You are on page 1of 13

การวิเคราะห์ องค์ ประกอบ

(Factor analysis)

ความหมายของการวิเคราะห์ องค์ ประกอบ


Factor analysis มีชื่อเรี ยกในภาษาไทย หลายคา เช่น การวิเคราะห์องค์ประกอบ การวิเคราะห์
ตัวประกอบ การวิเคราะห์ องค์ประกอบ เป็ นต้น สาหรับในการเขียนรายงานครั้งนี้จะใช้คาว่า การ
วิเคราะห์องค์ประกอบ ซึ่งมีผใู ้ ห้ความหมายไว้หลายท่าน ดังนี้
สุ ภมาศ อังศุโชติ (มปพ.) ให้ความหมายว่า เป็ นวิธีการทางสถิติที่ช่วยให้นกั วิจยั สร้าง
องค์ประกอบจากตัวแปรหลาย ๆ ตัวแปร โดยรวมกลุ่มตัวแปรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กนั เป็ นองค์ประกอบ
เดียวกัน ตัวแปรที่อยูใ่ นองค์ประกอบเดียวกัน จะมีความสัมพันธ์กนั มาก โดยความสัมพันธ์อาจเป็ นบวก
หรื อลบก็ได้ ส่ วนตัวแปรที่อยูค่ นละองค์ประกอบจะไม่มีความสัมพันธ์กนั หรื อสัมพันธ์กนั น้อย
องค์ประกอบหนึ่ง ๆ จะแทนตัวแปรแฝง อันเป็ นคุณลักษณะที่นกั วิจยั ต้องการศึกษา
เพชรน้อย สิ งห์ช่างชัย (2549) ให้ความหมายคือ การวิเคราะห์องค์ประกอบเป็ นเทคนิคทาง
สถิติ สาหรับวิเคราะห์ตวั แปรหลายตัว (Multivariate analysis techniques) ที่ออกแบบมาเพื่อช่วยให้
นักวิจยั ได้ใช้แสวงหาความรู ้ความจริ งดังกล่าว เช่น นักวิจยั สามารถใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิง
สารวจ (Exploratory Factor Analysis หรื อ EFA) ในการพัฒนาทฤษฎี หรื อนักวิจยั สามารถใช้การ
วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis หรื อ CFA) ในการทดสอบหรื อยืนยัน
ทฤษฎี
กัลยา วานิชบัญชา (2551) สรุ ปว่า เป็ นการวิเคราะห์หลายตัวแปรเทคนิคหนึ่งเพื่อการสรุ ป
รายละเอียดของตัวแปรหลายตัว หรื อเรี ยกว่าเป็ นเทคนิคที่ใช้ ในการลดจานวนตัวแปรเทคนิคหนึ่งโดย
การศึกษาถึงโครงสร้างความสัมพันธ์ของตัวแปร และสร้างตัวแปรใหม่เรี ยกว่า องค์ประกอบ โดย
องค์ประกอบที่สร้างขึ้นจะเป็ นการนาตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กนั หรื อมีความร่ วมกันสู งมารวมกันเป็ น
องค์ประกอบเดียวกัน ส่ วนตัวแปรที่อยูค่ นละองค์ประกอบมีความร่ วมกันน้อย หรื อไม่ มีความสัมพันธ์
กันเลย
แมรี่ แอนเคาช์ลิน และวิลเลียม ไนท์ (Mary Ann Coughlin & William Knight) ได้สรุ ปว่า เป็ น
การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรหลาย ๆ ตัว เพื่อค้นหาว่า ตัวแปรนี้สามารถรวมกลุ่มกันได้
หรื อไม่ ซึ่ งจะกลายเป็ นองค์ประกอบเดียวกัน
โดยสรุ ปการวิเคราะห์องค์ประกอบ จึงหมายถึง เทคนิควิธีทางสถิติที่จะจับกลุ่มหรื อรวมกลุ่ม
หรื อรวมตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กนั ไว้ในกลุ่มเดียวกัน ซึ่งความสัมพันธ์เป็ นไปได้ท้ งั ทางบวกและทาง
ลบ ตัวแปรภายในองค์ประกอบเดียวกัน จะมีคว ามสัมพันธ์กนั สู ง ส่ วนตัวแปรที่ต่างองค์ประกอบ จะ
สัมพันธ์กนั น้อยหรื อไม่มี สามารถใช้ได้ท้ งั การพัฒนาทฤษฎีใหม่ หรื อการทดสอบหรื อยืนยันทฤษฎีเดิม
2

ประเภทของเทคนิคการวิเคราะห์ องค์ ประกอบ


เทคนิคของการวิเคราะห์องค์ประกอบ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทคือ
1.การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจ (Exploratory Factor Analysis)
2.การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิง ยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis)

การวิเคราะห์ องค์ ประกอบเชิงสารวจ (Exploratory Factor Analysis)


การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจจะใช้ในกรณี ที่ผศู ้ ึกษาไม่มีความรู ้ หรื อมีความรู ้น้ อยมาก
เกี่ยวกับโครงสร้างความสัมพันธ์ของตัวแปรเพื่อศึกษาโครงสร้างของตัวแปร และลดจานวนตัว แปรที่มี
อยูเ่ ดิมให้มีการรวมกันได้
การวิเคราะห์ องค์ ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis)
การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิง ยืนยันจะใช้กรณี ที่ผศู้ ึกษาทราบโครงสร้างความสัมพันธ์ของตัว
แปร หรื อคาดว่าโครงสร้างความสัมพันธ์ของตัวแปรควรจะเป็ นรู ปแบบใด หรื อคาดว่าตัวแปรใดบ้างที่
มีความสัมพันธ์กนั มากและควรอยูใ่ นองค์ประกอบเดียวกัน หรื อคาดว่ามีตวั แปรใดที่ไม่มีความสัมพันธ์
กัน ควรจะอยูต่ ่างองค์ประกอบกัน หรื อกล่าวได้วา่ ผูศ้ ึกษาทราบโครงสร้ างความสัมพันธ์ของตัวแปร
หรื อคาดไว้วา่ โครงสร้างความสัมพันธ์ของตัวแปรเป็ นอย่างไรและจะใช้เทคนิคการวิเคราะห์
องค์ประกอบเชิงยืนยันมาตรวจสอบหรื อยืนยันความสัมพันธ์วา่ เป็ นอย่างที่คาดไว้หรื อไม่ โดยการ
วิเคราะห์หาความตรงเชิงโครงสร้างนัน่ เอง

