You are on page 1of 27

A 11

สาบาวิชานิตศ
ิ าสตร มหาวิท
ขาลยสุโฃทยธรรมาธิราช ทไรสอฌสรบ Rs«n 1
ทนวยท 1 - 5

เอกสารใสฅท ัศน์ชุดวิชา

Til ' Eli

แเ>
1

พ'* 9

I
m f5
1

เสเ fi
ิ 0
สงวนลิขสท
เอกสารโสตท ัศน์ชุดวิชา กฎหมายวิธส
ี บ“ญญัต ิ 1 การสอนเสริมครัง้ ที่ 1
จํดทำขึน
้ เพือ
่ เป็ นบริการแก่นักสืกษาในการสอนเสริม
จํดทำต้นฉบ ับ : รองศาสตราจารย์ชนินาฏ ลีดส์ บรรณา 5 การ/ออกแบบ
่ สอนเสริม ศูนย์[สตทัศนสืกษา
: หน่วยผลิตสือ
สำนักเทคโนโลยีการสืกษา
จ่พ'พิมพ์ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลํยสุโขทัยธรรมาธิราช พิมพ์ท ี่ :
โรงพิมพ์มหาวิทยาลํยสุโขทัยธรรมาธิราช พิมพ์ครงั้ ที่ 40 ภาค 1/255
2 ปรับปรุง
แผนการสอนเสริมครงที
ั้ ่ ไ

การสอนเสริมชุดวิชา 41341 กฎหมายวิธส


ี บัญญัต ิ 1
หน่วยสอนเสริม หน่วยที่ 1-5

ประเด็น
1. ขัน
้ ตอนการดำเนินคดีแพ่ง
2. ตำแหน่งหน ้าทีแ
่ ละอำนาจของผู ้พิพากษาหัวหน ้าผู ้รับผิดชอบ
3. การทำการแทนผู ้พิพากษาหัวหน ้าผู ้รับผิดชอบ
4. เขตและอำนาจศาล
5. องค์คณะผู ้พิพากษา
่ ในคำพิพากษา
ธ. การนั่งพิจารณาคดีแทนและการตรวจสำนวนลงลายมือชือ
7. เงือ
่ นไขการเสนอคดีตอ
่ ศาล
8. คูค
่ วาม คูค
่ วามร่วม
9. การร ้องสอดและผลของการร ้องสอด
10. เขตอำนาจศาลในการเสนอคำฟ้ องและคำร ้องขอในคดีแพ่ง
1 1. การตรวจคำคูค
่ วาม
1 2. หล“กเกณฑ์การส่งคำคูค
่ วามและเอกสาร
1 3. การคำนวณ การขยายหรือย่นระยะเวลา
1 4. การวินจ ่ าดเบีอ
ิ ฉั ยชืข ้ งต ้นในปั ญหาข ้อกฎหมาย
15. การพิจารณาทีผ
่ ด
ิ ระเบียบ
1 ธ. การเลือ
่ นการนั่ งพิจารณาเพราะเหตุคค
ู่ วามมรณะ

แนวคิด
1. กระบวนพิจารณาคดีเริม
่ ขึน
้ นับแต่เมือ
่ มีการเสนอคดีตอ
่ ศาล คูค
่ วามจะต ้องปฏิบต
ั ต
ิ ามขัน
้ ตอนทีก
่ ฎหมาย
บัญญัตไิ ว ้ มิฉะนัน
้ อาจมีผลเสียหายแก่คดีไต ้ โดยปกติแล ้วคดีแพ่งจะมีขน
ั ้ ตอนทีค
่ ล ้ายคลึงบัน จะแตก
้ สุดคดี
ต่าง บันเฉพาะในรายละเอียดแต่ละกรณีเท่านั่น การดีกษาภาพรวมการดำเนินคดีขงั ้ แต่ต ้นจนสิน
จะทำให ้นักดีกษาเข ้าใจหล ้กเกณฑ์แต่ละเรือ
่ งไต ้ง่ายยิง่ ขึน

2. ผู ้พิพากษาทีเ่ ป็ นข ้าราชการประจำแบ่งเปี นผู ้พิพากษาธรรมดาและผู ้พิพากษาหัวหน ้าผู ้รับผิดชอบ

3. นอกจากอำนาจในการบริหารและดูแลความเรียบร ้อยภายในศาลของตนแล ้ว ผู ้พิพากษาหัวหน ้า ผู ้รับผิด


ชอบบังมีอำนาจพิเศษตามทีก
่ ฎหมายบัญญัตไิ ว ้ด ้วย

4. กรณีผู ้พิพากษาหัวหน ้าผู ้รับผิดชอบไม่อาจบ่ฏบ


ิ ต
ั ห
ิ น ้าทีไ่ ต ้..กฎหมายกำหนดให ้มีบค
ุ คลทำหน ้าทีแ
่ ทน ผู ้
พิพากษาทีเ่ ป็ นหัวหน ้าผู ้รับผิดชอบนั่น
5. ศาลมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีเฉพาะทีอ ่ ยูใ่ นเขตพืน
้ ทีแ
่ ละภายในอำนาจทีก
่ ฎหมายกำหนดไว ้

ธ. องค์คณะผู ้พิพากษาคือ จำนวนผู ้พิพากษาอย่างน ้อยทีก


่ ฎหมายกำหนดไร ้ให ้มีอำนาจในการนั่งพิจารณา
และพิพากษาคดี และองค์คณะผู ้พิพากษาในแต่ละศาลอาจมีจำนวนไม่เท่าก ้น
่ ทำคำพิพากษาจะทำได ้เมือ
7. การนั่งพิจารณาคดีแทน และการตรวจสำนวนลงลายมือชือ ่ มีเหตุสด ั หรือ
ุ วิสย
เหตุจำเป็ นสันมิอาจก ้าวล่วงได ้ ทำให ้ผู ้พิพากษาซึง่ เป็ นองค์คณะในการพิจารณาคดีนั่น ไม่อาจจะนั่ง
พิจารณาคดีหรือไม่อาจจะทำคำพิพากษาในคดีนั่นต่อไปได ้

8. บุคคลจะเสนอคดีของตนต่อศาลได ้ต ้องเป็ นกรณีทม


ี่ ข
ี ้อโต ้แย ้งสิทธิเกิดขึน ี่ ้องใช ้สิทธิ
้ หรือเป็ นกรณีทต
ทางศาล

9. คูค
่ วาม หมายถึงบุคคลผู ้ยืน ิ ธิกระทำการแทน
่ คำฟ้ องหรือถูกฟ้ องต่อศาล โดยให ้รวมถึงบุคคลผู ้มีสท
บุคคลนัน
้ ๆตามกฎหมายหรือในฐานะทนายความ และในกรณีทบ
ี่ ค
ุ คลใดมีผลประโยชน์รว่ มสันในมูล ความ
แห่งคดี บุคคลเหล่านั่นก็เป็ นคูค
่ วามร่วมสันได ้ โดยอาจเป็ นโจทก์รว่ มหรือจำเลยร่วมก็ได ้

1 0. การร ้องสอดคือการทีบ
่ ค
ุ คลภายนอกทีม
่ ใิ ช่คค
ู่ วามร ้องขอต่อศาลเพือ
่ อนุญาตให ้ตนเข ้ามาเป็ นคูค
่ วามได ้
ด ้วยการร ้องสอด ซึง่ การร ้องสอดแบ่งเป็ น 3 กรณี คือ (1) การร ้องสอดเพือ
่ ให ้โต ้รับความรับรอง คุ ้มครอง
หรือสังคับตามสิทธิ (2) การร ้องสอดเพราะตนมีสว่ นได ้เสียตามกฎหมายในผลแห่งคดีนั่น (3) การร ้อง
สอดทีถ
่ ก
ู ศาลหมายเรียกเข ้ามาในคดี

้ ของศาลอำนาจ
11. ศาลแต่ละศาลมีเขตอำนาจต่างสัน และการเสนอคดีต ้องคำนึงถึงสภาพแห่งคำฟ้ อง ชัน
ศาลและเขตศาล

12. คำคูค
่ วาม หมายความว่า บรรดาคำฟ้ อง คำให ้การหรือคำร ้องทัง้ หลายทีย
่ น
ื่ ต่อศาลเพือ
่ ตัง้ ประเด็น ระหว่าง
คูค
่ วาม เมือ
่ ศาลได ้รับคำคูค
่ วามทีย
่ น
ื่ ต่อศาลแล ้ว ศาลต ้องตรวจคำคูค
่ วามและมีคำนั่งเกีย
่ วสับ คำคูค
่ วาม
นั่น

