You are on page 1of 62

1

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนพัฒนา
พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
2

สำนักงานเขต……………………………………………………….

คำนำ

ตามที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน ได้ประกาศใช้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยกำหนดให้โรงเรียนต้นแบบการใช้
หลักสูตรและโรงเรียนที่มีความพร้อม
เริ่มใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ดังนี ้
1. ปี การศึกษา 2552 ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้น
ฐาน พุทธศักราช 2551 ในชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 1-6 และชัน
้ มัธยมศึกษาปี
ที่ 1 และ 4 ในโรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรฯ
3

2. ปี การศึกษา 2553 ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน


้ พื้น
ฐาน พุทธศักราช 2551 ในชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 1-6 และชัน
้ มัธยมศึกษาปี
ที่ 1 และ 4 ในโรงเรียนทั่วไปและชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 และ 5
3. ปี การศึกษา 2554 เป็ นต้นไป ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทุกชัน
้ เรียน
โรงเรียนพัฒนาสำนักงานเขต…………………ได้ดำเนินการจัดทำ
หลักสูตรสถานศึกษาโดยใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 เป็ นแกนหลักเพื่อกำหนดการจัดทำโครงสร้างและ
สาระหลักสูตรสถานศึกษามีความสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา
หลักสูตรท้องถิ่น ซึ่งในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาครัง้ นี ้ เป็ นการสร้าง
หลักสูตรที่อาศัยการมีส่วนร่วมของนักเรียน คณะครู ผู้ปกครองและชุมชน
ทัง้ นีเ้ พื่อให้สามารถขับเคลื่อนไปสู่การจัดการเรียนรู้ทส
ี่ ่งผลให้ผู้เรียนมี
คุณภาพด้านความรู้และทักษะที่จำเป็ นในการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการ
เปลี่ยนแปลงและสอดคล้องกับการเข้าสูป
่ ระชาคมอาเซียนและแสวงหา
ความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต และเพื่อให้เป็ นไปตาม
เจตนารมณ์ในการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนดใน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ในปี การศึกษา 2559 นี ้ ทางโรงเรียนได้ร่วมกันจัดทำหลักสูตรสถาน
ศึกษาโรงเรียนพัฒนา พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2559) ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เพื่อเป็ นกรอบ
ทิศทางในการนำหลักสูตรไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพและเพื่อให้เกิดการ
พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็ นคนดี มีปัญญามีคณ
ุ ภาพชีวิตที่ดีและมี
4

ศักยภาพความสามารถในการปรับตัวให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขทัง้
ในสังคมไทยและสังคมโลกต่อไป
ขอขอบคุณผู้มส
ี ่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนที่ให้ความร่วมมือและมี
ส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรฉบับนีใ้ ห้มีความสมบูรณ์และเหมาะสม
ตามบริบทต่อการจัดการศึกษาในโรงเรียนพัฒนาตัง้ แต่ปีการศึกษา 2559
เป็ นต้นไป

(ลงชื่อ)

( )
ผู้อำนวยการสถานศึกษา
โรงเรียน

สารบัญ

คำนำ........................................................................................................

..................................................
สารบัญ.....................................................................................................

..................................................
5

1. ส่วน
นำ............................................................................................................ 1
......................................
ความ
นำ............................................................................................................ 1
............................
วิสัย
ทัศน์......................................................................................................... 1
.............................
สมรรถนะสำคัญของผู้
2
เรียน........................................................................................................
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้
3
เรียน........................................................................................
สาระและมาตรฐานการเรียน
3
รู้....................................................................................................
คุณภาพผู้
เรียน......................................................................................................... 4
...................
ตารางวิเคราะห์หลักสูตรสถาน
8
ศึกษา...........................................................................................
2. โครงสร้าง
รายวิชา.................................................................................................... 14
..............................
3. คำอธิบาย 19
6

รายวิชา....................................................................................................
.............................
4. การวัดและประเมินผลการเรียน
21
รู้..........................................................................................................
5. เกณฑ์การจบ
หลักสูตร................................................................................................... 22
........................

อภิธาน
ศัพท์......................................................................................................... 23
.......................................
บรรณานุกรม...........................................................................................
26
...................................................
คณะผู้จัดทำ
หลักสูตร................................................................................................... 27
..............................
7

1. ส่วนนำ
ความนำ

คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ทำให้
มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์คิดอย่างมีเหตุผล เป็ นระบบ มีแบบแผน
สามารถวิเคราะห์ป้ญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วนรอบคอบ ช่วยให้
คาดการณ์วางแผนตัดสินใจแก้ป้ญหา และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
อย่างถูกต้องเหมาะสม นอกจากนีค
้ ณิตศาสตร์ยังเป็ นเครื่องมือในการ
ศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตร์อ่ น
ื ๆ คณิตศาสตร์จึงมี
ประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขน
ึ ้ และสามารถ
อยู่ร่วมกับผู้อ่ น
ื ได้อย่างมีความสุข
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เปิ ดโอกาสให้เยาวชนทุกคนได้
เรียนรู้คณิตศาสตร์อย่างต่อเนื่อง
ตามศักยภาพ โดยกำหนดสาระหลักที่จำเป็ นสำหรับผู้เรียนทุกคนดังนี ้
1. จำนวนและการดำเนินการ: ความคิดรวบยอดและความรู้สึก
เชิงจำนวน ระบบจำนวนจริง สมบัติเกี่ยวกับจำนวนจริง การดำเนินการ
ของจำนวน อัตราส่วน ร้อยละ การแก้ป้ญหาเกี่ยวกับจำนวน และ การใช้
จำนวนในชีวิตจริง
2. การวัด : ความยาว ระยะทาง นีา้ หนัก พื้นที่ ปริมาตรและความ
จุ เงินและเวลา หน่วยวัดระบบต่างๆ การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัด
8

อัตราส่วนตรีโกณมิติ การแก้ป้ญหาเกี่ยวกับการวัด และการนำความรู้


เกี่ยวกับการวัดไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ
3. เรขาคณิต : รูปเรขาคณิตและสมบัติของรูปเรขาคณิตหนึ่งมิติ
สองมิติ และสามมิติ การนึกภาพ แบบจำลองทางเรขาคณิต ทฤษฎีบท
ทางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิต (geometric transformation)
ในเรื่องการเลื่อนขนาน (translation) การสะท้อน (reflection) และการ
หมุน (rotation)
4. พีชคณิต: แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ ฟั งก์ชัน เซตและ
การดำเนินการของเซต การให้เหตุผล นิพจน์ สมการระบบสมการ
อสมการ กราฟ ลำดับเลขคณิต ลำดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิต และ
อนุกรมเรขาคณิต
5. การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็ น : การกำหนดประเด็น
การเขียนข้อคำถาม การกำหนดวิธีการศึกษา การเก็บรวบรวมข้อมูล การ
จัดระบบข้อมูล การนำเสนอข้อมูล ค่ากลางและการกระจายของข้อมูล
การวิเคราะห์และการแปลความข้อมูล การสำรวจความคิดเห็น ความน่า
จะเป็ น การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็ นในการอธิบาย
เหตุการณ์ต่างๆ และช่วยในการตัดสินใจในการดำเนินชีวิตประจำวัน
6. ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ : การแก้ปัญหาด้วยวิธี
การที่หลากหลายการให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทาง
คณิตศาสตร์และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์
และการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์

