You are on page 1of 52

การเจริญเติบโตและพัฒนาการของผูปวยกลุมอาการลําไสสั้น

จริยา เอี่ยมศรีรักษ

ภูมิหลัง : กลุมอาการลําไสสั้น (short bowel syndrome) หมายถึง กลุมอาการที่ลําไสสูญเสียหนาที่ในการดูดซึมสารอาหาร


และน้ํา อาจเกิดจากสูญเสียทางกายภาพหรือหนาที่ของลําไสเล็ก ซึ่งผลที่ตามมาในรายที่รุนแรงจะพบภาวะพัฒนาการชา
และความผิดปกติทางดานเมตาบอลิก
วัตถุประสงค : เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตและพัฒนาการของผูปวยกลุม อาการลําไสสั้นหลังจากลําไสมีการปรับตัว
วิธีการศึกษา : ทําการศึกษาแบบ retrospective cohort โดยเก็บรวบรวมขอมูลพื้นฐานของผูปวยกลุมอาการ
ลําไสสั้นจํานวน 23 ราย ซึ่งไดรับการวินจิ ฉัยในชวงป พ.ศ. 2523-2549 และระยะเวลาภายหลังการผาตัดลําไสตั้งแต 2 ปขึ้น
ไป ตรวจประเมินผูปวย 2 ดาน คือ ดานการเจริญเติบโตและภาวะโภชนาการ ไดแก ชัง่ น้ําหนัก วัดสวนสูง ตรวจเลือดเพื่อ
ประเมินระดับสังกะสี วิตามินเอ วิตามินอี CBC, alkaline phosphatase, ferritin ตรวจปสสาวะ และตรวจวัดความหนาแนน
ของมวลกระดูก ดานพัฒนาการ ไดแก ประเมินดานสติปญญา โดย BSID-II, SB-IV หรือ WISC-III และประเมินดาน
พฤติกรรม โดย Strengths and Difficulties Questionnaire (SDQ) ขอมูลเชิงพรรณนานําเสนอเปน Z-scores, percent และ
medians และนําผลการศึกษาที่ไดมาวิเคราะหเปรียบเทียบกับการศึกษาที่ผานมา
ผลการศึกษา : จํานวนผูปวยในการศึกษานีม้ ีทั้งหมด 23 ราย เปนชาย 17 คนและหญิง 6 คน มีอายุระหวาง 2.5-28.8 ป
ผูปวยสวนใหญ (รอยละ 73.9) ไดรับการผาตัดตั้งแตชว งวัยทารกแรกเกิด สาเหตุของกลุมอาการลําไสสั้นที่พบมาก
ตามลําดับ คือ necrotizing enterocolitis (รอยละ 38.1), Hirschsprung’s disease (รอยละ26.1) และ intestinal atresia (รอย
ละ 26.1) ผูปวยสวนใหญ(รอยละ 69.6) มีความยาวของลําไสที่เหลือตั้งแตรอยละ 25 ขึ้นไป รอยละ 73.9ของผูปวยไมมี
terminal ileum และรอยละ 60.9ของผูปวย ไมมี ileocecal valve รอยละ91.3ของผูปวยสามารถรับอาหารทางลําไสไดเต็มที่
ผลการประเมินดานการเจริญเติบโต พบวา 2 ใน 3 ของ ผูปวยมีการเจริญเติบโตปกติ พบภาวะผอมและภาวะตัวเตี้ยคิดเปน
รอยละ4.4 และ 30.4 ตามลําดับ คา median ของ Z-score ของความหนาแนนของมวลกระดูกคือ 0.2 (-2 ถึง 2.4) ผลการ
ตรวจทางหองปฏิบัติการพบภาวะซีด ระดับสังกะสีในเลือดต่ํา วิตามินเอต่ํา และวิตามินอีต่ํา รอยละ 27.3, 38.1, 13.6 และ
31.8 ตามลําดับ การประเมินพัฒนาการดานสติปญญาโดยการตรวจIQ พบวา สวนใหญ (รอยละ 57.1) อยูในเกณฑปกติ (
IQ 90-119) พบ borderline ( IQ 70-89) และ mental retardation ( IQ≤69) รอยละ 28.6 และ 14.3 ตามลําดับ ซึ่งในผูปวย 3
รายนี้พบโรครวม คือ spinocerebellar ataxia, central hypothyroidism สวนผูปวยรายสุดทายเปนเด็กอายุ 2.5 ปใหความ
รวมมือขณะทําการทดสอบ BSIDII ไมเต็มที่จึงจําเปนตองตรวจประเมินซ้ํา และผลการประเมินพัฒนาการดานพฤติกรรม
พบปญหาดานพฤติกรรมเกเรรอยละ 61.9 และพฤติกรรมดานความสัมพันธกับกลุมเพื่อนรอยละ 57.1 ซึ่งอธิบายไดจาก
ภาวะความเรื้อรังของโรค
สรุป: จากการศึกษานี้พบวา ผูปวยกลุมอาการลําไสสั้นประมาณ 2 ใน 3 (รอยละ 67) มีการเจริญเติบโต ภาวะทางโภชนาการ
ความหนาแนนของมวลกระดูก และสติปญ  ญาอยูในเกณฑปกติหลังจากลําไสเกิดภาวะปรับตัว แมวาผูปวยสวนใหญจะไมมี
ileocecal valve และ terminal ileum อยางไรก็ตาม ยังพบผูปวยประมาณหนึ่งในสาม มีภาวะตัวเตี้ย กระดูกบาง ระดับ
สังกะสีและวิตามินอีในเลือดต่ํา
LONG-TERM GROWTH AND DEVELOPMENT IN PATIENTS
WITH SHORT BOWEL SYNDROME
Jariya Iamsrirak

Background: Short bowel syndrome (SBS) refers to the condition of nutritional malabsorption because of
anatomical or functional loss of a significant length of the small intestine. The sequelae of severe SBS
include delayed growth and development as well as metabolic imbalances.
Objectives: To determine growth, development, and nutritional status of pediatric patients with SBS after
intestinal adaptation
Methods: A retrospective cohort study was performed using data collection from medical records of 23
subjects with SBS. They were diagnosed between 1980-2006 and underwent small bowel resection more
than 2 yrs before enrollment. The data included anthropometric measurement and laboratory investigations
as follows: plasma levels of zinc, vitamin A (VA), vitamin E (VE) as well as CBC, alkaline phosphatase,
albumin, serum ferritin, urinalysis, and bone mineral density (BMD). The cognitive function of SBS
patients was measured using BSID-II, SB-IV or WISC-III according to age group. The behavioral outcome
was assessed by Strengths and Difficulties Questionnaire (SDQ) which is a screening instrument.
Descriptive data were expressed by Z-scores, percentages, and medians. The data were analyzed in
comparison with previous studies.
Results: Twenty-three patients (17 males, 6 females) with complete data were identified. The median age
was 9.6 years (range 2.5 -28.8 years). Most patients (73.9%) had surgery in neonatal period. The 3
common indications for surgery were necrotizing enterocolitis (38.1%), Hirschsprung’s disease (26.1%),
and intestinal atresia (26.1%). Concerning bowel resection, most patients (69.6%) had residual small bowel
of at least 25%; 73.9% and 60.9% of them had no terminal ileum and
no ileocecal valve, respectively. Most patients (91.3%) had full enteral feeding. According to anthropometry,
two-thirds of the patients had normal growth whereas 4.4% and 30.4% had wasting and stunting, respectively.
The median Z-score for BMD was 0.2 (range from -2 to 2.4). Fourteen patients (77.8%) had normal BMD.
Regarding biochemistry tests, 27.3%, 38.1%,13.6%, and 31.8% of them had anemia, low serum zinc, low VA,
and low VE levels, respectively. Cognitive assessment by IQ test revealed normal IQ (score 90-119) in more
than half of the patients (57.1%), borderline (score 70-89) in 28.6%, and mental retardation (score ≤ 69) in
14.3% of them. Among 3 cases with mental retardation, 1 patient had comorbid spinocerebellar ataxia, 1 had
central hypothyroidism, and the last one was a very young child who was not fully cooperated when tested by
BSID-II. SDQ by parent report demonstrated abnormal results particularly in conduct problems (61.9%) and
peer problems ( 57.1%).
Conclusion: This study demonstrated that most patients (67%) with SBS had normal growth, nutritional
status, BMD, and IQ test after intestinal adaptation even though most of them had no terminal ileum and IC
valve. However, approximately one-third of them had stunting, osteopenia, low serum zinc and VE.
การศึกษาความชุกของผื่นลมพิษเฉียบพลันที่มีสาเหตุจากยาในผูปวยเด็ก
ชนมนิภา มฤคทัต

ความเปนมา: ผื่นลมพิษเฉียบพลันเปนโรคที่พบไดบอยในผูปวยเด็ก สาเหตุที่พบไดอาจเกิดจากการติดเชื้อ 48.6% ยา 5.4%


และอาหาร 2.7% การวินิจฉัยมักอาศัยการซักประวัติ
วัตถุประสงคการวิจัย เพื่อศึกษาความชุกของผื่นลมพิษเฉียบพลันที่มีสาเหตุจากยาในผูปวยเด็ก และยืนยันยาที่เปนสงสัยวา
เปนสาเหตุดวยวิธีการทดสอบทางผิวหนังและการกิน
วิธีดําเนินการวิจัย: ผูปวยเด็กที่มาดวยผื่นลมพิษเฉียบพลันจะไดรับการซักประวัติและตรวจรางกาย เพื่อหาสาเหตุที่ทำให
เกิดผื่นลมพิษเฉียบพลัน ถามีประวัติการใชยาจะไดรับการทดสอบดวยวิธี skin prick test, intradermal test และ oral
challenge test ตามแผนการวิจัย เก็บขอมูลเชิงพรรณนาและวิเคราะหขอมูลโดยวิธีการทางสถิติ
แบบแผนการวิจัย: เปนการศึกษาแบบ descriptive study
ประชากร: ผูปวยเด็กที่มาดวยผื่นลมพิษเฉียบพลันที่ไดรบั การตรวจทีแ่ ผนกผูปวยนอกเด็กโรงพยาบาลรามาธิบดีตั้งแตเดือน
มกราคม พ.ศ. 2551 ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2552
เกณฑในการคัดออก: ผูปวยที่มีประวัติแพยาที่เกิดปฏิกิริยา anaphylaxis หรือมีประวัติการใชยาสเตียรอยดเรื้อรัง หรืออายุ
นอยกวา 2 ปที่ไมสามารถทําการทดสอบทางผิวหนังหรือกินยาทดสอบ หรือมีโรคประจําตัวเปน cutaneous mastocytosis
หรือ dermographism และผูปกครองปฏิเสธเขารวมการวิจัย
ผลการวิจัย: พบผูปวยเด็กอายุตั้งแต 4 เดือนถึง อายุ 16 ป จํานวน 164 ราย เปนเพศชายและเพศหญิงเทากัน จากการซัก
ประวัติและตรวจรางกายพบวาผูปวยที่มีประวัติไดรับยากอนที่มีผื่นลมพิษเฉียบพลันเกิดขึ้น 32 ราย (19.5%) ผูปวยที่ไมทราบ
สาเหตุของผื่นลมพิษ 82 ราย (50%) คาดวามีสาเหตุจากอาหาร 26 ราย (15.9%) สาเหตุจากการติดเชื้อ15 ราย (9.1%) สาเหตุ
จากแมลงสัตวกัดตอย 4 ราย (2.5%) และเกิดจากสาเหตุอื่นๆ 5 ราย (3%) ผูปวยที่มีประวัติสงสัยมีสาเหตุจากยาและไดรับการ
ทดสอบ 15 ราย(57.7%) ใหผลบวกทั้งหมด 9 ราย (60%) โดยมีสาเหตุจากยา ampicillin 8 ราย (88.9%) ยา azithromycin 1
ราย (11.1%)และพบวามี angioedema ในกลุมที่ผื่นลมพิษเฉียบพลันที่มีสาเหตุจากยาถึง 33% ซึ่งแตกตางจากกลุมที่ไมมี
สาเหตุจากยาอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
สรุป: การศึกษาครั้งนี้สามารถยืนยันยาที่เปนสาเหตุของผื่นลมพิษเกิดจากยากลุมเพนิซิลลินมากที่สุด ดังนั้นในผูปวยลมพิษ
เฉียบพลันที่สงสัยยากลุมเพนิซิลลิน ควรแนะนําใหหลีกเลี่ยงโดยเฉพาะผูปวยที่มี angioedema รวมดวย
THE PREVALENCE OF DRUG-INDUCED ACUTE URTICARIA
IN CHILDREN
Chonnibha Marukatat
Background: Acute urticaria is a common disease in children. The most frequently encountered possible
causes are infection (48.6%), drugs (5.4%) and food (2.7%). Initial diagnosis is derived from history taking.
Objective: To study the prevalence of drug-induced acute urticaria and performing skin test and oral
challenge test to confirm the causative drugs.
Methods: All patients with acute urticaria were enrolled during the study period. The history was taken and
physical examination was performed to define possible causes of acute urticaria according to protocol. In
suspected cases of drug-induced acute urticaria, skin prick test, intradermal and oral challenge tests were
requested and respectively carried out as protocol. Descriptive and univariate analysis (Chi-square and T-
test) were applied.
Study design: Descriptive study
Population: All children with acute urticaria who diagnosed at the out patient unit at the Ramathibodi
hospital from January 2008 to August 2009.
Exclusion criteria: The patients who had a history of anaphylaxis, chronic systemic steroid usage, the age
less than 2 years old who cannot performing tests, who has underlying disease such as dermatographism,
cutaneous mastocytosis, or parental refusal of consent.
Results: There were 164 patients consisted of male equal to female age range from 4 months to 16 years
enrolled into this study. From history taking and physical examination, possible causes of acute urticaria
were drugs 32 cases(19.5%), unknown causes 82 cases(50%), food 26 cases(15.9%), infection 15
cases(9.1%), insect sting 4 cases(2.5%), others (cholinergic, heat induced, contact, etc) was 5 cases(3%).
Fifteen cases(57.7%) who suspected drug as a causative agent were performed skin test and oral challenge
test as protocol. There were 9 cases(60%) positive results which 8 cases(88.9%) from ampicillin and 1
case(11.1%) from azithromycin were confirmed as a causative drug-induced acute urticaria. Angioedema
was found in drug-induced acute urticaria group 33% which is statistical significant.
Conclusion: From this study, we can define penicillin group as a most causative drug-
induced acute urticaria.
การศึกษาประสิทธิภาพของผาขาวคลุมขอบเครื่องสองไฟ
ในการรักษาภาวะตัวเหลืองในทารก
ณัฐชัย เมืองยศ

ความเปนมา: ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิดรักษาไดดว ยการสองไฟ โดยแสงไฟลด serum bilirubin ดวยการเปลีย่ น