1 3. การยืน
่ และล่งคำคูค
่ วามและเอกสารต่อศาลให ้กระทำโดยล่งต่อพนักงานเจ ้าหน ้าทีข
่ องศาล หรือยืน
่ ต่อ
ศาลในระหว่างพิจารณา ส่วนคำฟ้ อง หมายเรียกและหมายอืน
่ ๆ คำนั่ง คำบังคับของศาลให ้เจ ้าพนักงาน
ศาลเป็ นผู ้ล่ง โดยให ้คูค
่ วามฝ่ ายทีข
่ อให ้ออกหมายหรือคำนั่ งนั่นมีหน ้าทีนำ
่ ล่ง

1 4. การคำนวณระยะเวลาต ้องเป็ นไปตามบทบัญญํตแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์วา่ ด ้วยระยะเวลา


หากมีพฤติการณ์พเิ ศษศาลมีอำนาจขยายหรือย่นระยะเวลาทีก
่ ฎหมายหรือศาลกำหนดไร ้โต ้
1 5. ในระหว่างการพิจารณาคดีหากศาลไต ้วินจ
ิ ฉั ยปั ญหาข ้อกฎหมายใดแล ้วมีผลให ้!,มีต ้องพิจารณาคดีตอ

ไป อีกหรือไม่ต ้องพิจารณาประเด็นสำคัญแห่งคดีบางข ้อ เช่นนี้ เมือ
่ ศาลเห็นสมควรหรือเมือ
่ คูค
่ วามฝ่ าย
ใด ฝ่ ายหนึง่ ร ้องขอ ศาลก็มอำ
ี นาจวินจ
ิ ฉั ยปั ญหาข ้อกฎหมายเช่นว่านัน
้ ไต ้

1 ธ. การพิจารณาในศาลจะต ้องปฏิป้ตตามป.วิ.พ.คันเกีย
่ วคับความยุตธิ รรมหรือเกีย
่ วด ้วยความสงบเรียบร ้อย
ของประชาชน ดังนีห
้ ากไม่ปฏิบต
ั ต
ิ ามถือว่าเป็ นการพิจารณาทีผ
่ ด
ิ ระเบียบ เมือ
่ ศาลเห็นสมควรหรือเมือ
่ คู่
ความฝ่ ายทีเ่ สียหายยืน ่ ะสัง่ ให ้เพิกถอนหรือแก 5 ไขการพิจารณาทีผ
่ คำร ้อง ศาลมีอำนาจทีจ ่ ด
ิ ระเบียบหรือ
สัง่ อย่างใดตามทีเ่ ห็นสมควรไต ้

1 7. กรณีคค
ู่ วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ ในคดีทค
ี่ ้างพิจารณาไต ้มรณะเสียก่อนศาลพิพากษาคดี ทายาทของผู ้มรณะ
ผู ้คัดการทรัพย์มรดก หรือผู ้ปกครองทรัพย์มรดกไว ้ อาจเข ้ามาเป็ นคูค
่ วามแทนทีผ
่ ู ้มรณะไต ้ โดยมีคำขอ
เข ้ามาเองหรือโดยศาลหมายเรียกให ้เข ้ามาก็ไต ้

ว ัตถุประสงค์
เมือ
่ ไต ้รับพิงการสอนเสริมแล ้ว นักดีกษาสามารถ
1. อธิบายขัน
้ ตอนการดำเนินคดีแพ่งไต ้
2. อธิบายเกีย
่ วคับตำแหน่งหน ้าทีแ
่ ละอำนาจของผู ้พิพากษาหัวหน ้าผู ้รับผิดชอบไต ้
3. อธิบายและวินจ
ิ ฉั ยเรือ
่ งการทำการแทนผู ้พิพากษาหัวหน ้าผู ้รับผิดชอบไต ้
4. อธิบายและวินจ
ิ ฉั ยเรือ
่ งเขตและอำนาจในการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลไต ้
5. อธิบายและวินจ
ิ ฉั ยเรือ
่ งองค์คณะผู ้พิพากษาไต ้
ธ. อธิบายและวินจ
ิ ฉั ยเรือ ่ ในคำพิพากษาไต ้
่ งการนัง้ พิจารณาคดีแทนและการตรวจสำนวนลงลายมือชือ
7. อธิบายและวินจ
ิ ฉั ยเรือ
่ งเงือ
่ นไขการเสนอคดีตอ
่ ศาลไต ้
8. อธิบายและวินจ
ิ ฉั ยเรือ
่ งคูค
่ วาม และคูค
่ วามร่วมไต ้
9. อธิบายและวินจ
ิ ฉั ยเรือ
่ งการร ้องสอดและผลของการร ้องสอดไต ้
10. อธิบายและวินจ
ิ ฉั ยเรือ
่ งเขตอำนาจศาลในการเสนอคำฟ้ องและคำร ้องขอในคดีแพ่งไต ้
11. อธิบายและวินจ
ิ ฉั ยเรือ
่ งการตรวจคำคูค
่ วามไต ้
1 2. อธิบายและวินจ
ิ ฉั ยเรือ
่ งการยืน
่ และส่งคำคูค
่ วามและเอกสารไต ้ 1 3. อธิบายและ
วินจ
ิ ฉั ยเรือ
่ งการคำนวณและการขยายหรือย่นระยะเวลาไต ้ 1 4. อธิบายและวินจ
ิ ฉั ยเรือ
่ ง
การวินจ
ิ ฉั ยขัข
้ าดฌีอ
้ งต ้นในปั ญหาข ้อกฎหมายไต ้ 1 5. อธิบายและวินจ
ิ ฉั ยเรือ
่ งการ
พิจารณาทีผ
่ ด
ิ ระเบียบไต ้ 1 ธ. อธิบายและวินจ
ิ ฉั ยเรือ
่ งการเลือ
่ นการนั ง้ พิจารณาเพราะเหตุ
คูค
่ วามมรณะไต ้
กิจกรรมการสอน
1. แนะนำต่วผู ้สอน
2. ประเมินผลก่อนสอนเสริม โดยใช ้คำถามในเอกสารโสตทัศน์ หรือคำถามทีอ
่ าจารย์ผู ้สอนเตรียมมา ตาม
ความเหมาะสม
3. อธิบายประเด็นต่างๆ
4. ซักถามปั ญหานักสืกษา
5. เปิ ดโอกาส'ให ้'นักสืกษ'าซักถามปั ญหา ธ. ประเมินผลหสังจากสอนเสริม

ี การสอนเสริม
สอ
1. ชุดการสอนเสริม
2. แบบประเมินความคิดเห็นของนั กสืกษา

การประเมินผล
1. สังเกตความสนใจของนั กสืกษา
2. ประเมินความรู ้ของนั กสืกษาจากการถามและตอบปั ญหาต่างๆ
3. ประเมินความคิดเห็นส่วนรวมของนักสืกษา
ี ษาก่อนการสอนเสวิม
แบบประเมินผลตนเองซองน ักสก
ครงที
ั้ 1
ชุดวิชา กป้หมายวิ0 สบ ัฌฌํต 1

ว ัตถุประสงค์ เพือ
่ ประเมินความรู ้ของนักสืกษาเกีย
่ วกับขัน
้ ตอนการดำเนินคดีแพ่ง พระธรรมนูญศาลยุตธิ รรม และ
กฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง ภาค 1 บททั่วไป ว่าด ้วยเรือ
่ ง ศาล คูค
่ วาม และการยืน
่ และส่งคำ คู่
ความและเอกสาร

คำแนะนำ ขอให ้อ่านคำถามต่อไปนีท


้ ล ่ งหมาย ร ทีข
ี ะข ้อ และเขียนเครือ ่ ้อคำตอบทีน
่ ักดีกษาเห็นว่าถูกต ้อง
ทีส
่ ด
ุ นักสีกษามีเวลาทำแบบประเมินผลชุดนี้ 1 5 นาที

1. ข ้อใดเป็ นหลไาเกณฑ์การยืน
่ คำให ้การในคดีแพ่ง
ก) จำเลยอาจฟ้ องแย ้งมาในคำให ้การก็ได ้ ข) ฟ้ องแย ้งต ้องไม่เกีย
่ วก“บฟ้ อง
เติม
ค) จำเลยต ้องยืน
่ คำให ้การภายใน 30 วันนับแต่ไต ้รับคำฟ้ อง
ง) จำเลยต ้องร ้องขอให ้เจ ้าพนักงานศาลส่งคำให ้การให ้แก่โจทก์ภายใน 7 วัน
จ) เจ ้าพนักงานศาลเป็ นผู ้นำคำให ้การไปส่งให ้แก่โจทก์ ณ ภูมลำ
ิ เนา

