You are on page 1of 8

บทบรรณาธิการ Editorial

Fulminant Hepatic Failure


(ภาวะตับวายเฉียบพลัน)

สมชาย เหลืองจารุ, พ.บ., วท.ม.*

Fulminant hepatic failure เปนภาวะตับวาย นิยามและการวินจิ ฉัยภาวะ fulminant hepatic failure


เฉียบพลัน ถือเปนภาวะฉุกเฉินสำคัญอีกอยางหนึง่ ของ ภาวะ fulminant hepatic failure เปนคำกวาง ๆ ที่
โรคตับ ซึง่ มีโอกาสเสียชีวติ ไดสงู หากไดรบั การรักษา เกีย่ วกับกลมุ อาการการทำงานของตับลมเหลวแบบเฉียบ
ทีไ่ มถกู ตอง ไมเหมาะสมและไมทนั ทวงที โดยกลไกการ พลัน ภายใน 6 เดือนหลังมีอาการนำ โดยอาการประกอบ
เกิดโรคเกิดจากเซลลตับสูญเสียหนาที่ไป (hepatocyte ดวย encephalopathy, coagulopathy และ jaundice โดย
failure) ซึ่งไมเหมือนกับผูปวยที่มีอาการทางสมองใน ตองไมมพี นื้ ฐานเปนโรคตับมากอน
โรคตับแข็งอยกู อ นหนาแลว (hepatic encephalopathy)
อันเกิดจาก porto-systemic shunting อุบตั กิ ารและสาเหตุ
พบไดรอยละ 1 ของตับอักเสบชนิดเฉียบพลัน
ขอบเขตของเนือ้ หา หากอาการของผปู ว ยดีขนึ้ และไมเสียชีวติ สภาพของตับ
1.นิยามและการวินจิ ฉัยภาวะ fulminant hepatic และการทำงานจะกลับมาเปนปกติ ไมมพี งั ผืดหรือเปน
failure ตับแข็ง ซึ่งหากเกิดจากไวรัสตับอักเสบชนิดเอ จะมี
2.อุบตั กิ ารและสาเหตุ พยากรณโรคทีด่ กี วาจากสาเหตุอนื่ ๆ โดยพบวาประมาณ
3.อาการและอาการแสดงทางคลินิก (clinical รอยละ 60 จะหายโดยไมตอ งปลูกถายตับ
features) ชนิดของตับวายเฉียบพลัน สามารถแบงตาม
4.การดูแลรักษา อาการทางคลินิกเพื่อประโยชนในการพยากรณโรค

* กลมุ งานอายุรกรรม โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จ.นครราชสีมา 30000


10 เวชสารโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ปที่ 36 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2555

ตลอดจนผลการรักษาโดยเฉพาะหากมีการดำเนินโรคที่ เหลืองจะสูงมาก กลุมนี้จะมีพยากรณไมดี อัตราการ


