You are on page 1of 4

หลง

สมัยพุทธกาลมีผู้หญิงอินเดียคนหนึ่ง เป็ นคนแคว้ นกุรุรัฐ


เกิดอยู่ในวรรณะพราหมณ์ (1) พ่อแม่ เป็ นชนระดับผู้นาน้ องชายแท้ ๆ
ของพ่ อรับราชการใกล้ ชิดกับกษัตริย์
เธอเป็ นผู้หญิงสวยมากขนาดที่ผู้คนกล่ าวขานเรื่องความงามกันทั่วบ้ าน
ทั่วเมือง ชายหนุ่มและไม่ หนุ่มทั้งหลาย
จาพวกมหาเศรษฐี จากตระกูลใหญ่ ทั้งที่อยู่ในกุรุรัฐและแคว้ นใกล้ ไกล
ต่ างเฝ้ าวนเวียนมาสู่ ขอ แต่ พ่อกับแม่ ยงั ไม่ ปลงใจยกให้ ใคร
เพราะคิดว่ าบรรดาชายเหล่ านั้น
ยังไม่ มีผู้ใดคู่ควรกับลูกสาวของตนมาคันทิยา
เติบโตขึน้ มาจากการพะเน้ าพะนอ
เรียกร้ องการปรนเปรอจากผู้คนและสิ่ งต่ าง ๆ รอบตัวมาก
เธอมีทุกอย่ างอย่ างเหลือเฟื อและใช้ สอยมันอย่ างฟุ่ มเฟื อย
ไม่ ว่าจะเป็ นอาหาร เสื้อผ้ า เครื่องประดับหรือข้ าทาสบริวาร
ความจริงปัจจัยต่ าง ๆ ที่มีอย่ างล้ นเหลือนี้
น่ าจะทาให้ เธอได้ ฉุกคิดและเหลียวมองเพือ่ นมนุษย์ รอบข้ าง
ซึ่งยังอยู่ในสภาพที่ทุกข์ เข็ญกว่ าบ้ าง แต่ กลับไม่ ใช่ เช่ นนั้น
เธอไม่ มีความคิดที่จะทาอะไรหรือสิ่ งใดเพือ่ ใครอย่ างจริงจัง
ไม่ มีใครรู้ ว่าทาไมจึงเป็ นเช่ นนี้
ความสุ ขในแต่ ละวันของมาคันทิยาได้ แก่ การเฝ้ าชื่นชมความงามของตัวเ
อง ภาคภูมิใจกับสถานภาพพิเศษทางสั งคมที่ตดิ ตัวมาแต่ เกิดมาก
การอยู่ในครอบครัวที่มีฐานะดี
และโดยเฉพาะการเกิดมาเป็ นคนในวรรณะพราหมณ์ น้ัน
ทาให้ เธอรู้ สึว่าตัวเองอยู่เหนือกว่ าบรรดามนุษย์ ท้งั หลายยิง่ นัก
มาคันทิยาไม่ ได้ เฉลียวใจสั กนิดว่ า เงาที่เธอหลงยึดอยู่นี้
มันไม่ ใช่ ของยั่งยืนอะไร แท้ จริงแล้ วมันไม่ ได้ มีอยู่จริงเสี ยด้ วยซ้า
ค่ การรวมกันชั่วคราวขององค์ ประกอบต่ าง ๆ เท่ านั้น
แต่ ที่มันเป็ นตัวเป็ นตนขึน้ มาได้ เพราะเธอคิดของเธอเอง
เชื่อของเธอเองว่ ามันเป็ นเช่ นนั้น
เหมือนที่คนทั้งหลายโดยส่ วนมากคิดและเชื่อ เมื่อมองสิ่ งต่ าง ๆ
ผิดไปจากความเป็ นจริง การสาคัญตนและความเข้ าใจในตนเองก็ต้องผิด
สิ่ งที่เขาตัดสิ นใจจะยกลูกสาวสุ ดที่รักให้ กับพระองค์
จึงทูลขอให้ พระองค์ ประทับรอ
แล้ วรีบไปตามภรรยาและลูกมาเมื่อทุกคนมาถึง
