You are on page 1of 2

ก่อนจะนำคดีไปฟ้ องศาลได้ ต้องมีการโต้แย้งสิ ทธิ ม.

55

การเสนอคดีมีขอ้ พิพาทโต้แย้งสิ ทธิ ต้องมีการโต้แย้งสิ ทธิ หน้าที่เกิดขึ้น ตาม ม.55 เมื่อมีการโต้แย้งสิ ทธิ
ก็จะนำคดีไปฟ้ อง ที่ศาล ดูในเรื่ องเขตศาล และอำนาจศาล ว่าจะฟ้ องได้ที่ศาลไหน ในทางภูมิศาสตร์ ทุน
ทรัพย์

ว่ามีทุนทรัพย์เท่าไหร่ จะไปศาลไหน เมื่อโจทก์ยนื่ ฟ้ องถูกศาลแล้ว ศาลรับคำฟ้ องศาล ก็จะตรวจคำฟ้ องของ


โจทก์ ตาม ม. 18 ตรวจดูวา่ คำฟ้ องของโจทก์รู้เรื่ องไหม มีการวางค่าธรรมเนียมศาลหรื อไม่ เวลาฟ้ องต้อง
มีการวางค่าธรรมเนียมศาล ตามม.18 ธรรมเนีนม มองที่ทุนทรัพย์ เมื่อศาลตรวจคำคูค่ วามแล้ว ถ้ารับฟ้ อง
แล้ว

โจทห์ มีหน้าที่ตอ้ งนำส่ง หมายเรี ยกละสำเนาคำฟ้ องให้กบั จำเลย ทำไมต้องส่ ง เพราะไม่ง้ นั จำเลยจะไม่รู้วา่
ตนถูกฟ้ อง และ จะเข้ามาในคดียงั ไง กฎหมายจึงบังคับให้เป็ นหน้าที่โจทก์วา่ ..

เมื่อศาลรับฟ้ องโจทก์แล้ว ม.173 ว.1 เป็ นหน้าที่ของ จ ที่ตอ้ งนำส่ งหมายเรี ยก และสำเนาคำฟ้ องให้แก่
จำเลยเพื่อแก้คดี ภายในกำหนด 7 วัน นับแต่ยนื่ ฟ้ อง ให้โจทก์ร้องขอพนง จนท ให้ส่งหมายเรี ยกให้จำเลยเข้า
มาในคดี และ สำเนาคำฟ้ อง ถ่ายสำเนาให้ จล ไปอ่าน เพื่อเข้ามาในคดีถูก ถ้าโจทก์ไม่ทำหน้าที่ ตาม ม.173
ว 1 ซึ่งเป็ นหน้าที่บงั คับ หากไม่ทำศาลก็จำหน่าคดีไป เพราะ จ ทิง้ ฟ้ อง

ศาลจะมีคำสัง่ ว่าโจทก์ทิ้งฟ้ องตาม 174(1) คำสัง่ ต่อเนื่องมา คือ 176 จำหน้ายคดี ของโจทก์

เมื่อ โจทก์ นำส่ งตาม 173 ว.1 จำเลยเกิดหน้าที่ทนั ที ตามม.177

จล มีหน้าที่ยนื่ คำให้การ 177 ว.1 คือข้อต่อสู้ของ จลที่โจทก์อา้ งว่า จล ทำผิด เป็ นข้อเถียงว่า จล ไม่ได้ทำ
ผิดนะ เช่น จ อ้างว่า จล ทำผิดเช่นนั้นเช่นนี้ เป็ นการอ้างโดยทำเป็ นคำฟ้ อง จล มีสิทธิแก้ขอ้ อ้างของโจทก์
โดยทำเป็ น คำให้การ ยืน่ ต่อศาล ภายใน 15 วัน นับแต่วนั ที่ จล ได้รับหมายเรี ยก และสำเนาคำฟ้ อง ถ้า
ตามม.177 ว.1 ถ้า จ ล ไม่ทำหน้าที่น้ ี จะเกิดผล คือ ถือว่า จล ขาดนัดยืน่ คำให้การ ตาม ม.197

ขาดนัดยืน่ คำให้การ เรื่ องขาดนัด พอ จล ขาดนัด คดี จึงไม่ปรกติ เรี ยกว่า คดี วิสามัญ คือ คดีพิเศษ (คดีสามัญ
คือ คดี ปรกติ ) เพราะ จล ไม่ได้ ทำหน้าที่ตาม 177 ว.1 ส่ งผลให้ จล ขาดนัดยืน่ คำให้การ ตาม ม.197 นี้
คือ กรณี จล ไม่ทำ