2. ใครเป็ นผู ้ทำการแทนอธิบดีผู ้พิพากษาภาค


ก) ผู ้พิพากษาทีม
่ อ
ี าวุโสสูงสุดในภาคนัน

ข) ผู ้พิพากษา อาวุโสคนใดก็ไต ้แล ้วแต่ตกลงกัน
ค) อธิบดีผู ้พิพากษาศาลขัน
้ ต ้นในภาคนัน

ง) ผู ้พิพากษาคนหนึง่ ทีป
่ ระธานศาลฎีกาทั่งให ้เป็ นผู ้ทำการแทน
จ) รองอธิบดีผู ้พิพากษาภาคทีม
่ อ
ี าวุโสสูงสุด

3. ศาลแขวงมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาทีม
่ ก
ี ต
ั ราโทษเท่าไร
ก) จำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั่งจำทั่งปรับ ข)
จำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั่งจำทั่งปรับ ค) จำ
คุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั่งจำทั่งปรับ ง) จำคุกไม่
เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั่งจำทั่งปรับ จ) จำคุกไม่เกิน 3
ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั่งจำทั่งปรับ
4. คดีใดอยูใ่ นอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลแขวง
ก) คดีไม่มข
ี ้อพิพาท
ข) คดีทม
ี่ ท
ี น
ุ ทรัพย์ 250,000 บาท
ค) คดีไม่มท
ี น
ุ ทรัพย์
ง) คดีฟ้องข ้บไล่ซงึ่ ไม่มก
ี ารโต ้แย ้งเรือ
่ งกรรมสิทธี้ จ) ถูกทุกข ้อ

่ ู ้พิพากษาประจำศาลไม่มอำ
5. กระบวนพิจารณาข ้อใดทีผ ี นาจทำไต ้
ก) ไต่สวนมูลฟ้ องและมีคำสัง่ ในคดีอาญา
ข) ไต่สวนและมีคำตัง้ เกีย
่ วล ้บวิธก
ี ารเพือ
่ ความปลอด,ล ้ย
ค) ไต่สวนและวินจ ่ าดคำร ้องหรือคำขอทีย
ิ ฉั ยซึข ่ น
ื่ ต่อศาลในคดีทงั ้ ปวง
ง) ข ้อ ก) ข) และ ค) ถูก
จ) ไม่มข
ี ้อใดถูก

ธ. คำฟ้ องเกีย
่ วด ้วยอสังหาริมทรัพย์!ห ้เสนอต่อศาลใด
ก) ศาลทีอ
่ สังหาริมทรัพย์ตงั ้ อยูห
่ รือศาลทีโ่ จทก์มภ
ี ม
ู ลำ
ิ เนาอยูใ่ นเขต
ข) ศาลทีอ
่ สังหาริมทรัพย์ตงั ้ อยูห
่ รือศาลทีจำ
่ เลยมีภม
ู ลำ
ิ เนาอยูใ่ นเขต
ค) ศาลทีอ
่ สังหาริมทรัพย์ตงั ้ อยูห
่ รือศาลทีม
่ ล
ู คดีเกิด ง) ศาลทีโ่ จทก์ม ี
ภูมลำ
ิ เนาอยูใ่ นเขตหรือศาลทีม
่ ล
ู คดีเกิด จ) ศาลทีจำ
่ เลยมีภม
ู ลำ
ิ เนา
อยูใ่ นเขตหรือศาลทีม
่ ล
ู คดีเกิด

่ ศาลตรวจคำฟ้ องของโจทก์แล ้ว คำสัง่ ศาลในข ้อใดทีค


7. เมือ ่ ค
ู่ วามไม่มส ิ ธิอท
ี ท ุ ธรณ์
ก) คำสัง่ ไม่รับคำฟ้ องเพราะชำระค่าธรรมเนียมศาลไม่ครบถ ้วน ข)
คำตัง้ ไม่รับคำฟ้ องเพราะศาลไม่มเี ขตอำนาจเหนือคดีนัน
้ ค) คำตัง้ ให ้
รับฟ้ องไว ้พิจารณา ง) คำตัง้ คืนไปให ้ทำใหม่ หรือแล ้โขให ้ถูกต ้อง
ครบถ ้วน จ) คำตัง้ ตามข ้อ ก และ ข ถูก

8. บุคคลใดอาจถูกหมายเรียกให ้เข ้ามาในคดีแทนทีค


่ ค
ู่ วามฝ่ ายทีม
่ รณะก่อนศาลพิพากษาคดีไต ้
ก) ทายาท
ข) ผู ้จัดการทรัพย์มรดกมรดกและทายาท
ค) ทายาทและผู ้ปกครองทรัพย์มรดก
ง) ผู ้จัดการทรัพย์มรดกและผู ้ปกครองทรัพย์มรดก
จ) ทายาท ผู ้จัดการทรัพย์มรดก และผู ้ปกครองทรัพย์มรดก
่ นัครใจเข ้ามาในคดีเพราะตนมีสว่ นได ้เสียตามกฎหมายในผลแห่งคดีนัน
9. ผู ้!องสอดทีส ิ ธิหรือมีฐานะในคดีนัน
้ มีสท ้
อย่างไร
ิ ธิเสมือนได ้ฟ้ องหรือถูกฟ้ องเป็ นคดีใหม่
ก) มีสท
ิ ธินำพยานหล“กฐานใหม่มาแสดง ค) มี
ข) มีสท
สิทธิถามค ้านพยานทีไ่ ด ้สืบมาแล ้ว
ิ ธิเพียงเท่าทีค
ง) มีสท ่ ค
ู่ วามฝ่ ายทีต
่ นเข ้าเป็ นคูค
่ วามร่วมหรือมีฐานะเสมอด ้วยคูค
่ วามทีต
่ นแทน
ิ ธิตาม ข ้อ ข และ ค
จ) มีสท

10 การส่งหมายโดยวิธวี างหมายมีผลเมือ
่ ใด
ก) ทันทีทวี่ างหมาย ข) 15 ร ้นนับ
แต่วันวางหมาย ค) 14 ร ้นนับแต่ร ้น
วางหมาย ง) 7 ร ้นนับแต่ร ้นวาง
หมาย จ) 3 ร ้นนับแต่ร ้นวางหมาย



ทั

น์ โครงสร้างกลุม ้ หาวิชากฎหมายวิธส
่ เนีอ ี บ ัญญํต 1
# ■ ขัน
้ ตอนการดำเนินคดีแพ่ง (หน่วยที่ 1)
1
. ■ พระธรรมนูญศาลยุตธิ รรม (หน่วยที่ 2)
1 ■ คูค
่ วามและการเสนอคดีตอ
่ ศาล (หน่วยที่ 3)
■ เขตอำนาจศาล การคัดค ้านผู ้พิพากษา คำคูค
่ วาม และเอกสาร (หน่วยที่ 4)

ค ■ อำนาจและหน ้าทีข
่ องศาล (หน่วยที่ 5)
รง ■ หลไาทีว่ ไปว่าด ้วยการขัข
้ าดคัดสินคดี (หน่วยที่ ธ)

ร ้า ■ คำพิพากษาและคำสัง่ (หน่วยที่ 7)
ง ■ ผลแห่งคำพิพากษาและคำสัง่ (หน่วยที่ 8)

■ ค่าฤชาธรรมเนียม (หน่วยที่ 9)
ลุ่
ม ■ ข ้อพิจารณาเนือ
้ งด ้นเกีย
่ วคับกฎหมายคักษณะพยานหลไาฐาน (หน่วยที่ 10)
เนื้ ■ ประเด็นในคดีคบ
ั พยานหคักฐาน (หน่วยที่ 1 1)

ห ■ หน ้าทีน
่ ่าสืบหรือภาระการพิสจ
ู น์ (หน่วยที่ 12)
า ■ การรับพิงพยานหคักฐานในคดีแพ่ง (หน่วยที่ 13)
วิ
ช ■ การน่าสืบพยานหคักฐาน (หน่วยที่ 14)
า ■ การขัง้ นืา้ หนั กพยานหคักฐาน (หน่วยที่ 15)