วัตถุประสงค์ ของเทคนิค Factor Analysis


วัตถุประสงค์ของเทคนิค Factor Analysis มีดงั นี้
1) เพื่อศึกษาว่าองค์ประกอบร่ วมที่จะสามารถอธิ บายความสัมพันธ์ร่วมกันระหว่างตัวแปร
ต่างๆ โดยที่จานวนองค์ประกอ บร่ วมที่หาได้จะมีจานวนน้อยกว่าจานวนตัวแปรนั้น จึงทาให้ทราบว่ามี
องค์ประกอบร่ วมอะไรบ้าง โมเดลนี้ เรี ยกว่า Exploratory Factor Analysis Model: EFA
2) เพื่อต้องการทดสอบสมมุติฐานเกี่ยวกับโครงสร้างขององค์ประกอบว่า องค์ประกอบแต่ละ
องค์ประกอบด้วยตัวแปรอะไรบ้าง และตัวแปรแต่ละตัวควรมีน้ าหนักหรื ออัตราความสัมพันธ์กบั
องค์ประกอบมากน้อยเพียงใด ตรงกับที่คาดคะเนไว้หรื อไม่ หรื อสรุ ปได้วา่ เพื่อต้องการทดสอบว่าตัว
ประกอบอย่างนี้ตรงกับโมเดลหรื อตรงกับทฤษฎีที่มีอยูห่ รื อไม่ โมเดลนี้เรี ยกว่า Confirmatory Factor
Analysis Model: CFA ซึ่งเทคนิคของ Factor Analysis สามารถสรุ ปได้เป็ นรู ปแบบดังนี้
3

Factor Analysis

Exploratory Factor Confirmatory

Principal Common Factor


Unweighted Least Square: ULS
Generalized Least Square: GLS
Maximum Likelihood Method: ML
Alpha Method
Image Method

รู ปที่ 1 แสดง Basic Concepts ของ Factor Analysis Model

ประโยชน์ ของเทคนิค Factor Analysis


ประโยชน์ของเทคนิค Factor Analysis มีดงั นี้
1) ลดจานวนตัวแปร โดยการรวมตัวแปรหลาย ๆ ตัวให้อยูใ่ นองค์ประกอบเดียวกัน
องค์ประกอบที่ได้ถือเป็ นตัวแปรใหม่ ที่สามารถหาค่าข้อมูลของ องค์ประกอบที่สร้างขึ้นได้ เรี ยกว่า
Factor Score จึงสามารถนาองค์ประกอบดังกล่าวไปเป็ นตัวแปรสาหรับการวิเคราะห์ทางสถิติต่อไป
เช่น การวิเคราะห์ความถดถอยและสหสัมพันธ์ (Regression and Correlation Analysis) การวิเคราะห์
ความแปรปรวน (ANOVA) การทดสอบสมมุติฐาน T – test Z – test และการวิเคราะห์จาแนกกลุ่ม
(Discriminant Analysis) เป็ นต้น
2) ใช้ในการแก้ปัญหาอันเนื่องมาจากการที่ตวั แปรอิสระของเทคนิคการวิเคราะห์สมการความ
ถดถอยมีความสัมพันธ์กนั (Multicollinearity) ซึ่ งวิธีการอย่างหนึ่งในการแก้ปัญหานี้ คือ การรวมตัว
แปรอิสระที่มีความสัมพันธ์ไว้ดว้ ยกัน โดยการสร้างเป็ นตั วแปรใหม่หรื อเรี ยกว่า องค์ประกอบ โดยใช้
เทคนิค Factor Analysis แล้วนาองค์ประกอบดังกล่าวไปเป็ นตัวแปรอิสระในการวิเคราะห์ความถดถอย
ต่อไป
3) ทาให้เห็นโครงสร้างความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ศึกษา เนื่องจากเทคนิค Factor Analysis จะ
หาค่าสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ (Correlation) ของตัวแปรทีละคู่ แล้วรวมตัวแปรที่สัมพันธ์กนั มากไว้ใน
องค์ประกอบเดียวกัน จึงสามารถวิเคราะห์โครงสร้างที่แสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ ที่อยูใ่ น
องค์ประกอบเดียวกันได้ ทาให้สามารถอธิ บายความ หมายของแต่ละองค์ประกอบได้ ตามความหมาย
ของตัวแปรต่าง ๆ ที่อยูใ่ น องค์ประกอบนั้น ทาให้สามารถนาไปใช้ในด้านการวางแผน ได้ เช่น การ
พัฒนาพหุ ปัญญาสาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตามทฤษฎีพหุ ปัญญาของการ์ ดเนอร์ (2546)
4