โครงสรางของ bilirubin ใหถูกขับออกทางน้ําดีและปสสาวะโดยไมตอ งผาน conjugation ที่ตับ ประสิทธิภาพของเครื่อง
สองไฟขึ้นอยูก ับความยาวคลื่นแสง ความเขมแสง ระยะหางระหวางแสงและทารก และพื้นที่ผวิ สัมผัสแสง วัสดุสะทอน
แสงสามารถเพิ่มความเขมแสงและพื้นที่ผวิ สัมผัสแสงได ในประเทศไทย มีการใชวสั ดุสะทอนแสงคลุมเครื่องสองไฟอยาง
แพรหลาย แตยังไมมีการศึกษาอยางเปนระบบวาวิธีดังกลาวจะเพิ่มประสิทธิภาพเครือ่ งสองไฟได
วัตถุประสงค: ศึกษาวาการประยุกตใชผาสีขาวกับเครื่องสองไฟ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องสองไฟ ในการลด
ภาวะตัวเหลืองของทารกแรกเกิดที่ครบหรือใกลครบกําหนดคลอดได
แบบแผนการวิจัย: เปนการศึกษาแบบ quasi-randomized study
วิธีดําเนินการวิจัย:
ระยะที1่ คัดเลือกวัสดุสะทอนแสง จากการศึกษาพบวาผาสีขาวเหมาะสมที่สุดในแงอตั ราการเพิ่มความเขมแสงทัดเทียม
กับอะลูมินัมฟอยล และเปนที่ยอมรับจากพยาบาลผูดูแล
ระยะที2่ ทารกแรกเกิดที่ตัวเหลืองและตองไดรับการสองไฟ ถูกแบงเปน 2 กลุมตามวิธีการสองไฟ
กลุมทดลอง ใชเครื่องสองไฟที่มีผาสีขาวคลุมรอบขอบโคมไฟ และคลุมขอบเตียงทารกแรกเกิด 3 ดาน เวนดานหนา
กลุมควบคุม ใชเครื่องสองไฟตามปกติ
ทารกทุกคนไดรับการตรวจ TSBกอนเริ่มการสองไฟและระหวางการสองไฟทุก 12 ชั่วโมงจนหยุดการสองไฟ
ผลการวิจัย: มีทารกแรกเกิดที่ตัวเหลืองและไดรับการสองไฟระหวางเดือนมกราคมถึงกันยายน 2552 ทั้งหมด 133 คน เปน
กลุมทดลอง 63 คน กลุมควบคุม70 คน ในทารกที่มTี SBกอนเริ่มสองไฟระหวาง10 ถึง 20 mg/dL ทั้งหมด123 คน พบวา
อัตราการลดลงของ TSBเฉลี่ยในกลุมทดลอง (56 คน), (0.18+0.1 mg/dL/hr) มากกวากลุมควบคุม(67 คน), (0.14+0.09
mg/dL/hr) อยางมีนัยสําคัญ (p 0.039) ในทารกแรกเกิดที่ตัวเหลืองจาก non-hemolysis ทั้งหมด 95 คน พบวาอัตราการ
ลดลงของTSBเฉลี่ย ในกลุมทดลอง (44 คน), (0.19+0.1 mg/dL/hr) มากกวากลุมควบคุม (51คน), (0.15+0.09 mg/dL/hr)
อยางมีนัยสําคัญ (p 0.04) ระยะเวลาการสองไฟเฉลี่ยทั้งสองกลุมไมตางกัน ( 25 ชั่วโมง), (p 0.98) และไมพบภาวะไขหรือ
น้ําหนักลดมากกวาปกติทั้งสองกลุม
สรุป: การใชผาสีขาวสามารถเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องสองไฟในการลดภาวะตัวเหลืองของทารกแรกเกิดได โดยเฉพาะ
อยางยิ่งทารกแรกเกิดที่ตัวเหลืองจาก non-hemolysis
EFFECTS OF WHITE CURTAINS ON EFFICACY OF PHOTOTHERAPY

IN TREATMENT OF NEONATAL JAUNDICE

Natthachai Muangyod

Background: Phototherapy effectively treat neonatal hyperbilirubinemia by transforming bilirubin into


water-soluble isomers that can be eliminated without conjugation in the liver. The efficacy of phototherapy
is determined by wave-length and intensity of light, distance between light and infant and body surface area
exposed to light. Reflecting materials can increase light intensity and area exposed to light. In Thailand,
many reflecting materials are applied in phototherapy unit but there is no evidence to prove their
effectiveness in treatment of neonatal hyperbilirubinemia.
Objective: To determine effectiveness of a conventional phototherapy with added white cloth in treatment
hyperbilirubinemia of term or near term newborns.
Study Design: Quasi-randomized study
Patients and methods:
Phase1 Selected the most suitable reflecting material. White cloth was the most appropriate material in term
of increasing light intensity and being accepted by nursing staffs.
Phase2 The jaundice newborns treated with phototherapy were allocated in two groups. Interventional
group was phototherapy with white cloth hanged around phototherapy and covered the inner sides of baby
crib. Control group was conventional phototherapy. TSB was measured after starting phototherapy every
12-hours interval until discontinuing phototherapy.
Results: One hundred and thirty-three newborns treated with phototherapy between January and September
2009, 63 newborns were in interventional group and 70 newborns were in control group. Of those
newborns,123 newborns whom TSB at starting treatment 10 -20 mg/dL were analyzed. Rate of bilirubin
reductuion depend on bilirubin level at starting phototherapy: the higher level at starting therapy, the higher
bilirubin reduction rate. The mean rate of decreasing in TSB in the interventional group (0.18+0.1
mg/dL/hr) was significantly higher than the control group (0.14+0.09 mg/dL/hr),
(p 0.039). The significant difference was also demonstrated in non-hemolytic jaundice; interventional
group (0.19+0.1 mg/dL/hr) vs. control group (0.15+0.09 mg/dL/hr),
(p 0.04). The mean duration of phototherapy was similar in both groups. No adverse event during
phototherapy was noted.
Conclusion: White-cloth reflection can increase effectiveness of conventional phototherapy in treatment
hyperbilirubinemia of term or near term newborns, especially in non-hemolytic jaundice.
การศึกษาเซลลหลอดเลือดถูกทําลายและการกระตุนการแข็งตัวของเลือด
ในผูป วยที่เปนโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
พรชนก เอี่ยมศิริรักษ

ความสําคัญและที่มา: โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก (Iron deficiency anemia) เปนปญหาหนึง่ ที่สําคัญและพบบอยใน


เด็ก โดยพบอุบัติการณโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กทั้งในประเทศไทยและทั่วโลกประมาณรอยละ20-50 ซึ่ง
ผลกระทบจากโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กนัน้ ทําใหเกิด ปวดศีรษะ ออนเพลีย พัฒนาการชา ภูมิคุมกันบกพรอง
เพิ่มความเสี่ยงตอการติดเชื้อและยังมีรายงานวาอาจเกี่ยวของกับการเกิดภาวะลิ่มเลือดอุดตัน พบวาโรคโลหิตจางจากการ
ขาดธาตุเหล็กเพิ่มความเสี่ยงตอการเกิดโรคลิ่มเลือดอุดตันในสมองทั้งชนิด cerebral venous sinus thrombosis และ
ischemic stroke โดยมีความเสี่ยงประมาณ 1.1 และ 10 เทาตามลําดับ สมมติฐานของการเกิดลิม่ เลือดอุดตันมีรายงานอาจ
เกี่ยวของกับภาวะที่มีเกร็ดเลือดสูงขึ้นและการกระตุนการแข็งตัวของเลือดที่มากกวาปกติ, ภาวะเนื้อเยื่อขาดออกซิเจนและ
การไหลเวียนของเลือดที่ผิดปกติ ซึ่งเกิดจากเม็ดเลือดแดงมีขนาดเล็กรวมกับการเปลี่ยนแปลงรูปรางของเม็ดเลือดแดงทําได
นอยลง อยางไรก็ดีสมมติฐานดังกลาวยังไมเคยไดรับการพิสูจน
วัตถุประสงค: เพื่อศึกษาเซลลหลอดเลือดถูกทําลาย (endothelial cells damage) และการเปลี่ยนแปลงของระดับ coagulation
markers (prothrombin fragment (F1+2) thrombin-antithrombin complex (TAT) และ
D-dimer) ในผูป วยโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
วิธีการศึกษา: หลังไดรับความยินยอมผูเขารวมการศึกษา จะไดรับการเก็บขอมูลพื้นฐาน โรคประจําตัว ประวัติการใชยา
และทําการเจาะเลือดเพื่อนําไปตรวจ CBC, Iron, ferritin, total iron binding capacity (TIBC) หลังจากนั้นแบงจะประชากร
เปน 2 กลุม คือ ภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก 40 คนและปกติ 103 คน
โดยนําเลือดที่เจาะเก็บไวจะนําไปวัดคา F1+2, TAT, D-dimer และ soluble thrombomodulin (sTM) ซึ่งเปนคาที่บงชี้การ
ทําลายเซลลหลอดเลือด หลังจากนั้นผลการตรวจทางหองปฏิบัติการจะถูกนํามาเปรียบเทียบกันในประชากร 2 กลุม การ
วินิจฉัยภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็กใชเกณฑของ WHO ผูปวยจะไดรับการรักษาดวยธาตุเหล็กขนาด 4-6 มิลลิกรัม/
กิโลกรัม/วัน นาน 1 เดือน จากนั้นติดตามการรักษาและเจาะเลือดเพื่อตรวจทางหองปฏิบัติการทั้งหมดอีกครั้ง
ผลการศึกษา: มีผูเขารวมการศึกษา 143 รายแบงเปนกลุมควบคุม 103 คน กลุมโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก 40 คน
ลักษณะพื้นฐานของผูเขารวมการศึกษามีความคลายคลึงกันในเรื่องอายุ(กลุมควบคุมอายุเฉลี่ย 11.4±1.9 ปและกลุมโรค
โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กอายุเฉลี่ย 11.4±1.8 ป) เพศ สวนสูง น้ําหนัก และคาดัชนีมวลกายในกลุมโรคโลหิตจางจาก
การขาดธาตุเหล็กมีคาฮีโมโกลบินคือ 11.2±0.7 กรัมตอเดซิลิตรและจํานวนเกร็ดเลือดสูงกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญ
ทางสถิติ (p<0.01) สวนคา sTM ในกลุมโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กมีคา 0.5 (0-2.5) นาโนกรัมตอมิลลิลิตรซึ่งสูง
กวากลุมควบคุม 0.05(0-1.4) นาโนกรัมตอมิลลิลิตรอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.01) จากนัน้ ไดศึกษาถึงความสัมพันธ
ระหวางระดับฮีโมโกลบินกับ sTM พบวามีความสัมพันธกันในเชิงลบ (r= -0.376, p<0.01) คา F 1+2 ในกลุมควบคุมและ
กลุมโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กมีคา 189.5(92.9-1542.0) และ 172.0 (84.0-1542.0) พิโคโมลตอลิตร คา TAT ใน
กลุมควบคุมและกลุมที่เปนโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กมีคา 2.79(1.5-47.6)และ 2.8(.7-30.8) ไมโครกรัมตอลิตร
และ คา D-dimerในกลุมควบคุมและกลุมโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กมีคา 294.0 (107.0-1192.0) และ 301.0(129.0-
1504.0)นาโนกรัมตอมิลลิลิตรซึ่งไมมีความแตกตางกัน หลังการรักษา พบวาหายจากภาวะซีด 28 ราย และระดับของ
F1+2, TAT, D-dimer และ sTM ไมแตกตางกันระหวางกอนและหลังการรักษา แตระดับ F1+2, D-dimer และ sTM มี
แนวโนมลดลงหลังการรักษา
สรุปผลการศึกษา: กลุมผูปวยที่มีโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กมีคา sTM สูงกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
จากขอมูลนี้สนับสนุนสมมติฐานวาโรคซีดจากการขาดธาตุเหล็กอาจจะมีความเกีย่ วของกับภาวะเซลลหลอดเลือดถูกทําลาย
ซึ่งเกิดจากภาวะเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน โดยคา sTM มีความสัมพันธกับระดับฮีโมโกลบินในเชิงลบกับ แตการศึกษานี้ไม
พบการเปลี่ยนแปลงของการกระตุนการแข็งตัวของเลือดอาจเกิดจากระดับความรุนแรงของภาวะซีดไมต่ํามากพอในกลุม
การศึกษานี้
MARKERS OF ENDOTHELIAL CELL DAMAGE AND ACTIVATION OF
HEMOSTASIS IN IRON DEFICIENCY ANEMIA
Pronchanok Iamsirirak

Background: Iron deficiency anemia (IDA) is one of the most common problems in children. The effects
of IDA are headache, irritability, lethargy, developmental delay, immune defect, increasing risk of
infection, and possible thrombosis. IDA was reported to have the increasing risk for cerebral venous
thrombosis and ischemic stroke with the ORs of 1.10 and 10, respectively. However, the mechanism of
IDA leading to thrombosis is unclear. In 1997, three hypotheses of thrombocytosis, anemic hypoxia and
abnormal flow pattern in vessel were defined. Nevertheless, these hypotheses have been unproven.
Hypothesis: IDA results in endothelial cell injury and hypercoagulable state.
Objective: To demonstrate endothelial cells damage and coagulation markers in iron deficiency anemia
Study design: Cross-sectional cohort study.
Statistical analysis: Descriptive analysis, multiple regression analysis
Materials and methods: After informed consent, blood was collected for CBC, ferritin, iron, TIBC (total
iron binding capacity), coagulation markers including prothrombin fragment (F1+2), thrombin
antithrombin complex (TAT) and D-dimer, and soluble thrombomodulin (sTM), an endothelial damage
marker. IDA was diagnosed by using WHO criteria. Subjects with IDA were treated with ferrous sulfate 4-
6 mg/kg/day for one month, and then all laboratories were repeated.
Results and discussion: 143 subjects, 103 in control group, and 40 in IDA group, were enrolled in the
study. Mean±SD for age in control (11.4±1.9) and IDA groups (11.4±1.8) were similar. The sex, weight,
height, and BMI were not significantly different. The mean±SD of hemoglobin (Hb) level in IDA group
was 11.2±0.7 g/dL. The median (range) of sTM in IDA group was 0.5 (0-2.5) ng/mL , which was
significantly higher than that in control group 0.05 (0-1.4) ng/mL, p<0.01. The sTM had a negative
correlation with the Hb level, r = -0.376, p<0.01. The median (range) of F 1+2, TAT and D-dimer in
control and IDA groups were 189.5 (92.9-1542.0) vs 172.0 (84.0-1542.0) pmol/L, 2.79 (1.5- 47.6) vs 2.8
(1.7-30.8) mcg/L and 294.0 (107.0-1192.0) vs 301.0 (129.0-1504.0) ng/mL, respectively, which were not
significantly different. After iron treatment, improvement was seen in 28 patients. The median (range) of
F1+2, TAT, D-dimer, sTM did not significantly change, although F1+2, D-dimer and sTM had a tendency
to decrease after treatment.
Summary: The soluble thrombomodulin was significantly increased in IDA group compared to control
group. This data support the hypothesis of possible endothelial damage caused by anemic hypoxia. Its level
also had the negative correlation with Hb level. The unchanged in coagulation markers may be due to the
mild degree of anemia in our study group.
ระดับคารนิทนี ในเลือดของผูปวยเด็กโรคหัวใจพิการแตกําเนิดกอนและหลังผาตัดหัวใจแบบเปดหัวใจ
รัชพร รัตนมาลี

ความสําคัญและที่มา: ขบวนการเบตาออกซิเดชั่นถือวาเปนขบวนการสําคัญในการผลิตพลังงานใหกับหัวใจ คารนิทีนอิสระ