วิ
ธี




ญั
ติ
1
8
ขนตอนการดำเนิ
ั้ นคดีแพ่ง
• การเสนอคดีตอ
่ ศาล
(1) เงือ
่ นไขการเสนอคดีตอ
่ ศาล
(2) ศาลทีจ
่ ะเสนอคดี
• กระบวนพิจารณาเมือ
่ เริม
่ คดี
(1) การตรวจคำคูค
่ วาม
(2) การยืน
่ และส่งคำคูค
่ วามและเอกสาร
(3) การยืน
่ คำให ้การและฟ้ องแย ้ง
• กระบวนพิจารณาเกีย
่ วคับการสืบพยาน
(1) การซี'่ สองสถาน
(2) วิธก
ี ารสืบพยาน
• ิ ฉั ยซี'่ ขาดคดี
การวินจ
ิ ฉั ยซี'่ ขาดคดี
(1) การวินจ
(2) ผลของคำพิพากษาและคำสัง่
ี าคำพิพากษาและคำสัง่
(3) การอุทธรณ์ฎก
• การบังคับคดี
(1) กำหนดเวลาในการบังคับคดี
(2) บัเญหาคาบเกีย
่ วคับการบังคับคดี
ตำแหน่งและการทำการแทนผูพ
้ พ
ิ ากษาห ัวหน้าผูร้ ับผิดชอบ
ผูทำ
้ การแทน
ตำแหน่งผูพ
้ พ
ิ ากษา
ห ัวหน้าร ับผิดชอบ

ประธานศาลฎีกา
รองประธานศาลฎีกาทีม ่ อ
ี าวุโสสูงสุด ถ ้าไม่มผ ี ทำ
ู ้ การ
แทนหรือมี แต่ไม่อาจปฏิบต ั ริ าชการได ้ ให ้ผูพ
้ พิ ากษาทีม่ ี
อาวุโสสูงสุดในศาลนัน
้ เป็ น ผูทำ้ การแทน

รองประธานศาลอุทธรณ์ ถ ้าไม่มผ ี ทำ
ู ้ การแทนหรือมีแต่ไม่
ประธานศาลอุทธรณ์ อาจปฏิบต ั ิ ราชการได ้ ให ้ผู ้พิพากษาทีม ่ อ
ี าวุโสสูงสุดใน
ศาลนัน
้ เป็ นผู ้ทำการแทน
ประธานศาลอุทธรณ์ภาค
รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค ถ ้าไม่มผ ี ู ้ทำการแทนหรือมี
แต่ไม่อาจ ปฏิบตั ริ าชการได ้ ให ้ผู,้ พิพากษาทีม ่ อ
ี าวุโส
สูงสุด'ในศาลนัน
้ เป็ น ผู ้ทำการแทน
อธิบดีผพ
ู้ พ ้ ด ้น
ิ ากษาศาลชัน
รองอธิบดีผพู้ พิ ากษาศาลชน ั ้ ด ้น ทีม
่ อ ี าวุโสสูงสุด ถ ้าไม่ม ี
ผูทำ
้ การแทน หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบต ั ริ าชการได ้ ให ้ผู ้
พิพากษาทีม่ อ ี าวุโสสูงสุด ในศาลนัน ้ เป็ นผูทำ
้ การแทน
อธิบดีผพ
ู้ พ
ิ ากษาศาลยุตธิ รรมอืน

รองอธิบดีผพู้ พ
ิ ากษาศาลยุตธิ รรมอืน ่ ถ ้าไม่มผ ี ทำ
ู ้ การ
แทนหรือมี แต่ไม่อาจปฏิบต ั ริ าชการได ้ ให ้ผูพ
้ พิ ากษาทีม่ ี
อาวุโสสูงสุดในศาลนัน้ เป็ น ผูทำ้ การแทน

อธิบดีผพ
ู้ พ
ิ ากษาภาค ผูพ
้ พ
ิ ากษาคนหนึง่ ทีป
่ ระธานศาลฎีกามีคำสัง่ ใหทำ
้ การแทน

หัวหน ้าศาล ผูพ


้ พ
ิ ากษาทีม
่ อ
ี าวุโสสูงสุด

หันกรณีไม่มผ
ี ู ้ทำการแทน ่ ระธานศาลฎีกามีคำสัง่ ให ้ทำการแทน
ผู ้พิพากษาคนหนึง่ ทีป
*ผู ้พิพากษาอาวุโส และผู ้พิพากษา ประจำศาลจะเป็ นผู ้ทำการแทนไม่ได ้



ทั

องค์คณะผูพ
้ พ
ิ ากษา น์
#
• องค์คณะในศาลฎีกา 3 คน
1
• องค์คณะในศาลอุทธรณ์ และศาลอุทธรณ์ภาค 3 คน .
• องค์คณะในศาลจังหวัด 2 คน + ต ้องไม่เป็ นผู ้พิพากษาประจำศาลเกิน 1 คน 4
โสตท ัศน์# 1.5 อำนาจของผู ้พิพากษาคนเดียว

• องค์คณะในศาลแขวง 1 คน ง
ค์



อำนาจของผูพ
้ พ
ิ ากษาคนเดียว ผู ้
พิ
• ้ ศาล
อำนาจของผู ้พิพากษาคนเดียวในทุกชัน

(1) ออกหมายเรียก หมายอาญา หรือหมายสัง่ ส่งคนมาจากหรือไปยิงจังหวัดอืน
่ า
(2) ออกคำสัง่ ทีไ่ ม่ใช่เป็ นไปในทางวินจ ้ าดคดี
ิ ฉั ยชัข ก


• ้ ต ้น
อำนาจของผู ้พิพากษาคนเดียวในศาลชัน 1
1
(1) ไต่สวน + วินจิ ฉั ยคำร ้องหรือคำขอทีย่ น
ื่ ต่อศาลในคดีทงั ้ ปวง
(2) ไต่สวน + สัง่ เกีย่ วฉั บวิธก
ี ารเพือ
่ ความปลอดภัย
(3) ไต่สวนมูลฟ้ อง + มีคำสัง่ ในคดีอาญา
(4) พิจารณาพิพากษาคดีแพ่งทีม
่ ท
ี น
ุ ทรัพย์ทพ
ี่ พ
ิ าทไม่เกิน 300,000 บาท
(5) พิจารณาพิพากษาคดีอาญา ซึง่ ฉั ตราโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือ ปรับไม่เกิน
60.1 บาท หรือทัง้ จำทัง้ ปรับ แต่จะลงโทษจำคุกเกิน 6 เดือน หรือ ปรับเกิน
10. บาทไม่ไต ้
ผูม
้ อำ
ื นาจนง่ ั พิจารณาคดีแทนองค์คณะ
* กรณีมเี หตุสด ั หรือมีเหตุจำเป็ นอืน
ุ วิสย ่ อ ้นมิอาจก ้าวล่วงได ้ทำให ้ผู ้พิพากษาทีเ่ ป็ นองค์คณะในการ
พิจารณาคดีนั่นไม่สามารถนั่งพิจารณาคดีตอ
่ ไป
* ผู ้พิพากษาทีม
่ อำ
ี นาจนั่งพิจารณาคดีแทนคือ
(1) ในศาลฎีกา ประธานศาลฎีกา รองประธานศาลฎีกา ผู ้พิพากษาในศาลฎีกาที่
ประธานศาลฎีกามอบหมาย
(2) ในศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาค ประธานศาลอุทธรณ์ประธานศาล
อุทธรณ์ภาค รองประธานศาลอุทธรณ์ รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค ผู ้พิพากษา ในศาล
อุทธรณ์ หรือศาลอุทธรณ์ภาคทีป
่ ระธานศาลอุทธรณ์หรือประธานศาล อุทธรณ์ภาคมอบ
หมาย
้ ต ้น
(3) ในศาลชัน
้ ต ้น หรือรองอธิบดีผู ้พิพากษาศาลชัน
* อธิบดีผู ้พิพากษาศาลชัน ้ ต ้น หรือผู ้พิพากษา ในศาล
้ ต ้นของศาลนั่ นทีอ
ชัน ้ ต ้นมอบหมาย
่ ธิบดีผู ้พิพากษาศาลชัน
้ ต ้นของภาคนั่ นทีอ
* อธิบดีผู ้พิพากษาภาค หรือผู ้พิพากษาในศาลชัน ่ ธิบดีผู ้พิพากษา ภาค
มอบหมาย
้ ต ้นของศาลนั่นทีผ
* ผู ้พิพากษาหัวหน ้าศาล หรือผู ้พิพากษาในศาลชัน ่ ู ้พิพากษา หัวหน ้าศาล
มอบหมาย