เร็วจะมีการพยากรณโรคดี ซึง่ แบงไดดงั นี้ (ดังตารางที่ 1) รอดชีวติ เพียงรอยละ 14
1.Hyperacute type เปนชนิดที่เกิดอาการของ
ตับวายเฉียบพลันแบบรวดเร็วมาก โดยระยะเวลาจาก อาการและอาการแสดงทางคลินกิ
ตาเหลือง ตัวเหลือง จนมีอาการทางสมองภายใน 1 ภาวะตับวายเฉียบพลันจะเกิดกลไกการเปลี่ยน
สัปดาห ซึง่ จะมีปญ
 หาสมองบวม (cerebral edema) ได แปลงตาง ๆ ภายในรางกายซึ่งเปนวงจรเลวรายดังนี้
บอยถึงรอยละ 70 รวมกับมีปญ  หาการแข็งตัวของเลือด (ดังภาพที่ 1)
โดยระดับอาการเหลืองไมมากนัก กลมุ นีจ้ ะมีพยากรณ 1.เกิดการหลั่งสาร cytokines และไนตริกออก
ไมแยนัก อัตราการรอดชีวิตเพียงรอยละ 36 ซึ่งดีกวา ไซด สงผลใหมกี ารขยายตัวของระบบหลอดเลือด กอ
แบบอืน่ โดยเฉพาะสาเหตุเกิดจากยาพาราเซตามอล ใหเกิดภาวะความดันต่ำชนิด high cardiac output ทำให
2.Acute type เปนชนิดทีเ่ กิดอาการของตับวาย เซลลตาง ๆ ในรางกายของออกซิเจน และมีผลตอไต
เฉียบพลันแบบรวดเร็ว โดยระยะเวลาจากตาเหลืองตัว ทำใหเกิด hepato-renal syndrome ชนิดที่ 1 รวมกับไต
เหลืองจนมีอาการทางสมองภายใน 1-4 สัปดาห ซึง่ จะมี วายแบบเฉียบพลัน และสงผลใหเกิดภาวะเลือดเปนกรด
ปญหาสมองบวมไดรอ ยละ 60 รวมกับมีปญ  หาการแข็ง 2.เกิดการสรางแลคเตสมากในเลือด สงผลให
ตัวของเลือดและระดับอาการเหลืองสูง กลุมนี้จะมี เกิดภาวะเลือดเปนกรด
พยากรณแย อัตราการรอดชีวติ เพียงรอยละ 7 ซึง่ แยทสี่ ดุ 3.มีผลทำใหเกิดการติดเชือ้ ไดงา ย เนือ่ งจากการ
3.Subacute type เปนชนิดทีเ่ กิดอาการของตับ สูญเสียระบบภูมคิ มุ กันของรางกาย สงผลใหเกิดภาวะ
วายเฉียบพลันแบบคอยเปนคอยไป โดยระยะเวลาจาก เลือดเปนกรด
ตาเหลืองตัวเหลืองจนมีอาการทางสมองภายใน 29-72 4.มีการหลัง่ สาร digoxin like immune reactive
วัน ซึ่งจะมีปญหาสมองบวมไมบอยเพียงรอยละ 14 และการคัง่ ของแอมโมเนีย มีผลใหเกิดอาการทางสมอง
และมีปญ  หาการแข็งตัวของเลือดนอย โดยระดับอาการ และสมองบวม

ตารางที่ 1 ชนิดของตับวายเฉียบพลัน
Hyperacute Acute Subacute
ระยะเวลาจากเหลืองจนมีอาการทางสมอง (วัน) 0-7 8-28 29-72
อาการทางสมอง encephalopathy + + +
ปญหาสมองบวม (รอยละ) บอย (69.0) บอย (56.0) ไมบอ ย (14.0)
ปญหา coagulopathy มาก มาก นอย
ระดับบิลิรูบิน ต่ำ สูง สูง
พยากรณโรค (โอกาสรอดชีวติ -รอยละ) ปานกลาง (36.0) แย (7.0) แย (14.0)
หมายเหตุ ตองตัดภาวะเหลานีอ้ อกไปกอนไดแก sepsis, toxic/metabolic และภาวะน้ำตาลต่ำ
Fulminant Hepatic Failure (ภาวะตับวายเฉียบพลัน) 11

ภาพที่ 1 กลไกการเปลีย่ นแปลงของตับวายเฉียบพลัน

5.เกิดการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ และตาเหลือง ยาทีพ่ บไดบอ ยไดแก ยาพาราเซตามอล, ยาปฏิชวี นะ


ตัวเหลืองเกิดขึน้ (โดยเฉพาะ กลุมซัลฟา, INH, dapsone), NSAIDs,
สาเหตุ disulfiram และยากันชัก (sodium valproate, phenytoin)
เกิดไดจากหลายสาเหตุ และทีพ่ บบอยไดแก เชือ้ การวินจิ ฉัย
ไวรัสตับอักเสบทัง้ ชนิด hepatotrophic (A, B, D, E) และ ไมมีการตรวจทางหองปฏิบัติการที่จำเพาะใน
non-hepatotrophic (CMV, DHF), ยาตาง ๆ, autoim- การวินิจฉัยภาวะนี้ อาศัยเพียงอาการและอาการแสดง
mune hepatitis, ischemic hepatitis, เห็ดพิษ (Amanita ทางคลินกิ เทานัน้ ในการวินจิ ฉัยโรค
philloides) หรือภาวะ acute Wilson’s disease โดยไม สิง่ ควรรเู พิม่ เติม ในการวินจิ ฉัย
ทราบเหตุทแี่ นชดั พบไดรอ ยละ 20 การตรวจรางกายตองมองหา signs of chronic
12 เวชสารโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ปที่ 36 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2555

