You are on page 1of 5

ทำไมแกนโลกจึงร้อนกว่าดวงอาทิตย์ ?

ที่แกนด้ านในของโลกมีลกั ษณะเป็ นของแข็งลูกกลมๆที่ร้อนจัด


และมีรัศมีประมาณ 1220 กิโลเมตร แต่มีขนาดที่เล็กกว่าดวงจันทร์แค่ 30%
เท่านันเอง
้ เราได้ ศกึ ษาเกี่ยวกับแกนโลกโดยการสังเกตผลกระทบของแรงโน้ มถ่วง
ต่อวัตถุบนพื ้นผิวโลก จากการศึกษานันคาดว่
้ ามวลของโลกนันจะอยู
้ ่ที่ประมาณ
5.6 ล้ านล้ านตัน ความหนาแน่นระหว่างพื ้นผิวโลกกับแกนกลางของโลกมีความแตก
ต่างกัน
่ที่ประมาณ 3000
ความหนาแน่นของพื ้นผิวโลกนันจะอยู
้ km/m*3
และความหนาแน่นสัมพัทธ์ของแกนกลางโลกจะอยู่ที่ประมาณ 17.0
นักวิทยาศาสตร์ ก็ได้ ค้นพบว่ามวลของโลกส่วนใหญ่นนอยู
ั ้ ่ที่ใจกลาง
ของโลกเป็ นหลัก คาดว่ามากกว่า 80% ของแกนโลกนันประกอบด้
้ วย
1 ใน 4 ขององค์ประกอบพื ้นฐาน ที่พบมากที่สดุ ในกาแล็คซีของเรา นัน่ คือ
เหล็ก แต่เหล็กบนพื ้นผิวโลกนันค่
้ อนข้ างมีขีดจำกัด

เหล็กมันลงไปอยูท่ ่ แี กนกลางของโลกได้อย่างไร ?
องค์ประกอบที่มีน้ำหนักมากจะผลักดันตัวเองไปที่ศนู ย์กลางของโลก
นัน่ คือเหล็ก พื ้นผิวส่วนใหญ่ของโลกประกอบด้ วยหินที่เรี ยกว่า
ซิลิเกต ในปี 2013 เวนดี ้เมา ก็ได้ ค้นพบคำตอบ พวกเขาเริ่ มทำการ
ทดลองว่า เหล็กและซิลิเกต มีปฏิกิริยาอย่างไร เมื่อเหล็กและซิลิเกต
ต้ องเผชิญกับแรงกดกันอย่างรุนแรง แบบเดียวกับในสภาวะของ
แกนกลางโลก พวกเขาใช้ เครื่ องมือที่เรี ยกว่า Diamond Enyui cell
เพื่อบีบสสารทังสองนี
้ ้เขาก็ประสบผลสำเร็ จที่แรงดัน 330 กิกาปาสคาล
ซึง่ อยู่ที่ประมาณ 3.3 ล้ านเท่าของแรงดันในชันบรรยากาศของโลก

เหล็กที่หลอมเหลวได้ จะค่อยๆบีบตัวผ่านชันหิ
้ นซิลิเกต มันใช้ เวลาหลาย
ล้ านปี กว่าที่เหล็กจะเดินทางไปถึงศูนย์กลางของโลก เหล็กจะเคลื่อนที่