มีบทบาทสําคัญในการขนสงกรดไขมันอิสระจากไซโตพลาสซึมเขาสูไมโตรคอนเดรีย
ผูปวยเด็กหัวใจพิการแตกําเนิดสวนใหญมีภาวะทุพโภชนาการและมีแนวโนมตอการขาดคารนิทีน ในปจจุบันมีการศึกษา
เดียวซึ่งทําการศึกษาในผูใหญที่เขารับการผาตัดหัวใจแบบเปดหัวใจที่ใชเครื่องหัวใจและปอดเทียม พบวาระดับคารนิ
ทีนรวม คารนิทีนอิสระมีคาลดลงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติชวงระหวางและหลังการใชเครื่องหัวใจและปอดเทียมแตยังไมมี
การศึกษาในผูปวยเด็กหัวใจพิการแตกําเนิด
วัตถุประสงค:
วัตถุประสงคหลัก
1. เพื่อประเมินระดับคารนิทีนในผูปวยเด็กหัวใจพิการแตกําเนิดกอนการผาตัดหัวใจแบบเปดหัวใจ
2. เพื่อเปรียบเทียบระดับคารนิทีนรวม คารนิทีนอิสระและคารนิทีนเอสเทอรกอนและหลังการผาตัดหัวใจแบบเปด
หัวใจ
วัตถุประสงครอง: เพื่อนําผลการศึกษาไปประยุกตใชในทางคลินิก
กลุมประชากรและวิธีการศึกษา
รูปแบบงานวิจัย: Prospective cohort study
การวิเคราะหทางสถิต:ิ Descriptive analysis, Student T-test, Mann-Whitney U Test, Regression analysis
กลุมประชากร: เกณฑคัดเขาคือผูปวยเด็กที่มีหัวใจพิการแตกําเนิดอายุ 1 เดือน – 15 ป ที่เขารับการรักษาที่โรงพยาบาล
รามาธิบดีเพื่อผาตัดหัวใจแบบเปดหัวใจซึ่งมีการใชเครื่องหัวใจและปอดเทียมในการผาตัดในชวงเดือนกันยายน พ.ศ.2551
ถึงกุมภาพันธ พ.ศ. 2552 เกณฑคัดออกคือภาวะขาดคารนิทีนชนิดปฐมภูมิและทุติยภูมิ โรคพันธุกรรมเมตาบอลิก โรคตับ
โรคไต ภาวะลําไสดูดซึมบกพรองหรือถายเหลวเรื้อรัง ผูปวยภาวะภูมิคุมกันบกพรองและไดยา valproic acid
วิธีการศึกษา: เก็บขอมูลกอนผาตัดคือ อายุ เพศ น้ําหนัก สวนสูงหรือความยาว ภาวะโภชนาการ ชนิดของหัวใจพิการแต
กําเนิด การรักษากอนการผาตัด ขอมูลทางหองปฏิบัติการพื้นฐานคือ complete blood count, blood urea nitrogen, creatinine
and liver function test ตรวจระดับพสาสมาคารนิทีนรวม คารนิทีนอิสระและคารนิทนี เอสเทอรกอนการผาตัดหัวใจแบบ
เปดหัวใจ
เก็บขอมูลหลังการผาตัดคือชนิดของการผาตัด ระยะเวลาการผาตัด ระยะเวลาการใชเครื่องหัวใจและปอดเทียม
ระยะเวลา clamp time ระยะเวลางดอาหารทางปาก ตรวจระดับพสาสมาคารนิทีนรวม คารนิทีนอิสระและคารนิทนี เอสเท
อรหลังหยุดใชเครื่องหัวใจและปอดเทียมทันที 2 และ 24 ชั่วโมงหลังหยุดใชเครื่องหัวใจและปอดเทียม
ผลการศึกษา : มีผูปวยจํานวน 27 คนเขารวมการศึกษา มีผูปวย 64 เปอรเซ็นตมีภาวะการเจริญเติบโตนอยกวาปกติกอน
การผาตัดหัวใจแบบเปดหัวใจ คาเฉลี่ยของระดับคารนิทนี รวมและคารนิทีนอิสระของผูปวยกลุมนีต้ ่ํากวากลุมที่มีการ
เจริญเติบโตปกติ แตไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ระดับคารนิทีนรวมและคารนิทนี อิสระมีคาเฉลี่ยลดลง
ทันทีและ2 ชัว่ โมงหลังการใชเครื่องหัวใจและปอดเทียม และพบวาที่ 24 ชั่วโมงหลังการใชเครื่องหัวใจและปอดเทียมระดับ
คารนิทีนรวมและคารนิทีนอิสระมีคากลับมาสูงเทากับหรือสูงกวาระดับกอนการผาตัดหัวใจแบบเปดหัวใจ
สรุปผลการศึกษา : การศึกษานี้ไมพบวามีความสัมพันธระหวางภาวะโภชนาการและผลทางคลินิกกับระดับคารนิทีนรวม
คารนิทีนอิสระและคารนิทนี เอสเทอรของผูปวยเด็กที่เขารับการผาตัดหัวใจชนิดเปดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ระดับคารนิ
ทีนรวมและคารนิทีนอิสระมีคาเฉลี่ยลดลงในชวงระหวางและหลังการใชเครื่องหัวใจและปอดเทียม 2 ชั่วโมง และพบวาที่
24 ชั่วโมงหลังการใชเครื่องหัวใจและปอดเทียมระดับคารนิทีนรวมและคารนิทีนอิสระมีคากลับมาสูงเทากับหรือสูงกวา
ระดับกอนการผาตัดหัวใจแบบเปดหัวใจ ดังนั้นการใหคารนิทีนกินนาจะไมมีความจําเปนในผูปวยเด็กกลุมนี้
PLASMA CARNITINE LEVELS IN CHILDREN WITH CONGENITAL HEART DISEASES
BEFORE AND AFTER OPEN HEART SURGERY
Rachaporn Rattanamalee

Background: Beta-oxidation is an important pathway to produce energy for the heart. Free carnitine has a
role in transporting fatty acids from cytoplasm into mitochondria. Most infants with congenital heart diseases
(CHD) are malnourished and may prone to inadequate intake of carnitine. The only study of serum carnitine
levels in adults undergoing open heart surgery using cardiopulmonary bypass (CPB) showed that total
carnitine (TC) and free carnitine (FC) levels were significantly reduced during and after use of CPB. There
was no such study in children with CHD.
Objectives:
Primary objectives
1. To assess preoperative carnitine status in children with CHD
2. To compare plasma TC, FC and acylcarnitine (AC) levels before and after open heart surgery
Secondary objective: Application of the results to clinical outcome and future management
Patients and Methods:
Study design: Prospective cohort study.
Statistic analysis: Descriptive analysis, Student T-test, Mann-Whitney U Test , Regression analysis
Patients: Inclusion criteria: Children with CHD aged 1 month – 15 years who underwent open heart surgery and
use of CPB at Ramathibodi Hospital during September 2008 – February 2009. Exclusion criteria: known
primary/secondary carnitine deficiency and inborn error of metabolism, liver diseases, renal diseases,
malabsorption or chronic diarrhea, immunocompromised patients and valproic acid therapy.
Methods: Preoperative clinical data: age, gender, weight, height/length, nutritional status, type of CHD, treatment
before surgery, CBC, BUN, Cr, LFT, plasma TC, FC, and AC levels.
Postoperative clinical data: type of operation, type of CHD, operation time, duration of CPB and
clamp time, duration of NPO, plasma TC, FC, and AC levels immediately after CPB, 2 hours after stopping CPB
and 24 hours after stopping CPB.
Result : Total of 27 children were enrolled in this study. Sixty-four percents of the children were malnourished
before open heart surgery. Mean of total and free carnitine concentrations were lower than those with normal
nutrition, but statistically not significant. Total and free carnitine concentrations immediately after and 2-hr after
CPB were significantly lower than the preoperative levels, but restored to normal by 24 hours after the surgery.
Conclusion : Plasma TC, FC, and AC levels were not significantly different between children with normal
nutritional status and malnutrition. In conclusion, FC levels at 2 hr after stopping CPB were significantly lower
than preoperative period, but resumed to normal range at 24 hr after stopping CPB therefore carnitine supplement
in children with CHD may be not necessary.
การศึกษาระดับของวิตามินดีและพาราไทรอยดฮอรโมน
ในเด็กและวัยรุนที่มีภาวะอวน
สุนิศา เสาวรรณ

ความเปนมา : ในปจจุบนั ปญหาโรคอวนในเด็กเปนปญหาสําคัญที่พบมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งความอวน ทําใหเกิดภาวะดื้อตอ


อินซูลิน ไขมันในเลือดสูงและความดันโลหิตสูงตามมา จากการศึกษาในเด็กชาว Caucasian พบความชุกของภาวะพรอง
วิตามินดีในเด็กอวนสูงตั้งแตรอยละ 20-60 แตยังไมมีขอมูลของระดับวิตามินดีในเด็กอวนชาวเอเชียหรือชาวไทยที่อาศัยอยู
ในประเทศที่มแี สงแดดตลอดป และจากการศึกษาในผูใ หญที่มีภาวะอวนพบวาภาวะพรองวิตามินดีมีความสัมพันธกับภาวะ
ดื้อตออินซูลินและการเปนเบาหวานชนิดที่ 2 แตอยางไรก็ตามการศึกษาถึงภาวะพรองวิตามินดีและภาวะดื้อตออินซูลินใน
เด็กอวนยังมีนอ ย นอกจากนี้เมื่อเขาสูวัยรุนจะมีภาวะดื้อตออินซูลินมากขึ้นดวย จึงเปนที่มาของการศึกษาภาวะพรองวิตามิน
ดีและความสัมพันธของภาวะพรองวิตามินดีกับ insulin sensitivity ในเด็กไทยที่มีภาวะอวน
วัตถุประสงค : เพื่อศึกษาภาวะพรองวิตามินดีและ insulin sensitivity ในเด็กและวัยรุนไทยที่มีภาวะอวนและเพื่อหา
ความสัมพันธระหวางระดับวิตามินดีในเลือดกับ insulin sensitivity index
แบบแผนการวิจัย : เปนการศึกษาแบบ cross-sectional study
วิธีดําเนินการวิจัย : รวบรวมผูเขารวมการศึกษาจํานวน 150 ราย อายุระหวาง 5-18 ป ในชวงเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2551 ถึง
มิถุนายน พ.ศ. 2552 โดยผูที่มีการเจ็บปวยเรื้อรังหรือไดรับยาที่มีผลตอกระดูกและระดับแคลเซียมและฟอสฟอรัสในเลือด
จะไมถูกคัดเลือกมารวมการศึกษา ผูเขารวมการศึกษาจะไดรับการชั่งน้าํ หนัก วัดสวนสูง คํานวณดัชนีมวลกาย วัดรอบเอว
และไดรับการตรวจ oral glucose tolerance test (OGTT) เพื่อวัดระดับน้าํ ตาลและอินซูลินในเลือด และตรวจระดับวิตามินดี
(25-hydroxyvitamin D) พาราไทรอยดฮอรโมน แคลเซียม ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม และไขมันในเลือด หลังจากนั้นนําคา
ระดับน้ําตาลและอินซูลินในเลือดที่ไดมาคํานวณ insulin sensitivity index และนําผลที่ไดไปวิเคราะหทางสถิติ
ผลการวิจัย : พบวารอยละ 80 ของเด็กอวนมีผล OGTT ผิดปกติ คือ รอยละ 54 มีระดับอินซูลินในเลือดสูงกวาปกติ ซึ่งบง
ถึงภาวะดื้อตออินซูลิน รอยละ 22 มี impaired glucose tolerance และอีกรอยละ 3.4 เปนโรคเบาหวาน และพบวาเด็กอวน
จํานวน 17 รายจากทั้งหมด 150 ราย (รอยละ 11.3) มีภาวะพรองวิตามินดี เมื่อเปรียบเทียบระหวางเด็กอวนที่มภี าวะพรอง
วิตามินดีกับกลุมเด็กอวนทีม่ ีระดับวิตามินดีปกติ พบวากลุมที่มีภาวะพรองวิตามินดีมีอายุมากกวา แตปจจัยดานอื่นๆเชน
น้ําหนัก สวนสูง ดัชนีมวลกาย รอบเอว insulin sensitivity index ไมแตกตางกัน นอกจากนีเ้ มื่อจําแนกผูเขารวมการศึกษา
ออกเปน 3 กลุมตามระยะการเขาสูวัยหนุม สาว (Tanner pubertal stage) คือ กอนเขาสูวัยหนุมสาว วัยหนุมสาวตอนตนถึง
ตอนกลาง และวัยหนุมสาวตอนกลางถึงตอนปลาย พบวารอบเอวและระดับวิตามินดีมีแนวโนมลดลงเมื่อเขาสูระยะการ
เปนหนุมสาวที่มากขึ้น และ insulin sensitivity ต่ําที่สุดในชวงวัยหนุมสาวตอนตนถึงตอนกลาง ซึ่งเปนชวงที่พบวารอบเอว
มีความสัมพันธผกผันอยางมีนัยสําคัญกับ insulin sensitivity
สรุป:การศึกษานี้แสดงใหเห็นวาในเด็กไทยที่อวนมีภาวะพรองวิตามินดีนอยกวาเมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาใน
ตางประเทศ การเขาสูวัยหนุมสาวในเด็กอวนอาจมีความสัมพันธกับระดับวิตามินดีในเลือดและเด็กอวนมีความผิดปกติของ
การควบคุมสมดุลกลูโคสในอัตราสวนทีม่ ากเมื่อเทียบกับการศึกษาในตางประเทศ
VITAMIN D STATUS AND PARATHYROID HORMONE LEVEL

IN OBESE CHILDREN AND ADOLESCENTS

Sunisa Saowan

Background: The prevalence of pediatric obesity has been increasing worldwide. Obesity contributes
to insulin resistance, dyslipidemia and hypertension. In addition, vitamin D insufficiency has been
increasingly demonstrated in obese Caucasian children with the prevalence of 20-60%. Recently,
vitamin D insufficiency in obese adults has been shown to link with insulin resistance and type 2
diabetes. However, data on vitamin D-insufficient obese children associated with insulin resistance are
scanty. In addition, puberty during adolescence also aggravates insulin resistance.
Nevertheless, the prevalence of vitamin D insufficiency and its association with insulin sensitivity in
Thai children is unknown.
Objectives: 1. To assess vitamin D status and insulin sensitivity in obese children and adolescents
2. To determine a relationship among vitamin D status and insulin sensitivity indices
Study Design: Cross-sectional study
Patients and methods: A hundred and fifty obese children and adolescents aged 5-18 years were
enrolled from February 2008 to June 2009. They were excluded if they had chronic illnesses,
medications affecting Ca, P and bone metabolism. Weight, height, body mass index (BMI) and waist
circumference were obtained. All of them underwent an oral glucose tolerance test (OGTT) with
glucose and insulin levels measurement. Plasma 25-hydroxyvitamin D, parathyroid hormone, calcium,
phosphorus and magnesium levels were measured. Insulin sensitivity indices were calculated from the
measured glucose and insulin levels. Results were analyzed by using appropriate statistics.
Results: Approximately 80% of obese children had abnormal OGTT results (54% hyperinsulinemia
which infers insulin resistance, 22% impaired glucose tolerance and 3.4% type 2 diabetes). There were
17 of 150 children (11.3%) having vitamin D insufficiency. In comparison with vitamin D-sufficient
obese children, those having insufficient vitamin D were older but their auxological data were not
different. Moreover, glucose tolerance and insulin sensitivity indices were comparable between the 2
groups. All obese children were categorized into 3 groups according to Tanner’s pubertal stages; pre-,
early-mid and mid-late stages. There was a trend toward decreasing in waist circumference centile and
vitamin D level with advanced pubertal stages. However, a trend of reduced insulin sensitivity during
early-mid pubertal stage was shown with greater waist circumference centile associated with lower
insulin sensitivity.
Conclusions: Our study showed much lower frequency of vitamin D insufficiency in Thai obese
children and adolescents as compared to Caucasians. Pubertal status might affect vitamin D status in
obese children. Moreover, abnormal glucose homeostasis was shown in the majority of our obese
children and adolescents.
รายงานผูป วยเรื่องโรคคาสเซิลแมนในผูป วยเด็กหญิง
ที่มาดวยการเจริญเติบโตลาชาตามดวยภาวะน้ําตาลในเลือดสูง
ภัสสร บุณยะโหตระ

ความเปนมา: โรคคาสเซิลแมน (Castleman disease) เปนโรคของความผิดปกติของตอมน้ําเหลืองและระบบภูมคิ ุมกันที่พบ