liver disease ซึง่ หากตรวจพบจะบงวาผปู ว ยไมใชภาวะ pressure) มากกวา 30 mmHg และมักเสียชีวติ จาก brain
ตับวายชนิดเฉียบพลันทีก่ ำลังพูดถึงนี้ herniation
การตรวจรางกายตองตรวจขนาดตับ (liver span) - เกิดไดจาก 2 กลไกคือ vasogenic brain edema
ทุกวัน และหากพบวามี loss of liver dullness บงวามี และ cytotoxic brain edema โดยจะมีอาการนำ (1st sign)
massive hepatocyte loss ไดแก systolic hypertension (paroxysmal or sustain)
การตรวจพบวามีตบั โต อาจพบไดในภาวะ con- และ increase muscle tone
gestive heart failure, early viral hepatitis, acute Budd- 3.Sepsis
Chiari syndrome หรือมี malignant infiltration - กลไกทีท่ ำใหมคี วามเสีย่ งในการติดเชือ้ ไดแก
ในภาวะตับวายเฉียบพลันจากการติดเชื้อไวรัส การเสีย phagocytic function & opsonisation, การลด
ตับอักเสบชนิดบี พบผลลบลวงตอ HBs Ag (false ลงของ complement level, การเกิด porto-systemic
negative HBsAg) ไดรอ ยละ 12-55 shunting และผูปวยมักตองมีหัตถการแบบ invasive
procedures
ปญหาและภาวะแทรกซอนที่พบในภาวะตับวายเฉียบ - การติดเชือ้ สวนใหญเกิดจากเชือ้ แบคทีเรีย ถึง
พลัน รอยละ 80 และตำแหนงทีม่ กี ารติดเชือ้ มากทีส่ ดุ อยทู าง
1.Acute Hepatic encephalopathy เดินหายใจ โดยเฉพาะปอดอักเสบถึงรอยละ 50
- เกิดจากความเสียหายโดยตรงของเซลลตับ - เชือ้ สวนใหญเปนกรัมบวก โดยเฉพาะ Staphy-
ทำใหมีการสราง glutamine เพิม่ ขึน้ [เพื่อกำจัดแอม - lococcus
โมเนีย ซึง่ ระดับของ glutamine ทีเ่ พิม่ ขึน้ จะสัมพันธกบั - การติดเชือ้ ราพบไดรอ ยละ 32 โดยเฉพาะจาก
ระดับอาการทางสมอง; degree of encephalopathy] ทำ เชือ้ candida (รอยละ 90)
ให glutamate ซึง่ เปนสารตัง้ ตนของ glutamine ลดลง สง - การเสียชีวติ จะสัมพันธกบั การติดเชือ้ ถึงรอยละ
ผลใหตวั หลักของ excitatory neurotransmitor ลดลง 25
- การแบงระดับอาการทางสมอง hepatic ence- - รอยละ 30 ของผตู ดิ เชือ้ จะไมมกี ารตอบสนอง
phalopathy ดังตารางที่ 2 ของรางกายเชน ไมมไี ขและ leukocytosis
2.Cerebral edema 4. Renal failure
- พบไดรอยละ 75-80 ในผูปวยที่มีอาการทาง - พบไดรอยละ 40-50 โดยกลไกสวนใหญเชื่อ
สมองระดับ 4 ซึ่งมักมีแรงดันในสมอง (intracranial วาเกิดจาก hepato-renal syndrome ซึง่ ถือวาเปน func-

ตารางที่ 2 ระดับอาการทางสมอง hepatic encephalopathy


ระดับอาการทางสมอง การเปลี่ยนแปลงที่พบ
1 Change in behavior with minimal change level of conscious
2 Gross disorientation, drowsiness, possibly asterixis, inappropriate behavior
3 Marked confusion, incoherent speed, sleeping most of the tome but arousable to vocal stimuli
4 Comatose, unresponsive to pain, decorticate or decerebrate posturing
Fulminant Hepatic Failure (ภาวะตับวายเฉียบพลัน) 13