ข้ อตกลงเบือ้ งต้ นของการใช้ สถิติการวิเคราะห์ องค์ ประกอบ


สถิติการวิเคราะห์องค์ประกอบ มีขอ้ ตกลงเบื้องต้น (Stevens, 1992, 1996; Tabachnick &
Fidell, 2001; Munro, 2001 : 309 อ้างใน เพชรน้อย สิ งห์ช่างชัย, 2549)
1) ตัวแปรที่คดั เลือกมาวิเคราะห์องค์ประกอบ ต้องเป็ นตัวแปรที่มีค่าต่อเนื่อง หรื อมีค่าใน
มาตราระดับช่วง (Interval scale) และมาตราอัตราส่ วน (Ratio scale) เนื่องจากการวิเคราะห์
องค์ประกอบ ตัวแปรที่คดั เลือกมาวิเคราะห์องค์ประกอบควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
2) ตัวแปรที่คดั เลือกมาวิเคราะห์องค์ประกอบ ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในระดับสู ง
(r = 0.30 – 0.70) รู ปแบบความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบและตัวแปรที่อยูใ่ นรู ปเชิงเส้น (linear)
เท่านั้น
3) จานวนตัวแปรที่คดั เลือกมาวิเคราะห์องค์ประกอบ ควรมีจานวนมากกว่า 30 ตัวแปร
4) กลุ่มตัวอย่าง ควรมีขนาดใหญ่และควรมีมากกว่าจานวนตัวแปร ซึ่ งมักมีคาถามว่าควร
มากกว่ากี่เท่า มีบางแนวคิดที่เสนอแนะให้ใช้จานวนข้อมูลมากกว่าจานวนตัวแปรอย่างน้อย 5 – 10 เท่า
หรื ออย่างน้อยที่สุด สัดส่ วนจานวนตัวอย่าง 3 ราย ต่อ 1 ตัวแปร
5) กรณี ที่ใช้เทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก (Principle component analysis) ตัวแปรแต่
ละตัวหรื อข้อมูล ไม่จาเป็ นต้องมีการแจกแจงแบบปกติ แต่ถา้ ตัวแปรบางตัวมีการแจกแจงเบ้
ค่อนข้างมาก และมีค่าต่าสุ ด และค่าสู งสุ ดผิดปกติ (Outlier) ผลลัพธ์ที่ได้อาจจะไม่ถูกต้อง

ข้ อจากัดและปัญหาของการใช้ สถิติการวิเคราะห์ องค์ ประกอบ


1) ข้ อจากัดของการใช้ สถิติการวิเคราะห์ องค์ ประกอบ
การใช้สถิติการวิเคราะห์องค์ประกอบ มีขอ้ จากัด (Stevens, 1992, 1996; Tabachnick &
Fidell, 2001 อ้างใน เพชรน้อย สิ งห์ช่างชัย, 2549) ดังนี้
1.1) ข้อจากัดเรื่ องจานวนตัวอย่าง เนื่องจากการใช้สถิติการวิเคราะห์องค์ประกอบต้อง
ใช้จานวนตัวอย่าง (sample size) จานวนมาก หากใช้ตวั อย่างน้อยค่าสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์จะต่า การ
ประมาณจานวนตัวอย่างที่ใช้ในการวิเคราะห์องค์ประกอบมีหลายแนวคิด สามารถสรุ ปตามแนวคิด
ของนักสถิติ ดังตาราง 1
5

ตาราง 1 แนวคิดการใช้ ขนาดตัวอย่าง สาหรับการใช้ สถิติการวิเคราะห์ องค์ ประกอบในการวิจัย

แนวคิดการใช้ ขนาดตัวอย่าง เสนอแนะขนาดตัวอย่าง (n) และเหตุผล


1. พิจารณาการใช้ขนาดตัวอย่างสาหรับ
วิเคราะห์องค์ประกอบอย่างเดียว
1.1 คอมเลย์และลี (Comrey & Lee, 1992) 1.1) ได้เสนอแนะขนาดตัวอย่างดังนี้
จานวน 50 ราย ถือว่า แย่มาก (very poor)
จานวน 100 ราย ถือว่า ไม่ดี (poor)
จานวน 200 ราย ถือว่า พอใช้ได้ (fair)
จานวน 300 ราย ถือว่า ดี (as a good)
จานวน 500 ราย ถือว่า ดีมาก (as exellent)
1.2) ตามกฎหัวแม่มือหรื อกฎอย่างง่าย 1.2) การวิเคราะห์องค์ประกอบควรมีขนาดตัวอย่าง
(rule of thumb) อย่างน้อย 300 ราย

2. การใช้ขนาดตัวอย่างขึ้นอยูก่ บั จานวน
องค์ประกอบที่ตอ้ งการวิเคราะห์
2.1) ถ้าการวิจยั นั้นมีจานวนองค์ประกอบ 2.1) ขนาดตัวอย่างแค่ 150 รายก็เพียงพอ
น้อย (2-3 องค์ประกอบ) และ/หรื อมีค่า
น้ าหนักองค์ประกอบต่ามาก
2.2) กรณี มีจานวนองค์ประกอบ 4 2.2) ไม่จาเป็ นต้องระบุจานวนตัวอย่าง
องค์ประกอบ หรื อมีค่าน้ าหนัก
องค์ประกอบมากกว่า 0.6 หรื อ
2.3) จานวนองค์ประกอบมีเท่ากับ 10 2.3) ตัวอย่างควรมีมากกว่า 150 ราย
องค์ประกอบหรื อน้ าหนักองค์ประกอบ
น้อยกว่า 0.4
2.4) การวิจยั นั้นมีจานวนองค์ประกอบ 2.4) ขนาดตัวอย่าง ควรมีอย่างน้อย 300
น้อย (2-3 องค์ประกอบ) และ/หรื อมีค่า
น้ าหนักองค์ประกอบต่ามาก
6

ตาราง (ต่ อ)
แนวคิดการใช้ ขนาดตัวอย่าง เสนอแนะขนาดตัวอย่าง (n) และเหตุผล
3. การใช้ขนาดตัวอย่างขึ้นกับการกาหนดค่า
น้ าหนักประกอบเป็ นเกณฑ์ที่มี นัยสาคัญ Factor loading .30 .35 .40 .45 .50
n 350 250 200 150 120
ทางสถิติที่ระดับ .05 ต่อ จานวนตัวอย่าง
Factor loading .55 .60 .65 .70 .75
n 100 85 70 60 50

