x 10–17 นิวตัน
34. สนามไฟฟาที่ทําใหโปรตอนมวล 1.67 x 10–27 กิโลกรัม มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ
เกิดความเรง 2 x 102 เมตรตอวินาที2 มีคาเทาไร
1. 2 x 10–6 นิวตัน/คูลอมบ 2. 2 x 10–5 นิวตัน/คูลอมบ
3. 2 x 10–4 นิวตัน/คูลอมบ 4. 2 x 10–3 นิวตัน/คูลอมบ
35. ที่จุดหางจากประจุตนเหตุ 1.2 เมตร ประจุขนาด 6 x 10–12 คูลอมบ ถูกแรงกระทํา
6 x 10–10 นิวตัน จงหาคาประจุตนเหตุนี้
1. 1.6 x 10–8 C 2. 1.6 x 10–10 C 3. 3.2 x 10–8 C 4. 3.2 x 10–10 C
36. ที่จุดๆ หนึ่งในสนามไฟฟา เกิดแรงกระทําตออิเล็กตรอน 4.8 x 10–14 นิวตัน จงหาแรง
ในหนวยนิวตัน ที่กระทําตอประจุขนาด 9.0 x 10–7 คูลอมบ ที่จุดเดียวกันนั้น
37. อนุภาคไฟฟาซึ่งมีประจุ –2.0 x 10–9 คูลอมบ ไดรับแรงเนื่องจากสนามไฟฟาสม่ําเสมอ
3.0 x 10–6 นิวตัน ในทิศลง จงหาขนาดและทิศของแรงที่กระทําตอโปรตอนเมื่ออยูใน
สนามนี้
1. 1.2 x 10–16 นิวตัน ในทิศลง 2. 1.2 x 10–16 นิวตัน ในทิศขึ้น
3. 2.4 x 10–16 นิวตัน ในทิศลง 4. 2.4 x 10–16 นิวตัน ในทิศขึ้น
7
ติวสบายฟสิกส เลม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟาสถิต
ศักยไฟฟารอบจุดประจุ
38. จุด A มีศักยไฟฟา –2.0 โวลต และจุด B มีศักยไฟฟา +6.0 โวลต ถาตองการเคลื่อน
ประจุ +2.0 x 10–6 คูลอมบ จากจุด A ไปจุด B จะตองใชงานในการเคลื่อนที่ประจุเทา
กับกี่จูล
1. –4.0 x 10–6 2. 8.0 x 10–6 3. 1.6 x 10–5 4. –1.6 x 10–5
39(แนว En) A และ B เปนจุดที่อยูหางจากประจุ 4 x 10–6 คูลอมบ เปนระยะทาง 2 และ
12 เมตร ตามลําดับ ถาตองการเลื่อนประจุ +1 คูลอมบ จาก B ไป A ตองใชงานใน
หนวยกิโลจูลเทาใด
1. 8.75 2. 15 3. 35 4. 60
40. จากรูป ประจุ Q มีขนาด –5 x1 0–9 คูลอมบ A
หากเลื่อนประจุขนาด 2 คูลอมบ จาก B ไป 1 ม.
A จะตองทํางานกี่จูล 3 ม. B
Q = –5x10–9 C
1. 45 2. –45 3. 60 4. –60
41. เมื่อนําประจุ 0.5 คูลอมบ จาก A ไป B ตองใชงาน 12.5 จูล ศักยไฟฟาที่ A และ B
จะตางกันกี่โวลต
1. 25 2. 12.5 3. 2.5 4. 0.25
42. ในการเคลื่อนประจุ 5 x 10–2 คูลอมบ จาก A ไปยัง B เปนระยะ 10 เมตร ตองใชแรง
เฉลี่ย 2 นิวตัน ความตางศักยระหวาง AB มีคาเทาไร
1. 4 x 102 V 2. 2.25 x 102 V
3. 4 x 103 V 4. 2.25 x 103 V
43. จุด A อยูหางจากประจุ Q เปนระยะ d มีศักยไฟฟา V เมื่อนําประจุทดสอบ q จาก
ระยะอนันต (infinity) มายังจุด A จะสิ้นเปลืองงานไปเทาใด
1. Kq
d 2. KQd 3. KQ
qd 4. KQd q