โสตท ัศน์ # 1.7 ่ ทำคำ


ผู ้มีอำนาจลงลายมือ 1 ชือ
พิพากษา

**ผู ้ทำการแทน มีอำนาจตามมาตรานีด


้ ้วย

ผูม
้ อำ
ื นาจลงลายมือรี}อทำคำพิพากษา
• กรณีมเี หตุสด ั หรือมีเหตุจำเป็ นอืน
ุ วิสย ่ สันมิอาจก ้าวล่วงไต ้ทำให ้ผู ้พิพากษาทีเ่ ป็ นองค์คณะ ในการ
พิจารณาคดีไม่สามารถทำคำพิพากษาไต ้
• ผู ้พิพากษาทีม
่ อำ
ี นาจทำคำพิพากษาไต ้คือ
(1) ในศาลฎีกา ประธานศาลฎีกา รองประธานศาลฎีกา
(2) ในศาลอุทธรณ์หรือศาลอุทธรณ์ภาค ประธานศาลอุทธรณ์ ประธานศาล
อุทธรณ์ภาค รองประธานศาลอุทธรณ์ รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค
้ ต ้น
(3) ในศาลชัน
้ ต ้น รองอธิบดีผู ้พิพากษาศาลชัน
* อธิบดีผู ้พิพากษาศาลชัน ้ ต ้น
* อธิบดีผู ้พิพากษาภาค
* ผู ้พิพากษาหัวหน ้าศาล 2

2ผู ้ทำการแทน มีอำนาจตามมาตรานีด


้ ้วย
เหตุจำเป็นอ ันไม่อาจก้าวล่วงได้(มาตรา 30 + มาตรา 31)
(1) พ ้นจากตำแหน่ง
(2) ถูกคัดด ้านและขอถอนด ้ว
(3) ไม่อาจปฏิใ]ตราชการได ้
(4) ผู ้พิพากษาคนเดียวไต่สวนมูลฟ้ อง เห็นควรพิพากษายกฟ้ องในคดีทม
ี่ อ
ี ต
ั ราโทษให ้
จำคุกเกิน 3 ปี หรือปรับเกิน 60,000 บาท
(5) ผูพ
้ พ
ิ ากษาคนเดียวพิจารณาคดีอาญาทีม ี “ตราโทษเกิน 3 ปี ปรับเกิน 60,000 บาท เห็นควร
่ อ
พิพากษาลงโทษจำคุกเกิน 6 เดือน หรือ ปรับเกิน 10,000 บาท
(6) คดีแพ่งทีต่ ้องกระทำโดยองค์คณะแล ้วหาเสียงข ้างมากไม่ได ้
(7) ผูพ
้ พ
ิ ากษาคนเดียวพิจารณาคดีแพ่งทีม
่ ท
ี น
ุ ทรัพย์พพ
ิ าทไม่เกิน 300,000 บาท แล ้ว ปรากฏว่า
ทุนทรัพย์พพ
ิ าทเกินอำนาจพิจารณาพิพากษาผู ้พิพากษาคนเดียว

โสตท ัศน์ # 1.9 การโอน การเรียกคืน และการขอคืนสำนวนคดี

การโอน การเรียกคืน และการขอคืนสำนวนคด


• การโอนและการเรียกคืนสำนวนคดี
(1) กระทบกระเทือนต่อความยุตธิ รรม
(2) รองประธานศาลฎีกา รองประธานศาลอุทธรณ์ รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค
้ ต ้น หรือผู ้พิพากษาทีม
รองอธิบดีผู ้พิพากษาศาลชัน ่ อ
ี าวุโสสูงสุดในศาลจ“งหวัด หรือศาล
แขวง ซึง่ ไม่ใช่องค์คณะ เสนอความเห็นให ้กระทำ
(3) หากรองประธานศาลฎีกา รองประธานศาลอุทธรณ์ รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค
้ ต ้น หรือผู ้พิพากษาทีม
รองอธิบดีผู ้พิพากษาศาลชัน ่ อ
ี าวุโสสูงสุดในศาลจ“งหวัด หรือ ศาล
แขวงไม่อาจปฏิป้ตราชการไต ้ หรือไต ้เข ้าเป็ นองค์คณะ รองประธานศาลฎีกา
้ ต ้น
รองประธานศาลอุทธรณ์ รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค รองอธิบดีผู ้พิพากษาศาลชัน
หรือผู ้พิพากษาทีม
่ อ
ี าวุโสถ“ดลงมาตามสำต ้มในศาลนัน
้ เสนอความเห็นแทน หาก
รองประธานศาลฎีกา รองประธานศาลอุทธรณ์ รองประธานศาลอุทธรณ์ภาค
้ ต ้นมี 1 คน หรือมีหลายคนแต่ไม่อาจปฏิบต
รองอธิบดีผู ้พิพากษาศาลชัน ั ริ าชการไต ้หรือ
ไต ้เข ้าเป็ นองค์คณะ ให ้ผู ้พิพากษาทีม
่ อ
ี าวุโสสูงสุดของศาลนั น
้ เสนอความเห็นแทน
**ผู ้พิพากษาอาวุโส หรือผู ้พิพากษาประจำศาลไม่มอำ
,
ี นาจเสนอความเห็นดังกล่าว**
• การขอคืนสำนวนคดี ต ้องเป็ นกรณี มีคดีค ้างพิจารณาเป็ นจำนวนมาก ซึง่ จะทำให ้การ
พิจารณาพิพากษาคดีลา่ ข ้า



ทั

น์ การเสนอคดีแพ่งต่อศาล
# บุคคลจะเสนอคดีของตนต่อศาลได ้ต ้อง
1
• เป็ นกรณีทม
ี่ ข
ี ้อโต ้แย ้งสิทธิเกิดขึน
้ : ทำเป็ นคำฟ้ อง หรือ
.
1 ี่ ้องใช ้สิทธิทางศาล : ทำเป็ นคำร ้องขอ
• เป็ นกรณีทต
0


าร
โสตท ัศน์# 1.11
เส คูค
่ วาม



ดี
แ ดูค
่ วาม
พ่ • บุคคลธรรมดา

• นิตบ
ิ ค
ุ คล
ต่
อ • ผู ้ยืน ิ ธิกระทำการแทนบุคคลนัน
่ คำฟ้ องหรือถูกฟ้ องต่อศาล รวมถึงผู ้มีสท ้ ตามกฎหมาย หรือในฐานะ
ศ ทนายความ

ล • ไม่รวมถึงคณะบุคคลหรือกิจการร่วมค ้า
1
4

โสตท ัศน์# 1.12 คูค


่ วามร่วม

ดูค
่ วามร่วม
• บุคคลตงแต่ 2 คนขึน
้ ไป
• มีผลประโยชน์ร่วมค ้นในมูลความแห่งคดี
้ แทนซึง่ ค ้นและค ้น เว ้นแต่ มูลความแห่งคดีเป็ นการชำระหนีซ
• ห ้ามมิให ้ถือว่าบุคคลเหล่านัน ้ งึ่
แบ่งแยกจากค ้นมิไต ้ หรือไต ้มีกฎหมายปั ญญัตด
ิ งั นัน
้ โดยชัดแจ ้ง ให ้ถือว่าบุคคลเหล่านัน

แทน ซึง่ ค ้นและค ้นดังนี้
(1) กระบวนพิจารณาซึง่ ทำ โดยหรือทำ ต่อค ู ่ ความร่วมคนหนึง่ นัน
้ ให ้ถือว่าไต ้ทำ โดยหรือ ทำ
ต่อคูค
่ วามร่วมคนอืน ่ มเสียแก่คค
่ ๆด ้วย ยกเว ้น กระบวนพิจารณาทีเ่ สือ ู่ วาม ร่วมคนอืน

(2) การเลือ
่ นคดีหรือการงดการพิจารณาคดี



ทั

การร้องสอด น์
• การร ้องสอดแบ่งเป็ น 3 กรณี คือ #
1
(1) การร ้องสอดโดยสมัครใจเพือ
่ ให ้โต ้รับความรับรองคุ ้มครองหรือบ่งคับตามสิทธิ ตาม
.
มาตรา 57 (1) 1
(2) การร ้องสอดโดยสมัครใจเพราะตนมีสว่ นได ้เสียตามกฎหมายในผลแห่งคดีนัน
้ 3
ตามมาตรา 57 (2)

โสตท ัศน์# 1.14 ผลของการร ้องสอด าร
ร้
(3) การร ้องสอดทีถ
่ ก
ู ศาลหมายเรียกเข ้ามาในคดี ตามมาตรา 57 (3) อ