4. ขนาดจานวนตัวอย่างขึ้นกับค่าวิกฤตที่ใช้
ทดสอบค่าสัมประสิ ทธิ์ ความสัมพันธ์ที่ n C.V n C.V n C.V
50 .361 180 .192 400 .129
ระดับนัยสาคัญ 0.01
80 .286 200 .182 600 .105
100 .256 250 .163 800 .091
140 .271 300 .149 1000 .081

5. การใช้ขนาดตัวอย่างขึ้นกับจานวนข้อ 5. ขนาดของตัวอย่างสาหรับใช้กบั สถิติการวิเคราะห์


คาถาม (set of items) องค์ประกอบเท่ากับ 10 เท่าของจานวนข้อคาถามที่
ใช้ เช่น นักวิจยั ต้องการศึกษาองค์ประกอบคุณภาพ
ชีวติ ของผูป้ ่ วยเอดส์ นักวิจยั มีชุดคาถามที่มีจานวน
ข้อคาถาม 50 ข้อ ดังนั้น นักวิจยั ควรใช้จานวน
ขนาดตัวอย่างอย่างน้อย 500 ราย
ดัดแปลงจาก เพชรน้อย สิ งห์ช่างชัย (2549)

จากตาราง 1 เป็ นการสรุ ปเกี่ยวกับการใช้ขนาดตัวอย่าง สาหรับการวิเคราะห์องค์ ประกอบจาก


หลายแนวคิด แต่ท้ งั นี้นกั วิจยั ควรใช้ขนาดตัวอย่างให้สอดคล้องกับหลักการคิดขนาดตัวอย่างตามหลัก
สถิติ นัน่ คือ ขนาดตัวอย่างต้องมีความเป็ นตัวแทนของประชากรที่ศึกษา
1.2) ข้อจากัดเกี่ยวกับระดับข้อมูลในการวิเคราะห์องค์ประกอบ ข้อมูลต้องมีระดับการ
วัดประเภทมาตราวัดอันตรภาค (Interval scale) และมาตราอัตราส่ วน (Ratio scale) ส่ วนตัวแปรที่มี
ระดับการวัดแบบกลุ่ม นักวิจยั ต้องทาให้เป็ นตัวแปรหุ่น (dummy variable) เสี ยก่อน นอกจากนี้ลกั ษณะ
ข้อมูลต้องมีการกระจายเป็ นโค้งปกติ
2) ปัญหาการวิเคราะห์องค์ประกอบมี 3 ประเด็น ดังนี้
2.1) การวิเคราะห์องค์ประกอบไม่มีตวั แปรตาม ซึ่ งแตกต่างกับการทดสอบสถิติการ
วิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุแบบปกติ สถิติการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติค สถิติการวิเคราะห์จา แนกประเภท
7

และการวิเคราะห์เส้นทาง ดังนั้น สถิติการวิเคราะห์องค์ประกอบ จึงไม่สามารถใช้แก้ปัญหาการวิจยั ที่


ต้องการหาตัวทานายได้
2.2) ขั้นตอนการสกัดองค์ประกอบไม่สามารถระบุจานวนรอบของการสกัด ได้ ดังนั้น
หลังจากขั้นตอนการสกัดองค์ประกอบนักวิจยั จึงไม่สามารถระบุจานวนรอบของการสกัดองค์ประกอบ
ได้วา่ มีกี่รอบจึงจะพอดี
2.3) ในปัจจุบนั การวิจยั ที่ตอ้ งการทดสอบเพื่อลดจานวนตัวแปร มีเพียงสถิติการ
วิเคราะห์องค์ประกอบเท่านั้น เนื่องจากสถิติน้ ีสามารถรวมตัวแปรหลาย ๆ ตัวให้อยูใ่ นองค์ประกอบ
เดียวกัน และทาให้เห็นโครงสร้างความสัมพันธ์ขอ งตัวแปรที่ศึกษา โดยการหาค่าสัมประสิ ทธิ์
สหสัมพันธ์ (Correlation) ของตัวแปรทีละคู่ แล้วรวมตัวแปรที่สัมพันธ์กนั มากไว้ในองค์ประกอบ
เดียวกัน หลังจากนี้จึงสามารถวิเคราะห์ถึงโครงสร้างที่แสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ ที่อยูใ่ น
องค์ประกอบเดียวกันได้ ดังนั้นเมื่อนั กวิจยั ต้องการวิเคราะห์ให้ได้ผลการวิเคราะห์ดงั กล่าวข้างต้น จึงมี
สถิติให้เลือกใช้เฉพาะสถิติการวิเคราะห์องค์ประกอบเพียงตัวเดียว แต่ยงั ไม่มีวธิ ี การทางสถิติวธิ ี อื่น ๆ
จึงทาให้นกั วิจยั ต้องเลือกใช้วธิ ี การวิเคราะห์องค์ประกอบทั้ง ๆ ที่วธิ ี น้ ี มีขอ้ จากัดดังกล่าวข้างต้น