8
ติวสบายฟสิกส เลม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟาสถิต
44. จากรูปที่กําหนดให จงหาวา ศักย
ไฟฟารวมที่จุด X มีขนาดกี่โวลต A = –1 x 10–9 C B = 5 x 10–9 C
X
1. –18 2. –12 3 ม. * 3 ม.
3. 12 4. 18
45. จากรูปที่กําหนดให ที่ตําแหนง A , B และ C มีประจุ 5 x 10–7 , –2 x 10–7 และ
1.5 x 10–7 คูลอมบ ตามลําดับ จงหาระยะ BD B
ที่ทําใหศักยไฟฟาที่ตําแหนง D เปนศูนย
1. 0.1 เมตร 2. 0.2 เมตร A D C
3. 0.3 เมตร 4. 0.4 เมตร 0.4 เมตร 0.2 เมตร
46. จากรูป A , B และ C มีจุดประจุขนาด 3.0 x 10–6 , 1.0 x 10–6 และ –1.0 x 10–6 คูลอมบ
ตามลําดับ เมื่อ AP = 0.6 เมตร , CP = 0.3 เมตร และ
C
BP = 0.1 เมตร หากนําประจุ +1.0 x 10–5 คูลอมบ
จากจุดที่ไกลมากมาวางที่จุด P ตองทํางานกี่จูล
1. 2.10 2. 1.05 A P B
3. 0.105 4. 10.5
47(แนว En) ประจุ Q1 = +0.5 คูลอมบ ระยะ AB = 10 เซน- A Q1
ติเมตร ระยะ BC = 30 เซนติเมตร มุม ABC = 90o ถา
งานที่ใชในการนําโปรตอน 1 ตัว จากอนันตมาจุด B มี Q2
คา +28.8 x10–9 จูล จงหาวา Q2 มีกี่คูลอมบ B C

48. จากรูป ถา O เปนจุดที่มีศักยไฟฟาเปนศูนย และอยูในระหวาง A , B แลว BO เทากับ


A O B แนว AB
  
+2 C –1 C
1. 13 AB 2. 12 AB 3. 23 AB 4. AB
49. กําหนดประจุ ( q ) ขนาด –2 x 10–6 คูลอมบ อยูหางจากประจุ ( Q ) ขนาด 3 x 10–6 คู-
ลอมบ เปนระยะ 3 เมตร จงหาพลังงานศักยไฟฟาที่สะสมอยูในประจุ q
1. 0.010 จูล 2. 0.018 จูล 3. 0.100 จูล 4. 0.180 จูล
9
ติวสบายฟสิกส เลม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟาสถิต
50. โปรตอนมวล 1.67 x 10–27 กิโลกรัม มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ เริ่มตนเคลื่อนที่จาก
หยุดนิ่งจาก A ไป B ถาศักยไฟฟาที่ A สูงกวาที่ B 100 โวลต อัตราเร็วของโปรตอน
ขณะผานจุด B คือ
1. 200 km/s 2. 138 km/s 3. 98 km/s 4. 49 km/s
สนามไฟฟา และศักยไฟฟาเนือ่ งจากประจุบนตัวนําทรงกลม
51. ทรงกลมรัศมี 1 เมตร และมีประจุ –1 x 10–9 คูลอมบ
จงหาสนามไฟฟาและศักยไฟฟาที่
ก. ระยะทาง 2 เมตร จากผิวทรงกลม 1 ม. 2 ม.
ข. ผิวทรงกลม
ค. ระยะ 0.2 เมตร จากจุดศูนยกลางทรงกลม
1. ก) 1 N/ C , –3 โวลต ข) 9 N/ C , –9 โวลต ค) 0 N/ C , –9 โวลต
2. ก) 2 N/ C , –3 โวลต ข) 8 N/ C , –7 โวลต ค) 2 N/ C , –8 โวลต
3. ก) 1 N/ C , –3 โวลต ข) 8 N/ C , –8 โวลต ค) 0 N/ C , –7 โวลต
4. ก) 2 N/ C , –3 โวลต ข) 3 N/ C , –6 โวลต ค) 1 N/ C , –9 โวลต
52. ตัวนําทรงกลมรัศมี 90 เซนติเมตร มีประจุ 1 ไมโครคูลอมบ ศักยไฟฟาที่ระยะหาง 45
เซนติเมตร จากจุดศูนยกลางของทรงกลมจะมีคากี่โวลต
1. 0 2. 1.0 x 104 3. 2.0 x 104 4. 4.4 x 104
53. ตัวนําทรงกลม A มี O เปนจุดศูนยกลางเสนผานศูนยกลาง 2.0 เซนติเมตร เมื่อใหประจุ
+8.0 x 10–4 C แกทรงกลม ทรงกลม A ขาดอิเล็กตรอนไปกี่อนุภาค และสนามไฟฟา
ภายในทรงกลมมีคากี่นิวตันตอคูลอมบ ( ตอบตามลําดับ )
1. 5.0 x 1015 ตัว , 0 2. 2.0 x 1014 ตัว , 0
3. 5.0 x 1023 ตัว , 10 4. 2.0 x 1032 ตัว , 12
ความสัมพันธระหวางความตางศักยและสนามไฟฟาสม่ําเสมอ
54(แนว มช) ขนาดของสนามไฟฟาในบริเวณระหวางแผนโลหะที่มีประจุตางชนิ ดกันจะมีคา
อยางไร
1. ศูนย 2. สม่ําเสมอตลอดบริเวณ
3. มากเมื่อเขาใกลแผนประจุบวก 4. มากเมื่อเขาใกลแผนประจุลบ
10
ติวสบายฟสิกส เลม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟาสถิต
55. จากรูป แผนโลหะ x , y ขนาดใหญตออยูกับขั้ว 2 cm
แบตเตอรี่ขนาด 120 โวลต อยูในสุญญากาศสนาม y
x
ไฟฟาในระหวางแผนโลหะทั้งสองเปนเทาใด
1. 6 V/m 2. 60 V/m + –
3. 600 V/m 4. 6000 V/m 120 V