พอ จล ทำคำให้การ คำฟ้ องต้องมีหลัก เกณท์ ตาม ม.172 ครบ องค์ประกอบ ศาลจะมีท้ งั คำฟ้ อง และ
ให้การ มาเทียบกัน ศาลก็จะนัดวันแรก ที่ตอ้ งนัด คือ วันชี้ สองสถาน วันที่เอามาเทียบกัน วันชี้สองสถานคือ
อะไร คือ เมื่อ จ ฟ้ องแล้ว ศาลมีคำฟ้ องของ โจทก์อยูใ่ นมือ 1 ฉบับ และมีคำให้การของ จล ศาลก็จะ
เอา 2 อย่างมาเทียบกัน วันชี้สองสถาน คือจะดูวา่ จ ฟ้ องเรื่ องอะไร จล ยอมรับเรื่ องไหน เรื่ องไหนที่ จล
ยอมรับ ก็ถือว่าจบไป เรื่ องที่ไม่ยอมรับ ถึงจะเป็ นประเด็นข้อพิพาทแห่งคดี ศาลก็จะนัดวันชี้สองสถาน ศาล
จะถามว่า จ/จล จะสละข้อไหน จล จะรับประเด็นข้อไหนบ้าง จะรับอย่างไร สถานแรก คือ 1 มีประเด็น
อะไรบ้างในเรื่ องนี้ ทะเลาะกันเรื่ องอะไรบ้าง 2.ใครมีภาระการพิสูจ ภาระการพิสูจ เป็ นเรื่ องของ พยานหลัก
ฐาน ว่า ในประเด็นเรื่ องนี้ ใครต้องพิสูจให้ศาลเห็น หากคนที่มีภาระการพิสูจไม่สามารถแสดงให้ศาลเห็นได้
คนนั้นก็จะแพ้ไปเลย

พอศาลเรี ยก จ/จล มาวันนี้ ก็จะรู ้วา่ มีประเด็นเรื่ องอะไรบ้าง ศาลจะถามว่า จะรับเรื่ องไหนไม่รับเรื่ องไหน

ภาระการพิสูจมีอะไรบ้าง พอศาลรู ้ประเด็นแล้ว ศาลก็จะนำประเด็นมาลิตรายการ 123 แล้ว ศาลก็จะ


กำหนดวัน สื บพยาน อาจจะมีหลายนัดก็ได้ พอศาลรู ้ประเด็นว่ามีอะไรบ้าง ศาลก็นดั กำหนดสื บพยาน
หมายความว่า เอาแต่ลประเด็นมา ว่า จ มีพยานกี่ปากเอาเข้ามาสื บ เช่น จ อ้างว่า จล กูเ้ งิน จล บอกว่า ไม่กู้ ก็
จึงเกิดเป็ นประเด็น ศาลจะไม่รู้ขอ้ เท็จจริ ง จ จึงต้องมีพยาน เข้ามานำสื บอาจะเป็ น พยานบุคคล พยานเอกสาร
หนังสื อ ลายเซ็นต์ วันสื บพยาน อาจจะเป็ นการสื บพยาน จ/จลก็ได้ อาจจะมีวนั ที่ พอชี้สองสถานเสร็ จ ศาลก็
จะแจ้งให้กบั คูค่ วามหรื อ ทนายทราบเลยในวันนั้นว่า ศาลจะ นัด สื อพยาน วันที่......... วันแรกจริ งๆ ไม่วา่
สื บของ จ หรื อ จล เรี ยกวันแรกเลย ว่า วันสื บพยาน วันแรกมีความสำคัญมากที่สุดเพราะ ถ้าวันแรก คู่ความ
ไม่มา หมายถึง ทั้ง จ/จล มีหน้าที่ตอ้ งมาในวันนี้ ถ้า คู่ความ หมายถึง ทั้ง จ/จล ไม่มาศาลในวันนี้ คือ วันแรก
แห่งการสื บจริ งๆ ถือวา คู่ความนั้น จะตกเป็ นผูข้ าดนัดพิจารณา ตาม ม. 200 ทั้งคู่ขาดนัดก็อยูท่ ี่ ม.201
ทั้งคู่ขาดเลย ถ้าทั้งคู่ขาด ศาลต้อง จำหน่ายคดี การจำหน่าย คดี คือ ศาลยังไม่ได้วนิ ิจฉัยชี้ขาดประเด็นข้อใด
เลย

ถ้าเกิด จ ขาดฝ่ ายเดียว จล มา โดยหลักแล้ว ศาล ต้องจำหน่ายคดี เว้นแต่ จล จะขอให้พิจารณา คดีต่อไป จล


แถลงต่อศาล ว่าตนประสงค์ให้พิจารณาคดีต่อไป จ ขาด จล มา

ต่อมา ม.204 จล ขาด จ มา ศาลต้องพิจารณาคดีต่อไปฝ่ ายเดียว ซึ่งเรื่ องนี้ ก้เป็ นการพิจารณา วิสามัญ
เหมือนกัน ขาดนัด มี2 คือ ขาดนัดยืน่ คำให้การ แน่นอนคือ จล หรื ออาจจะเป็ น จ ถูก จล ฟ้ องแย้ง

พอสื บพยานแล้ว ศาลจะเริ่ มเห็นเค้าโครงว่าใครพูดจริ งใครโกหก ศาลก็จะนำพยานที่ได้ ประกอบกับประเด็น


ของดคี ต้องอยูใ่ นคดีพพิ าท มาทำคำพิพากษา เมื่อศาลเห็นเพราะว่า มีการสื บพยานมาแล้ว ศาลก็จะทำคำ
พิพากษา พอสื บเสร็ จ ศาลจะแจ้ง คู่ความสองฝ่ าย ว่า ในวันนี้ ......... จะอ่านคำพิพากษา เมื่อศาลอ่านคำ
พิพากษา ก็จะรู ้วา่ ใครแพ้ใครชนะ นี้ เป็ นกระบวนพิจรณาหลัก

หลักทำคำพิพากษา ใหญ่ ม.142 คำพิพากษา ต้องตัดสิ นตามประเด็นแห่งคดีทุกข้อ ห้ามทำคำพิพากษา


หรื อคำสัง่ ใดๆ เกินคำสัง่ หรื อคำฟ้ อง กฎเหล็กของการทำคำพิพากษา

You might also like