ผลของการร้องสอด 1
ิ ธิเสมือนหนึง่ ว่า ตนได ้ฟ้ องหรือถูกฟ้ องเป็ นคดี เรือ
• ผู ้ร ้องสอดตาม มาตรา 57 (1) และ (3) มีสท ่ ง 5
ใหม่
• ผู ้ร ้องสอดตาม มาตรา 57 (2) ต ้องห ้ามใช ้สิทธิอย่างอืน
่ นอกจากสิทธิทม
ี่ อ
ี ยูแ
่ ก่คค
ู่ วามฝ่ ายทีต
่ น
เข ้าเป็ นคูค
่ วามร่วมหรือแทนทีค ู่ วามเดิมและจะใช ้สิทธิในทางทีข
่ ค ่ ้ดคับสิทธิของคูค
่ วามเดิม
ไม่ได ้ด ้วย
เขตอำนาจศาลในคดีแพ่ง
• คำฟ้ องเกีย
่ วด ้วยหนีเ้ หนือบุคคลให ้เสนอต่อ
(1) ศาลทีจำ
่ เลยมีภม
ู ลำ
ิ เนาอยูใ่ นเขตศาล หรือ
(2) ศาลทีม
่ ล
ู คดีเกิดขึน
้ ในเขตศาล
• คำร ้องขอทีว่ ไปให ้เสนอต่อ
(1) ศาลทีม
่ ล
ู คดีเกิดขึน
้ ในเขตศาล หรือ
(2) ศาลทีผ
่ ู ้ร ้องมีภม
ู ลำ
ิ เนาอยูใ่ นเขตศาล
• คำฟ้ องเกีย
่ วด ้วยอลังหาริมทร ้พยให ้เสนอต่อ
(1) ศาลทีอ
่ ลังหาริมทรัพย์นัน
้ ตัง้ อยูใ่ นเขตศาล หรือ
(2) ศาลทีจำ
่ เลยมีภม
ู ลำ
ิ เนาอยูใ่ นเขตศาล
• คำฟ้ องอืน ่ วด ้วยอลังหาริมทรัพย์ซงึ่ จำเลยไม่มภ
่ นอกจากคำฟ้ องเกีย ี ม
ู ลำ
ิ เนาอยูใ่ นราชอาณาจักร และมูลคดี
ไม่ได ้เกิดขึน
้ ในราชอาณาจักร ถ ้าโจทก์มล
ี ัญชาติไทย หรือมีภม
ู ลำ
ิ เนาอยูใ่ นราชอาณาจักร ให ้เสนอต่อ
(1) ศาลแพ่ง หรือ
(2) ศาลทีโ่ จทก์มภ
ี ม
ู ลำ
ิ เนาอยูใ่ นเขตศาล
ิ ทีอ
* ถ ้าจำเลยมีทรัพย์สน ่ าจถูกปั งคับคดีได ้อยูใ่ นราชอาณาจักรให ้ฟ้ องต่อ ศาลทีท ิ
่ รัพย์สน
นัน
้ อยูใ่ นเขต
• คำร ้องขอแต่งตัง้ ผู ้จัดการมรดก
(1) ให ้เสนอต่อศาลที?่ เจ ้ามรดกมีภม
ู ลำ
ิ เนาอยูใ่ นเขตศาลในขณะถึงแก่ความตาย
(2) แต่ถ ้าเจ ้ามรดกไม่มภ
ี ม
ู ลำ
ิ เนาในราชอาณาจักร ให ้เสนอต่อศาล ทรัพย์มรดกตัง้ อยูใ่ นเขต
• คำร ้องเกีย
่ วคับนิตบ
ิ ค
ุ คล ให ้เสนอต่อศาลที่ นิตบ
ิ ค
ุ คลนัน
้ มีลำนักงานแห่งใหญ่อยูใ่ นเขต
• คำร ้องเกีย ิ ในราชอาณาจักร หรือ คำร ้องขอทีเ่ กีย
่ วคับทรัพย์สน ิ ซึง่ มูลคดีไม่ได ้
่ วคับการจัดการทรัพย์สน
เกิดในราชอาณาจักร และผู ้ร ้องไม่มภ
ี ม
ู ลำ
ิ เนาในราชอาณาจักร ให ้เสนอต่อศาลที่ ิ ดังกล่าว
ทรัพย์สน
อยูใ่ นเขต

โสตท ัศน์# 1.16 การตรวจรับคำคูค


่ วาม

การตรวจร ับคำดูค
่ วาม
• ศาลมีอำนาจตรวจคำคูค
่ วามทีย
่ น
ื่ ต่อศาล
• คำคูค
่ วามทีย
่ น
ื่ ต่อศาลโดยเป็ นไปตามเงือ
่ นไขแห่งกฎหมายปั งคับไว ้ ศาลมีคำตัง้ รับคำ
คูค
่ วามไว ้
• ถ ้าคำคูค
่ วามนัน
้ ยืน
่ โดยต่อศาลโดยมิได ้เป็ นไปตามเงือ
่ นไขแห่งกฎหมายทีป
่ ั งคับไว ้
(1) กรณีแก่ไขได ้ศาลจะมีคำตัง้ คืนไปให ้ทำมาใหม่หรือแก่ไขให ้ถูกต ้อง
(2) กรณีแก่ไขไม่ได ้ หรือศาลไม่มอำ
ี นาจรับไว ้ ศาลจะมีคำตัง้ ไม่รับหรือคืนคำคูค
่ วามนัน




ทั

้ งสง่ ในคดี
เอกสารทีตอ น์
#
• ต้องมีรายการตามทีกฎหมายกำหนด
1
• ต้องใต้แบบพิมพ์ของศาล .
• วิธการยืน
่ ต่อศาล 1
(1) ในระหว่างศาลนง่ ั พิจารณา ยืน ่ ต่อศาลโดยตรง
7
โสตท ัศน์# 1.18 หลไาการส่งคำคูค
่ วามและเอกสารอืน
่ โดยเจ ้าพนักงาน เอ
ศาล ก
(2) นอกเวลานง่ ั พิจารณาของศาล ยืน
่ ต่อพน ักงานเจ้าหน้าทีศาล ส
าร
ที่
ต้
่ คำดูค
หล ักการสง ่ วามและเอกสารอืน
่ โดยเจ้าพน ักงานศาล อ

• ส่งในเวลากลางวัน ส่
• ุ คลซึง่ ระบุไว ้ในคำคูค
ส่งให ้แก่บค ่ วามหรือเอกสาร ยกเว ้นเป็ นกรณีใดกรณีหนึง่ ต ้งต่อไปนี้ ง

(1) ส่งให ้แก่ทนายความของผู ้นีน
้ หรือผู ้รับมอบฉั นทะจากทนายความ

(2) บุคคลทีอ ้ ซึง่
่ ยู'่ ในสถานทีนัน ค
♦ อายุเกิน 20 ปี ขน
ึ้ ไป ดี
1
♦ อยูห
่ รือทำงาน ในบ ้านเรือนหรือสำนักทำการงานนั น
้ 7
♦ สม“ครใจรับไว ้
(3) ตามข ้อความในคำสัง่ ของศาล
*ห ้ามส่งแก่คค
ู่ วามฝ่ ายปรปิ กษ์เป็ นผู ้รับไว ้แทน
• ่ ง่
สถานทีส
(1) ภูมสำ
ิ เนา หรือ
(2) สำนักทำการงาน *ยกเว ัน
(1) ผู ้รับยอมรับ หรือ
(2) การส่งนัน
้ ไต ้กระทำในศาล
20
โสตท ัศน์ # 1 . 1 9 การวางหมาย

การวาง
• บุคคลซึง่ ระบุไว ้ในคำคูค
่ วามหรือเอกสาร
• ปฏิเสธไม่ยอมรับคำคูค
่ วามหรือเอกสาร
• โดยปราศจากเหตุอน
ิ ชอบด ้วยกฎหมาย
• เจ ้าพนักงานศาลชอบทีจ
่ ะขอให ้
(1) พนักงานเจ ้าหน ้าทีฝ
่ ่ ายปกครองท ี ่ ม ี อำนาจ หรือ
(2) เจ ้าพนักงานตำรวจ
• ไปด ้วยเพือ
่ เป็ นพยาน
• ถ ้าบุคคลซึง่ ระบุไว ้ในคำคูค
่ วามหรือเอกสารนัน
้ ยิงคงปฏิเสธ ก็ให ้วางคำคูค
่ วามหรือเอกสารไว ้
ณ ที่ นัน

โสตท ัศน์ # 1.20 การปิ ดหมาย

การปิ ดหมาย
• การส่งโดยวิธธ
ี รรมดาไม่อาจทำได ้
• ศาลอาจสัง๋ ให ้ส่งโดยปิ ดคำคูค
่ วามหรือเอกสาร
• ไว ้ ณ ภูมลำ
ิ เนาหรือสำนั กทำการงานของคูค ึ่ ระบุไว ้ในคำคูค
่ วามหรือบุคคลผู ้มีซอ ่ วามหรือ เอกสาร
ได ้

โสตท ัศน์# 1.21 ผลของการส่งคำคูค


่ วามหรือเอกสารภายในราชอาณาจ ้กร

่ คำดูค
ผลของการสง ่ วามหรือเอกสารภายในราชอาณาจ ักร
• การส่งโดยวิธธ
ี รรมดา มีผลทันที
• การส่งโดยวิธพ
ี เิ ศษ มีผลเมือ
่ กำหนดเวลา 15 รันหรือนานกว่านั น
้ ตามทีศ
่ าลกำหนดล่วงพ ้น
ไป