วิสัยทัศน์หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
9

การศึกษาคณิตศาสตร์ สำหรับหลักสูตรการศึกษาแกนกลางขัน
้ พื้น
ฐานพุทธศักราช 2551 เปิ ดโอกาสให้เยาวชนทุกคนได้เรียนรู้คณิตศาสตร์
อย่างต่อเนื่องและตลอดชีวิตตามศักยภาพ ทัง้ นีเ้ พื่อให้เยาวชนเป็ นผู้มี
ความรู้ความสามารถทางคณิตศาสตร์ที่พอเพียงสามารถนำความรู้  ทักษะ
และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จำเป็ นไปพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดียิ่ง
ขึน
้  รวมทัง้ สามารถนำไปเป็ นเครื่องมือในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และเป็ นพื้น
ฐานสำหรับการศึกษาต่อ ดังนัน
้ จึงเป็ นความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่
ต้องจัดสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมแก่ผู้เรียนแต่ละคน ทัง้ นีเ้ พื่อให้บรรลุ
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่หลักสูตรกำหนดไว้
สำหรับผู้เรียนที่มีความสามารถทางคณิตศาสตร์ และต้องการเรียน
คณิตศาสตร์มากขึน
้ ให้ถือเป็ นหน้าที่ของสถานศึกษาที่จะต้องจัดโปรแกรม
การเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนรู้
คณิตศาสตร์เพิ่มเติมตามความถนัดและความสนใจ ทัง้ นีเ้ พื่อให้ปผู้เรียนมี
ความรู้ที่ทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนพัฒนา
พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2559) ตามหลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ 5
ประการ ดังนี ้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถในการรับและ
ส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ
ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทัง้
10

การเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับ


หรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ
เลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อ
ตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์
การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อ
การตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้
ปั ญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของ
หลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์
ความรู้มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปั ญหาและมีการตัดสินใจที่มี
ประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึน ้ ต่อตนเอง สังคมและสิ่ง
แวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็ นความสามารถใน
การนำกระบวนการต่างๆ ไปใช้ใน
การดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
การทำงานและการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อัน
ดีระหว่างบุคคล การจัดการปั ญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม
การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และ
การรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้
อื่น
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็ นความสามารถในการ
เลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทาง
เทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร
การทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสมและมี
คุณธรรม
11

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนพัฒนา พุทธศักราช 2553 (ฉบับ


ปรับปรุง พ.ศ.2559)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน ้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่ง
พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้
อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี ้
1. รักชาติศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่ เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทำงาน
7. รักความเป็ นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐานกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จำนวน 6 สาระ 14 มาตรฐาน ดังนี ้

สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการ
ใช้จำนวนในชีวต
ิ จริง
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึน
้ จากการดำเนินการของจำนวน
และความสัมพันธ์ระหว่าง
12

การดำเนินการต่าง ๆ และใช้การดำเนินการในการแก้
ปั ญหา
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคำนวณและแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจำนวนและนำสมบัติเกี่ยวกับจำนวนไปใช้

สาระที่ 2 การวัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาด
ของสิง่ ที่ต้องการวัด
มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด

สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับ
ปริภูมิ (spatial reasoning) และ
ใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการ
แก้ปัญหา

สาระที่ 4 พีชคณิต
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์
และฟั งก์ชน

13

มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิง


สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (mathematicalmodel) อื่น
ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมาย
และนำไปใช้แก้ปัญหา

สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็ น
มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ น
ในการคาดการณ์ได้
อย่างสมเหตุสมผล
มาตรฐาน ค 5.3 ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็ นช่วยในการ
ตัดสินใจและแก้ปัญหา

สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางสังคมศึกษา ศาสนาและ


วัฒนธรรม
มาตรฐาน ค 6.1มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การ
สื่อสาร การสื่อความหมาย
ทางสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และการนำเสนอ
การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมและเชื่อมโยง
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
กับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

คุณภาพผู้เรียน
14

จบชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3
 มีความรู้ความเข้าใจและความรู้สึกเชิงจำนวนเกี่ยวกับจำนวนนับ
ไม่เกินหนึง่ แสนและศูนย์ และการดำเนินการของจำนวน สามารถแก้
ปั ญหาเกี่ยวกับการบวก การลบ การคูณ และการหาร พร้อมทัง้ ตระหนัก
ถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้
 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความยาว ระยะทาง น้ำหนัก
ปริมาตร ความจุ เวลาและเงิน สามารถวัดได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
และนำความรู้เกี่ยวกับการวัดไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
 มีความรู้ความเข้าใจเกีย
่ วกับรูปสามเหลีย
่ ม รูปสีเ่ หลีย
่ ม รูปวงกลม
รูปวงรี ทรงสีเ่ หลีย
่ มมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอกรวมทัง้ จุด ส่วน
ของเส้นตรง รังสี เส้นตรง และมุม
 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแบบรูป และอธิบายความสัมพันธ์ได้
 รวบรวมข้อมูล และจำแนกข้อมูลเกีย
่ วกับตนเองและสิง่ แวดล้อม
ใกล้ตวั ทีพ
่ บเห็นในชีวต
ิ ประจำวัน และอภิปรายประเด็นต่าง ๆ จาก
แผนภูมิรูปภาพและแผนภูมิแท่งได้
 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู้ ทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่าง
เหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย
และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์
และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ น
ื ๆ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

จบชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 6
15

 มีความรู้ความเข้าใจและความรู้สึกเชิงจำนวนเกี่ยวกับจำนวนนับ
และศูนย์ เศษส่วน ทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่ง ร้อยละ การดำเนินการ
ของจำนวน สมบัติเกี่ยวกับจำนวน สามารถแก้ปัญหาเกี่ยวกับการบวก
การลบ การคูณ และการหารจำนวนนับ เศษส่วน ทศนิยมไม่เกินสาม
ตำแหน่ง และร้อยละ พร้อมทัง้ ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
ที่ได้ สามารถหาค่าประมาณของจำนวนนับและทศนิยมไม่เกินสาม
ตำแหน่งได้
 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความยาว ระยะทาง น้ำหนัก พื้นที่
ปริมาตร ความจุ เวลา เงิน ทิศ แผนผัง และขนาดของมุม สามารถวัดได้
อย่างถูกต้องและเหมาะสม และนำความรู้เกี่ยวกับการวัดไปใช้แก้ปัญหา
ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะและสมบัติของรูป
สามเหลี่ยม รูปสีเ่ หลี่ยม รูปวงกลม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรง
กระบอก กรวย ปริซึม พีระมิด มุม และเส้นขนาน
 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแบบรูปและอธิบายความสัมพันธ์ได้
แก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป สามารถวิเคราะห์สถานการณ์หรือปั ญหาพร้อม
ทัง้ เขียนให้อยู่ในรูปของสมการเชิงเส้นที่มีตัวไม่ทราบค่าหนึ่งตัวและแก้
สมการนัน
้ ได้
 รวบรวมข้อมูล อภิปรายประเด็นต่าง ๆ จากแผนภูมิรูปภาพ
แผนภูมิแท่ง แผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ แผนภูมิรูปวงกลม กราฟเส้น และ
ตาราง และนำเสนอข้อมูลในรูปของแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง
แผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ และกราฟเส้น ใช้ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะ
เป็ นเบื้องต้นในการคาดคะเนการเกิดขึน
้ ของเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้
16

 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู้ ทักษะและ


กระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์
ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้
อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร
การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม เชื่อม
โยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ น
ื ๆ
และ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

จบชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3
 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจำนวนจริง มีความเข้าใจเกี่ยวกับ
อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ เลขยกกำลังที่มีเลขชีกำ
้ ลังเป็ นจำนวนเต็ม ราก
ทีส
่ องและรากที่สามของจำนวนจริง สามารถดำเนินการเกี่ยวกับ
จำนวนเต็ม เศษส่วน ทศนิยม เลขยกกำลัง รากที่สองและรากที่สามของ
จำนวนจริง ใช้การประมาณค่าในการดำเนินการและแก้ปัญหา และนำ
ความรู้เกี่ยวกับจำนวนไปใช้ในชีวิตจริงได้
 มีความรู้ความเข้าใจเกีย
่ วกับพื้นทีผ
่ วิ ของปริซม
ึ ทรงกระบอก และ
ปริมาตรของปริซม
ึ ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม เลือกใช้
หน่วยการวัดในระบบต่าง ๆ เกี่ยวกับความยาวพื้นที่ และปริมาตรได้อย่าง
เหมาะสม พร้อมทัง้ สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการวัดไปใช้ในชีวิตจริงได้
 สามารถสร้างและอธิบายขัน
้ ตอนการสร้างรูปเรขาคณิตสองมิติ
โดยใช้วงเวียนและสันตรง อธิบายลักษณะและสมบัติของรูปเรขาคณิต
สามมิติซึ่งได้แก่ ปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลมได้
 มีความเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติของความเท่ากันทุกประการและ
ความคล้ายของรูปสามเหลี่ยม เส้นขนาน ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบท
17

กลับ และสามารถนำสมบัติเหล่านัน
้ ไปใช้ในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา
ได้มีความเข้าใจเกีย
่ วกับการแปลงทางเรขาคณิต(geometric
transformation)ในเรื่องการเลื่อนขนาน (translation) การสะท้อน
(reflection) และการหมุน (rotation)และนำไปใช้ได้
 สามารถนึกภาพและอธิบายลักษณะของรูปเรขาคณิตสองมิติและ
สามมิติ
 สามารถวิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ของแบบรูป
สถานการณ์หรือปั ญหา และสามารถใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวระบบ
สมการเชิงเส้นสองตัวแปร อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และกราฟในการ
แก้ปัญหาได้
 สามารถกำหนดประเด็น เขียนข้อคำถามเกี่ยวกับปั ญหาหรือ
สถานการณ์ กำหนดวิธีการศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลและนำเสนอข้อมูล
โดยใช้แผนภูมิรูปวงกลม หรือรูปแบบอื่นที่เหมาะสมได้
 เข้าใจค่ากลางของข้อมูลในเรื่องค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และ
ฐานนิยมของข้อมูลที่ยังไม่ได้แจกแจงความถี่ และเลือกใช้ได้อย่างเหมาะ
สม รวมทัง้ ใช้ความรู้ในการพิจารณาข้อมูลข่าวสารทางสถิติ
 เข้าใจเกี่ยวกับการทดลองสุ่ม เหตุการณ์ และความน่าจะเป็ นของ
เหตุการณ์ สามารถใช้ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์
และประกอบการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู้ ทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาใน
สถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ใน
การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอ ได้อย่างถูกต้อง และ
18

ชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และนำความรู้ หลักการ


กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมีความคิด
ริเริ่มสร้างสรรค์

จบชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6
 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับระบบจำนวนจริง ค่าสัมบูรณ์ของ
จำนวนจริง จำนวนจริงที่อยู่ในรูปกรณฑ์ และจำนวนจริงที่อยู่ในรูปเลขยก
กำลังที่มีเลขชีกำ
้ ลังเป็ นจำนวนตรรกยะ หาค่าประมาณของจำนวนจริงที่
อยู่ในรูปกรณฑ์ และจำนวนจริงที่อยู่ในรูปเลขยกกำลังโดยใช้วิธีการ
คำนวณที่เหมาะสมและสามารถนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ได้
 นำความรู้เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้คาดคะเนระยะทาง
ความสูง และแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัดได้
 มีความคิดรวบยอดในเรื่องเซต การดำเนินการของเซตและใช้ความรู้
เกีย
่ วกับแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์แสดงเซตไปใช้แก้ปัญหา และตรวจสอบ
ความสมเหตุสมผลของการให้เหตุผล
 เข้าใจและสามารถใช้การให้เหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัยได้
 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความสัมพันธ์และฟั งก์ชัน สามารถใช้
ความสัมพันธ์และฟั งก์ชันแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
 เข้าใจความหมายของลำดับเลขคณิต ลำดับเรขาคณิต และ
สามารถหาพจน์ทั่วไปได้เข้าใจความหมายของผลบวกของ n พจน์แรก
ของอนุกรมเลขคณิต อนุกรมเรขาคณิต และหาผลบวก n พจน์แรกของ
อนุกรมเลขคณิต และอนุกรมเรขาคณิตโดยใช้สูตรและนำไปใช้ได้
 รู้และเข้าใจการแก้สมการ และอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไม่เกิน
สองรวมทัง้ ใช้กราฟของสมการ อสมการ หรือฟั งก์ชันในการแก้ปัญหา
19

 เข้าใจวิธีการสำรวจความคิดเห็นอย่างง่าย เลือกใช้ค่ากลางได้
เหมาะสมกับข้อมูลและวัตถุประสงค์ สามารถหาค่าเฉลีย
่ เลขคณิต
มัธยฐาน ฐานนิยม ส่วนเบีย
่ งเบนมาตรฐาน และเปอร์เซ็นไทล์ของข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูล และนำผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลไปช่วยในการตัดสินใจ

 เข้าใจเกี่ยวกับการทดลองสุ่ม เหตุการณ์ และความน่าจะเป็ นของ


เหตุการณ์ สามารถใช้ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นในการคาดการณ์
ประกอบการตัดสินใจ และแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู้ ทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาใน
สถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ใน
การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอ ได้อย่างถูกต้อง และ
ชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และนำความรู้ หลักการ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมีความ
คิดริเริ่มสร้างสรรค์
20

ตารางวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2561


ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐานพุทธศักราช 2551
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์
โรงเรียน.....................................สำนักงาน
เขต......................................................

สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและ
การใช้จำนวนในชีวิตจริง

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้สถานศึกษา
ป.6 1. เขียนและอ่านทศนิยม - ความหมาย การอ่าน และ
ไม่เกินสามตำแหน่ง การเขียนทศนิยม
สามตำแหน่ง
2. เปรียบเทียบและเรียง - หลัก ค่าประจำหลัก และค่า
21

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้สถานศึกษา
ลำดับเศษส่วนและทศนิยม ของเลขโดด
ไม่เกินสามตำแหน่ง โดยใช้ ในแต่ละหลักของทศนิยมสาม
ข้อมูลเกี่ยวกับ ตำแหน่ง
- การเขียนทศนิยมในรูป
กระจาย
- การเปรียบเทียบและเรียง
ลำดับทศนิยม
ไม่เกินสามตำแหน่ง เปรียบ
เทียบเงินของ
ประเทศสมาชิกอาเซียน
- การเปรียบเทียบและเรียง
ลำดับเศษส่วน
3. เขียนทศนิยมในรูป - การเขียนทศนิยมไม่เกินสาม
เศษส่วน และเขียนเศษส่วน ตำแหน่งในรูป
ในรูปทศนิยม เศษส่วน
- การเขียนเศษส่วนที่ตัวส่วน
เป็ นตัวประกอบ
ของ 10, 100, 1,000 ในรูป
ทศนิยม
22

สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลทีเ่ กิดขึน
้ จากการดำเนินการของจำนวนและ
ความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินการต่างๆ และใช้การดำเนิน
การในการแก้ปัญหา

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้สถานศึกษา
ป.6 1. บวก ลบ คูณ หาร และ - การบวก การลบการคูณ การ
บวก ลบ คูณ หาร หารเศษส่วน
ระคนของเศษส่วน จำนวน การบวก การลบการคูณ
คละ และ การหาร
ทศนิยม พร้อมทัง้ ตระหนัก จำนวนคละ
ถึงความ - การบวก ลบคูณ หาร
สมเหตุสมผลของคำตอบ ระคนของเศษส่วน
และจำนวนคละ
23

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้สถานศึกษา
- การบวก การลบ การคูณ
การหาร
ทศนิยมที่มีผลลัพธ์เป็ น
ทศนิยมไม่เกินสาม
ตำแหน่ง
- การบวก ลบ คูณ หาร
ระคนของทศนิยม
ที่มีผลลัพธ์เป็ นทศนิยมไม่
เกินสามตำแหน่ง
2. วิเคราะห์และแสดงวิธี - โจทย์ปัญหาการบวก การ
หาคำตอบของ ลบ การคูณ
โจทย์ปัญหาและโจทย์ปัญหา การหาร และการบวก ลบ
ระคนของ คูณ หารระคน
จำนวนนับ เศษส่วน จำนวน ของจำนวนนับ
คละ ทศนิยม และร้อยละ - การสร้างโจทย์ปัญหาการ
พร้อมทัง้ ตระหนักถึงความสม บวก การลบ
เหตุสมผลของคำตอบ และ การคูณ การหาร และการ
สร้างโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ บวก ลบ
จำนวนนับได้ คูณ หารระคนของจำนวนนับ
- โจทย์ปัญหาการบวก การ
ลบ การคูณ
การหาร และการบวก ลบ
คูณ หารระคน
24

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้สถานศึกษา
ของเศษส่วน
- โจทย์ปัญหาการบวก การ
ลบ การคูณ
การหาร และการบวก ลบ
คูณ หารระคน
ของทศนิยม
- การสร้างโจทย์ปัญหาการ
คูณ การหาร
และการคูณ หารระคนของ
ทศนิยม
- โจทย์ปัญหาร้อยละใน
สถานการณ์ตา่ ง ๆ
รวมถึงโจทย์ปัญหาร้อยละ
เกี่ยวกับการหา
กำไร ขาดทุน การลดราคา
การหาราคาขาย การหาราคา
ทุน และดอกเบีย

สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการคำนวณและแก้ปัญหา
25

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้สถานศึกษา
ป.6 1. บอกค่าประมาณใกล้ - ค่าประมาณใกล้เคียงเป็ น
เคียงจำนวนเต็มหลักต่าง ๆ จำนวน
ของจำนวนนับ และนำไป เต็มหมื่น เต็มแสน และ
ใช้ได้ เต็มล้าน
หาค่าประมาณของ
ประชากรประเทศ
สมาชิกอาเซียน
2. บอกค่าประมาณของ - ค่าประมาณใกล้เคียง
ทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่ง ทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง และ
สองตำแหน่ง

สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจำนวนและนำสมบัติเกี่ยวกับจำนวนไปใช้

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้สถานศึกษา
ป.6 1. ใช้สมบัติการสลับที่ - การบวก การคูณ
สมบัตก
ิ ารเปลี่ยนหมู่ และ - การบวก ลบ คูณ หาร
สมบัตก
ิ ารแจกแจงในการคิด ระคน
คำนวณ
2. หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. - ตัวประกอบ จำนวนเฉพาะ
ของจำนวนนับ และตัวประกอบ
เฉพาะ
26

- การหา ห.ร.ม.
- การหา ค.ร.น.