ความหมายของคาต่ างๆ ในการวิเคราะห์ องค์ ประกอบ


ความหมายของคาต่างๆ ในการวิเคราะห์องค์ประกอบ มีดงั นี้
1) องค์ ประกอบร่ วมกัน (Common Factor) หมายถึง องค์ประกอบที่ประกอบด้วยตัว
แปร 2 ตัวขึ้นไปมารวมกันอยูใ่ นองค์ประกอบเดียวกัน โดยองค์ ประกอบร่ วมจะอาศัยจากค่า
สัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ หรื อค่า r องค์ประกอบที่ประกอบด้วยตัวแปรที่มีค่าความสัมพันธ์กนั มาก จะ
เป็ นองค์ประกอบที่มีความหายในการวิเคราะห์องค์ประกอบ
2) องค์ ประกอบเฉพาะ (Specific Factor) ได้แก่ องค์ประกอบที่มีตวั แปรเพียงตัวเดียว
3) ความร่ วมกัน (Communalities) หมายถึง ค่าสัมปร ะสิ ทธ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
หนึ่งกับตัวแปรอื่นๆ ที่เหลือทั้งหมด มีค่าอยูร่ ะหว่าง 0 กับ 1 ถ้าตัวแปรใดมีค่านี้ ต่า ตัวแปรนั้นจะถูกตัด
ออก ค่านี้ดูได้จาก Initial Statistic หรื อค่าทแยงมุมของ Reproduced Correlation Matrix ความร่ วมกัน

X1 พิจารณาจากค่า r X2, X4, X5,


X3 X6,…..,Xn
ตัวแปรที่เหลือ

X1 และ X3 มีองค์ประกอบร่ วม

ภาพที่ 1 แสดงความร่ วมกัน (Communalities)


8

4) นา้ หนักองค์ ประกอบ (Factor Loading) เป็ นค่าความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรกับ


องค์ประกอบ ซึ่ งควรมีค่ามากกว่า 0.3 (วิยะดา ตันวัฒนากูล อ้างใน ยุทธ ไกรวรรณ์ , 2551) ตัวแปรใดมี
น้ าหนักในองค์ประกอบใดมาก ควรจัดตัวแปรนั้นได้ในองค์ประกอบนั้น ในโปรแกรม SPSS น้ าหนัก
องค์ประกอบของแต่ละองค์ประกอบดูได้จากตาราง Component Matrix ก่อนการหมุนแกน
องค์ประกอบ หรื อดูได้จากเส้นทแยงมุมของแมทริ กซ์ของค่าไอเกน (Eigen Value)
5) คะแนนองค์ ประกอบ (Factor Score) เป็ นคะแนนที่ได้จากน้ าหนักองค์ประกอบและ
ค่าของตัวแปรในปั จจุบนั นั้น เพื่อใช้เป็ นค่าของตัวแปรใหม่ ที่เรี ยกว่า องค์ ประกอบ คะแนน
องค์ประกอบของแต่ละองค์ประกอบ อาจมีความสัมพันธ์กนั บ้าง ถ้าจัดจานวนองค์ประกอบเอาไว้มาก
นัน่ หมายความว่า ตัวแปรเดียวกันอาจอยูใ่ นหลายองค์ ประกอบได้ตามน้ าหนักองค์ประกอบ ดังแสดง
ในภาพที่ 2
คะแนนองค์ประกอบ คะแนนองค์ประกอบ 2 (คานวณ
คะแนนองค์ประกอบจากค่าตัว
Fac1 x2 Fac2 แปร x2, x3 และ x5) และ
x1, x2, x6 x3, x5 น้ าหนักองค์ประกอบ (Factor
Loading)
ภาพที่ 2 แสดงการได้ คะแนนองค์ ประกอบ
ในโปรแกรม SPSS คะแนนองค์ประกอบคานวณจากทุกตัวแปรในแต่ละองค์ประกอบตาม
ความมากน้อยของน้ าหนักองค์ประกอบ
6) ค่ าไอเกน (Eigen Value) เป็ นค่าความผันแปรของตัวแปรทั้งหมดในแต่ละ
องค์ประกอบ ในการวิเคราะห์องค์ประกอบ องค์ประกอบร่ วม (Common Factor) ที่ได้องค์ประกอบ
แรก จะเป็ นองค์ประกอบที่แยกความผันแปรของตัวแปรออกมาจากองค์ประกอบอื่นได้มากที่สุด จึ งมี
ตัวแปรร่ วมอยูม่ ากที่สุด ดังแสดงในภาพที่ 3
องค์ประกอบร่ วมที่สอง องค์ประกอบร่ วมองค์ประกอบแรก
X2 X14 X2 X8
X3 X4 X1 X3 X12 แยกองค์ประกอบ X14 X15
X5 X7 X4 X5 X6 X10 X11 X12
X7 X9 X13
ก X8 X10 X11 ค

X1 X6 องค์ประกอบร่ วมที่สาม
X9 X11

ภาพที่ 3 แสดงค่ าความแปรผันของตัวแปรทั้งหมดของแต่ ละองค์ ประกอบ
9

องค์ประกอบที่มีตวั แปรร่ วมอยูม่ าก จึงมีค่าไอเกน มากตามด้วย ใน SPSS จะกาหนดค่าไอเกน


เป็ น 1 อยูแ่ ล้ว (default = 1) ค่าไอเกนจะเท่ากับจานวนตัวแปร ดังนั้นจึงเป็ นไปไม่ได้ที่องค์ประกอบแต่
ละองค์ประกอบจะมีค่าไอเกนต่ากว่า 1 ในงานวิจยั ถ้าผูว้ จิ ยั กาหนดตัวแปรเอาไว้จานวนมาก ในการ
วิเคราะห์องค์ประกอบ (จริ ง) ควรให้ได้จานวนน้อยกว่าตัวแปรมากๆ และมีจานวนที่เหมาะสมเพื่อ
สะดวกในการวิเคราะห์ค่าสถิติอื่นๆ ต่อไป
ค่าไอเกน หาได้จากสู ตร
Eigen Valueขององค์ประกอบใด = (  ของน้ าหนักองค์ประกอบของแต่ละตัวแปรในองค์ประกอบนั้น)2