อย่างช้ าๆราวกับหอยทาก
เราจะรู้ได้ อย่างไรว่าขนาดแกนกลางของโลกนั้นเท่าไหร่ ? ต้องมาดูที่วิชา
ว่าด้ วยเรื่ องของแผ่นดินไหวช่วงขนาดที่เกิดแผ่นดินไหว คลื่นกระทบจะแผ่
กระจายไปทัว่ โลก นักวิชาการด้ านแผ่นดินไหว ได้ ศกึ ษาการสัน่ สะเทือนเหล่า
นี ้แต่การสัน่ สะเทือนจะมีเส้ นทางที่แตกต่างกัน พวกมันเดินทางไปยังส่วน
ต่างๆของโลกและนัน่ จะทำให้ เกิดเสียงกระทบในตอนท้ าย ต่อมานักวิทยาศาสตร์
ก็ได้ ค้นพบว่าแรงสัน่ สะเทือนเหล่านัน้ เรี ยกว่า คลื่นทุติยภูมิ คลื่นทุติยภูมิ
สามารถสัน่ สะเทือนผ่านวัตถุที่เป็ นของแข็งเท่านัน้ และจะไม่สนั่ สะเทือนผ่านของเหลว
ดังนันเมื
้ ่อมีบางสิง่ ที่หลอมละลายอยู่ในใจกลางของโลกมันจึงป้องกันไม่ให้
การสัน่ สะเทือนเกิดขึ ้นผ่านไปได้ ดงั นันพวกเขาจึ
้ งเริ่ มขุดค้ นข้ อมูลที่พวกเขา
มีและเริ่ มทำแผนที่ของเส้ นทางของคลื่นแผ่นดินไหว และพบว่าลึกลงไปประมาณ
3000 กิโลเมตรจากพื ้นผิวโลกบรรดาหินทังหลายได้
้ หลอมรวมกันจนเป็ นของเหลว
อิงเง ลีแมน นักวิชาการด้ านแผ่นดินไหวชาวเดนมาร์ ก ได้ ค้น พบคลื่นแผ่นดินไหว
ในรูปแบบใหม่ในปี 1930 ในตอนแรกเรามีคลื่นทุติยภูมิที่ไม่เคลื่อนผ่านของเหลว
แต่หลังจากนันเราก็
้ ค้นพบ คลื่นปฐมภูมิที่สามารถเดินทางผ่านแกนกลางของโลก
และไปปรากฏที่อีกด้ านหนึง่ ของโลก นัน่ คือตอนที่อิงเง ลีแมน ได้ นำเสนอถึงทฤษฎีที่วา่
แกนกลางของโลกมีสองชัน้ นันคื
้ อแกนด้ านในที่เป็ นของแข็งซึง่ อยู่ห่างจากพื ้นผิวโลก
ประมาณ 6000 กิโลเมตรและแกนด้ านนอกที่เป็ นของเหลวที่อยู่ใต้ เท้ าของเราซึง่ ลึกลงไป
3000 กิโลเมตร
แกนโลกนั้นมีอุณหภูมิสูงแค่ไหน ?
ดังนันนั
้ กวิทยาศาสตร์ ได้ ค้นหาคำตอบได้ ด้วยการสร้ างแรงดันกดทับ
อีกครัง้ ในปี 2013 มีนกั วิจยั ชาวฝรั่งเศสได้ ค้นพบตัวเลขที่แม่นยำที่สดุ เท่าที่เราเคย
มีมา พวกเขาวางเหล็กผ่านแรงดันสูง ซึง่ แทบจะสูงกว่าแกนกลางโลกเสียอีก
และข้ อสรุปที่พวกเขา ค้ นพบก็คืออุณหภูมิของแกนโลกจะอยู่ที่ประมาณ 5230

องศาเซลเซียส ในขณะที่จดุ หลอมเหลวของเหล็กบริ สทุ ธ์ นนอยู


ั ้ ่ที่ประมาณแค่
1540 องศาเซลเซียส แล้ วที่จดุ หลอมเหลวแกนกลางโลกนันมี้ อณุ หภูมิที่ประมาณ
6000 องศาเซลเซียส ความผันผวนของอุณหภมิเหล่านัน้ เกิดขึ ้นมาจากการแยกตัวในแรงดันที่มหาศาล
ที่เหล็กสัมผัสกับแกนกลาง นอกจากนี ้องค์ประกอบอื่นที่อยู่ภายในแกนโลกอาจทำให้ อณ
ุ หภูมิลดลง
ประมาณ 200 องศาเซลเซียส แต่เหตุผลที่มนั ยังเป็ นของแข็งอยู่ก็คือการระบายความร้ อนที่ช้าของ
แกนด้ านนอกและแรงบีบอัด แกนด้ านในหมุนเร็ วกว่าโลกซึง่ เกิดจากความร้ อนภาย
ในโลกของเราที่ก่อให้ เกิดสนามแม่เหล็กขึ ้น ซึง่ โลกจะใช้ เวลานานมากในการระบายความร้ อน ออกจากนอกโลก
มี 3 เหตุผลหลักที่ทำให้ โลกนันยั
้ งคงมีเดือดอยู่ตลอดเวลา
ประการแรก คือแกนโลกยังคงร้ อน จากการที่โลกของเราก่อตัวขึ ้นเมื่อประมาณ
4.5000 ล้ านปี ก่อน ความจริงแล้ วโลกจะเย็นลงในอุณหภูมิที่ 100 องศาเซลเซียส
ในทุกๆ 1000 ล้ านปี ความร้ อนนันยั
้ งไม่หายไป
ประการที่สอง มันสร้ างความร้ อนจากแรงเสียดทานของวัสดุที่มีความหนาแน่นสูงที่ขณะที่พวกมันกำลังเคลื่อนที่
และประการที่สาม ความร้ อนนันมาจากการสลายตั
้ วของธาตุกมั มันตรังสี
แล้ วทำไมมันถึงมีความสำคัญละ นัน่ ก็คือมันทำให้ นกั วิทยาศาสตร์ ได้ เข้ าใจว่า
มันมีผลอย่างไรต่อความเร็ วของการสัน่ สะเทือนที่เคลื่อนผ่านแกนโลก
จำคลื่นปฐมภูมิที่ฉนั บอกคุณก่อนหน้ านี ้ได้ มยั ้ พวกมันเดินทางช้ ากว่าที่ควร
จะเป็ นในขณะที่เคลื่อนผ่านแกนโลก สิ่งนี ้สะท้ อนให้ เห็นว่า มันจะต้ องมีองค์
ประกอบอื่นอยู่ในนันด้
้ วยแน่ๆซึง่ เรายังคงหาคำตอบไม่ได้
นิกเกิลเป็ น 1 ในสันนิษฐาน แต่เมื่อนักวิทยาศาสตร์ ได้ ทำการทดสอบด้ วยนิเกิล
แล้ ว คลื่นปฐมภูมิมนั ก็ยงั ไม่เคลื่อนผ่านช้ าได้ ขนาดนัน้ ดังนันพวกเขาได้
้ ทำการคิด
ค้ นต่อไป ในปี 2015 มีการขุดค้ นข้ อมูลค้ นคว้ าใหม่จากมหาวิทยาลัย เดอแรม
โดยอ้ างว่าด้ วย 90% ของแกนโลกนันคื
้ อธาตุกมั มะถัน ดังนันนี
้ ่จงึ อาจเป็ นองค์ประกอบ