56. แผนโลหะขนานวางหางกัน 2 เซนติเมตร ตออยูกับแบตเตอรี่ตัว หนึ่ง ถาความเขม


สนามไฟฟาระหวางโลหะทั้งสองเปน E เมื่อเลื่อนแผนโลหะใหหางกัน 4 เซนติเมตร
ความเขมของสนาม ไฟฟาระหวางแผนโลหะทั้งสองเปนเทาไร
1. 4 E 2. 2 E 3. E 4. E2

57. มีแผนโลหะสองแผนที่ขนานกันและอยูหางกัน 3 มิลลิเมตร ถาความตางศักยระหวาง


แผนโลหะทั้งสองเทากับ 90 โวลต สนามไฟฟาระหวางแผนโลหะคูนี้มีคากี่โวลต/เมตร
1. 3 V/m 2. 30 V/m 3. 300 V/m 4. 3x104 V/m

58. แผนตัวนําคูขนานเทากันวางหางกัน 5 เซนติเมตร มีสนามไฟฟาสม่ําเสมอเขม 20 โวลต/-


เมตร จะมีคาความตางศักยระหวางขั้วบวกและลบกี่โวลต

59. ตามรูป ถาสนามไฟฟาสม่ําเสมอในทิศทาง


Y (0.4 , 0.5)
–Y มีขนาด 325 โวลตตอเมตร จงหา B
ความตางศักยระหวางจุด B กับจุด A
( ใหการกระจัดมีหนวยเปนเมตร )
1. 65 โวลต 2. 130 โวลต A
(–0.2 , –0.3) E
3. 195 โวลต 4. 260 โวลต