ไดนอยโดยเฉพาะในผูปวยเด็ก ตําแหนงทีพ่ บสวนใหญเปนบริเวณชองอก ลักษณะทางเนื้อเยื่อทีพ่ บบอยคือ hyaline-
vascular type
วัตถุประสงค: รายงานผูปวยเด็กโรค Castleman และทบทวนวรรณกรรมในผูปวยเด็ก
แบบแผนการวิจัย: เปนการรายงานผูปวยและทบทวนวรรณกรรม
วิธีดําเนินการวิจัย: รายงานผูปวยโรค Castleman 1 รายและสืบคนขอมูลจากรายงานผูปวยที่มีอายุนอยกวา18 ปที่ตีพิมพใน
ภาษาอังกฤษระหวางพ.ศ. 2542 ถึง 2552 โดย Medline search
ผลการวิจัย: ผูปวยเด็กที่รายงานเปน unicentric Castleman disease บริเวณตับออน มาดวยอาการซีด แนนทอง การ
เจริญเติบโตลาชาตามดวยภาวะน้ําตาลในเลือดสูง ตรวจพบกอนในทอง ลักษณะทางเนื้อเยื่อเปนแบบ mixed type ไดรับการ
รักษาโดยการผาตัดเอากอนออกและมีผลการรักษาที่ดี จากการทบทวนวรรณกรรม พบรายงานผูปว ยเด็กทั้งหมด 40 ราย
จาก 34 บทความ เปนเพศหญิงและชายเทากัน อายุเฉลีย่ คือ10.5 ± 4.2 ป สวนใหญเปน unicentric Castleman disease (36
รายจาก 40 ราย) พบบอยที่ตาํ แหนงตอมน้าํ เหลืองภายนอก ลักษณะทางเนื้อเยื่อที่พบสวนใหญคือ hyaline-vascular type
สรุป: ลักษณะทางคลินิกของผูปวยเด็กโรค Castleman เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมอายุอนื่ ๆ พบวามีผลการรักษาที่ดกี วา
เนื่องจากสวนใหญพบรอยโรคที่ตําแหนงเดียวและทําการผาตัดเอากอนออกไดหมด จึงหายขาดไดมากกวาผูใ หญ
CASE REPORT OF CASTLEMAN DISEASE
IN A GIRL WITH FAILURE TO THRIVE
FOLLOWED BY SEVERE HYPERGLYCEMIA
Passorn Punyahotra

Background: Castleman disease (CD) is a rare lymphoproliferative disorder especially in children. The
lesion is frequently located in the mediastinum and the common pathologic finding is hyaline-vascular
type.

Objective: To report a case of unicentric Castleman disease in a Thai girl and to review characteristics of
Castleman disease in childhood from the published articles.

Study Design: Case report and review of the literature

Methods: Report a pediatric case of CD and review case reports of CD in children & adolescents (age <18
years) published in the English literature from 1999 until October 2009. Literature review was
accomplished by Medline search.

Results: This reported case demonstrated unicentric CD located at pancreas complicated clinical course of
anemia, abdominal distension, failure to thrive followed by hyperglycemia. The histology was mixed type.
It was completely surgical removed with favorable outcome. Only 40 pediatric cases (20 females, 20
males) of CD were reported from 34 articles. Their mean age was 10.5 ± 4.2 years. Thirty six cases were
classified as unicentric CD and the 4 remainder were multicentric CD. The common location was
peripheral lymphadenopathy for which the hyaline-vascular type was more frequently encountered.

Conclusion: The unicentric CD with total surgical resection in children leads to a favorable outcome and
less severe clinical course compared to those in other age groups.
การศึกษาความเสี่ยงตอการไดรับสารตะกั่วของเด็ก
ในศูนยพฒ
ั นาเด็กกอนวัยเรียน สังกัดของกรุงเทพมหานคร
จันทิมา ใจพันธ

ความเปนมา: ปจจุบันมีขาวการตรวจพบสารตะกั่วปนเปอ นในสิ่งแวดลอม เชน ฝุน ดิน น้ํา ของเลน และภาชนะในการ


จัดเก็บอาหารและน้ําดื่มเปนจํานวนมาก สารตะกั่วเปนมลพิษในสิ่งแวดลอมที่กออันตรายตอสุขภาพอยางรายแรงตอเด็ก
โดยมีผลตอทุกระบบของรางกาย หากไดรับปริมาณมากในวัยเด็กจะมีผลโดยตรงตอระดับสติปญญา สมองและระบบ
ประสาทอยางถาวรได โดยเฉพาะเด็กในวัยนอยกวา 6 ขวบปแรก ซึ่งนับเปนชวงสําคัญที่สุดของชีวิต ที่มีการพัฒนาของ
สมอง พบวาเด็กมีความเสี่ยงตอการไดรับพิษจากสารตะกั่วมากกวาผูใ หญเนื่องจากพืน้ ที่ผิวกาย และความสามารถในการ
ดูดซึมสารตะกั่วเขาสูรางกายของเด็กมีมากกวาผูใ หญ อีกทั้งวัยเด็กมักมีพฤติกรรมในการเอามือหยิบของเขาปาก
รวมถึงการมีกจิ กรรมตางๆ บนพื้นที่มีการปนเปอนดวยสารตะกั่ว
ภาวะพิษจากสารตะกั่วยังคงเปนปญหาสําคัญที่พบไดในเด็กหลายลานคนทั่วโลก และมีการศึกษาพบวา
คาใชจายในการรักษาภาวะพิษตะกัว่ สูงกวาคาใชจายในการปรับปรุง แกไขสิ่งแวดลอมใหปลอดภัย ดังนัน้ หากเรา
สามารถหาภาวะเสีย่ งของสารตะกั่วในสิ่งแวดลอมนํามาเปนขอมูลพื้นฐานในการปรับปรุงแกไขสิ่งแวดลอมใหมีความ
ปลอดภัยตอสารตะกั่วได จะชวยลดโอกาสเกิดโรคพิษตะกั่วอยางถาวรตอสมองของเด็กไดและลดคาใชจายได จึงเปน
ที่มาของงานวิจัยนี้
คําถามงานวิจยั : ศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนในสังกัดของกรุงเทพมหานครมีความเสี่ยงที่จะพบสารตะกัว่ ในสิ่งแวดลอม
มากกวาคามาตรฐานสากลหรือไม
วัตถุประสงค: เพื่อศึกษาความชุกของสิ่งแวดลอมที่มีระดับสารตะกั่วสูงกวาคามาตรฐานในศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนใน
สังกัดกรุงเทพมหานคร
แบบแผนการวิจัย: เปนการศึกษาแบบ Cross-sectional survey
วิธีดําเนินการวิจัย: ศึกษาและตรวจสารตะกั่วในสิ่งแวดลอมของศูนยพฒ ั นาเด็กกอนวัยเรียน ที่สังกัดกรุงเทพมหานคร 17
ศูนย จากทั้งหมด 293 ศูนย ทําการตรวจในแตละศูนย 13 จุด ไดแก สีทาบาน สีในของเลน ภาชนะใสอาหาร น้ําจาก
น้ําประปา น้ําดื่มในถังหรือภาชนะจัดเก็บที่มีการเชื่อมดวยสารตะกั่ว ภาชนะหุงตมที่มีการเชื่อมดวยสารตะกั่ว แกวน้ํา ชอน
ฝุนที่พื้น ดินในบริเวณสนามเด็กเลน ดินสอสี/สีเทียน ดินน้ํามัน และโตะเรียน
สิ่งสงตรวจทั้งหมดตรวจดวยวิธีที่ไดมาตรฐาน โดยบริษัทอินเตอรเทคไทยแลนด จากนั้นนําผลตะกัว่ ใน
สิ่งแวดลอมทีไ่ ดมาเทียบกับคามาตรฐานของ CDC (Center for Disease Control) เพือ่ หาความชุกของสิ่งแวดลอมที่มีความ
เสี่ยงตอสารตะกัว่ สูง และทําการวิเคราะหขอมูลเพื่อศึกษาถึงปจจัยเสี่ยงตอสารตะกัว่ สูง เชน ที่ตั้งใกลกับถนน, โรงงาน
หรือทางดวน, อายุของศูนยพฒ ั นาเด็กกอนวัยเรียน, การหลุดลอกของสี และชนิดของสีทาบาน
ผลการวิจัย : สิ่งสงตรวจจาก 17 ศูนย มีทงั้ หมด187 ตัวอยาง พบมีคาตะกัว่ สูงกวาคามาตรฐาน 11 ตัวอยาง (5.9%) จาก10
ศูนย (58.8%) ซึ่งพบจากสีทาบานมากที่สดุ (9 ศูนย) ที่เหลือพบใน ดินและโตะเรียน สวนสีในของเลน ภาชนะใส
อาหาร น้ําจากน้ําประปา น้ําดื่มในถังหรือภาชนะจัดเก็บที่มีการเชื่อมดวยสารตะกั่ว ภาชนะหุงตมที่มีการเชื่อมดวยสารตะกั่ว
แกวน้ํา ชอน ฝุนที่ พื้น ดินสอสี/สีเทียน และดินน้ํามัน พบระดับสารตะกั่วอยูใ นคามาตรฐาน
ความชุกของสิ่งแวดลอมที่มรี ะดับสารตะกัว่ สูงในสิทาบานที่มากกวาคามาตรฐาน ในศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียน
ในสังกัดกรุงเทพมหานครคือรอยละ 52.9 โดยมีคาความนาเชื่อถือที่รอยละ 95 อยูที่ [95%CI: 29.21, 76.67] และระดับ
ตะกัว่ ในสารละลาย (Soluble lead) ที่พบในสีทาบานมีคาตั้งแต 44 - 4,212 ppm (คาปกติ<90 ppm.) ระดับสารตะกัว่ ที่สูง
กวาคามาตรฐานในสีทาบานไดทําการตรวจยืนยันผลอีกครั้ง โดย 64 สิ่งสงตรวจวัดเปนระดับตะกัว่ ในสารละลายและอีก
25 สิ่งสงตรวจวัดเปนระดับสารตะกั่วทั้งหมด(Total lead คาปกติ <600 ppm.) ซึ่งผลที่ ไดยังสูงเชนเดิม โดยระดับสาร
ตะกัว่ ในสารละลายมีคาสูงสุด 6,779 ppm. และระดับสารตะกัว่ ทั้งหมดมีคาสูงสุด 32,400 ppm. ในการศึกษานี้พบวาสีดํา สี
เหลือง และสีเขียวพบสารตะกั่วปนเปอนมากที่สุด เมื่อพิจารณาถึงปจจัยเสี่ยงตอสารตะกั่วอันไดแก ทีต่ ั้งใกลกับถนน,
โรงงาน หรือทางดวน, อายุของศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียน, การหลุดลอกของสี และชนิดของสีทาบาน ไมพบวามี
ความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
สรุป: โดยประมาณรอยละ 30-75 ของศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียน สังกัดกรุงเทพมหานครมีโอกาส
พบสารตะกั่วในสีทาบานที่มากกวาคามาตรฐาน ในจํานวนนี้คดิ เปนเด็กที่มีความเสี่ยงประมาณ
8,300 ถึง 22,000 คน
การนําไปใชทางคลีนคิ
1.นําเสนอผลการศึกษาที่ไดตอผูบริหารกรุงเทพมหานครเพื่อแกไขในระดับนโยบายตอไป
2.นําเสนอผลการศึกษาที่ไดตอเขตชุมชนที่ดูแลศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียน เพื่อพิจารณา เปลี่ยนแปลงสีทาบานที่
มีความเสี่ยง
3.ใหความรูก บั ครูและผูดูแลเด็กในการปองกันสารตะกัว่ ในสิ่งแวดลอม เชน การลางมือ การทําความสะอาด และ
การปกคลุมบริเวณของสีทาบานที่มสี ารตะกัว่ สูง
4.เด็กในศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียน สังกัดกรุงเทพมหานครที่มีระดับสารตะกั่วใน
สิ่งแวดลอมสูงกวาคามาตรฐาน ควรไดรับการตรวจระดับสารตะกัว่ ในเลือด
Lead exposure among children in Bangkok child care center
Chantima Chaipan

Background : Lead is a hazardous chemical for children under 6 years old because they have more
mouthing behavior and are prone to absorb more lead. Lead affects almost every systems, especially
irreversible damage of the nervous system. Lead poisoning in children is still an important public health
problem for millions of children in the world and cost of medical treatment is higher than environmental
intervention.
Objectives: To study the prevalence of high lead exposure in Bangkok child care center (BCC)
Methods : Cross-sectional survey in 17 from 293 BCC. 13 specimens were intended to collect from each
center including drinking water, tap water, toys, plasticine, crayon or coloring pencils, food containers,
lead solder containers, cups, spoons, furnitures (desk), paints, dust and soil. Lead level were measured
by standard method at Intertek Testing Services (Thailand) Ltd. and compared to standard level that
recommended by Centers for Disease Control and Prevention (CDC). Risk factors (high risk place, old
building, peeling paint, and type of paint) were identified. Descriptive data were expressed
by Epidata and Stata and comparative data were analyzed by Fisher’s Exact test and Pearson Chi-squre
Results : We collected 187 samples from 17 child care centers and found the contained lead exceeding
standard in 11 samples (5.9%) from 10 child care centers (58.8%). The lead based paint was the most
common source (9 of paints, 1 of furniture and 1 of soil). All samples of drinking water, tap water, food
containers, lead solder containers, cups, spoons, plasticine, coloring pencil or crayon, dust, and toys were
normal lead level. The overall prevalence of lead-based paint was 52.9% of all child care centers
[95%CI: 29.21, 76.67]. The soluble lead concentration found in the lead based paint ranged from 44 to
4,212 ppm. (normal soluble lead < 90 ppm.) We also confirmed by repeating 64 lead based paint samples
for the soluble lead test and 25 for total lead test. (normal total lead <600 ppm.)
The results were equivalent to the first reports in all child care centers. The highest concentration sample
contained 6779 ppm. in soluble lead and 32400 ppm. in total lead. Black, green and yellow paints
were found to be the most contaminated color. Concerning the risk factors of high lead contained
environment, we found no significant different of location (near street, expressway and industry); and age
of center between the high lead contained and normal lead contained child care centers.
Conclusions : More than half of child care centers under BMA were painted by the high
lead based paint. Approximately more than 15,000 preschool children would be affected.
Clinical implication
1. Educate the caregivers about lead exposure control and how to modify environment to reduce lead
exposure such as getting rid of high lead furniture, soil and sealing some high lead based paint area
2. Report to BMA, local district administrative offices, and other stakeholders to response the
problem and should commit a long-term challenge to eliminate paint lead in all child care centers.
3. Blood lead level (BLL) should be obtained from children in high risk child care centers.
การติดเชื้อแบคทีเรียในผูป วยเด็กที่ไดรับการปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือด
ชุลีกร ชิวปรีชา

ความเปนมา : การติดเชื้อเปนภาวะแทรกซอนสําคัญซึ่งอาจนําไปสูทพุ พลภาพและการเสียชีวิตในผูปวยที่ไดรบั การปลูก


ถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือด การติดเชื้อแบคทีเรียเปนภาวะแทรกซอนทีพ่ บบอยในชวง 100 วันแรกหลังการปลูกถายเซลล
ตนกําเนิด เนื่องจากภาวะพรองภูมิคุมกันทัง้ ในดาน cellular และ humoral การศึกษาที่ผานมาพบวาความชุกของการติดเชื้อ
แบคทีเรียมีความแตกตางกันในแตละโรงพยาบาล จากการศึกษาการติดเชื้อแบคทีเรียในผูปวยเด็กโรคมะเร็งที่มีไขและเม็ด
เลือดขาวต่ํา (febrile neutropenia) ในโรงพยาบาลรามาธิบดี พบวามีความชุกของการติดเชื้อแบคทีเรียแกรมลบมากกวาเชื้อ
แกรมบวก ซึ่งผลดังกลาวไมเปนไปในแนวทางเดียวกับการศึกษาจากประเทศตะวันตก รวมทั้งโรงพยาบาลรามาธิบดีไดเริ่ม
มีการใชยาปฏิชีวนะชนิดปองกันในผูปวยปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดตั้งแตเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2545 เปนตนมา
ผูวิจัยจึงมีความสนใจในการศึกษาการติดเชื้อแบคทีเรียในผูปวยเด็กที่ไดรับการปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดใน
โรงพยาบาลรามาธิบดี เพื่อพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพในการดูแลผูปวยที่จะไดรับการปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือด
ตอไป
จุดประสงคการวิจัย - เพื่อศึกษาความชุกของการติดเชื้อแบคทีเรียในผูปว ยที่ไดรับการปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดใน
โรงพยาบาลรามาธิบดี
- เพื่อศึกษาปจจัยที่สงผลตอการติดเชือ้ แบคทีเรียในผูปวยที่ไดรับการปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือด
ในโรงพยาบาลรามาธิบดี
วิธีการวิจัย : ศึกษายอนหลังโดยเก็บขอมูลจากแบบบันทึกขอมูลผูปวยโรคเลือดและโรคมะเร็งที่ไดรับการปลูกถายเซลล
ตนกําเนิดเม็ดเลือดในโรงพยาบาลรามาธิบดี ตั้งแตเดือนเมษายน พ.ศ. 2535 ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2552 โดยมีการใหยา
ปฏิชีวนะชนิดปองกัน (antibiotic prophylaxis)กับผูปวย (ciprofloxacin และ penicillin) ตั้งแตเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2545
เปนตนมา จึงแบงกลุมประชากรเพื่อการวิเคราะหเปน 2 กลุม คือ กลุมที่ไมไดยาปฏิชีวนะชนิดปองกัน และประชากรกลุมที่
ไดยาปฏิชีวนะชนิดปองกัน เก็บขอมูลพื้นฐาน ชนิดของการปลูกถายเซลลตนกําเนิด ภาวะแทรกซอนที่เกิดขึน้ ภายหลังการ
ปลูกถายเซลลตนกําเนิด และการเกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย ในประชากรทั้ง 2 กลุม และนําขอมูลดังกลาวมาวิเคราะห
เปรียบเทียบกัน
ผลการศึกษา : จํานวนผูปวยทั้งหมด 158 คนไดรับการปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดทั้งหมด 168 ครั้ง แบงเปนการปลูก
ถายที่ไมไดรับยาปฏิชีวนะชนิดปองกัน 54 ครั้ง และการปลูกถายที่ไดรบั ยาปฏิชีวนะชนิดปองกัน 114 ครั้ง อายุเฉลี่ยของ
ผูปวยเมื่อไดรับการรักษาคือ 8.5 ป (อยูในชวงอายุระหวาง 0.5-22 ป) โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเปนโรคที่ไดรับการปลูกถาย
เซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดมากที่สุดในกลุมผูปวยโรคมะเร็ง และโรคธาลัสซีเมียเปนโรคที่ไดรับการปลูกถายเซลลตนกําเนิด
เม็ดเลือดมากที่สุดในกลุมโรคเลือดและโรคอื่น ๆ ที่ไมใชโรคมะเร็ง
ในประชากรกลุมที่ไมไดยาปฏิชีวนะชนิดปองกัน มีการติดเชื้อแบคทีเรีย 14 ครั้งของการปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ด
เลือด 12 ครั้ง ( รอยละ 22.2 ) ในประชากรกลุมที่ไดยาปฏิชีวนะชนิดปองกันมีการติดเชื้อแบคทีเรีย 43 ครั้งของการปลูกถาย
เซลลตนกําเนิดเม็ดเลือด 30 ครั้ง ( รอยละ 26.3) การติดเชื้อในกระแสเลือดเปนตําแหนงที่พบบอยสุดในประชากรทั้งหมด
แบคทีเรียแกรมลบพบบอยกวาแบคทีเรียแกรมบวกในประชากรทั้ง 2 กลุม การใหยาปฏิชีวนะชนิดปองกันไมไดเพิ่มความ
ชุกของการติดเชื้อแบคทีเรียดื้อยา (multidrug-resistant, extended spectrum beta-lactamase) การศึกษานี้ไมพบปจจัยเสี่ยงที่
สงผลตอการติดเชื้อแบคทีเรียในกลุมประชากรที่ไมไดยาปฏิชีวนะชนิดปองกัน แตในกลุมประชากรที่ไดยาปฏิชีวนะชนิด
ปองกันพบวา การใชเซลลตนกําเนิดจากสายสะดือเพิ่มความเสี่ยงตอการติดเชื้อแบคทีเรียมากกวากลุม ที่ใชไขกระดูกเปน
แหลงเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือด 11.2 เทา (95% CI,1.2 – 104.2)
สรุปผลการศึกษา : ความชุกของการติดเชือ้ แบคทีเรียในชวง 100 วันแรกหลังการปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดคิดเปน
รอยละ 22.2 ในประชากรกลุม ที่ไมไดยาปฏิชีวนะชนิดปองกัน และ รอยละ 26.3 ในประชากรกลุมทีไ่ ดยาปฏิชีวนะชนิด
ปองกันตามลําดับ การศึกษานี้พบวาการใชเซลลตนกําเนิดจากสายสะดือเปนเพียงปจจัยเดียวที่มีผลตอการติดเชื้อแบคทีเรีย
ในผูปวยที่ไดรับการปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดในกลุมที่ไดยาปฏิชีวนะชนิดปองกัน
DOCUMENTED BACTERIAL INFECTION IN CHILDREN UNDERGOING HEMATOPOIETIC
STEM CELL TRANSPLANTATION
Chuleekorn Chewpreecha

Background: Infection is a major complication leading to morbidity and mortality in hematopoietic stem

cell transplantation (HSCT). Bacterial infection is commonly found during the early phase of HSCT (< day

+100) due to profound cellular and humoral immunodeficiency. The prevalence and type of bacteria are

different between transplant centers. To our knowledge, there has been no data of bacterial infection during

HSCT in Thailand. In addition, we found more prevalence of gram negative than gram positive bacteremia

in febrile neutropenic children at Ramathibodi Hospital which contrast to the reports from western

countries. We also have given antibiotic (ATB) prophylaxis consisting of ciprofloxacin and penicillin to

our HSCT recipients since July 2002. Therefore, the analysis of bacterial infection may lead us to improve

outcome in children undergoing HSCT.

Objectives:1) To determine prevalence of bacterial infection in children undergoing HSCT

2) To identify risk factors for bacterial infection in children undergoing HSCT

Methods: We retrospectively reviewed medical records and hematology – oncology charts of children

undergoing HSCT at Ramathibodi Hospital since 1992 to 2009. Antibiotic prophylaxis consisting of

ciprofloxacin and penicillin has been given to the patients since July 2002. Therefore, the patients were

divided into two groups which were no ATB prophylaxis and ATB prophylaxis groups. Demographic data,
type of HSCT, transplant related complications, and documented bacterial infections of both groups were

recorded and analyzed.

Results: A total of 158 patients underwent 168 HSCT (54 in no ATB prophylaxis group and 114 in ATB

prophylaxis group) were included in the study. A median age of the patients was 8.5 years (range, 0.5 – 22

years). Acute leukemia and thalassemia were the most common underlying diseases for malignant and non-

malignant diseases, respectively. Documented bacterial infections were found in 12 transplants (22.2%)

with 14 episodes and in 30 transplants (26.3%) with 43 episodes for no ATB prophylaxis and ATB

prophylaxis groups, respectively. Bacteremia was the most common bacterial infections in this study.

Gram-negative bacterial infection was more common in both groups. Gram- negative/gram-positive ratio

did not significantly change between no ATB prophylaxis and ATB prophylaxis groups. Antibiotic

prophylaxis did not increase the frequency of multidrug-resistant or extended spectrum beta-lactamase

producing bacteria. There was no risk factor for documented bacterial infection found in no ATB

prophylaxis group. In ATB group, cord blood stem cell was the significant risk factor with an OR of 11.2

(95% CI, 1.2 – 104.2) Conclusions: The prevalence of documented bacterial infections during the early

phase of HSCT was 22.2% in no ATB prophylaxis group and 26.3% in ATB prophylaxis group. In this

study, using allogeneic cord blood grafts was the only risk factor for bacterial infections in children

undergoing HSCT with antibiotic prophylaxis.


การประเมินทางระบบประสาทจิตวิทยาในผูปวยเด็กที่เปนโรคเอส แอล อี
นิศากร ภูวศิน

ความเปนมา : เอส แอล อี เปนโรคเกี่ยวกับระบบภูมิคุมกัน อาการทางระบบประสาทจิตวิทยาพบไดบอยในการดําเนินโรค


อาการทางจิตและอาการชัก เปนอาการที่เปนเกณฑการวินิจฉัย แตยังมีอีก 17 อาการที่เปนอาการทางระบบประสาท
จิตวิทยาและไมอยูในเกณฑการวินจิ ฉัย โดยทัว่ ไปความชุกของอาการทางระบบประสาทจิตวิทยาในผูปวยเด็กโรคเอส แอล
อี พบไดรอยละ 20.8-44 การศึกษาในประเทศไทย พบวาความชุกเทากับรอยละ 20.8-32 แตยังไมมกี ารศึกษาใดทีท่ ําการ
ประเมินผูปวยทางระบบประสาทจิตวิทยาอยางละเอียด จึงเปนที่มาของการวิจัยนี้
วัตถุประสงค : เพื่อประเมินใหทราบถึงความชุก และจําแนกประเภทของความผิดปกติทางระบบประสาทจิตวิทยา
เปรียบเทียบในผูปวยที่มีอาการและไมมีอาการทางระบบประสาทจิตวิทยา ในผูปวยเด็กไทยทีเ่ ปนโรคเอส แอล อี และเขา
รับการรักษาทีโ่ รงพยาบาลรามาธิบดี
วิธีการวิจัย : ทําการศึกษาแบบ cross-sectional study ในผูปวยเด็กที่เปนโรคเอส แอล อี โดยทําการทบทวนเวชระเบียนเก็บ
ของเด็กที่ไดรบั การวินจิ ฉัยวาเปนโรคเอส แอล อี และรับการรักษาครั้งแรกที่โรงพยาบาลรามาธิบดีในระหวางวันที่ 1
มกราคม 2550 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 จากนั้นผูปว ยแตละคนจะไดรับการตรวจรางกายทางระบบประสาทโดยกุมาร
แพทยระบบประสาท ตรวจการนํากระแสประสาทของเสนประสาท ตรวจระดับสติปญญาโดยใชแบบทดสอบไอคิว คัด
กรองปญหาทางพฤติกรรมโดยใชแบบทดสอบจุดแข็งและจุดออน ประเมินภาวะของโรค (disease activity) โดยใช
ECLAM score และทําการวิเคราะหทางสถิติโดยใชวิธี descriptive และ univariate
ผลการวิจัย : มีผูปวยที่เขารวมการวิจัยทั้งสิ้น 32 คน อายุเฉลี่ยในวันทีท่ ําการวินจิ ฉัย 11.5 ป (พิสัย 4-14.6 ป) อาการนําที่
พบบอยที่สุด ไดแก ไข พบไดรอยละ 34.4 รองลงมาไดแก บวม ผื่นผิวหนัง ปวดขอ ชัก การเคลื่อนไหวผิดปกติและอาการ
อื่นๆ คิดเปนรอยละ 21.8, 15.7, 15.7, 3.1, 3.1, 6.3 ตามลําดับ ผูปวยที่มีอาการทางระบบประสาทจิตวิทยามีจํานวน 6 คน คิด
เปนรอยละ 18.8 โดย 4 ใน 6 คน มีอาการตัง้ แตแรกวินจิ ฉัย อาการที่พบไดแก อาการชัก อาการทางจิต การเคลื่อนไหว
ผิดปกติ และอาการทางหลอดเลือดสมอง มีผูปวยที่ไดรับการตรวจการนํากระแสประสาทจํานวน 24 คน พบมีความผิดปกติ
20 คน คิดเปนรอยละ 83.3 ความผิดปกติดังกลาวไดแก patchy axonal motor neuropathy จํานวน 14 คน คิดเปนรอยละ 70,
patchy axonal motor and sensory neuropathy จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 20, diffuse axonal motor neuropathy จํานวน 1
คน คิดเปนรอยละ 5, patchy demyelination จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 5 โดยพบวา ผูปวยกลุมทีไ่ มมีอาการทางระบบ
ประสาทจิตวิทยามีความผิดปกติของการนํากระแสประสาทถึง 16 คน คิดเปนรอยละ 80 และไมพบความสัมพันธระหวาง
ชนิดความผิดปกติของการนํากระแสประสาทกับการมีหรือไมมีอาการทางระบบประสาทจิตวิทยา ภาวะของโรค ระยะเวลา
ที่เปนโรคถึงวันที่ทําการเก็บขอมูลและการรักษาที่ไดรับ จากการตรวจระดับสติปญญาโดยการตรวจไอคิวในผูปว ย 22 คน
พบผูปวยที่ระดับสติปญญาสูงกวาปกติ จํานวน 2 คน ปกติ 2 คน เรียนรูชา 9 คน ปญญาทึบ 1 คน คิดเปนรอยละ 9.1, 45.5,
40.9, 4.5 ตามลําดับ และพบวาผูปวยกลุมทีไ่ มมีอาการทางระบบประสาทจิตวิทยามีระดับสติปญญาที่ดอยกวาปกติ (เรียนรู
ชาและปญญาทึบ) ถึงรอยละ 47 การตรวจคัดกรองปญหาพฤติกรรมในผูปวย 18 คน พบมีคะแนนรวมปญหาอยูใ นเกณฑ
ผิดปกติ 5 คน คิดเปนรอยละ 27.8 โดยทั้งหมดอยูในกลุมที่ไมมีอาการทางระบบประสาทจิตวิทยา
สรุป : จากการศึกษานี้ พบผูป วยที่มีอาการทางระบบประสาทจิตวิทยาคิดเปนรอยละ 18.8 แตจากการประเมินผูปวยอยาง
ละเอียด พบมีการเสียหนาทีท่ างระบบประสาทจิตวิทยามากขึ้น เพราะฉะนั้นแพทยที่ดแู ลผูปวยกลุมนี้ควรมีความตระหนัก
ถึงการเสียหนาที่ทางระบบประสาทจิตวิทยา ถึงแมวาผูปวยจะไมเคยไดรบั การวินจิ ฉัยมากอนก็ตาม และการศึกษานีถ้ ือเปน
แคจุดเริ่มตน การศึกษาตอไปในอนาคตโดยมีกลุมประชากรที่ใหญขนึ้ จะทําใหไดขอ มูล เพื่อนํามาปรับใชในการดูแลผูปวย
ไดดยี ิ่งขึ้น
NEUROPSYCHIATRIC EVALUATION IN
CHILDHOOD SYSTEMIC LUPUS ERYTHEMATOSUS
Nisakorn Poovasin

Background : Systemic lupus erythematosus (SLE) is a multi-organ autoimmune disease.