ที่ขาดหายไป เมื่อประมาณ 4.5000 ล้ านปี ก่อน โลกชนปะทะกับวัตถุดาวเคราะห์


ขนาดใหญ่จงึ ทำให้ เกิดการแบ่งตัวของโลกแล้ วก่อให้ เกิดดวงจันทร์ เหตุการณ์
ทิ ้งหลักฐานไว้ เบื ้องหลังซึง่ นำไปสูก่ ารศึกษาไปในทิศทางใหม่ เมื่อเกิดการปะทะ
ขึ ้นของเนื ้อโลกจะละลายและกลายเป็ นของเหลวที่เต็มไปด้ วกัมมะถัน ซึง่ เกิดการบีบตัว
ผ่านซากปะระผลักพัง และคืนสภาพกลับมาใหม่ บางส่วนของมันอาจจะสูญหาย
ไปในอวกาศบ้ าง ที่สว่ นอื่นที่เหลือล้ วนจมลงไปสูแ่ กนกลางของโลก นักวิทยาศาสตร์
จากมหาวิทยาลัย เดอแรม ได้ ยืนยันในทฤษฎีนนโดยการวั
ั้ ดอัตราส่วนไอโซโทปของ
องค์ประกอบในเนื ้อโลก พวกเขาเปรี ยบมันกับอุกาบาตซึง่ อาจเเป็ นส่วนหนึง่ ของ
รูปแบบดังเดิ
้ มของโลก แต่ปัญหาก็คือ มีองค์ประกอบต่างๆอยู่มากมายที่อยู่ในเนื ้อ
โลก ซึง่ ค่อนข้ างยากในการหาข้ อสรุป ดังนันพวกเขาจึ
้ งเกิดไอเดียใหม่ขึ ้นมา
ทองแดงมักจะเป็ นธาตุที่อยู่คกู่ บั กัมมะถัน ดังนันพวกเขาจึ
้ งวิเคราะห์ทองแดง
จากเนื ้อโลกและเปลือกโลก ตอนนี ้มันเป็ นการศึกษาแบบ 3 ขันตอน
้ ในห้ องทด
ลองที่แตกต่างกันโดยใช้ Mashpejo Skorp ที่ล้ำสมัย พวกเขาได้ ค้นพบว่ามัน
มีความแตกต่างกันเล็กน้ อยระหว่างชิ ้นส่วนของตัวอย่างทองแดงที่อยู่ในเนื ้อโลก
กับทองแดงที่อยู่ในอุกาบาต นันเป็
้ นการยืนยันของทฤษฎีที่วา่ โลกได้ ชนกับวัตถุ
หนึง่ และเนื ้อของโลกส่วนใหญ่ก็กระจัดกระจายไปทัว่ อวกาศ ตอนนี ้เราก็ได้ ร้ ูแล้ วว่า
แกนกลางของโลกประกอบด้ วยกัมมะถันอยู่ข้างส่วนหนึง่ หวังว่าเร็ วๆนี ้เราจะสามารถ
หาคำตอบได้ สกั ที่วา่ องค์ประกอบที่เหลือคืออะไรบ้ าง และเพื่อตอบคำถามสุดท้ าย
ของคุณใช้ แล้ ว ศูนย์กลางของโลกก็คือ Core นันเอง