60. สนามไฟฟาขนาด 280000 นิวตัน/คูลอมบ มีทิศไปทางใต จงหาขนาดและทิศทางของ


แรงที่กระทําตอประจุ –4.0 ไมโครคูลอมบ วางอยูในสนามไฟฟานี้
1. 1.12 นิวตัน , ทิศเหนือ 2. 3.12 นิวตัน , ทิศเหนือ
3. 3.12 นิวตัน , ทิศใต 4. 1.12 นิวตัน , ทิศใต
11
ติวสบายฟสิกส เลม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟาสถิต
61. วัตถุเล็กๆ ชิ้นหนึ่งมีประจุ –5 x 10–9 คูลอมบ ถูกนําไปวางที่จุดๆ หนึ่งในสนามไฟฟา
ปรากฏวามีแรงกระทํา 2.0 x 10–9 นิวตัน บนวัตถุนั้น สนามไฟฟาที่จุดนั้นมีคาเทาใด
1. 0.4 N/C ทิศเดียวกับแรง 2. 0.4 N/C ทิศตรงขามกับแรง
3. 4.0 N/C ทิศเดียวกับแรง 4. 4.0 N/C ทิศตรงขามกับแรง
62. อนุภาคไฟฟาซึ่งมีประจุ –2.0 x 10–9 คูลอมบ ไดรับแรงเนื่องจากสนามไฟฟาสม่ําเสมอ
3.0 x 10–6 นิวตัน ทิศลง จงหา
ก. สนามไฟฟา ข. ขนาดและทิศของแรงที่กระทําตอโปรตอนเมื่ออยูในสนามนี้
1. ก. 1500 นิวตัน / คูลอมบ ข. 2.4 x 10–16 นิวตัน , ทิศลง
2. ก. 1200 นิวตัน / คูลอมบ ข. 7.4 x 10–16 นิวตัน , ทิศขึ้น
3. ก. 1500 นิวตัน / คูลอมบ ข. 6.4 x 10–16 นิวตัน , ทิศลง
4. ก. 1200 นิวตัน / คูลอมบ ข. 5.4 x 10–16 นิวตัน , ทิศขึ้น
63. หยดน้ํามันหยดหนึ่งมวล 0.02 กรัม ประจุ +q อยูในสนามไฟฟาความเขม 10 นิวตัน/-
คูลอมบ ปรากฏวาหยดน้ํามันหยุดนิ่งโดยสมดุลกับแรงโนมถวงของโลก จงหาคา q
1. 2 x 10–5 C 2. 2 x 10–4 C 3. 2 x 10–3 C 4. 2 x 10–2 C
64. ในการทดลองตามแบบของมิลลิแกน หยดน้ํามันหยดหนึ่งลอยนิ่งไดระหวางแผน โลหะ
ขนาน 2 แผน ซึ่งหางกัน 0.8 เซนติเมตร โดยมีความตางศักยระหวางแผนทําใหเกิดสนาม
12000 โวลตตอเมตร ถาหยดน้ํามัน มีประจุไฟฟา 8.0 x 10–19 คูลอมบ จะมีน้ําหนัก
เทากับเทาใด
1 . 7.7 x 10–17 นิวตัน 2 . 6.4 x 10–19 นิวตัน
3. 9.6 x 10–19 นิวตัน 4. 9.6 x 10–15 นิวตัน
65. แผนตัวนําขนานที่อยูหางกัน 1.0 เซนติเมตร ทําใหเกิดสนามไฟฟาสม่ําเสมอตามแนวดิ่ง
ถาตองการใหอิเล็กตรอนที่มีมวล 9.1 x 10–31 กิโลกรัม และประจุ –1.6 x 10–19 คูลอมบ
ลอยอยูระหวางแผนตัวนําขนานนี้ ความตางศักยระหวางแผนตัวนําขนานตองเปนกี่โวลต
1. 1.14 x 10–13 โวลต 2. 98 โวลต
3. 5.67 x 10–13 โวลต 4. 78 โวลต

12
ติวสบายฟสิกส เลม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟาสถิต
66. ตัวนําทรงกลมมวล 0.60 กรัม มีประจุขนาด 8 ไมโครคูลอมบ ถูกแขวนดวยเชือกเล็ก
อยูในสนามไฟฟาความเขม 300 นิวตัน/คูลอมบ ทิศลง จงหาความตึงเชือกถาประจุนั้น
ก. เปนประจุบวก ข. เปนประจุลบ
1. ก. 4.2x10–3 N , ข. 1.8x10–3 N 2. ก. 4.2x10–3 N , ข. 3.6x10–3 N
3. ก. 8.4x10–3 N , ข. 1.8x10–3 N 4. ก. 8.4x10–3 N , ข. 3.6x10–3 N

67(แนว En) ทรงกลมตัวนําลูกหนึ่งมีมวล m แขวนดวยเชือก


ภายใตสนามไฟฟาสม่ําเสมอ 4 x 104 นิวตัน/คูลอมบ หาก 30o
ทรงกลมมีประจุอยู 2 x 10–6 คูลอมบ ทําใหเชือกแขวน
ทํามุม 30 องศากับแนวดิ่ง มวลของทรงกลมมีคาเทาใด
1. 2.31 x 10–3 kg 2. 4.62 x 10–3 kg 3. 6.93 x 10–3 kg 4. 13.86 x 10–3 kg

68. ลูกบอลพลาสติกมวล m แขวนดวยเชือกยาว d และอยูในบริเวณที่มีสนามไฟฟาสม่ํา


เสมอขนาด E ในแนวระดับดังรูป ถาลูกบอลอยูใน
ตําแหนงสมดุล เสนเชือกทํามุม  กับแนวดิ่ง จง E
หาขนาดของประจุไฟฟาบนลูกบอลพลาสติก 
d
mg
1. E mg
2. E tan
g