โสตท ัศน์ # 1.22 การส่งหมายเรียกและคำฟ้ องให ้แก่จำเลยหรือบุคคลภายนอกทีน


่ อกราชอาณารักร

่ หมายเรืยกและคำฟ้องให้แก่จำเลยหรือบุคคลภายนอกทีนอกราชอาณาจ ักร
การสง
• การส่งโดยวิธธ
ี รรมดา มีผลเมือ
่ ครบ 60 รันนับแต่รันทีไ่ ด ้มีการส่ง
• การส่งโดยวิธอ
ี น
ื่ มีผลเมือ
่ ครบ 75 รันนับแต่รันทีไ่ ด ้มีการส่งโดยวิธอ
ี น
ื่
การคำนวณระยะเวลา
• วิธก
ี ารคำนวณ ตาม ป.พ.พ.
• กรณีขอขยาย หรือย่นระยะเวลา
(1) ทำเป็ นคำร ้อง
(2) มีพฤติการณ์พเิ ศษ
้ ระยะเวลานัน
(3) ขอก่อนสิน ้ ยกเว ้น มีเหตุสด ั
ุ วิสย

โสตท ัศน์# 1.24 ิ ฉั ยซี'่ ขาดฌีอ


การวินจ ้ งต ้นในปิ ญหาข ้อกฎหมาย

ิ ฉ ัยซเี่ ขาดฌีอ
การวินจ ้ งต้นในบีญหาข้อกฎหมาย
• เมือ
่ ศาลเห็นสมควรหรือคูค
่ วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ ร ้องขอ
• ิ ฉั ยซี'่ ขาดฌีอ
ให ้ศาลวินจ ้ งต ้นในปิ ญหาข ้อกฎหมาย
• หากวินจ
ิ ฉั ยเป็ นคุณแก่ผู ้ขอจะมีผลให ้คดีเสร็จทัง้ หมด หรือ บางส่วน
• คำสัง่ ของศาล คูค ิ ธิอท
่ วามมีสท ุ ธรณ์ฎก
ี าไต ้

โสตท ัศน์ # 1.25 การพิจารณาทีผ


่ ด
ิ ระเบียบ

การพิจารณาทึผ
่ ด
ิ ระเบียบ
• เมือ
่ มีการพิจารณาทีม
่ ไิ ต ้ปฏิบต
ั ต
ิ าม ป.วิ.พ.
• การเพิกถอนกระบวนพิจารณาทีผ
่ ด
ิ ระเบียบทำไต ้ 2 กรณี
(1) ศาลมีคำสัง่ ให ้เพิกถอนหรือแก่ไขเอง
(2) คูค ่ คำขอโดยทำเป็ นคำร ้องให ้ศาลสัง่ เพิกถอนหรือแก่ไขภายในกำหนดเวลา ที่
่ วามยืน
กฎหมายบัญญ ้ติไว ้
• ศาลอาจมีคำสัง่
(1) เพิกถอนกระบวนพิจารณาทีผ
่ ด
ิ ระเบียบ
(2) แก่ไขกระบวนพิจารณาทีผ
่ ด
ิ ระเบียบ
(3) สัง่ อย่างใดอย่างหนึง่ ตามทีศ่ าลเห็นสมควร



การเลือ
่ นการนง่ ั พิจารณาเพราะเหตุดค
ู่ วามมรณะ
ทั
ศ • คูค
่ วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ มรณะก่อนศาลพิพากษาคดี
น์ • บุคคลดังต่อไปนีอ
้ าจเข ้ามาแทนทีค
่ ค
ู่ วามผู ้มรณะได ้
#
(1) ทายาท
1.
2 (2) ผู ้จัดการทรัพย์มรดก
6 (3) ผู ้ปกครองทรัพย์มรดก
• โดยขอเข ้ามาเองหรือศาลหมายเรียกเข ้ามา

าร • ภายในกำหนด 1 ปี นับแต่วันทีค
่ ค
ู่ วามฝ่ ายนั่นมรณะหรือภายในระยะเวลาทีศ
่ าลเห็นสมควร
เลื่



าร
นั่

พิ
จา



เพ
รา

เห
ตุ
คู่

วา

มร


2
1

แบบประเมินผลตนเองของน ักสกษาหล ังการสอนุเสวิม
ครงที
ั้ 1
ชุดวิชา กป้หมายวิ0 สบ ัฌฌํต 1

วํตถุประสงค์ เพือ
่ ประเมินความรู ้ของนักสักษาเกีย
่ วลับขัน
้ ตอนการดำเนินคดีแพ่ง พระธรรมนูญศาลยุตธิ รรม และ
กฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความแพ่ง ภาค 1 บททั่วไป ว่าด ้วยเรือ
่ ง ศาล คูค
่ วาม และการยืน
่ และส่งคำ คู่
ความและเอกสาร

คำแนะนำ ขอให ้อ่านคำถามต่อไปนีท


้ ล ่ งหมาย ร ทีข
ี ะข ้อ และเขียนเครือ ่ ้อคำตอบทีน
่ ้าดีกษาเห็นว่าถูกต ้อง
ทีส
่ ด
ุ นักสักษามีเวลาทำแบบประเมินผลชุดนี้ 1 5 นาที

1. กรณีทเี่ จ ้าพนักงานลังลับคดียด ิ ของผู ้อืน


ึ ทรัพย์สน ่ ซึง่ ไม่ใช่ลก
ู หนีต
้ ามคำพิพากษา เจ ้าของทีแ ิ ธิอย่างไร
่ ท ้จริงมีสท
ก) ยืน
่ คำร ้องขอเฉลีย
่ ทรัพย์
ข) ยืน
่ คำร ้องขอให ้ปล่อยทรัพย์ทย
ี่ ด

ค) ยืน
่ คำร ้องขอลันส่วน
ง) ยืน
่ คำร ้องขอให ้เพิกถอนการลังลับคดี
จ) ยืน
่ คำร ้องขอรับชำระหนีใ้ นคดีนัน

2. ใครเป็ นผู ้ทำการแทนผู ้พิพากษาหัวหน ้าศาล


ก) รองหัวหน ้าศาล
ข) รองหัวหน ้าศาลทีม
่ อ
ี าวุโสสูงสุด
ค) อธิบดีผู ้พิพากษาภาค
ง) ผู ้พิพากษาอาวุโส
จ) ผู ้พิพากษาทีม
่ อ
ี าวุโสสูงสุดในศาลนัน

3. ศาลแขวงมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาทีม
่ ล
ี ัตราโทษเท่าไร
ก) จำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั่งจำทั่งปรับ
ข) จำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั่งจำทั่งปรับ
ค) จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั่งจำทั่งปรับ ง)
จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั่งจำทั่งปรับ จ) จำ
คุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั่งจำทั่งปรับ
4. คดีใดอยูใ่ นอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลแขวง
ก) ฟ้ องขับไล่ออกจากทีด
่ น ่ สู ้เรือ
ิ ราคา 200,000 บาท โดยจำเลยไม่ตอ ่ งกรรมสํทธี้ ข) ฟ้ องขับ
ไล่ออกจากทีด ิ ราคา 200,000 บาท จำเลยต่อสู ้ว่าทีด
่ น ่ น
ิ เป็ นของจำเลย ค) ฟ้ องขับไล่ออก
จากทีด ิ ราคา 200,000 บาท จำเลยต่อสู ้ว่าทีด
่ น ่ น
ิ เป็ นของนายเอ ง) ขัอ ก ข และ ค ถูก จ)
ไม่มข
ี ้อ'ใดถูก

5. บุคคลในข ้อใดไม่มอำ
ี นาจพิจารณาคดีแพ่งทีม
่ จำ
ี นวนทุนทรัพยไม่เกิน 300,000 บาท
ก) ผู ้พิพากษาประจำศาล
ข) ผู ้พิพากษาอาวุโส
้ ต ้น
ค) ผู ้พิพากษาศาลชัน
ง) ผู ้พิพากษาประจำศาลและผู ้พิพากษาอาวุโส
้ ต ้น
จ) ผู ้พิพากษาประจำศาลและผู ้พิพากษาศาลชัน