ทำไมแกนโลกถึงร้อน ?
แกนของโลกยังร้ อนอยู่ได้ เนื่องจากความร้ อนดังเดิ
้ มตังแต่
้ สมัยก่อกำเนิดโลก
และการที่แกนโลกยังคงความร้ อนจนมาถึงปั จจุบนั ได้ ก็เพราะแกนกลางโลกมีความกดดันสูงมาก
และยังมีกลไกการบิดตัวของโครงสร้ างโลกจากการโคจรรอบดวงอาทิตย์ เรี ยกว่า gravitational heat
สุดท้ าย ที่สำคัญมาก ๆ ก็คือ ได้ ความร้ อนมาจากปฏิกิริยา Nuclear
fission ของธาตุกมั มันตรังสี
เช่น Potassium 40 Uranium 238,235 และ Thorium 232 …. 90% ของความร้ อนมาจาก
ปฏิกิริยา Nuclear fission นี่แหละ
หากแกนโลกเย็นตัวลง จนกลายเป็ นของแข็ง จะเกิดหายนะกับโลกเลยครับ
เพราะเมื่อแกนโลหะเหลวเย็นลงกลายเป็ นของแข็ง ภาวะ Dynamo effect
ก็จะหมดไป ทำให้ สนามแม่เหล็กของโลกหายไป …. และนี่เองที่จะทำให้
ลมสุริยะ (Solar wind) จะปั ดเป่ าชันบรรยากาศโลกออกไปเรื
้ ่ อย ๆ จนหมด
และโลกเราจะกลายเป็ นสภาพคล้ ายดาวอังคารครับ คือเป็ นดาวเคราะห์ที่ ตาย
ไม่มีน้ำ ไม่มีสงิ่ มีชีวิต
ทำไมความร้อนภายในโลกจึงไม่ลดลงไปเรื่ อยๆ ในเมื่อนักวิทยาศาตร์บอกว่า โลกมีมาเป็ นหลายล้านปีแล้ว ?
เพราะโลกมีมวลมากพอที่จะรักษาเก็บกักความร้ อนภายในโลกได้
*ความร้ อนจากใต้ ภิภพ ไม่ได้ กำลังเย็นตัวลง แต่คงที่ตา่ งหาก
ความร้ อนหลักๆเลย ไม่ได้ มาจากธาตุกมั มันตรังสี แต่เกิดจากความกดดันและอัดแน่นของมวลสารเป็ นหลัก
เหมือนกับแกนกลางของดาวฤกษ์ ไม่ได้ ประกอบจากธาตุอื่นเลย หลักๆมี H He แต่ก็สามารถเกิดความร้ อนด้ วยตัวเองได้ เพราะเนื่องจากสภาพ
ความกดดันและความหนาแน่นของมวลสารล้ วนๆครับ
เพราะมวลสารเมื่อถูกลดปริ มาตรลง จะมีอณ
ุ หภูมิเพิ่มขึ ้น เนื่องจากอนุภาคหรื อโมเลกุลชนกันถี่มากขึ ้นจนเกิดความร้ อนขึ ้นมา ยิ่งถูกอัดแน่นมากเท่า
ไหร่ ก็เกิดความร้ อนมากขึ ้นเท่านัน้
ใครที่เคยเล่นกองทราย หากลองเอามือล้ วงเข้ าไปในกองทรายลึกๆ จะรู้สกึ อุน่ แทนที่จะเย็น เพราะแบบนี ้นัน่ เองครับ
*สรุปว่า ความร้ อน มาจากตัวกำเนิดแรงโน้ มถ่วง ที่อยู่ใจกลางโลก อัดมวลสารเข้ าด้ วยกัน แต่หลักการทรงพลังงาน เมื่อสร้ างงาน ก็ต้อง Loss ไป
อยู่ดี
*ตอนแรกไม่ได้ ตอบ แต่มีความเห็นหลายทางเลยมาสรุปให้
ภายในโลกร้อนขึ้นจากสามปั จจัยหลัก
– ความร้ อนเนื่องจากการก่อตัว (การพุง่ ชนของวัตถุที่ก่อตัวเป็ นโลก”
– ความร้ อนเนื่องจากความดันสูง
– ความร้ อนจากกัมมันตรังสี
สองปั จจัยแรกสร้ างความร้ อนให้ โลกประมาณ 20% และกัมมันตรังสีเป็ นแหล่งความร้ อนหลักราว 80%
ความร้ อนในโลกกำลังลดลงช้ าๆจากการแผ่รังสีความร้ อน ค่อนข้ างช้ าเพราะเรามีเปลือกโลกคอยป้องกัน รวมถึงการไหลเวียนของมวลสารในโลก
และเทคโทนิคเพลทด้ วยทำให้ ต้องใช้ เวลานานเอามากๆกว่าแกนโลกจะเย็น จากการคำนวณ มันจะนานกว่าอายุระบบสุริยะที่เหลือซะอีกครับ

You might also like