สาระที่ 2 การวัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาด
ของสิง่ ที่ต้องการวัด

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้สถานศึกษา
ป.6 1. อธิบายเส้นทางหรือ - ทิศ เมื่อกำหนดทิศให้สามารถ
บอกตำแหน่งของ - การบอกตำแหน่งโดยใช้ทศ

สิ่งต่างๆ โดยระบุทิศทาง - มาตราส่วน
และระยะทางจริงจาก - การอ่านแผนผัง
รูปภาพ แผนที่ และแผนผัง
2. หาพื้นที่ของรูปสีเ่ หลี่ยม - การหาพื้นทีข
่ องรูปสีเ่ หลีย
่ มโดย
ใช้ความยาว
ของด้าน
- การหาพื้นทีข
่ องรูปสีเ่ หลีย
่ มโดย
ใช้สมบัติ
ของเส้นทแยงมุม
3. หาความยาวรอบรูป - การหาความยาวรอบรูปวงกลม
และพื้นที่ของรูป หรือความยาวรอบวง
วงกลม - การหาพื้นทีข
่ องรูปวงกลม
สาระที่ 2 การวัด
27

มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้สถานศึกษา
ป.6 1. แก้ปัญหาเกี่ยวกับพื้นที่ - การคาดคะเนพืน
้ ทีข
่ องรูปสีเ่ หลีย
่ ม
ความยาว - โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว
รอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมและ รอบรูปและพืน
้ ที่
รูปวงกลม ของรูปสีเ่ หลีย
่ ม
- โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว
รอบรูปและพืน
้ ที่
ของรูปวงกลม
2. แก้ปัญหาเกี่ยวกับ - โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตร
ปริมาตรและ หรือความจุของ
ความจุ ของทรงสี่เหลี่ยม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
มุมฉาก
3. เขียนแผนผังแสดง - การเขียนแผนผังแสดงสิง่ ต่าง ๆ
ตำแหน่งของ - การเขียนแผนผังแสดงเส้นทางการ
สิง่ ต่าง ๆ และแผนผังแสดง เดินทาง
เส้นทาง - การเขียนแผนผังโดยสังเขป
การเดินทาง

สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้สถานศึกษา
28

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้สถานศึกษา
2. บอกสมบัติของเส้น - สมบัติของเส้นทแยงมุมของ
ทแยงมุมของรูป รูปสี่เหลี่ยม
สี่เหลี่ยมชนิดต่าง ๆ
3. บอกได้ว่าเส้นตรงคู่ใด - การพิจารณาเส้นขนานโดย
ขนานกัน อาศัยมุมแย้ง
- การพิจารณาเส้นขนานโดย
อาศัยผลบวกของ
ขนาดของมุมภายในที่อยู่บน
ข้างเดียวกัน
ของเส้นตัดเป็ น 180 องศา

สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับ
ปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจำลองทาง
เรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
29

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้สถานศึกษา
ป.6 1. ประดิษฐ์ทรงสี่เหลี่ยม - รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสาม
มุมฉาก มิติ(ทรงสี่เหลี่ยม
ทรงกระบอก กรวย ปริซึม มุมฉาก ทรงกลม ทรง
และ กระบอก กรวย ปริซึม
พีระมิด จากรูปคลี่หรือรูป พีระมิด)
เรขาคณิตสองมิติที่กำหนด - การประดิษฐ์รูปเรขาคณิต
ให้ สามมิติ
2. สร้างรูปสีเ่ หลี่ยมชนิด - การสร้างรูปสี่เหลี่ยมเมื่อ
ต่าง ๆ กำหนดความยาว
ของด้านและขนาดของมุม
หรือเมื่อกำหนด
ความยาวของเส้นทแยงมุม
สาระที่ 4 พีชคณิต
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์
และฟั งก์ชัน

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้สถานศึกษา
ป.6 1. แก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบ - ปั ญหาเกี่ยวกับแบบรูป
รูป
สาระที่ 4 พีชคณิต
มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นพ
ิ จน์สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิง
คณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทน
30

สถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้
ปั ญหา

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้สถานศึกษา
ป.6 1. เขียนสมการจาก - สมการเชิงเส้นที่มีตัวไม่ทราบ
สถานการณ์หรือ ปั ญหาและ ค่าหนึ่งตัว
แก้สมการพร้อมทัง้ ตรวจคำ - การแก้สมการโดยใช้สมบัติ
ตอบ ของการเท่ากัน
เกี่ยวกับการบวก การลบ
การคูณ หรือ
การหาร
- การแก้โจทย์ปัญหาด้วย
สมการ
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็ น
มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้สถานศึกษา
ป.6 1. อ่านข้อมูลจากกราฟเส้น - การอ่านกราฟเส้น และ
และแผนภูมิ แผนภูมิ รูปวงกลม
รูปวงกลม อ่านแผนภูมิรูปวงกลม
2. เขียนแผนภูมิแท่งเปรียบ - การเขียนแผนภูมแ
ิ ท่งเปรียบ
เทียบและ เทียบ
กราฟเส้น และกราฟเส้น
31

สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็ น
มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ น
ในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้สถาน
ศึกษา
ป.6 1. อธิบายเหตุการณ์โดยใช้คำ - การคาดคะเนเกี่ยวกับ
ที่มีความหมายเช่นเดียวกับคำ การเกิดขึน
้ ของ
ว่า เหตุการณ์ต่าง ๆ
– เกิดขึน
้ อย่างแน่นอนอาจ
จะเกิดขึน
้ หรือไม่ก็ได้
– ไม่เกิดขึน
้ อย่างแน่นอน

สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็ น
มาตรฐาน ค 5.3 ใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็ นช่วยในการ
ตัดสินใจและแก้ปัญหา

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้สถาน
ศึกษา
ป.6 – –

สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
32

มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การ


สื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ
การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยง
คณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้สถาน
ศึกษา
ป.4 – 1. ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ -
6 ปั ญหา
2. ใช้ความรู้ ทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์
และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหา
ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่าง
เหมาะสม
3. ให้เหตุผลประกอบการ
ตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่าง
เหมาะสม
4. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การ
สื่อความหมาย และการนำ
เสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะ
สม
5. เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ใน
คณิตศาสตร์และเชื่อมโยง
33

คณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ น
ื ๆ
6. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

2. โครงสร้างรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์

โครงสร้างรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
(ค 16101)

ระดับชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 6 เวลา 160 ชั่วโมง/ปี คะแนนเก็บ
200 คะแนน

โรงเรียนพัฒนา

น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วย รหัสตัวชี ้ หนัก
สาระสำคัญ (ชัว
่ โ
บที่ การเรียนรู้ วัด คะแ
มง)
นน

1 ทศนิยม ค 1.1 - ทศนิยมไม่เกินสาม 8 16


ป 6/1 ตำแหน่ง
- ค่าประจำหลักต่างกัน
ป 6/2
- การเขียนทศนิยมในรูป
ป 6/3 กระจาย
34

ค 1.3 - การเปรียบเทียบทศนิยม
ป 6/2 โดยใช้
ค 6.1 เครื่องหมาย > , < หรือ =
ป 6/2 และ
เปรียบเทียบเงินของ
ป 6/4
ประเทศสมาชิกอาเซียน
- การเรียงลำดับทศนิยม
- การเขียนให้อยูใ่ นรูป
เศษส่วนและเศษส่วน
สามารถเขียนให้อยู่ในรูป
ทศนิยมได้
- การประมาณค่าใกล้เคียง
ทศนิยม
2 การบวก การ ค 1.2 - การหาผลบวกของทศนิยม 24 26
ลบ ป 6/1 สองจำนวน
การคูณ - การหาผลลบของทศนิยม
ป 6/2
ทศนิยม และ สองจำนวน
ค 6.1
หารทศนิยม - การคูณทศนิยม
ป 6/3
- การบวก ลบ คูณระคน
ป 6/4 ของทศนิยม
- การหารทศนิยม
- โจทย์ปัญหาการบวก การ
ลบ การคูณ
และการหารทศนิยม
35