ขั้นตอนการวิเคราะห์ องค์ ประกอบ


ขั้นตอนการวิเคราะห์องค์ประกอบมีข้ นั การทดสอบดังนี้ (อ้างใน เพชรน้อย สิ งห์ช่างชัย, 2549)
ขั้นที่ 1 กาหนดปั ญหาการวิจยั ทบทวนองค์ประกอบตัวแปรจากทฤษฎี เก็บข้อมูล และเลือกวิธี
วิเคราะห์องค์ประกอบตามวัตถุประสงค์การวิจยั
ขั้นที่ 2 ตรวจสอบข้อมูลที่ใช้วเิ คราะห์วา่ เป็ นไปตามข้อตกลงหรื อไม่ และสร้างเมทริ กซ์
สหสัมพันธ์ (Correlation Matrix)
ขั้นที่ 3 สกัดองค์ประกอบ (Extraction Factor Analysis : Factor Extraction หรื อ Initial
Factors)
ขั้นที่ 4 เลือกวิธีการหมุนแกน (Factors Rotation)
ขั้นที่ 5 เลือกค่าน้ าหนักองค์ประกอบ (Factors Score)
ขั้นที่ 6 ตั้งชื่อองค์ประกอบที่วเิ คราะห์ได้

การออกแบบวิจัยและการประยุกต์ ใช้ สถิติการวิเคราะห์ องค์ ประกอบ


1) การออกแบบวิจยั สาหรับการใช้สถิติการวิเคราะห์องค์ประกอบ
การออกแบบวิจยั สาหรับการใช้สถิติการวิเคราะห์องค์ประกอบ ส่ วนใหญ่นิยมออกแบบวิจยั
แบบไม่ทดลอง (Non-Experimental Research Design) ที่เป็ นการวิจยั แบบอธิบายความสัมพันธ์
(Explanatory research) ที่มีลกั ษณะคาถามการวิจยั ที่ตอ้ งการคาดคะเนความสัมพันธ์เพื่อใช้อธิบาย
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรใช้ตรวจสอบโครงสร้างของชุดตัวแปรในรู ปของจานวนที่นอ้ ยที่สุดของ
ตัวแปรแฝงที่สังเกตไม่ได้หรื อวัดได้โดยตรง หรื ออาจเรี ยกได้วา่ เป็ นตัวแปรแฝง หรื อองค์ประกอบ ซึ่ง
ตัวแปรแฝงที่สังเกตไม่ได้ เหล่านี้จะถูกเรี ยกว่า องค์ประกอบ (Joreskog & Sorbom, 1993) ตัวอย่าง
หัวข้อวิจยั ที่ใช้สถิติการวิเคราะห์องค์ประกอบ ดังตาราง 2
10

ตาราง 2 ตัวอย่างหัวข้ อการวิจัยทีใ่ ช้ สถิติการวิเคราะห์ องค์ ประกอบ


วัตถุประสงค์ และวิธีการใช้
หัวข้ อการวิจยั ผลการวิจยั แบบย่ อ
วิธีการวิเคราะห์ องค์ ประกอบ
1. ความตรงเชิงโครงสร้างของ 1.1) เพื่อพัฒนาแบบวัดความตรง ผลการวิเคราะห์ดว้ ย EFA ได้
แบบวัดมาตราประมาณค่า เชิงโครงสร้างของลักษณะจิต องค์ประกอบทั้งหมด 4
เกี่ยวกับลักษณะจิตวิญญาณ วิญญาณและการพยาบาลด้าน องค์ประกอบ (F) คือ
และการพยาบาลด้านจิตวิญญาณ จิตวิญญาณ F1 : Spirtuality (existential
ใช้ขนาดตัวอย่าง 549 ราย 1.2) วิธีการใช้ Exploratory Factor element) มีจานวน 5 ตัวแปร
(The construct validity of a Analysis (EFA) เนื่องจากเป็ น F2: Spiritual Care มีจานวน 5
rating scale designed to assess เครื่ องมือใหม่ นักวิจยั สร้าง ตัวแปร
spirituality and spiritual care) เครื่ องมือ โดยการศึกษานา F3: Religiosity มี 3 ตัวแปร
(McSherry, Draper & ร่ อง แล้วนาผลมาพัฒนาเป็ น F4: Personalised Care มี 3 ตัวแปร
Kendrick, 2002) แนวคาถามแบบมาตรา
ประมาณค่า 5 ระดับ
2. การพัฒนาเครื่ องมือเกี่ยวกับ 2.1) เพื่อพัฒนาแบบวัดความตรง ผลการวิเคราะห์ดว้ ย EFA ได้
วิธีการวัดและตัวชี้วดั คุณภาพ เชิงโครงสร้างเครื่ องมือ องค์ประกอบทั้งหมด 4
การความเจ็บป่ วยหลังผ่าตัด เกี่ยวกับวิธีการวัดและตัวชี้วดั องค์ประกอบ (F) คือ
ใช้ขนาดตัวอย่าง 209 ราย คุณภาพการจัดการความ F1: Communication มี 3 ตัวแปร
(Development of an instrument เจ็บปวดหลังผ่าตัด F2: Action มี 4 ตัวแปร
to measure strategic and clinical 2.2) วิธีการใช้ Exploratory Factor F3: Trust มี 4 ตัวแปร
quality indicators in post- Analysis (EFA) เนื่องจากเป็ น F4: Environment มี 3 ตัวแปร
operation pain management เครื่ องมือใหม่ นักวิจยั สร้าง
(Idvall, Hamrin & Unosson, เครื่ องมือโดยการศึกษานาร่ อง
2002) แล้วนาผลมาพัฒนาเป็ นแนว
คาถามใหม่
3. การสร้ างแบบวัดคุณธรรม 3.1) เพื่อสร้างแบบวัดคุณธรรม ผลการวิเคราะห์ ด้วย EFA
จริยธรรมพืน้ ฐานสาหรับ จริ ยธรรมพื้นฐาน ในด้าน พิจารณาค่ าถ่ วงนา้ หนักตั้งแต่ 0.3
นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้ น ความกตัญญูกตเวที การ ขึน้ ไป ได้ จานวนข้ อที่เป็ นไปตาม
คมกฤช ใจคาปัน พึ่งตนเอง การรู ้จกั ประมาณตน เกณฑ์ 39 ข้ อ จาก 157 ข้ อ ดังนี้
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา และความเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ ความกตัญญูกตเวที 11 ข้ อ
การวัดและประเมินผลทางการ 3.2) วิธีการใช้ Exploratory Factor การพึง่ ตนเอง 8 ข้ อ
ศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Analysis (EFA) เนื่องจากเป็ น การรู้ จกั ประมาณตน 8 ข้ อ
กุมภาพันธ์ 2544 การสร้างเครื่ องมือใหม่ EFA ความเอือ้ เฟื้ อเผือ่ แผ่ 12 ข้ อ
11