3. mg
E cot  4. mg
E cos 

69. ทรงกลมเล็กๆ แขวนแนวดิ่งไวดวยเชือกเบาที่เปน


ฉนวน จากนั้นคอยๆ เพิ่มขนาดสนามไฟฟาสม่ําเสมอ 

ในแนวระดับ ทําใหทรงกลมเล็กคอยๆ เคลื่อนที่ไป E
ในทิศทางดังรูป ถาทรงกลมมีประจุ +2.5 x 10–6 คู-
ลอมบ และมีมวล 0.015 กรัม เชือกเบาสามารถทน
แรงตึงไดสูงสุด 0.25 x 10–3 นิวตัน จงหาขนาดของ
สนามไฟฟา พรอมกับมุม  ที่ทําใหเชือกเบาขาดพอดี ( ให sin 53o = 0.8 )
1. 80 นิวตัน/คูลอมบ และ  = 37o 2. 80 นิวตัน/คูลอมบ และ  = 53o
3. 40 นิวตัน/คูลอมบ และ  = 37o 4. 40 นิวตัน/คูลอมบ และ  = 53o
13
ติวสบายฟสิกส เลม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟาสถิต
70. อิเล็ ก ตรอนมีค วามเร็ว ตน 5 x 106 เมตร/วิน าที เคลื่อ นที่ใ นทิ ศเดีย วกั บทิศของ
สนามไฟฟาที่มีขนาด 1 x 104 นิวตัน/คูลอมบ จงหาวานานเทาไหรอิเล็กตรอนจึงจะมี
ความเร็วเปนศูนย และระหวางนั้นอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปเปนระยะทางเทาไร กําหนดประจุ
ไฟฟาและมวลของอิเล็กตรอนเปน –1.6 x 10–19 คูลอมบ และ 9.1 x 10–31 กิโลกรัม
ตามลําดับ
1. 2.8 x 10–9 s , 7.1 x 10–3 m 2. 4.5 x 10–9 s , 10.5 x 10–3 m
3. 4.5 x 10–9 s , 7.1 x 10–3 m 4. 2.8 x 10–9 s , 10.5 x 10–3 m

ตัวเก็บประจุและความจุ
71. ประจุ 2 ไมโครคูลอมบ กระจายสม่ําเสมอบนตัว นําทรงกลมรัศมี 10 เซนติเมตร
ความจุทรงกลมนี้คือกี่ฟารัด
1. 1.1 x 10–11 2. 0.11 x 10–11 3. 0.22 x 10–11 4. 0.44 x 10–11

72. ถาศักยไฟฟาสูงสุดของตัวนําทรงกลมรัศมี 30 เซนติเมตร มีคา 9 x 105 โวลต จงคํานวณ


หาปริมาณประจุไฟฟาที่มากที่สุดที่ตัวนําทรงกลมนี้จะสามารถรับได
1. 3 x 10–5 2. 4 x 10–5 3. 6 x 10–5 4. 8 x 10–5

73. จงหาพลังงานที่สะสมในคาปาซิเตอรที่มีความจุ 2 ไมโครฟารัด เมื่อประจุไฟฟาใหคาปาซิ-


เตอรจน มีความตางศักย 100 โวลต
1. 10–2 จูล 2. 10–3 จูล 3. 10–4 จูล 4. 10–5 จูล

74. ตัวเก็บประจุสามตัวมีความจุ C1 , C2 และ C3 นํามาตอเขาดว ยกัน ดังในรูป ความจุ


รวมของระบบ จะมีคาเทาใด C2
C C C C .(C  C ) C1
1. C1 (C 2 C 3) 2. C1  C2  C3
1 2 3 1 2 3
(C  C ) C C
3. C1  C2 C 3 4. C1  C 2 C3 C3
2 3 2 3