Neuropsychiatric (NP) manifestations are often seen in the course of this disease. Psychosis and seizure
are included in diagnostic criteria but there are 17 other NP manifestations. NP manifestations in pediatric
patients with SLE (NPSLE) have been reported between 20.8 and 44%. There were two studies in Thai
children documented NP involvement in 20.8% and 32% respectively. None of these studies included
specific evaluations of neuropsychiatric evaluations.
Objective : To determine neuropsychiatric (NP) involvement of systemic lupus erythematosus (SLE) in
Thai children at Ramathibodi hospital
Methods : Cross-sectional study was conducted in childhood SLE patients. Medical records of children
diagnosed with SLE first seen at Ramathibodi hospital from 1 January, 2007 to 31 December, 2008 were
reviewed. Each patient was rendered a complete neurological examination by certified pediatric
neurologist, evaluation of nerve conduction study, determination of cognitive function by WISC-III, and
evaluation of strengths and difficulties in behavioral problems by mean of self-administrative
questionnaire. Synchronously, evaluation of disease activities was determined by pediatric nephrologists
and laboratory tests according to ECLAM score. Descriptive and univariate analysis (Chi-square and T-
test) were applied wherever applicable.
Results : There were 32 patients (8 males. 24 females) enrolled into this study. Patients’ mean age at
onset was 11.5 years (range 4-14.6). Presenting symptoms are fever (11 patients, 34.4%), edema (7
patients, 21.8%), rash (5 patients,15.7%), arthritis (5 patients,15.7%), seizure (1 patient. 3.1%), chorea (1
patient. 3.1%) and others (2 patients,6.3%). There were total of 6 (18.8%) who had neuropsychiatric (NP)
involvement. Four patients had NP manifestation at the time of diagnosis. The most common NP
manifestation was seizure (66.7%). Others were psychosis (16.7%), chorea (16.7%) and cerebrovascular
disease (16.7%).
NCS was done in 24 patients, 20 (83.3%) of 24 had abnormal NCS (16 in non NP group and 4 in
NP group). These abnormalities were patchy axonal motor neuropathy (14 patients, 70%), patchy axonal
motor and sensory neuropathy (4 patients, 20%), diffuse axonal motor neuropathy (1 patient, 5%) and
patchy demyelination (1 patient, 5%). In non NP group, 80% (16 patients) had neuropathy. There were no
correlations between type of NCS and NP involvement, ECLAM score, disease duration, and treatment.
IQ test (WISC-III) was done in 22 patients, which showed bright normal in 2 patients (9.1%),
normal in10 patients (45.5%), slow learner in 9 patients (40.9%), and mental retardation in 1 patient,
(4.5%). 47% of non NP patients had subnormal cognitive functions, which were slower learner and mental
retardation.
SDQ was determined in 18 patients. 5 patients (27.8%) demonstrated abnormal total difficulties
score. All were in non NP group.
Conclusion : Neuropsychiatric manifestation occurred in 18.8% of children with SLE in this study.
Additional evaluation demonstrated neuropsychiatric dysfunctions, which were not either determined or
included into the criteria of classification. The physicians taking care of children with SLE should be aware
of neuropsychiatric dysfunctions thought they are not classified according to recommended classification of
NPSLE. This study is a preliminary cross-sectional study. Therefore a cohort study in the large number of
patients should be conducted to obtain information for further application. .
ภาวะโภชนาการและภาวะสังกะสีในเด็กโรคหัวใจพิการแตกําเนิด
ชนิดรูรั่วที่ผนังหัวใจหองลางหลังไดรับการผาตัดแกไข
ภัทรวรรณ เลิศไชยพานนท`

ความเปนมา: ภาวะเจริญเติบโตชาเปนปญหาที่สําคัญและพบไดบอยในเด็กโรคหัวใจพิการแตกําเนิดและเกิดจากหลาย
สาเหตุรวมกัน เด็กที่เปนโรคหัวใจพิการแตกําเนิดชนิดรูรวั่ ที่ผนังหัวใจหองลาง (ventricular septal defect, VSD) ขนาดปาน
กลางถึงใหญมกั มีภาวะหัวใจวายเรื้อรังและการเจริญเติบโตชา ซึ่งพบวาสวนใหญการเจริญเติบโตจะดีขึ้นหลังไดรบั การ
ผาตัดแกไขแลว แตอยางไรก็ตาม ยังมีเด็กจํานวนหนึ่งยังมีการเจริญเติบโตที่ยังไมดนี ัก นอกจากนี้ ผูปวยเด็กกลุม นี้ยังเสี่ยง
ตอภาวะขาดสังกะสี เนื่องจากการไดรับอาหารไมเพียงพอ และการไดรบั ยาที่เพิ่มการสูญเสียสังกะสีทางปสสาวะ ใน
ปจจุบันการศึกษาภาวะโภชนาการและปจจัยที่เกี่ยวของของเด็กที่เปนโรค VSDหลังไดรับการผาตัดแกไขยังมีจํากัด และยัง
ไมเคยทําในประเทศไทยมากอน
วัตถุประสงค
เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบภาวะโภชนาการและภาวะสังกะสีในเด็กโรค VSD กอน และหลังไดรับการผาตัดแกไข
รูปแบบการวิจยั : Prospective cohort study
วิธีวิจัย: ศึกษาในผูปวยโรค VSD และ complete atrioventricular septal defect (AVSD) อายุนอยกวา 8 ป ที่ไดรับการผาตัด
แกไขที่โรงพยาบาลรามาธิบดี ตั้งแตเดือนมกราคมถึงธันวาคม พ.ศ.2551 โดยผูปวยทีม่ ีลิ้นหัวใจไมทรัลหรือลิ้นหัวใจเอออร
ติกรั่วตั้งแตระดับปานกลางขึน้ ไป โรคตอมไรทอ โรคไตวาย และโรคทางพันธุกรรมจะถูกคัดออกจากการศึกษา ผูเขารวม
การวิจยั จะไดรับการประเมินภาวะโภชนาการและภาวะสังกะสีกอนและหลังผาตัด โดยการสัมภาษณเพื่อเก็บขอมูลทั่วไป
ประวัติอาหารที่ไดรับ และชัง่ น้ําหนัก วัดสวนสูงและเจาะเลือดตรวจระดับอัลบูมิน, alkaline phosphatase activity,
ฮีโมโกลบินและระดับสังกะสีในพลาสมา แลวนําไปวิเคราะหทางสถิติเชิงบรรยายและเชิงเปรียบเทียบระหวางกอนและ
หลังไดรับการผาตัด
ผลการวิจัย: ผูเขารวมการวิจยั 44 คน (ชาย 23 คน) เปนโรค VSD 39 คน และโรค AVSD 5 คน
คามัธยฐานของอายุ 15 เดือน (2-83 เดือน) และระยะเวลาที่ไดรับการติดตามเฉลี่ย 8.6 เดือน (0.6-18.96 เดือน) พบวาคา Z-
scores ของน้ําหนักตามอายุ และน้ําหนักตามสวนสูงหลังผาตัดดีขึ้นกวากอนผาตัด แตคา Z-score ของสวนสูงตามอายุไม
เปลี่ยนแปลงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สวนขอมูลทางดานอาหารที่ไดรับ มีคาเฉลี่ยของพลังงาน โปรตีน เหล็ก และสังกะสี
กอนและหลังผาตัดไมแตกตางกัน ผลการตรวจเลือดพบวามีระดับอัลบูมิน alkaline phosphatase activity และฮีโมโกลบิน
นอยกวาปกติ ในผูปวยกอนผาตัด รอยละ 22, 13.9, และ18.4 ตามลําดับ และในผูปว ยหลังผาตัด รอยละ 25, 0, และ 15.8
ตามลําดับ โดยคาเฉลี่ยของผลเลือดดังกลาวกอนและหลังผาตัด 3 เดือนไมแตกตางกัน และยังพบวารอยละ 37 ของผูปวย
ทั้งหมดกอนผาตัดมีระดับสังกะสีในพลาสมาต่ํา และดีขน้ึ หลังผาตัด
สรุป: การผาตัดแกไข VSD มีผลตอการเจริญเติบโตหลังผาตัดที่ดีขึ้น ดังที่แสดงจากคา Z-score ของน้ําหนักตามอายุและ
น้ําหนักตามสวนสูงที่แตกตางกันอยางมีนยั สําคัญทางสถิติ อยางไรก็ตาม ยังมีผูปวยรอยละ 16 ที่ยังมีการเจริญเติบโตชาหลัง
ผาตัด ซึ่งไมสามารถแสดงปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโตไดเนื่องจากมีขอจํากัดเรื่องขนาดของประชากร สวนภาวะขาด
สังกะสีพบไดถึง 1 ใน 3ของผูปวยกอนผาตัดและลดลงหลังผาตัด ดังนั้นจึงควรใหความสําคัญกับภาวะโภชนาการในเด็ก
กลุมนี้และนาจะมีการศึกษาถึงผลการใหการดูแลทางโภชนาการรวมถึงการใหสังกะสีตอการเจริญเติบโตตอไป

*การวิจยั นี้ไดรับการสนับสนุนจากทุนอุดหนุนการวิจยั จากเงินรายไดคณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี


NUTRITIONAL STATUS AND ZINC STATUS IN CHILDREN WITH
VENTRICULAR SEPTAL DEFECT AFTER SURGICAL CORRECTION
Patarawan Lertchaipanond

Background: Growth failure in children with congenital heart disease is common and caused by
multifactors. Children with moderate to large ventricular septal defects (VSD) usually present with chronic
congestive heart failure and failure to thrive. Most patients have improved growth after surgical correction.
However, in recent studies, few VSD children still have suboptimal growth. Children with VSD are prone
to zinc deficiency due to inadequate dietary intake and increased urinary excretion. Data concerning
postoperative nutritional status and related factors in children with VSD is limited.
Objectives:
To assess and compare nutritional status and zinc status of children with VSD before and after surgical
correction
Study design: Prospective cohort study
Methods: Forty-four patients aged <8 years with isolated moderate to large VSD (n=39) and complete
atrioventricular septal defect (AVSD) (n=5) were followed after surgical correction at Ramathibodi
Hospital from January to December 2008 to assess nutritional and zinc status. Exclusion criteria were
moderate aortic regurgitation or mitral regurgitation, endocrine diseases, syndromes affecting growth
except Down syndrome, and renal failure. Data collection included anthropometric measurement and
laboratory investigations (complete blood count, plasma levels of zinc, albumin, and alkaline phosphatase
activity). Descriptive data were expressed by Z-scores, number (%), and median (range) and comparative
data were analyzed by paired t-test, Mann-Whitney U test, Fisher’s exact test, and repeated measurement
ANOVA.
Results: Baseline characteristics, anthropometric measurement, and dietary records of 44 patients (male
23) were collected at admission for surgical correction as well as follow-up visits (latest follow-up 8.58
(0.6-18.96) months). The median age was 15 months (range 2-83). In comparison with preoperative values,
the postoperative (latest follow-up) weight for age (WA) and weight for height (WH) Z-scores were
statistically significant increased. However, preoperative and postoperative height for age (HA) Z-scores
were not significantly different. The median preoperative and postoperative intakes of energy and protein
were not significantly different. Preoperative values of serum albumin, alkaline phosphatase activity, and
hemoglobin were low in 22%, 13.9%, and 18.4% of patients, respectively. Three months after surgery,
these values were 25%, 0%, and 15.8%, respectively. Approximately one-third of the patients had low
preoperative plasma zinc levels and mostly improved after surgical correction.
Conclusion: Surgical VSD closure resulted in improved nutritional status. There were statistically
significant improvement in WA and WH Z-scores. After surgery, 16% of children still had both WA and
HA Z-scores <-2. Factors related to postoperative nutritional status cannot be determined in this study due
to insufficient sample size. Preoperative zinc status was poor in one-third of patients. Interventional study
to assess the effect of nutritional support in VSD patients is warranted.
This study was supported by Ramathibodi Research Grant.
การเกิดพิษตอหูในกลุมผูปวยที่ไดรับ Cisplatin:
อุบัติการณ, ปจจัยเสี่ยงและความสัมพันธกับ Genetic Polymorphisms
วรวุฒิ เชยประเสริฐ
ความเปนมา: Cisplatin [cis-dichlorodiammineplatinum (II)] คือ ยาเคมีบําบัดที่มีประสิทธิภาพและใชอยางกวางขวางใน
การรักษาโรคมะเร็งชนิดกอนในผูปวยเด็ก ผลขางเคียงจาก cisplatin คือการเกิดพิษตอหู ไต และระบบประสาท อุบัติการณ
การเกิดพิษตอหูจาก cisplatin มีการรายงานตั้งแตรอยละ 20-90 ผูปวยที่ไดรับ cisplatin แตละคนมีการเกิดพิษตอหูที่
แตกตางกัน ไมสามารถอธิบายไดจากเภสัชจลนศาสตรของ cisplatin ไดทั้งหมด
พยาธิกําเนิดของการเกิดพิษตอหูจาก cisplatin สวนหนึ่งเกี่ยวของกับ oxidative stress ที่เกิดขึ้นภายในเซลล
เอ็นไซมที่รางกายใชในการปองกันเซลลจากภาวะดังกลาว คือ glutathione s-tranferases (GSTs) genetic polymorphisms
ของเอ็นไซมนมี้ ีผลตอการสรางเอ็นไซม ดังนั้นในแตละคนอาจมีระดับเอ็นไซมที่แตกตางกันซึ่งอาจเกี่ยวของกับการเกิดพิษ
ตอหูจาก cisplatin ที่พบแตกตางกันในแตละบุคคล
วัตถุประสงค:
1) เพื่อศึกษาอุบัตกิ ารณและปจจัยเสี่ยงของการเกิดพิษตอหูในผูปวยเด็กที่ไดรับ cisplatin
2) เพื่อศึกษาความสัมพันธของ GSTM1 และ GSTT1 polymorphisms กับการเกิดพิษตอหูในผูปวยเด็กทีไ่ ดรับ cisplatin
แบบแผนการวิจัย: เปนการศึกษาแบบ case control association study
วิธีดําเนินการวิจัย: ผูปวยโรคมะเร็งในเด็กและวัยรุนที่ไดรับการรักษาดวย cisplatin ทุกคนจะไดรับการตรวจประเมินการ
ไดยนิ ภายหลังการรักษาดวย cisplatin ในบางคนจะไดรบั การตรวจกอนหรือระหวางการรักษาดวย cisplatin ตามแต
แนวทางในการดูแลโรคนั้นๆ ของหนวยโลหิตวิทยาและมะเร็งวิทยา ภาควิชากุมารเวชศาสตร รพ. รามาธิบดี ผูวิจยั ทําการ
เก็บตัวอยางเลือด นําไปสกัด DNA และตรวจหา GSTM1 และ GSTT1 polymorphisms
ผลการวิจัย: ผูปวย 70 คนเขารวมการศึกษา พบวาผูปวย 47 คน (67.1%) มีระดับการไดยินลดลงมากกวาหรือเทากับเกรด 2
ตาม Brock’s classification ปริมาณ cisplatin รวมที่ผูปวยไดรับมีคากลางที่ 505.5 mg/m2 (100-1200 mg/m2) กลุมผูปวยที่
ไดรับ cisplatin มากกวา 400 มิลลิกรัมตอตารางเมตรมีความเสี่ยงที่จะเกิดความบกพรองของการไดยินสูงขึ้น 12.55 เทา
(95% CI: 2.14 - 73.54) เมื่อเทียบกับกลุมผูป วยที่ไดยาในขนาดนอยกวา การมี GSTT1 wild type จะเพิ่มโอกาสการเกิดพิษ
ตอหูจาก cisplatin มากกวากลุม null genotype สูงถึง 15.57 เทา (95% CI: 2.68 - 90.68)
Conclusion: การศึกษานีพ้ บวาปจจัยเสี่ยงตอการเกิดพิษตอหูจาก cisplatin ไดแก การไดรับปริมาณ cisplatin รวมมากกวา
400 มิลลิกรัมตอตารางเมตร และ การมี GSTT1 wild type
CISPLATIN-INDUCED OTOTOXICITY:
THE INCIDENCE, RISK FACTORS AND GENETIC POLYMORPHISMS
Worawut Choeyprasert