ธ. เมือ ่ ศาล'จะมีคำสัง๋
่ ศาลตรวจคำฟ้ องแย ้งของจำเลยแล ้ว ปรากฏว่าเขียนฟ่ มเฟิ อยเกินไปและไม่ลงลายมือชือ
อย่างไร
่ ค)
ก) ไม่รับฟ้ องแย ้งเพราะเขียนฟ่ มเฟิ อยเกินไป ข) ไม่รับฟ้ องแย ้งเพราะไม่ลงลายมือชือ
คืนคำฟ้ องแย ้งนัน
้ ใหํไปทำมาใหม่ให ้ถูกต ้อง ง) ยกฟ้ องแย ้งเพราะถือว่าเป็ นฟ้ องทีข
่ าดสาระ
สำคัญ จ) ข ้อ ก และ ข ถูก

7. การขอขยายระยะเวลามืหล ้กเกณฑ์อย่างไร ก) ต ้องทำเป็ นคำขอยืน


่ ต่อศาล ข) ยืน
่ เมือ
่ ใดก็ไต ้ก่อนคดีถงื
ทีส
่ ด

ค) กรณีทย
ี่ น
ื่ คำขอก่อนครบกำหนดระยะเวลานั น
้ ศาลต ้องอนุญาตตามคำขอ
ง) กรณีทย
ี่ น
ื่ ภายหล ้งครบกำหนดระยะเวลานัน
้ ต ้องมีเหตุสด ั ทีไ่ ม่อาจยืน
ุ วิสย ่ ภายในกำหนดไต ้
จ) ถูกทุกข ้อ
8. โจทก์ฟ้องหย่าจำเลย โดยอ ้างเหตุวา่ จำเลยมีช ู ้ ระหว่างพิจารณาโจทก์ถงึ แก่ความตาย หล“งจากนัน
้ 3 เดือน บิดา
ของโจทก์จะร ้องขอเข ้ามาเป็ นคูค
่ วามแทนทีโ่ จทก์ทต
ี่ ายได ้หรือไม่
ก) ไม่ได ้เพราะร ้องขอเกินกว่า 60 วันแล ้ว ข) ได ้เพราะร ้องขอภายใน 1 ปี
ค) ไม่ได ้เพราะบิดาโจทก่ใม่ใช่ผู ้จัดการทรัพย์มรดกของโจทก์
ง) ได ้เพราะบิดาโจทก์มฐ
ี านะเป็ นทายาทคนหนึง่ ของโจทก์
จ) ไม่ได ้เพราะเป็ นเรือ
่ งเฉพาะตัวจึงไม่มค
ี วามจำเป็ นต ้องพิจารณาคดีตอ
่ ไป

9. ผู ้ร ้องสอดทีส ่ ย“งใหํได ้รับความรับรอง คุ ้มครองซึง่ สิทธิทต


่ ม่ครใจเข ้ามาในคดีเพราะเห็นว่าเป็ นการจำเป็ นเพือ ี่ นมี
อยู่ มีผลอย่างไร
ิ ธิเสมือนได ้ฟ้ องหรือถูกฟ้ องเป็ นคดีใหม่ ข) มีสท
ก) มีสท ิ ธินำพยานหล ้ก
ิ ธิถามค ้านพยานทีไ่ ด ้สืบมาแล ้ว
ฐานใหม่มาแสดง ค) มีสท
ิ ธิเพียงเท่าทีค
ง) มีสท ่ ค
ู่ วามฝ่ ายทีต
่ นเข ้าเป็ นคูค
่ วามร่วมหรือมีฐานะเสมอด ้วยคูค
่ วามทีต
่ นแทน
จ) ข ้อ ก ข และ ค ถูก

่ ล ้ ก่เกณฑ์การวางหมาย
10.ข ้อใดไม่ใชห
ก) มีผลทันทีทวี่ างหมาย
ข) ต ้องมีพนักงานฝ่ ายปกครองหรือตำรวจเป็ นพยานในการวางหมาย ค) การวางหมายต ้อง
ึ่ ในหมายหรือครอบครัวของเขาเท่านัน
กระทำต่อหน ้าผู ้มีซอ ้ ง) การวางหมายเป็ นการส่งหมาย
โดยวิธธ
ี รรมดา จ) การวางหมายต ้องกระทำโดยเจ ้าพนักงานศาลเท่านัน

เฉลยแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนและหล ังเรียน
การสอนเลรีมครงที
ั้ 1
ชุดวิชา กฎหมายวิธส
ี บ ัญฌูต 1
ก่อนเรียน หล ังเรียน

1. ก. 1. ข.
2. ง. 2. จ.
3. จ. 3. จ.
4. ข. 4. ข.
5. ก. 5. ก.
ธ. ข. ธ. ค.
7. ค. 7. ง.
8. จ. 8. จ.
9. ง. 9. จ.
10. ก. 10. ค.
ต ัวอย่างคำถามอ ัตน ัย

ื ษาทดลองทำข้อสอบอ ัตน ัย โดยให้ยกหล ักกฎหมาย เหตุผลและคำวินจ


ให้น ักสก ิ ฉ ัย แล้วตรวจคำ
ตอบ พร้อมทงให้
ั้ คะแนนตนเองจากแนวตอบคำถามในหน้าถ ัดไป

คำถาม
นายสมยศมีภม
ู ลำเนาอยูอำ
่ เภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย ทำสัญญาจะขายทีด
่ น
ิ มีโฉนดของตนอยูท
่ ี่
จังหวัด พิษณุโลก ให ้แก่นายสมนึกในราคา 1,000,000 บาท โดยทำสัญญาดังกล่าวสันทีจ
่ ังหวัดอุตรดิตถ์ และรับเงิน
นัดจำ จากนายสมนึกไปแล ้ว 200,000 บาท ต่อมานายสมยศโอนทีด
่ น
ิ ตามสัญญาให ้แก่นายสมนึกไม่ได ้ จึงตกลงเลิก
สัญญาต่อสัน แต่นายสมยศไม่คน
ื เงินนัดจำให ้แก่นายสมนึก
ใหวนิจฉั ยว่า นายสมนึกจะฟ้ องนายสมยศให ้คืนเงินนัดจำได ้ทีศ
่ าลใดบ ้าง

ื ษา
คำตอบของน ักสก
แนวตอบคำถามอ ัตน ัย
หล ักกป้หมาย
ประมวลกฎหมายวิธพ ิ ารณาความแพ่ง มาตรา 4 (1) บัญญัตวิ า่ “เว ้นแต่จะมีบทปญญัตเิ ปี นอย่างอืน
ี จ ่ ”
(1) คำฟ้ อง ให ้เสนอต่อศาลทีจำ
่ เลยมีภม
ู ลำ
ิ เนาอยูใ่ นเขตศาล หรือต่อศาลทีม
่ ล
ู คดีเกิดขึน
้ ในเขตศาลไม่วา่
จำเลยจะมีภม
ู ลำ
ิ เนาอยูใ่ นราชอาฌาจักรหรือไม่ (8 คะแนน )

ข้อวินจ
ิ ฉ ัย
นายสมนึกประสงค์จะฟ้ องบังอับนายสมยศให ้คืนเงินมัดจำจำนวน 200,000 บาท มิได ้บังอัมเอาแก่อวั ทรัพย์
คือทีด
่ น
ิ จึงไม่ใช่คำฟ้ องเกีย
่ วด ้วยอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิหรือประโยชน์อน
ั เกีย
่ วด ้วยอสังหาริมทรัพย์ (ฎ.683/2534)
แต่เป็ นคำฟ้ องเกีย
่ วด ้วยหนีเ้ หนือบุคคล (4 คะแนน) จึงต ้องเสนอต่อศาลทีจำ
่ เลยมีภม
ู ลำ
ิ เนาอยูใ่ นเขตศาล หรือต่อ
ศาล ทีม
่ ล
ู คดีเกิดขึน
้ ในเขตศาลตามมาตรา 4 (1) ศาลทีน
่ ายสมยศจำเลยมีภม
ู ลำ
ิ เนาอยูใ่ นเขตศาลคือศาลจังหรัดสุโข
บัย (3 คะแนน) ส่วนศาลทีม
่ ล
ู คดีเกิดขึน ้ ขายอันทีจ
้ ในเขตศาลคือศาลจังหรัดอุตรดิตถ์ เพราะทำสัญญาจะชีอ ่ ังหรัด
อุตรดิตถ์ เหตุอน
ั เป็ นทีม
่ าแห่งการโต ้แย ้งสิทธิอันทำให ้นายสมนืกมีอำนาจฟ้ องนายสมยศเกิดขึน
้ ทีน
่ น
ี้ (3 คะแนน) นาย
สมนึกจึง ฟ้ องนายสมยศให ้คืนเงินมัดจำได ้ทีศ
่ าลจังหรัดสุโขบัยหรือศาลจังหรัดอุตรดิตถ์ (2 คะแนน)

You might also like