14
ติวสบายฟสิกส เลม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟาสถิต
75. ตัวเก็บประจุแบบโลหะแผนขนาน C1 = 2 F และ C2 = 3F ตอกันอยางอนุกรมกับขั้ว
ทั้งสองของแบตเตอรี่ขนาด 10 โวลต จงหา
ก. ประจุไฟฟาบน C1 และ C2 V1 V2
Q1 Q2
ข. ความตางศักยบน C1 และ C2 ( ตอบตามลําดับ )
C1 C2
1. ก. 12 C , 12 C , ข. 6 V , 4 V
2. ก. 13 C , 10 C , ข. 8 V , 4 V
3. ก. 15 C , 12 C , ข. 9 V , 4 V Vรวม = 10 V
4. ก. 18 C , 12 C , ข. 7 V , 4 V
76. นําตัวเก็บประจุสองตัวที่มีความจุ 2 ไมโครฟารัด และ 4 ไมโครฟารัด มาตอกันและตอ
กับความตางศักย 120 โวลต จงหาประจุทั้งหมดและพลังงานทั้งหมดที่สะสมในตัวเก็บ
ประจุเมื่อตอเก็บประจุ ( ตอบตามลําดับ )
ก. แบบอนุกรม ข. แบบขนาน
1. ก. 26 x 10–3 จูล , 1.6 x 10–4 คูลอมบ ข. 4.32 x 10–2 จูล , 7.20 x 10–4 C
2. ก. 50 x 10–3 จูล , 1.8 x 10–4 คูลอมบ ข. 4.92 x 10–2 จูล , 7.80 x 10–4 C
3. ก. 26 x 10–3 จูล , 1.6 x 10–4 คูลอมบ ข. 4.32 x 10–2 จูล , 7.20 x 10–4 C
4. ก. 50 x 10–3 จูล , 1.7 x 10–4 คูลอมบ ข. 4.52 x 10–2 จูล , 7.70 x 10–4 C
77(แนว มช) ตัวเก็บประจุ 3 ตัว C1 มีความจุ 6 ไม-
โครฟารัด C2 มีความจุ 12 ไมโครฟารัด และ C1
C3 มีความจุ 8 ไมโครฟารัด เมื่อนํามาตอกับ 100 V C3
ความตางศักย 100 โวลต ดังรูป จงหาพลังงาน C2
สะสมที่ตัวเก็บประจุ C3 ในหนวยจูล
1. 8 x 10–2 2. 4 x 10–2 3. 8 x 10–4 4. 4 x 10–4
78(แนว En) ตัวเก็บประจุ C1 , C2 และ C3 มีขนาดความจุ 1 ,
C2 C3
2 และ 3 ไมโครฟารัดตามลําดับ กอนนํามาตอกับแบตเตอรี่
ขนาด 2 โวลต ดังรูป ตัวเก็บประจุทั้งสามยังไมมีประจุอยู
C1
ภายในเลย เมือ่ ปดสวิตซ S เปนเวลานานพอที่จะทําใหอยู
ในสภาพสมดุล พลังงานไฟฟาที่สะสมอยูในตัวเก็บประจุ C2
2V S
จะมีขนาดเทาใดในหนวยไมโครจูล
15
ติวสบายฟสิกส เลม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟาสถิต
79. เมื่อสับสวิทซลงในวงจรดังแสดงในรูปจะมีประจุ C2 = 8 F
ขนาด 40 ไมโครคูลอมบ ไหลจากแบตเตอรี่ไป C 1 = ?
เก็บอยูในตัวเก็บประจุ C1 , C2 และ C3 ขนาด C3 = 8 F
ความจุของตัวเก็บประจุที่ไมทราบคา C1 มีคากี่
ไมโครฟารัด E=5V
1. 2 2. 4 3. 8 4. 16
80. ตัวนํารูปทรงกลม A และ B มีรัศมีของทรงกลมเปน r และ 2 r ตามลําดับ ถาตัวนํา A
มีประจุ Q และตัวนํา B มีประจุ –2Q เมื่อเอามาแตะกันแลวแยกออก จงหาประจุของตัว
นํา A
1. –Q 2. – Q2 3. – Q2 4. – Q3
81. ถานําตัวนําทรงกลมรัศมี 10 เซนติเมตร ที่มีประจุ –1.0 คูลอมบ มาแตะกับตัวนําทรง
กลมรัศมี 20 เซนติเมตร ที่มีประจุ +2.5 คูลอมบ หลังจากแยกออกจากกันแลว ตัวนําทรง
กลมรัศมี 10 เซนติเมตรจะมีประจุกี่คูลอมบ



16

You might also like

  • 17
    17
    Document8 pages
    17
    'ปราย ปันสุข
    100% (1)
  • Gat
    Gat
    Document31 pages
    Gat
    'ปราย ปันสุข
    No ratings yet
  • EndNote VX7
    EndNote VX7
    Document27 pages
    EndNote VX7
    'ปราย ปันสุข
    No ratings yet
  • Stats
    Stats
    Document2 pages
    Stats
    'ปราย ปันสุข
    No ratings yet
  • Compound Adjective
    Compound Adjective
    Document7 pages
    Compound Adjective
    'ปราย ปันสุข
    No ratings yet