- โจทย์ปัญหาการบวก การ
ลบ การคูณ
การหาร และการบวก
ลบ คูณ หาร
ระคนของทศนิยม
- สร้างโจทย์ปัญหาการบวก
การลบ
การคูณทศนิยมจาก
ข้อความ รูปภาพ

น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วย รหัสตัวชี ้ หนัก
สาระสำคัญ (ชัว
่ โ
บที่ การเรียนรู้ วัด คะแ
มง)
นน

3 เศษส่วน ค 1.1 - เศษส่วนที่เท่ากัน 16 21


ป 6/2 - การเปรียบเทียบเศษส่วน
ค 1.2 และเรียงลำดับ
ป 6/1 เศษส่วน
- เศษส่วนอย่างต่ำ
ป 6/2
- การบวก และการลบเศษส่วน
ค 6.1
แลจำนวนคละ
36

ป 6/1 - โจทย์ปัญหาการบวก การ


ลบเศษส่วน
ป 6/3
และจำนวนคละ
ป 6/4 - การคูณเศษส่วนกับ
จำนวนนับ และ
เศษส่วนกับเศษส่วนและการ
คูณจำนวนคละ
- การหารเศษส่วนและการ
หารจำนวนคละ
- โจทย์ปัญหาการคูณ การ
หารเศษส่วน
และจำนวนคละ
- การบวก ลบ คูณ หาร
ระคนของเศษส่วน
- โจทย์ปัญหาการบวก ลบ
คูณ หารระคนของเศษศ่วน
4 จำนวนนับ ค 1.2 - การหาค่าประมาณใกล้ 15 18
ป 6/2 เคียงจำนวน
ค 1.3 เต็มหมื่น เต็มแสน และ
ป 6/1 เต็มล้านของ
จำนวนใด หาค่า
ป 6/2
ประมาณของ
ค 1.4
ประชากรประเทศสมาชิก
ป 6/1
อาเซียน
37

ค 6.1 - จำนวนสองจำนวนที่นำ
ป 6/1 มาบวกกัน
สามารถสลับที่กันได้
ป 6/5
- จำนวนสองจำนวนที่นำมา
คูณกัน
สามารถสลับที่กันได้
- การคูณจำนวนที่มีหลาย
หลักใช้วิธีการ
ตัง้ หลักให้ตรงกัน
- การหารจำนวนที่มีหลาย
หลักใช้วิธีการ
นำตัวหารไปหารตัวตัง้
- การหาผลลัพธ์จากโจทย์
การบวก ลบ
คูณ หารระคน
- โจทย์ปัญหาการบวก การ
ลบ การคูณ
การหาร และหารระคน
- การสร้างโจทย์ปัญหาการ
บวกการลบ
การคูณ การหาร และหาร
ระคน

ลำดั ชื่อหน่วย รหัสตัวชี ้ สาระสำคัญ เวลา น้ำ


38

หนัก
(ชัว
่ โ
บที่ การเรียนรู้ วัด คะแ
มง)
นน

5 ตัวประกอบ ค 1.4 - จำนวนนับ และตัวประกอบ 17 19


ของ ป 6/2 ของจำนวนนับ
จำนวนนับ ค 6.1 - การหาตัวประกอบ
ป 6/3 - จำนวนเฉพาะ และ
ตัวประกอบเฉพาะ
ป 6/4 - การเขียนจำนวนนับใน
รูปการคูณของตัว
ป 6/5
ประกอบสองตัว
- การแยกตัวประกอบโดย
การเขียน
แผนภาพ และโดยวิธีหาร
- ความหมายของตัวหาร
ร่วม
- การหาตัวหารร่วม โดยวิธี
หาตัวประกอบ
โดยวิธีแยกตัวประกอบ
และโดยวิธีหาร
- ความหมายของตัวคูณร่วม
- การหาตัวคูณร่วม โดยการ
หาจำนวนนับ
ที่มจำ
ี นวนนับที่กำหนด
39

เป็ นตัวประกอบ
โดยการแยกตัวประกอบ
จำนวนนับที่กำหนด และ
โดยวิธีหาร
- โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
ห.ร.ม. หรือ ค.ร.น.
6 บทประยุกต์ ค 1.2 - โจทย์ปัญหาการคูณและ 13 14
ป 6/2 การหาร
ค 6.1 - โจทย์ร้อยละ และการแก้
ป 6/1 โจทย์ปัญหา
ร้อยละ
ป 6/2
- การซื้อขาย และโจทย์
ป 6/5 ปั ญหาร้อยละกับ
การซื้อขาย
- โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยว
กับการซื้อขาย
มากกว่า 1 ครัง้
- ดอกเบีย

7 ทิศและ ค 2.1 - ชื่อและตำแหน่งของทิศ 9 11
แผนผัง ป 6/1 - การบอกตำแหน่งโดยใช้
ค 2.2 ทิศ
ป 6/3 - มาตราส่วน
ค 6.1 - การอ่านแผนผัง และการ
ป 6/4 เขียนแผนผัง
40

น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วย รหัสตัวชี ้ หนัก
สาระสำคัญ (ชัว
่ โ
บที่ การเรียนรู้ วัด คะแ
มง)
นน

8 รูปสี่เหลี่ยม ค 2.1 - รูปสี่เหลี่ยมและชนิดของ 11 17


ป 6/2 รูปสี่เหลี่ยม
ค 2.2 - สมบัติของเส้นทแยงมุม
ป 6/1 ของรูปสีเ่ หลี่ยม
ค 3.1 - การสร้างรูปสี่เหลี่ยมเมื่อ
ป 6/2 กำหนด
ค 3.2 ความยาวของด้าน และ
ป 6/2 ขนาดของมุม
ค 6.1 - การสร้างรูปสี่เหลี่ยมเมื่อ
ป 6/1 กำหนด
ความยาวของเส้นทแยง
41