พระผู้มีพระภาคไม่ ได้ ประทับอยู่ตรงนั้นแล้ ว
พราหมณ์ ผู้แม่ ถึงกับอุทานขึน้
เมื่อสั งเกตเห็นรอยพระพุทธบาทที่ทรงอธิษฐานทิง้ ไว้
นางซึ่งเป็ นผู้ชานาญการดูลายเท้ าที่แม่ นยาที่สุดในยุคนั้นได้ กล่ าวกับสามี
ของตนว่ า นี่ไม่ ใช่ รอยเท้ าของผู้เสพกามคุณ 5
เขาไม่ มีวนั รับลูกสาวที่เราจะยกให้ แต่ พราหมณ์ ผู้พ่อไม่ ย่อท้ อ
เฝ้ าตามหาจนกระทั่งพบกับพระองค์ พระผู้ทรงเปี่ ยมด้ วยเมตตา
ตรัสขึน้ ด้ วยพระสุ รเสี ยงอ่ อนโยน
หลังจากที่สดับความปรารถนาของพราหมณ์ ผู้พ่อจบลงว่ า
ความพอใจในเมถุนธรรมไม่ ได้ มีแก่ เรา เพราะได้ เห็นนางตัณหา นางอรดี
และนางราคาเลย ความพอใจในเมถุนธรรมอย่ างไรจักมีได้
เพราะการเห็นสรีระแห่ งธิดาของท่ าน
อันเต็มไปด้ วยมูตรและคูถเล่ า(1)เราไม่ ปรารถนาจะถูกต้ องสรีระแห่ งธิดา
ของท่ านนั้นแม้ ด้วยเท้ าหากจะเปรียบความรู้ สึกของพราหมณ์ ท้งั สองใน
ขณะนั้น คงคล้ ายดังว่ า
ได้ เกิดมีแสงที่สาดวาบอย่ างฉับพลันเข้ ามายังซอกหลืบซึ่งเคยมืดมิดใหัใ
จ ทาให้ ท้งั สองบังเกิดปัญญามองเห็นความจริงว่ า
ร่ างกายนีไ้ ม่ ว่าของเราหรือของลูกสาวเรา ล้ วนเจริญเติบโตขึน้ ได้
เพราะอาศัยข้ าวสุ กและผักปลาเป็ นเครื่องหล่ อเลีย้ ง มีความเสื่ อม
ความทรุดโทรม เป็ นทุกข์ เป็ นโรค
ต้ องคอยขัดสี ชาระล้ างสิ่ งโสโครกอยู่เสมอ ร่ างกายนีเ้ ป็ นของไม่ เที่ยง
ไม่ ใช่ ตัวไม่ ใช่ ตนแท้ ๆ เมื่อเห็นความไม่ เป็ นสาระของชีวิต
ที่มีกรรมเป็ นตัวการพาเวียนว่ ายขึน้ ลงในสงสารแล้ ว
ทั้งพราหมณ์ และพราหมณีต่างหมดเยือ่ ใย หมดอาลัยในร่ างกายของตน
นาทีน้ันจึงได้ ดารงอยู่ในอนาคามิผลทันที(2)
ท่ านผู้พ้นไปจากปุถุชนทั้งสอง
ก้ มกราบลงแทบพระบาทของพระผู้มีพระภาค
ด้ วยดวงใจที่สานึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่ างลึกซึ้ง ความสงสั ย
ความพร่ อง
ความคับข้ องที่เคยมีอยู่ในใจได้ มลายหายไปจนสิ้นประจักษ์ แจ้ งว่ า
ความสุ ขแท้ ที่พยายามแสวงหามาตลอดชีวติ นั้น คือ
ความสุ ขในความสงบระงับ
จากการปล่ อยวางสิ่ งที่เคยยึดถือมาทั้งสิ้นทั้งมวลนั่นเอง
วันศุกร์ ที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2563

You might also like