tional renal failure หากตับกลับสูสภาวะปกติ ไตก็ - ระดับเอมไซมตบั จะสูงมากเมือ่ แรกรับ ซึง่ มักสูง
สามารถคืนสสู ภาวะปกติได กวา 3,500 IU/L และระดับ TB ต่ำ
- กลไกการเกิดไตวายสามารถเกิดไดจาก pre- Autoimmune hepatitis
renal azotemia, hepatorenal syndrome (HRS), acute - เปนภาวะทีต่ อ งนึกถึงไวเสมอ แตไมมลี กั ษณะ
tubular necrosis, interstitial nephritis หรือ glomerular จำเพาะทีช่ ดั เจน ตรวจไมพบ autoimmune antibody ได
syndromes (IgA nephropathy, cryoglobulinemia, ซึง่ อาจไดวนิ จิ ฉัยดวยการทำ liver biopsy (transjugular
MNPG, membranous nephropathy) route) ซึง่ พบ interface hepatitis, plasma cell infiltration
5.Coagulopathy และ hepatocyte rosettes
- เกิดไดจากหลายกลไกเชน การลดลงของ clot- Ischemic hepatitis
ting factors โดยเฉพาะในสวนของ extrinsic factors, การ - สภาพการณทชี่ นี้ ำใหนกึ ถึงไดแก post-cardiac
ใช clotting factors มากเกินไปซึง่ มักตามหลังภาวะ DIC, arrest, hypotension, hypovolemia หรือไดยาชนิดออก
การกระตนุ fibrinolytic pathways และความผิดปกติของ ฤทธิเ์ นิน่ นาน เชน niacin, cocaine หรือ methamphe-
เกล็ดเลือด (ทัง้ ในปริมาณ หนาทีแ่ ละรูปรางของเกล็ดเลือด) tamine
6.Metabolic derangement - ระดับเอมไซมตบั จะสูงและเดนมาก โดยเฉพาะ
- ทีพ่ บไดบอ ยไดแก ภาวะน้ำตาลต่ำ (ซึง่ เกิดจาก AST และ LDH สูง
hyperinsulinemia และการลดการสรางน้ำตาลกลูโคส), Acute Budd-Chiari syndrome
โซเดียมต่ำ (hyponatremia) หรือ hypokalemia - มักมาดวยปญหาปวดทอง ตับโตและมีทอ งมาน
ชนิดเฉียบพลัน
ลักษณะจำเพาะที่อาจพบได Acute fatty liver of pregnancy/ HELLP syndrome
Wilson’s disease - มักพบในชวงไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ
- ควรสงสัยในผปู ว ยทีอ่ ายุนอ ยกวา 40 ป ทีไ่ ม การวินจิ ฉัยอาจตองทำ liver biopsy เพือ่ ยอมดูไขมันดวย
มีเหตุทชี่ ดั เจนของตับวายเฉียบพลัน รวมกับ ระดับยูรกิ oil red-O
และ alkaline phosphatase (ALP) ต่ำมาก, total bilirubin - อาจพบภาวะแทรกซอนไดแก intrahepatic
(TB)/ALP ratio >2, Coomb’s negative hemolysis แบบ hemorrhage, hepatic rupture
เฉียบพลันที่ TB สูงมาก (>20 mg%) รายทีไ่ มทราบเหตุ (Indeterminate etiology)
- สามารถตรวจพบ KF ring ไดเพียงรอยละ 50 - อาจตองไดรบั การทำ transjugular liver biopsy
และสามารถมีระดับ ceruloplasmin ปกติได รอยละ 15 ซึง่ ผลทีไ่ ดจะมีผลตอเนือ่ งกับการรักษาทีจ่ ะไดรบั
ยาพาราเซตามอล - ภาวะไตวายเฉียบพลัน มักพบรวมในรายทีต่ บั
- ปญหาตอเซลลตับแปรผันตามขนาดยา สวน วายเฉียบพลันจากยาพาราเซตามอล เห็ดพิษหรือจากยา
ใหญขนาดยาพาราเซตามอลควรมากกวา 10 กรัมตอวัน อืน่ ๆ
และพบปญหานอยมาก หากปริมาณยานอยกวา 4 กรัม การสงตรวจทางหองปฏิบตั กิ าร
ตอวัน ควรเลือกตามความจำเปน เพือ่ ใชในการวินจิ ฉัย
และการดูแลรักษา ดังตารางที่ 3
14 เวชสารโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ปที่ 36 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2555