ป 6/5 มุม
- การหาพื้นที่ของรูป
ป 6/6
สี่เหลี่ยมมุมฉาก
รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน รูป
สี่เหลี่ยม
ขนมเปี ยกปูน และรูป
สี่เหลี่ยมคางหมู
- การหาพื้นที่ของรูป
สี่เหลี่ยมเมื่อกำหนด
ความยาวของเส้นทแยง
มุม
- การคาดคะเนพื้นที่ของรูป
สี่เหลี่ยม
- โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความ
ยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูป
สี่เหลี่ยม
9 รูปวงกลม ค 2.1 - ส่วนประกอบของรูป 7 11
ป 6/3 วงกลม
ค 2.2 - การหาความยาวรอบรูป
ป 6/1 วงกลมหรือ
ค 6.1 ความยาวรอบวง
ป 6/1 - การหาพื้นที่ของรูปวงกลม
- โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการ
ป 6/2
หาพื้นที่และ
42

ป 6/5 ความยาวรอบรูปของรูป
วงกลม
10 รูปเรขาคณิต ค 2.2 - การหาปริมาตรและความ 8 11
สามมิติและ ป 6/2 จะของ
ปริมาตรของ ค 3.1 ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ทรงสี่เหลี่ยม ป 6/1 - โจทย์ปัญหาการหา
มุมฉาก ค 3.2 ปริมาตร และความจุ
ป 6/1 ของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ค 6.1 - ส่วนประกอบของรูป
ป 6/3 เรขาคณิตสามมิติ
- รูปคลี่ของรูปเรขาคณิต
ป 6/6
สามมิติ
- การประดิษฐ์รูปเรขาคณิต
สามมิติ
11 เส้นขนาน ค 3.1 - เส้นขนานและมุมแย้ง 7 6
ป 6/3 - เส้นขนานและมุมภายในที่
ค 6.1 อยู่บน
ป 6/3 ข้างเดียวกันของเส้นตัด
- เส้นขนานโดยอาศัยผล
ป 6/5
บวกของมุม
ภายในที่อยู่บนข้าง
เดียวกันของเส้นตัด
เป็ น 180 องศา
43

น้ำ
เวลา
ลำดั ชื่อหน่วย รหัสตัวชี ้ หนัก
สาระสำคัญ (ชัว
่ โ
บที่ การเรียนรู้ วัด คะแ
มง)
นน

12 สมการและ ค 4.1 - สมการ คือ ประโยค 16 16


การแก้สมการ ป 6/1 สัญลักษณ์ที่มี
ค 4.2 เครื่องหมาย
ป 6/1 - สมการที่มีตัวไม่ทราบค่า
ค 6.1 เป็ นสมการที่มี
ป 6/1 ตัวอักษรหรือสัญลักษณ์
แทนจำนวนอยู่
ป 6/3
ในสมการ
- สมบัติของการเท่ากันเกี่ยว
กับการบวก
การลบ การคูณ และการ
หารไปใช้ใน
การแก้สมการ
- การแก้โจทย์ปัญหาด้วย
สมการจะทำให้
สามารถหาคำตอบจาก
ปั ญหาทาง
คณิตศาสตร์ได้
- โจทย์ปัญหาที่มีตัวไม่
44

ทราบค่าสามารถ
เขียนเป็ นสมการได้
- การแก้ปัญหาโดยใช้แบบ
รูป เป็ นการ
แก้ปัญหาโดยอาศัยความ
สัมพันธ์ของ
แบบรูป
13 สถิติและ ค 5.1 - การเก็บรวบรวมข้อมูล 9 14
ความน่าจะ ป 6/1 และการจำแนก
เป็ น ข้อมูล
ป 6/2
- การอ่าน และการเขียน
ค 5.2
แผนภูมิแท่ง
ป 6/1
- การอ่านและการเขียน
ค 6.1
กราฟเส้น
ป 6/4
- การอ่านแผนภูมิรูปวงกลม
ป 6/5 - ความน่าจะเป็ น

ป 6/6

รวมทัง้ หมด 31 ตัวชีว


้ ัด 160 200

คะแนนปลายปี 100
45

3. คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาพื้น


ฐานคณิตศาสตร์

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ค 16101 คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียน
รู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 6 เวลา 160
ชั่วโมง

เปรียบเทียบและเรียงลำดับเศษส่วนและทศนิยมไม่เกินสาม
ตำแหน่ง โดยนำข้อมูลเกี่ยวกับ เงินอาเซียนมาใช้ในการเปรียบ
เทียบ บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วน
จำนวนคละและทศนิยม พร้อมทัง้ ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำ
ตอบหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจำนวนนับอธิบายเส้นทางหรือบอก
ตำแหน่งของสิ่งต่าง ๆ โดยระบุทิศทางและระยะทางจริง จากรูปภาพ
แผนที่และแผนผังหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมหาความยาวรอบรูปและพื้นที่
ของรูปวงกลมแก้ปัญหาเกี่ยวกับพื้นที่ ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยม
และรูปวงกลมแก้ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุของทรงสี่เหลี่ยม
มุมฉากอธิบายเหตุการณ์โดยใช้คำที่มีความหมายเช่นเดียวกับคำว่า (เกิด
ขึน
้ อย่างแน่นอน, อาจจะเกิดขึน
้ หรือไม่ก็ได้, ไม่เกิดขึน
้ อย่างแน่นอน)ให้
46

เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสมใช้ภาษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำ
เสนอได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ฝึ กทักษะการเขียนและอ่านทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่งเขียน
ทศนิยมในรูปเศษส่วนและเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยมวิเคราะห์และแสดง
วิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาและโจทย์ปัญหาระคนของจำนวนนับ
เศษส่วน จำนวนคละ ทศนิยมและร้อยละ พร้อมทัง้ ตระหนักถึงความสม
เหตุสมผลของคำตอบและสร้างโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับจำนวนนับ บอกค่า
ประมาณใกล้เคียงจำนวนเต็มหลักต่าง ๆ นำของมูลเกี่ยวกับจำนวน
ประชากร และขนาดพื้นที่ของประเทศสมาชิกอาเซียนมาหาค่า
ประมาณ ของจำนวนนับและนำไปใช้บอกค่าประมาณของทศนิยมไม่เกิน
สามตำแหน่งใช้สมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนหมู่ และสมบัติการ
แจกแจงในการคิดคำนวณเขียนแผนผังแสดงตำแหน่งของสิง่ ต่าง ๆ และ
แผนผังแสดงเส้นทางการเดินทางบอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติที่เป็ น
ส่วนประกอบของรูปเรขาคณิตสามมิติบอกสมบัติของเส้นทแยงมุมของรูป
สี่เหลี่ยมชนิดต่าง ๆ บอกได้ว่าเส้นตรงคู่ใดขนานกัน การประดิษฐ์ทรง
สี่เหลี่ยมมุมฉากทรงกระบอก กรวย ปริซึมและพีระมิดจากรูปคลีห
่ รือรูป
เรขาคณิตสองมิติที่กำหนดให้ สร้างรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่าง ๆ มาใช้ในการแก้
ปั ญหาเกี่ยวกับแบบรูปเขียนสมการจากสถานการณ์หรือปั ญหาและแก้
สมการพร้อมทัง้ ตรวจคำตอบ อ่านข้อมูลจากกราฟเส้นและแผนภูมิรูป
วงกลมโดยเขียนแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบและกราฟเส้นใช้วิธีการที่หลาก
หลาย
โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และสถานการณ์จริงที่เกิดขึน