วัตถุประสงค์ และวิธีการใช้
หัวข้ อการวิจยั ผลการวิจยั แบบย่ อ
วิธีการวิเคราะห์ องค์ ประกอบ
4. การพัฒนาแบบสอบถามการ 4.1 เพื่อทดสอบโครงสร้าง ผลการวิเคราะห์ดว้ ย CFA ได้
รับรู ้เกี่ยวกับกิจกรรมทาง เครื่ องมือการรับรู ้เกี่ยวกับ องค์ประกอบทั้งหมด 4
ร่ างกายของวัยรุ่ นในไต้หวัน กิจกรรมทางร่ างกายของวัยรุ่ น องค์ประกอบ (F) คือ
ใช้ขนาดตัวอย่าง 923 ราย 4.2 วิธีการใช้ Confirmatory F1: Perceived self – efficacy
(Wu. Et al., 2002) Factor Analysis (CFA) มี 13 ตัวแปร
เนื่องจากเป็ นเครื่ องมือที่มีอยู่ F2 : Perceived Benefits มี 12
แล้ว และนักวิจยั ได้นามา ตัวแปร
ทดสอบความตรงเชิง F3 : Perceived Barriers มี 14
โครงสร้างอีกครั้ง ตัวแปร
5. การศึกษาการทางานเป็ นทีม 5.1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบการ 1. คะแนนการทางานเป็ นทีมของ
และการสร้างโมเดลการ ทางานเป็ นทีมของพนักงาน พนักงานทั้ง10 องค์ประกอบย่อย มี
ฝึ กอบรมเพื่อพัฒนาการทางาน 5.2) วิธีการใช้การวิเคราะห์ ค่าสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ต้ งั แต่
เป็ นทีมของพนักงาน องค์ประกอบเชิงยืนยัน .067 - .736 และมีความสัมพันธ์
ธนวัฒน์ ภมรพรอนันต์ (Confirmatory factor analysis) อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ
ปริ ญญาการศึกษาดุษฎีบณ ั ฑิต ผูว้ ิจยั ต้องการศึกษาว่าคะแนนการ .05 ทุกค่า
สาขาวิชาจิตวิทยาการให้ ทางานเป็ นทีมมี 2 องค์ประกอบ 2. โมเดลการวิเคราะห์เชิงยืนยัน
คาปรึ กษา คือ องค์ประกอบที่ 1 คือ การสร้าง อันดับที่ 1 ของการทางานเป็ นทีม
มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ทีมงาน มีองค์ประกอบย่อย 5 ของพนักงาน
ธันวาคม 2551 องค์ประกอบ ได้แก่ เป้ าหมายของ F1: การสร้างทีมงาน มี 5 ตัวแปร
ทีมงาน วิสยั ทัศน์ทีมงาน ภาระ มีค่าน้ าหนักองค์ประกอบตั้งแต่
งานและทักษะที่จาเป็ น รู ปแบบ 0.28-0.58
พฤติกรรมทางสังคม และการเป็ น F2 : กระบวนการทางาน มี 5 ตัว
ผูน้ า แปร
ส่ วนองค์ประกอบที่ 2 ค่าน้ าหนักองค์ประกอบตั้งแต่
กระบวนการทางานเป็ นทีม มี 0.20-0.26
องค์ประกอบย่อย 5 องค์ประกอบ ค่าความเชื่อถือได้ของการวัด (R2)
ได้แก่ การวางแผน การดาเนินงาน แต่ละองค์ประกอบย่อย มีค่าตั้งแต่
ตามแผน การประสานกิจกรรม
0.21 – 1.18
ความพึงพอใจของทีมงาน และ
การประเมินผล
12

วัตถุประสงค์ และวิธีการใช้
หัวข้ อการวิจยั ผลการวิจยั แบบย่ อ
วิธีการวิเคราะห์ องค์ ประกอบ
3. โมเดลการวิเคราะห์เชิงยืนยัน
อันดับที่ 2 ของการทางานเป็ นทีมของ
พนักงาน
F1: การสร้างทีมงาน มี 5 ตัวแปร
มีค่าน้ าหนักองค์ประกอบตั้งแต่
0.32 - 0.75
F2 : กระบวนการทางาน มี 5 ตัวแปร
ค่าน้ าหนักองค์ประกอบตั้งแต่
0.20 - 0.26
ค่าความเชื่อถือได้ของการวัด (R2)
แต่ละองค์ประกอบย่อย มีค่าตั้งแต่
0.21 – 1.47
4. โมเดลโครงสร้างการทางานเป็ นทีม
มีความเหมาะสมพอดีกบั ข้อมูลเชิง
ประจักษ์