การรักษาโดยทัว่ ไปและการรักษาตามอาการ ใน การรักษาภาวะ Cerebral edema


ภาวะตับวายเฉียบพลัน - ตองลดแรงดันในสมอง ดวยวิธีการตาง ๆ
- ตองเฝาระวังภาวะน้ำตาลต่ำ ควรตองเฝาระวัง ไดแก ยกหัวผปู ว ยสูง 20 องศา (หากยกหัวสูงไปจะลด
ระดับน้ำตาลในเลือดทุก 2 ชัว่ โมง cerebral blood flow), hyperventilation ให PCO2 25-
- ตองเฝาระวังภาวะสารน้ำและเกลือแรผดิ ปกติ 35 mmHg หรืออาจให osmotic agents
ความดันโลหิตต่ำและ ARDS - ควรพิจารณาทำการเฝาระวังแรงดันในสมอง
- ตองเฝาระวังไตวายเฉียบพลัน ควรหลีกเลี่ยง ของผูปวย (ICP monitoring) ซึ่งมีสวนสำคัญในการ
การใชยากลมุ aminoglycoside พิจารณาการปลูกถายตับที่ไมเหมาะสมในผูปวยที่มี
- ตองเฝาระวังภาวะเลือดออกผิดปกติจาก coa- ภาวะสมองตาย โดยแนวคิดสำคัญผปู ว ยจะเริม่ มีปญ  หา
gulopathy และเกล็ดเลือดต่ำ ตอสมองเมือ่ แรงดันในสมองมากกวา 20 mmHg และ
- การชวยเหลือผปู ว ยวิกฤตทางการหายใจ อาจ รอยละ 25 ผปู ว ยจะไมมอี าการบงบอกเลย
ตองใสทอ ชวยหายใจ หากผปู ว ยเสีย่ งตอการสำลักหรือ การรักษาภาวะ sepsis
มีอาการทางสมองระดับ 3 (grade 3 encephalopathy) - ตองพิจารณาใหยาปฏิชีวนะแบบ ATB pro-
ขึน้ ไป phylaxis เนื่องจากผูปวยมีอัตราตายสูง โดยเฉพาะ
- ควรใหยาปองกัน stress ulcer prophylaxis เสมอ สัปดาหที่ 2
การรักษาภาวะ Encephalopathy การรักษาจำเพาะในภาวะตับวายเฉียบพลัน
- การใหยา lactulose ยังไมมคี ำแนะนำทีช่ ดั เจน 1.การใหยาในบางภาวะ
เนือ่ งจากยานีอ้ าจทำใหเกิด hypernatremia และ volume 2.การรักษาทดแทนตับดวย Bioartificial liver
depletion ได support system
- ถาผปู ว ยซึมลง ควรพิจารณาเอกซเรยคอม-- 3.การปลูกถายตับ (Liver transplantation)
พิวเตอรสมอง อาจพบกอนเนือ้ กอนเลือดหรือ hernia- การใหยาในบางภาวะ
tion ซึง่ อาจตองเปลีย่ นการรักษาหรือ intervention สวนใหญเปนการหยุดสาเหตุ โดยเฉพาะกรณีที่
เกิดจากยาหรือสารเคมีตา ง ๆ หรือเรงการคลอดในกรณี
ตารางที่ 3 การตรวจทางหองปฏิบตั กิ าร
Prothrombin time/INR Chemistries:
Complete blood count Na, K, Cl, HCO3, Ca, Mg, PO4
Blood type and screen Glucose
Acetaminophen level AST, ALT, alkaline phosphatase, GGT, total bilirubin, albumin
Toxicology screening BUN, Cr
Ceruloplamin level Viral heaptitis serlogies:
Pregnancy test (female) Anti-HAV IgM, HBsAg, anti-HBcIgM, anti-HEV, anti-HCV
Ammonia (arterial if possible) Autoimmune markers:
HIV status ANA, ASMA, immunoglobulin levels
Amylase and lipase
Fulminant Hepatic Failure (ภาวะตับวายเฉียบพลัน) 15