Background: Cisplatin [cis-dichlorodiammineplatinum (II)] is a nonclassical and a linchpin of


chemotherapy for a number of solid tumors of childhood and adolescence but its side effects are
neurotoxicity, nephrotoxicity and ototoxicity. The incidence of ototoxicity after cisplatin range from 20-
90%. A recently published studies show interindividual susceptibility to cisplatin-induced ototoxicity was
far greater than the variability in pharmacokinetics in clinical studies.
Since oxidative stress has been implicated in cisplatin-induced ototoxicity, glutathione s-
tranferases (GSTs) are isoenzymes that appear to be critical in one of mechanisms that protect cells against
oxidative. The expression of these enzymes is genetically polymorphic which might determine
interindividual susceptibility of cisplatin-induced ototoxicity.
Objective:
1) To determine the incidence of cisplatin-induced ototoxicity and study several common risk factors of
cisplatin-induced ototoxicity
2) To determine the association of GSTM1, GSTT1 polymorphisms and cisplatin-induced ototoxicity
Study Design: Case control association study
Patients and methods: All patients were children and young adults who received cisplatin-based
chemotherapy. The audiologic examination has been performed in all patients after completely treated with
cisplatin-based chemotherapy. This evaluation might be performed before and/or during treatment
according to diseases’ treatment regimens. Blood samples were collected to perform DNA extraction and
genotyping for GSTM1 and GSTT1 polymorphisms.
Results: A total of 70 patients were eligible for the present study, 47 patients (67.1%) developed grade 2 or
worse hearing loss according to Brock’s classification with the median cumulative dose of 505.5 mg/m2
(range 100-1200 mg/m2). Patients who received cumulative dose of cisplatin higher than 400 mg/m2 had a
12.55-fold increase in the odds of developing high frequency sensorineural hearing loss (95% CI: 2.14 -
73.54) compared to patients who received lower dose. GSTT1 wild type associated with increased risk of
hearing impairment after cisplatin treatment of 15.57-fold compared to those of GSTT1 null type (95% CI:
2.68 - 90.68).
Discussion: In this study, the risk factors of cisplatin-induced ototoxicity are cumulative cisplatin dose
more than 400 mg/m2 and GSTT1 wild type.
ความสัมพันธระหวางระดับคารนิทีนในเลือดและการทํางานของหัวใจ
ที่เปลี่ยนแปลงไปในผูป วยเด็กโรคมะเร็งที่ไดรับยาด็อกโซรูบิซิน
สุวดี จิระศักดิ์พิศาล
บทนํา: ด็อกโซรูบิซิน (Doxorubicin, DOX) เปนยาตานมะเร็งที่ใชกนั อยางแพรหลายในปจจุบัน การไดรับยาชนิดนี้ระยะ
เวลานานกอใหเกิดภาวะเปนพิษตอหัวใจ โดยแปรผันตามระดับยาสะสมที่ไดรับ กลไกที่เปนไปไดคือ ไปยับยั้ง
กระบวนการ long chain fatty acid oxidation ยาหลายชนิดถูกนํามาใชเพื่อรักษาภาวะนี้ หนึ่งในนัน้ คือ L-carnitine ซึ่ง
เปนสารสําคัญที่ขนสง long chain fatty acid เขาสู mitochondria เพื่อกระบวนการ ß-oxidation กอใหเกิดพลังงานหลัก
ของหัวใจและกลามเนื้อ การวิจัยที่ผานมาพบวา L-carnitine ชวยการทํางานของหัวใจดีขึ้นในภาวะเปนพิษตอหัวใจจากด็
อกโซรูบิซิน
วัตถุประสงค: วัตถุประสงคหลัก เพื่อศึกษาระดับคารนิทนี ในพลาสมาและการทํางานของหัวใจในผูปวยที่ไดรับด็อกโซรูบิ
ซิน วัตถุประสงครอง เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางระดับคารนิทีนในพลาสมาและการทํางานของหัวใจที่เปลีย่ นแปลง
ไป และศึกษาผลของการรับประทานคารนทิ ีนระยะสั้นตอการทํางานของหัวใจ
ผูปวยและวิธีการศึกษา : เปนการศึกษาแบบ prospective cohort study ในผูปวยมะเร็งเด็กที่คาดวาจะไดรับ ด็อกโซรูบิซิน
มากกวาหรือเทากับ 300 มก./ตร.ม. และรักษาที่ ร.พ .รามาธิบดีระหวางเดือนมีนาคม 2551 ถึงเดือนเมษายน 2552 โดยเก็บ
ขอมูลการทํางานของหัวใจและคารนิทีนกอนรักษาดวยด็อกโซรูบิซิน และหลังระดับยาสะสมที่ 150, 300, 375 มก./ตร.ม.
หลังการเก็บขอมูลในทุกระดับยาสะสมผูป วยจะไดรับประทานคารนทิ ีน 100 มก./กก./วัน ตอเนือ่ ง 3 วัน และเก็บขอมูลการ
ทํางานของหัวใจและคารนิทนี อีกครั้ง ประเมินการทํางานของหัวใจโดย echocardiography ดานการบีบตัวของหัวใจหอง
ลางซายในชวง systole คือ ejection froction (EF), fractional shortening (FS) และการทํางานโดยรวมคือ left ventricular
index of myocardial performance (LIMP) วิเคราะหระดับคารนิทีนรวม (total carnitine) คารนิทีนอิสระ(free carnitine) เอ
ซิลคารนิทีน (acyl carnitine) และอัตราสวนเอซิลคารนิทีนตอคารนิทีนอิสระ (acyl/free carnitine, AF ratio) ในพลาสมา
โดย spectrophotometric method วิเคราะหทางสถิติใช Kruskal-Wallis test และ Rank Sum test
ผลการวิจัย : มีผูปวยที่เขารวมการวิจัย 11 ราย (ชาย 6 หญิง 5) อายุเฉลีย่ 9.3 ป ไดรับการวินจิ ฉัยโรคเปนosteosarcoma (6
ราย), fibrosarcoma (2 ราย), rhabdomyosarcoma (high risk, 1 ราย), Ewing’s sarcoma (1 ราย), hemangiopericytoma (1
ราย) เมือ่ ระดับยาสะสมด็อกโซรูบิซินสูงขึ้นพบวาระดับคารนิทีนรวมและคารนิทีนอิสระลดต่าํ ลง ระดับเอซิลคารนิทีนและ
อัตราสวนเอซิลคารนิทีนตอคารนิทีนอิสระ (AF ratio) สูงขึ้น EF และ FS ต่ําลงแตอยูใ นเกณฑปกติ โดยรวมไมมีนยั สําคัญ
ทางสถิติ LIMP สูงขึ้นอยูใ นเกณฑผิดปกติ (p=0.04) ที่ระดับด็อกโซรูบซิ ิน 150 มก./ตร.ม. และหลังจากรับประทานคารนิ
ทีน 3 วัน คา LIMP ไมดีขนึ้
สรุปผลการวิจยั : ระดับคารนทิ ีนในเลือดและการทํางานของหัวใจไมมีความสัมพันธกนั และการทํางานของ หัวใจไมดีขึ้นหลัง
รับประทานคารนิทีนระยะสั้น ซึ่งบงชีว้ าภาวะพรองคารนทิ ีนอาจไมไดเปนสาเหตุหลักของภาวะเปนพิษตอหัวใจจากด็อกโซ
รูบิซิน หรือ ภาวะพรองคารนิทีนเปนสาเหตุหลักของภาวะนี้ แตการใหคารนิทีนระยะสั้นไมเพียงพอที่จะแกไขการบีบตัวของ
หัวใจที่ผิดปกติใหกลับคืนมาดีได อาจตองการการใหคารนิทีนในระยะเวลาทีน่ านกวานี,้ LIMP อาจนําไปใชเปนตัวบงชีภ้ าวะ
subclinical cardiomyopathy
Association between plasma carnitine levels and altered cardiac functions in pediatric oncologic
patients receiving doxorubicin therapy
Suwadee Jirasakpisarn

Introduction: Doxorubicin (DOX) is an anthracycline antibiotic with broad spectrum antitumor activity.
Chronic administration leads to a cumulative dose-dependent cardiotoxicity, but the exact mechanism is
unclear. Recently, it has been suggested that DOX may exert at least a part of its cardiotoxicity by
inhibition of long-chain fatty acid oxidation in the heart. There have been extensive clinical and
experimental researches to overcome DOX-induced cardiotoxicity. One of the studied drugs is L-carnitine
which is an essential cofactor for mitochondrial transport and oxidation of long-chain fatty acids. Previous
studies have demonstrated that L-carnitine could protect the myocardium against DOX-induced
cardiotoxicity.
Objective: Primary objective is to study plasma carnitine levels & cardiac function in patients
treated with DOX. Secondary objectives are to study association between altered carnitine levels and
cardiac functions, and to study effect of short term carnitine supplement on cardiac function.
Methods: A prospective cohort study was performed in pediatric oncologic patients who expected to
receive DOX cumulative dose>300 mg/m2, at Ramathibodi Hospital during March 2008 – April 2009.
Cardiac function and plasma carnitine levels were studied before treatment of DOX and at cumulative dose
of DOX 150, 300 and 375 mg/m2. After echocardiogram and carnitine analysis at each cumulative dose, the
patients received 100 mg/kg/day of oral carnitine supplement for 3 days, followed by repeat
echocardiogram and blood carnitine analysis. Cardiac function was determined by echocardiographic data,
ejection fraction (EF), fractional shortening (FS), and left ventricular index of myocardial performance
(LIMP), which were analyzed by a single cardiologist (A.K.). Total, free, and acyl carnitine (TC, FC, and
AC) levels were measured by using spectrophotometric method. Kruskal-Wallis test and Rank Sum test
were used for statistical analysis.
Results: Eleven patients (6 males, 5 females) were enrolled in the study. Median age was 9.3
years (range 1.5-14.8y). The diagnoses included osteosarcoma (6), fibrosarcoma (2), rhabdomyosarcoma
(high risk) (1), Ewing’s sarcoma (1), hemangiopericytoma (1). The TC and FC levels were decreased with
higher cumulative doses of DOX (p=NS). AC levels and AF ratio were increased with higher cumulative
doses of DOX (p=NS). EF and FS were decreased with higher cumulative doses of DOX (p=NS) but still
within normal limits. LIMP was increased with higher cumulative doses of DOX especially after
cumulative doses 150 mg/m2. The altered LIMP indicated left ventricular global dysfunction ( p=0.04).
After 3-day of carnitine supplementation, LIMP was not improved to the normal range.
Discussion & Conclusion: Plasma carnitine levels were not correlated with cardiac abnormalities. The
short- term carnitine supplement did not improve cardiac function, indicating that carnitine deficiency may
not be the main mechanism for DOX-induced cardiotoxicity or carnitine deficiency is in fact underlying
DOX-induced cardiotoxicity but it may require longer duration of carnitine supplementation. Altered
cardiac function was observed when cumulative dosed of doxorubicin reached 150 mg/m2. LIMP is
suggested as an indicator for early detection of subclinical cardiomyopathy.
การสํารวจการรับรูของผูป กครองที่พาบุตรหลานมารับบริการที่คลินิกตอเนื่องของแพทยประจําบาน
ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี
ฉัตตมณี บัญชรเทวกุล

บทนํา : เนื่องจากความสําคัญของการดูแลตอเนื่อง (continuity of care) ซึ่งเปนองคประกอบหลักของการดูแลผูปวยแบบ


ปฐมภูมิ (primary care) ที่ชวยพัฒนาการดูแลและสงเสริมสุขภาพทั้งในเด็กสุขภาพดีและเด็กที่ปวยเรื้อรัง ภาควิชากุมารเวช
ศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี ไดจดั ตั้งคลินิกตอเนื่องเปนสวนหนึ่งของหลักสูตรการฝกอบรมแพทยประจําบานตัง้ แต พ.ศ.
2541 เพื่อใหแพทยประจําบานไดฝกทักษะบริหารจัดการและการดูแลผูปวยอยางตอเนื่อง ซึ่งการประเมินผลในปจจุบันทํา
โดยทีมอาจารยแพทยผูรับผิดชอบประมวลจากการปฏิบัติงานและจํานวนผูปวยที่ดแู ลตอเนื่อง จึงเปนที่มาของการศึกษาเพื่อ
สํารวจการรับรูของผูปกครองที่พาบุตรหลานมารับบริการที่คลินิกตอเนื่องซึ่งเปนฝายผูรับบริการโดยเนนการดุแลแบบปฐม
ภูมิและหาปจจัยที่มีผลกับการรับรูในผูปวยที่มารับบริการตอเนื่อง
วิธีการวิจัย : การศึกษาแบบ cross-sectional survey เพื่อเก็บขอมูลของผูปวยมารับบริการที่คลินิกตอเนื่องโดยแพทย
ประจําบานกุมารเวชศาสตร หนวยผูปวยนอก โรงพยาบาลรามาธิบดีมากกวาหรือเทากับ 3 ครั้งในชวงเดือนมกราคมถึง
ธันวาคม ปพ.ศ. 2551 โดยเก็บขอมูลพื้นฐานและขอมูลการรับรูของผูปกครองทั้งคะแนนรวมและรายดานเกี่ยวกับการดูแล
ปฐมภูมิโดยใชแบบสอบถามที่ดัดแปลงจาก Parents’ Perceptions of Primary Care Measure (P3C) จํานวน 25 ขอและทํา
การสัมภาษณทางโทรศัพท ซึ่งผลรวมคะแนนที่มากกวาหรือเทากับ 75 หมายถึงการใหบริการปฐมภูมิที่ครบถวน และนํา
ขอมูลพื้นฐานมาวิเคราะหหาปจจัยที่มีผลตอการรับรูของผูปกครอง
ผลการวิจัย : ขอมูลการทบทวนเวชระเบียนผูปวย 185 คนและจากการสัมภาษณผูปกครอง 100 คน พบวาผูปกครอง รอย
ละ 91 ของผูปกครองตอบวาโรงพยาบาลรามาธิบดีเปนสถานพยาบาลประจําและ รอยละ 87 ตอบชื่อแพทยประจําบานเปน
แพทยประจําตัวของบุตรหลาน โดยผูปวยไดรับการดูแลตอเนื่องจากผูใหบริการ 3 กลุม ไดแกแพทยประจําบาน 1 คน
จํานวน 43 คน แพทยประจําบานตั้งแต 2 คนขึ้นไปโดยการสงตอขอมูลผูปวยจํานวน 36 คน และ แพทยประจําบานรวมกับ
แพทยเฉพาะทางจํานวน 21 คน และกลุมโรคที่แพทยประจําบานมีผูปว ยไวดูและมากที่สุดไดแก โรคภูมิแพและหอบหืด
(67 ราย) และผูปวยที่มี ปญหาพฤติกรรมและพัฒนาการ (48 ราย) รองลงมา ผลการสัมภาษณผูปกครองโดยใช
แบบสอบถามที่ดัดแปลงจาก P3C พบวาคะแนนเฉลี่ยรวมและคะแนนเฉลี่ยรายดานทุกดานไดมากกวา 75 คะแนน โดยคา
กลางของคะแนนรวมเทากับ 78.6 คะแนน (SD±8.8) ปจจัยที่มีผลตอการรับรูของผูปกครองโดยรวมไดแก ผูปวยทีม่ ารับ
บริการมากกวาหรือเทากับ 6 ครั้ง ผุปวยที่มปี ญหาพัฒนาการหรือพฤติกรรม และผูปกครองที่ตอบชื่อแพทยประจําบานเปน
แพทยประจําของบุตรหลานตอบ ทั้งนี้คากลางคะแนนรายดานพบวาดานการสื่อสารไดคะแนนสูงสุด 91.13 คะแนน
(SD±10.2) รองลงมาไดแก ดานความเขาใจและรูจักผูปว ย (contextual knowledge) 83.91 คะแนน (SD±12.4) และดานการ
เขาถึงบริการ (accessibility) 79.19 คะแนน (SD±12.9) ตามลําดับ
บทสรุป : ภายใตโปรแกรมการฝกอบรมที่กําหนดใหแพทยประจําบานออกตรวจทีค่ ลินิกตอเนื่องเปนระยะเวลา 2 ป และ
ดูแลคนไขตอเนื่องอยางนอย 3 ครั้ง จากการประเมินการรับรูของผูปกครองพบวาแพทยประจําบานภาควิชากุมารเวช
ศาสตรสามารถใหการดูแลปฐมภูมิที่ครบถวนแกเด็กสุขภาพดีหรือผูปวยได โดยที่คะแนนดานการสื่อสาร
(communication) ดานความเขาใจและรูจ ักผูปวย (contextual knowledge) สูงเปนอันอันดับหนึ่งและสองรองลงมา
Parents’ Perceptions Survey of Residents’ Continuity Clinic at Ramathibodi Hospital