2) การประยุกต์ใช้สถิติการวิเคราะห์องค์ประกอบ มีหลักในการประยุกต์ใช้ กล่าวคือ


ส่ วนใหญ่นกั วิจยั ใช้เทคนิคนี้ในการตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างของเครื่ องมือวิจยั จึงขอ
อธิ บายในส่ วนของความตรงเชิงโครงสร้างหรื อทฤษฎี (Construct) หมายถึง คุณลักษณะที่สันนิษฐาน
ขึ้นจากพฤติกรรมของมนุษย์ เช่น อัตมโนทัศน์ การรับรู ้ พลังอานาจ สมรรถนะแห่งตน เป็ นต้น
โดยทัว่ ไปแล้วไม่มีเครื่ องมือใดที่สะท้อนให้เห็นโครงสร้างได้โดยตรง นอกจากนิยามโครงสร้างให้เป็ น
มโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อสามารถตรวจสอบอ้างอิงได้เท่านั้น การติดสิ นว่า สิ่ งใดมี “โครงสร้าง”
เพียงใด ทาได้โดยการตรวจสอบความตรงตามโครงสร้าง (เพชรน้อย สิ งห์ช่างชัย, 2549)
ความตรงตามโครงสร้าง (Construct Validity) หมายถึง ขอบเขต ความหมาย หรื อลักษณะ
ประจาตามทฤษฎีที่เครื่ องมือวิจยั นั้น ๆวัดได้ หรื อหมายถึงความสามารถของเครื่ องมือวิจยั ที่สามารถวัด
ทฤษฎี หรื อลักษณะของพฤติกรรมได้ตามที่สามารถวัดพฤติกรรมได้ตามสมมติฐานที่ต้ งั ไว้ เครื่ องวิจยั ที่
มีความตรงตามโครงสร้างจะแสดงให้เห็นว่า ผลที่ได้จากการวัดมีความสัมพันธ์กบั ทฤษฎี หรื อลักษณะ
ที่กาหนดมากน้อยเพียงไร การตรวจสอบความตรงตามโครงสร้างจะต้องตรวจสอบทั้งเชิงเหตุผล
(Logical) และการตรวจสอบเชิงประจักษ์ (Empirical)
13

การวิเคราะห์องค์ประกอบจึงเป็ นวิธีทางสถิติสาหรับตรวจสอบโครงสร้าง โดยการล ดจานวน


ตัวแปรลงให้เป็ นจานวนองค์ประกอบ หรื อลักษณะร่ วม ซึ่ งมีจานวนไม่กี่รายการ ลักษณะเช่นนี้จะช่วย
ให้คาบรรยายพฤติกรรมต่างๆ ง่ายขึ้น หรื ออาจกล่าวได้วา การวิเคราะห์องค์ประกอบเป็ นเทคนิคทา
สถิติที่เกี่ยวข้องกับคน (หรื อผูใ้ ห้ขอ้ มูล) จานวนมาก ตัวแปรจานวนมาก และองค์ป ระกอบจานวนมาก
การวิเคราะห์องค์ประกอบจึงมีลาดับขั้น (อุทุมพร จามรมาน อ้างใน เพชรน้อย สิ งห์ช่างชัย , 2549) ดังนี้

ทฤษฎี นามธรรม (Construct)

องค์ประกอบ (Factor)

ตัวแปร (Variable)

ข้อคาถาม (Item)

ลาดับขั้นของการอธิ บายจากการวิเคราะห์องค์ประกอบ หมายความว่ า หลายๆข้อคาถาม


อธิบายตัวแปร 1 ตัว หลายๆตัวแปรอธิบายองค์ประกอบ 1 ตัว และองค์ประกอบหลาย ๆ ตัว จึงจะ
อธิบายทฤษฎีหรื อนามธรรมได้ 1 อย่าง
ผลจากการวิเคราะห์องค์ประกอบจะได้กลุ่มของความสัมพันธ์ระหว่างข้อคาถามต่างๆ ในแบบ
เชิงเส้นตรงที่เรี ยกว่า องค์ ประกอบ (Factor) องค์ประกอบแต่ละตัวจะเป็ นอิสระจากกัน เมื่อมีการสร้าง
องค์ประกอบขึ้น องค์ประกอบนี้จะเข้าไปสัมพันธ์กบั ข้อคาถามแต่ละข้อ ทาให้เกิดเป็ นน้ าหนัก
องค์ประกอบ (Factor Loading) ขึ้นมา ดังนั้นน้ าหนักขององค์ประกอบแต่ละตัวจะแทนค่าสหสัมพันธ์
ของเครื่ องมือกับองค์ประกอบแต่ละตัว ด้วย เรี ยกว่า ความตรงเชิงองค์ ประกอบ หมายถึง ค่าสหสัมพันธ์
ของแบบสอบนั้นกับอะไรก็ตามที่เป็ นตัวร่ วมกับกลุ่มแบบสอบกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง หรื อจะกล่าวได้วา่
ความตรงเชิงองค์ประกอบ ควรเรี ยกว่า ส่ วนประกอบขององค์ ประกอบ (Factorial Composition)
ดังนั้น ประโยชน์ หลักของการวิเคราะห์องค์ประกอบ มี 3 ด้าน คือ ด้านที่หนึ่ง ใช้ตรวจสอบ
ความตรงเชิงโครงสร้างของเครื่ องมือ ด้านที่สอง ใช้ในการแก้ปัญหาที่ตวั แปรอิสระมีความสัมพันธ์กนั
สู งสาหรับเทคนิคการวิเคราะห์ถดถอยที่ตวั แปรอิสระมีความสัมพันธ์กนั เชิงพหุ สูงมาก วิธีการอย่าง
หนึ่งการรวมตัวแปรอิ สระที่มีความสัมพันธ์กนั ไว้ดว้ ยกัน โดยการสร้างเป็ นตัวแปรใหม่ หรื อเรี ยกว่า
องค์ประกอบ หลังจากนั้นจึงนาองค์ระกอบดังกล่าวไปเป็ นตัวแปรอิสระในการวิเคราะห์ความถดถอย
ต่อไป และสุ ดท้าย ใช้ตรวจสอบหรื อยืนยันทฤษฎีต่างๆ ที่วดั ได้จากพฤติกรรมของมนุษย์

You might also like