ทีป่ ญ
 หาทีเ่ กิดขึน้ สัมพันธกบั การตัง้ ครรภ รวมกับการ 2.หากผูปวยมีอาการชัก สามารถใหยาในกลุม
รักษาประคับประคองตามอาการของผูปวย หากเปน phenytoin หรือ benzodiazepine ทีอ่ อกฤทธิส์ นั้ ในการ
มากอาจตองพิจารณาทำการปลูกถายตับ ควบคุมการชัก
ไมมยี าตานไวรัสทีพ่ สิ จู นวา ไดประโยชนชดั เจน 3.พิจารณาใหเกล็ดเลือดหรือ fresh frozen plas-
ในกรณีเกิดจาก hepatotrophic viral hepatitis ma ทดแทน ในกรณีที่มีปญหาเลือดออก, prolong
การรักษาเพิม่ เติมอืน่ ๆ ขึน้ อยกู บั สาเหตุดงั นี้ prothrombin time หรือ เกล็ดเลือดต่ำกวา 70,000 กอน
Wilson disease จะทำหัตถการชนิด invasive
- รักษาดวยการทำ hemofiltration, plasmapha- การรักษาทดแทนตับดวย Bioartificial liver
resis หรือ plasma exchange support system
- ไมให D-penicillamine ขณะมีตับวายเฉียบ - จุดประสงคเพือ่ การรักษาทดแทนตับชัว่ คราว
พลัน เนื่องจากเสี่ยงสูงตอการแพยาแบบ hypersen- จนกวาตับผูปวยฟนหรือรอจนกวาจะไดรับอวัยวะใน
sitivity การปลูกถายตับ
ยาพาราเซตามอล การปลูกถายตับ
- ควรให activated charcoal กรณีหลังทานยาไม - การปลูกถายตับสามารถทำไดหลายแบบไดแก
เกิน 3-4 ชัว่ โมง และควรใหกอ นให N-acetyl cysteine Orthotopic liver transplantation (OLT), Auxiliary liver
โดยใหขนาด 1 กรัมตอน้ำหนักตัว transplantation, Living related liver transplantation
- ควรให N-acetyl cysteine เร็วทีส่ ดุ เทาทีท่ ำได และ Hepatocyte transplantation
และถึงแมทานยาพาราเซตามอลมานานกวา 48 ชัว่ โมง - ขอบงชี้ในการปลูกถายตับในปจจุบันอางอิง
ก็ควรให ตาม King’ College criteria
เห็ดพิษ (Amannita phelloides) - ขอหามในการปลูกถายตับ ไดแก ผูที่มีภาวะ
- ยาที่เปนยาตานไดแก pennicillin G รวมกับ สมองตาย (สวนใหญเปนจากแรงดันในสมองสูงมาก
silymarin แตยังไมมีการศึกษาแบบ randomized เกินไป), การติดเชื้อที่รุนแรงและผูปวยโรคภูมิคุมกัน
control trial รองรับ โดยยา penicillin G ขนาด 300,000- บกพรอง (AIDS; ซึง่ ในปจจุบนั บางประเทศถือวาเปน
1,000,000 units/kg/day และ silymarin 30-40 mg/kg/d relatively contraindication)
IV หรือรับประทานทางปาก 3-4 วัน
Autoimmune hepatitis เอกสารประกอบการเรียบเรียง
- ควรใหสเตียรอยดในรูป prednisolone 40-60 1. Polson J, Lee WM. AASLD Position Paper: The Manage-
mg/d ment of Acute Liver Failure. Hepatology 2005; 41: 1179-
97.
การรักษาอืน่ ๆ
2. Lee WM, Stravitz RT, Larson AM. Introduction to the
1.ไมมีขอมูลการศึกษาวา L-ornithine and L- revised American association for the study of liver
aspartate (LOLA) ชวยใหผูปวยดีขึ้นในภาวะตับวาย diseases position paper on acute liver failure 2011.
เฉียบพลัน Hepatology 2012; 55: 965-7.
16 เวชสารโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ปที่ 36 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2555

3. Lee WM, Larson AM, Stravitz RT. AASLD Position Alexander G, Casewell M, et al. Fungal infection: a
Paper: The Management of Acute Liver Failure: Update common, unrecognised complication of acute liver fai-
2011. Hepatology 2011; 55: 1-22. lure. J Hepatol 1991; 12: 1-9.
4. Rolando N, Philpott-Howard J, Williams R. Bacterial 6. Rolando N, Harvey F, Brahm J, Philpott-Howard J,
and fungal infection in acute liver failure. Semin Liver Alexander G, Gimson A, et al. Prospective study of
Dis 1996; 16: 389-402. bacterial infection in acute liver failure: an analysis of
5. Rolando N, Harvey F, Brahm J, Philpott-Howard J, fifty patients. Hepatology 1990; 11: 49-53.

You might also like