Chatmanee Bunchorntavakul,
Background : High quality of pediatric primary care is a cornerstone of efforts to improve health
outcomes, control health care spending and improve access of care. Greater continuity of primary care is
associated with higher quality of care as reported by parents. Since 1998, Pediatric Residents’ Continuity
Clinic (CC) at Ramathibodi hospital was settled to provide continuity experiences for residents through 2nd
and 3rd year of training. Up to the present, the clinic is evaluated only from providers’ aspect The purpose of
this study is to evaluate the Residents’ Continuity Clinic from another stakeholder by survey parents’
perceptions of the care which their children received based on the components of primary care defined by
Institute of Medicine including longitudinal continuity, communication, comprehensiveness, access,
coordination and contextual knowledge.
Study Objectives
-To assess parents’ perceptions of primary care at Residents’ Continuity Clinic.
-To describe factors that associate with parents’ perceptions.
Methodology : A Cross-sectional survey by phone interview using the questionnaire modified from the
Parents’ Perceptions of Primary Care Measure (P3C) was conducted of patients enrolled from Residents’
Continuity Clinic at Ramathibodi hospital during January-December 2008 with inclusion criteria of visit at
CC ≥ 3 times. Outcome measures included demographic data, mean total scores for the Parents’ Perceptions
of Primary Care Measure and mean scores for each primary care domain. A score of more than 75 is
consistent with primary care attribute. Data analysis was made to find association between particular factors
and mean total scores using Independent T-test, One-Way Anova and multiple linear regression
Results : A total of 185 patients were enrolled with interviewed group of 100 parents. The mean age was
5.3 years (Range 0.5-17.75). The common groups of diagnosis were allergy (36%), child development
(26%), nutrition (25%), well child care (21%) and hematology (16%). Seventy five percents of patients
received care from residents (one or two) while others received care from both residents and specialists.
Parents rated the care that they received more than 75 scores in both total scores and each domains (mean
total scores = 78.6). The mean scores for communication and contextual knowledge were higher than other
domains. There were no difference of mean total scores between groups of providers (p=0.11). By using
multiple linear regression, higher scores were associated with a number of visits at 6 or more (p=0.02),
parents able to name the resident as their child’s regular doctor (p=0.01) and children with developmental
problems (p=0.02).
Conclusion : From parents’ perceptions, pediatric residents at Ramathibodi hospital can provide primary
care for their child at continuity clinic. Parents rated residents higher scores in communication and
contextual knowledge than other domains.
การศึกษาประสิทธิภาพของโปรแกรมการปองกันการบาดเจ็บในสนามเด็กเลนในศูนยดูแลเด็กเล็กเพื่อลดอุบัติเหตุและ
พฤติกรรมเสี่ยงในสนามเด็กเลน
นันทา จรูญรุงสิริกุล

ความเปนมา: การเลนในสนามเด็กเลนเปนเครื่องมือสําคัญในการสงเสริมพัฒนาการดานรางกาย สังคม และสติปญญา


สําหรับเด็ก แตขณะเดียวกันหากไดรับอุบัติเหตุจากการเลนในสนามเด็กเลน อาจกอใหเกิดการบาดเจ็บที่รุนแรง พิการหรือ
เสียชีวิตได
วัตถุประสงค: ศึกษาประสิทธิภาพของโครงการปองกันการบาดเจ็บในสนามเด็กเลนในศูนยดูแลเด็กเล็กกอนวัยเรียนใน
กรุงเทพมหานคร
แบบแผนการวิจัย: Community intervention trial
ผูเขารวมงานวิจัย: ศูนยดูแลเด็กเล็กกอนวัยเรียนอายุ 2-7 ป ในกรุงเทพมหานคร จํานวน 10 ศูนย ทําการคัดเลือกแบบไมสุม
(non randomization) จากทั้งหมด 293 ศูนย โดยแตละศูนยมีสนามเด็กเลนภายนอกตัวอาคาร แบงเปน กลุมทดลองและกลุม
ควบคุม กลุมละ 5 ศูนย การแบงกลุมพิจารณาจากจํานวนเด็กและจํานวนเครื่องเลนสนามใหมีความใกลเคียงกัน
วิธีดําเนินการวิจัย: แบงเปน 3 ระยะ ไดแก
ระยะกอนเขารวมโครงการ (Pre-intervention): ติดตั้งกลองวิดีโอวงจรปดในสนามเด็กเลนทุกศูนยรวมทั้งสิ้น 10 ศูนย โดย
ทําการติดตั้งกลองวิดีโอเฉลี่ยศูนยละ 3-4 ตัว เพื่อใหบันทึกภาพครอบคลุมพื้นที่สนามและอุปกรณเครื่องเลนสนามทั้งหมด
โดยเริ่มทําการบันทึกภาพการเลนในชวงเวลา 6:00 น.ถึง 18:00 น. เปนระยะเวลาทั้งสิน้ 3 วันทําการ เก็บขอมูลพฤติกรรม
การเลนที่มีความเสี่ยง (Risk taking behavior) ไดแก การเลนที่มีความเสี่ยงตอการบาดเจ็บ หรือการเลนเครื่องเลนไมถูกวิธี
รวมถึงอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในสนามเด็กเลน จากนั้นนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหรวมกับการใชอุปกรณเครื่องเลนสนามและการ
เลนที่ถูกตองในสนามเด็กเลน จาก US National Program for Playground Safety (NPPS) สรางเปนแบบบันทึกพฤติกรรม
เสี่ยงและอุบัติเหตุจากการเลนในสนามเด็กเลน จากนัน้ นําแบบบันทึกนี้ มาใชบันทึกพฤติกรรมเสี่ยงและอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
จากการเลนของเด็กในศูนยเด็กเล็กทั้งกลุมควบคุมและกลุมทดลอง โดยทําการเก็บขอมูลการเลนเปนระยะ เวลา 1 นาทีของ
การเลนทุก 5 นาที รวมกับบันทึกจํานวนผูเลนในแตละชวงเวลา 1 นาที เก็บขอมูลอัตราการเกิดพฤติกรรมเสี่ยงเปนครั้งตอ
คนตอนาที (times per person-minute) และจําแนกขอมูลที่ไดเปน 2 ชวงไดแก ชวงเวลาที่เปนการเลนอิสระ (Free plays)
และชวงเวลาที่มีผูดูแลระหวางการเลน (Structural plays) ซึ่งมีครูพี่เลี้ยงเด็กหรือผูปกครองดูแลระหวางการเลน (Adult
supervision) ทั้งสังเกตพฤติกรรม หรือเขามากํากับการเลน นอกจากนีย้ งั เก็บขอมูลมาตรฐานความปลอดภัยของสนามเด็ก
เลนแตละศูนย ไดแก สภาพสนาม พื้นที่ปลอดภัย การติดตั้งอุปกรณเครื่องเลนสนามและสภาพเครือ่ งเลน ซึ่งทําการวัดและ
เก็บขอมูลโดยอางอิงมาตรฐานความปลอดภัยจาก Consumer Product Safety Commission (CPSC)
ระยะเขารวมโครงการ (Intervention): ในเดือนที่ 6 ของการวิจยั เฉพาะกลุมทดลองจะไดรับการอบรมการปองกันการ
บาดเจ็บในสนามเด็กเลน ไดแก ดูภาพจากกลองวิดีโอวงจรปดซึ่งแสดงพฤติกรรมเสี่ยงจากการเลนและอุบัติเหตุของเด็กใน
แตละศูนย รวมทั้งสภาพสนามและสิ่งแวดลอมและสภาพอุปกรณเครือ่ งเลน จากนัน้ จัดใหครูและผูวิจยั รวมกันอภิปราย
และจัดใหความรูในการเลนและสนามเด็กเลนที่ไดมาตรฐาน แจกภาพการตูนเพื่อเปนสื่อประกอบการสอนการเลนสําหรับ
เด็กและสรางกิจกรรมนันทนาการอื่นๆ ไดแก การเลานิทาน การเลนเกม การเลนละครหุนสอด แทรกการสอนการเลนใน
สนามเด็กเลนที่เหมาะสม
ระยะหลังเขารวมโครงการ (Post intervention): ติดตั้งกลองวิดีโอวงจรปดอีกครั้งในเดือนที่ 12 นําขอมูลพฤติกรรมเสี่ยง
จากการเลนในสนามเด็กเลน (Risk taking behavior) ซึ่งวัดเปนครั้งตอคนตอนาที (times per person-minute) นํามาหาคา
Risk difference ระหวางกอนและหลังเขารวมโครงการของแตละศูนยทั้ง 10 ศูนย เปรียบเทียบคา Risk difference โดยใช
สถิติ non parametric test: Kruskal Wallis test
ผลการวิจยั : จากภาพวิดีโอวงจรปดในชวง Pre-intervention พบวาพฤติกรรมเสี่ยงจากการเลนในสนามเด็กเลน (Risk
taking behavior) ของกลุมทดลองมีคา 0.54 ถึง 2.04 ครั้งตอคนตอนาที, ในกลุมควบคุมมีคาระหวาง 0.38 ถึง 1.59 ครั้งตอ
คนตอนาที (p value = 0.6) หลังเขารวมโครงการพบวาคา Risk difference ของการเลนทั้งหมด ของกลุมทดลองมีคา -1.32
ถึง 1.11 ครั้งตอคนตอนาที สวนในกลุมควบคุมมีคา -0.11 ถึง 1.51 ครั้งตอคนตอนาที (p= 0.456) ซึ่งพบวาไมมคี วาม
แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ เชนเดียวกับการเลนอยางอิสระและการเลนแบบมีผูดูแล (p value = 0.75 และ 0.33
ตามลําดับ) พบเพียงชวงเวลาในการเลนของกลุมทดลองเปรียบเทียบกับกลุมควบคุม มีคาลดลงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p
value = 0.047) จากการสํารวจขอมูลสภาพแวดลอมสนามเด็กเลน ไมพบวามีการปรับปรุงพื้นสนาม พื้นที่สัญจร การติดตั้ง
อุปกรณเครื่องเลนสนามและสภาพเครื่องเลน อยางมีนยั สําคัญทางสถิติเชนกัน
สรุป: จากการศึกษาพบวาการใหการอบรมโครงการปองกันการบาดเจ็บในสนามเด็กเลน เพื่อใหศูนยเด็กเล็กเกิดการ
ปรับปรุงแนวทางการเลน และการดูแลสนามเด็กเลนใหไดมาตรฐาน เพื่อใหเกิดความปลอดภัยจากการเลนในสนามเด็กเลน
ดวยวิธีการเพิม่ การกํากับขณะเลน การใหความรูในการเลนที่ถูกตองสําหรับเด็ก แนะนําการปรับสภาพสนามเด็กเลนแกครู
ผูดูแลเพื่อใหครูผูดูแลนําไปใชในการสรางความปลอดภัยในสนามเด็กเลน ไมสามารถลดพฤติกรรมเสี่ยงและอุบตั ิเหตุได
อยางมีประสิทธิภาพ การพิจารณาใชมาตรการอื่น เชน ความรวมมือของชุมชน และสังคม การปรับสภาพสนามและ
อุปกรณเครื่องเลนสนามของแตละศูนยใหไดมาตรฐาน โดยผานทางผูบริหารหรือเจาหนาที่รัฐอื่นๆ หรือสรางเปนขอบังคับ
อาจชวยเพิ่มประสิทธิภาพลดการเกิดพฤติกรรมเสี่ยงและการบาดเจ็บได
EFFECTIVENESS OF AN INTERVENTION PROGRAM
TO REDUCE PLAYGROUND RELATED INJURIES AMONG CHILDREN
IN CHILD CARE CENTERS
Nantha Charoonrungsirikul

Background: Playgrounds are important tools for children to improve their physical, emotional, social and
intellectual development. However playgrounds are also the common products causing fatal and disable
injuries.
Objective: To evaluate the effectiveness of the playground safety program in reducing playground related
risk taking behavior and injuries among children in Bangkok child care centers.
Study design: Community intervention trial
Participants: Ten of 293 child care centers in Bangkok which took care of 2-7 years old children and had
outdoor playgrounds were nonrandomly selected. Five centers were enrolled in intervention group by
matching number of children and playground equipments with those in control group.
Methods: Pre-intervention video recording was performed for all child care centers. Three to four video
cameras were installed in each study site and were adjusted their field of view to cover the whole
playground area and all playground equipments. The video was recorded between 6.00 am to 6:00 pm. The
risk taking behaviors (those were engaging in an activity that could lead to injury and/or demonstrated
inappropriate use of playground equipment in a way that could lead to injury) were identified. Such data
combined with injury risk situation check lists developed from the US National Program for Playground
Safety (NPPS) were used to construct our risky behavioral checklist. Then the checklist was used to count
the number of risk taking behaviors in one minute period of every five minutes of video record. Adult
supervision was also observed. Any one minute video clip which presents adult supervision in any level of
physical proximity, visual supervision, or engaging was classified as the structural play. It was, otherwise,
classified as the free play. Playground surface, area design, and playground equipment (installation and
characteristics) were also measured by playground safety checklists which followed through Consumer
Product Safety Commission (CPSC) recommendation.
In the intervention group, video clip presenting risk taking behaviors and accidents in their own
child care centers, and the environmental checklists were shown and discussed. The child friendly materials
as cartoon flip charts, telling stories, and games were also developed from the risk data and provided, after
demonstrated, to all child care centers in intervention group.
Repeated video recording and environmental check lists were done on 12th month. The risk
behavior was measured per person-minute and the risk difference between pre-post intervention periods of
each child care center was calculated. The risk differences among intervention and control group were
compared by non parametric test: Kruskal Wallis test
Result: In pre-intervention period, the absolute risks for playground injury related risk taking behavior
among preschool children in child care centers ranged from 0.54 to 2.04 times per person-minute in
intervention group, and from 0.38 to 1.59 in control group
(p= 0.6). In post-intervention period, the risk differences among intervention group ranged from -1.32 to
1.11 times per person-minute, and from -0.11 to 1.51 in control group (p= 0.456). By stratifying the risk
differences of total play as those of free play and structural play, also no significant differences were found
between intervention group and control group (p value = 0.75 for free play and 0.33 for structural play).
However, the exposure, identified by total play time, in the intervention group significantly decreased
compared to the control group (p value = 0.047). For environmental check lists, no significant changes
were identified in play ground surface, area design, and also playground equipments (installation and
characteristics).
Conclusion: This active intervention through child care takers aimed to improve playground safety by
supervision, teaching children, and changing environment was ineffective. The passive intervention by
modifying playground equipments and environment through policy makers would be crucial.

You might also like