รอบตัวของผู้เรียนมาใช้ในการแก้ปัญหา และนำเทคโนโลยีมาใช้ในการแก้
47

ปั ญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมใช้วิธีการที่หลากหลายแก้
ปั ญหา ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผล
ประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำ
เสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ใน
คณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมีความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์มีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์
เพื่อให้มค
ี วามรู้ความเข้าใจ มีทักษะในการคิดคำนวณ การสื่อสาร
สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และสามารถนำไปใช้ในการเรียนรู้สิ่ง
ต่างๆ สามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ และใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่าง
สร้างสรรค์ มีระเบียบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อ
มั่น ในตนเอง รวมทัง้ เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์

รหัสตัวชีว
้ ัด
ค 1.1ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3
ค 1.2ป.6/1 ป.6/2
ค 1.3ป.6/1 ป.6/2
ค 1.4 ป.6/1 ป.6/2
ค 2.1ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3
ค 2.2ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3
ค 3.1ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3
ค 3.2ป.6/1 ป.6/2
ค 4.1ป.6/1
48

ค 4.2ป.6/1
ค 5.1ป.6/1 ป.6/2
ค 5.2ป.6/1
ค 6.1ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6
รวมทัง้ หมด 31 ตัวชีว
้ ัด

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
49

4.1 การตัดสินผลการเรียน
ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิด
วิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
นัน
้ ผูส
้ อนต้องคำนึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็ นหลัก และต้องเก็บ
ข้อมูลของผูเ้ รียนทุกด้านอย่างสม่ำเสมอ และต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน
รวมทัง้ สอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนาจนเต็มตามศักยภาพ
1) ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลา
เรียนทัง้ หมด
2) ผูเ้ รียนต้องได้รบ
ั การประเมินทุกตัวชีว้ ด
ั และผ่านตามเกณฑ์
ทีส
่ ถานศึกษากำหนด
3) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่าน
ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การพิจารณาการเลื่อนชัน
้ ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย
แต่งตัง้ คณะกรรมการพิจารณา
ถ้าเห็นว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ให้เลื่อนชัน
้ ได้แต่หากผู้เรียน
ไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็ นปั ญหาต่อการเรียนใน
ระดับชัน
้ ที่สูงขึน
้ คณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ำชัน
้ ได้ ทัง้ นีใ้ ห้คำนึง
ถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถของผู้เรียนเป็ นสำคัญ
4.2 การให้ระดับผลการเรียน
กำหนดเกณฑ์การประเมินให้ระดับผลการเรียน สถานศึกษาต้อง
กำหนดเกณฑ์การประเมินให้ระดับคุณภาพผลการเรียน สามารถอธิบาย
ผลการตัดสินว่าผู้เรียนต้องมีความรู้ ทักษะและคุณลักษณะโดยรวมมีผล
50

การเรียนระดับ 1.0 ขึน


้ ไป จึงถือว่าผ่านการประเมิน ส่วนผลการเรียนทัง้
ระบบตัวเลขและตัวอักษรในการประเมินสาระการเรียนรู้ โรงเรียนพัฒนา
กำหนดเป็ นระดับผลการเรียน 8 ระดับคือ

ระดับผลการ ความหมาย ช่วงคะแนนร้อยละ


เรียน
4 ผลการเรียนดีเยี่ยม 80–100
3.5 ผลการเรียนดีมาก 75–79
3 ผลการเรียนดี 70–74
2.5 ผลการเรียนค่อน 65–69
ข้างดี
2 ผลการเรียนน่า 60–64
พอใจ
1.5 ผลการเรียนพอใช้ 55–59
1 ผลการเรียนผ่าน 50–54
เกณฑ์ขน
ั ้ ต่ำ
0 ผลการเรียนต่ำกว่า 0–49
เกณฑ์
51

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอัน


พึงประสงค์นน
ั ้ ให้ระดับผลการประเมินเป็ นผ่านและไม่ผ่าน กรณีที่ผ่าน
ให้ระดับผลการเรียนเป็ นดีเยี่ยม ดีและผ่าน ดังนี ้
1. การประเมินอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
ดีเยี่ยม หมายถึง สามารถจับใจความสำคัญได้
ครบถ้วน เขียนวิพากษ์วจ
ิ ารณ์
เขียนสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็น
ประกอบอย่างมีเหตุผล ได้
ถูกต้องและสมบูรณ์ ใช้ภาษาสุภาพและเรียบเรียง
ได้สละสลวย
ดี หมายถึง สามารถจับใจความสำคัญได้
เขียนวิพากษ์วิจารณ์
และเขียนสร้างสรรค์ได้โดยใช้ภาษา
สุภาพ
ผ่าน หมายถึง สามารถจับใจความสำคัญและ
เขียนวิพากษ์วิจารณ์
ได้บ้าง
2. การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ดีเยี่ยม หมายถึง ผู้เรียนมีคุณลักษณะใน
การปฏิบัติจนเป็ นนิสัยและ
นำไปใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อ
ประโยชน์สุขของ
ตนเองและสังคม
52

ดี หมายถึง ผู้เรียนมีคุณลักษณะในการ
ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์
เพื่อให้เป็ นที่ยอมรับของสังคม
ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติตามกฎ
เกณฑ์และเงื่อนไข
ทีส
่ ถานศึกษากำหนด
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทัง้ เวลาการ
เข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผู้เรียนตามเกณฑ์ที่
สถานศึกษากำหนดและให้ผลการประเมินเป็ นผ่านและไม่ผ่าน

5. เกณฑ์การจบหลักสูตร
โรงเรียนพัฒนาได้กำหนดเกณฑ์การจบการศึกษาของโรงเรียนให้
สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช
2551 โดยใช้การตัดสินผลการเรียนรายวิชา กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การ
อ่านคิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยมีเกณฑ์การ
จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ดังนี ้
1. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม โดย
เป็ นรายวิชาพื้นฐานตามโครงสร้างเวลาเรียนที่หลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขัน
้ พื้นฐานกำหนด และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษา
กำหนด
2. ผู้เรียนต้องเรียนรู้ทุกรายวิชาพื้นฐานและมีผลการเรียนระดับ 1.0
ขึน
้ ไป และมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานผ่านทุกรายวิชา
3. ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
ระดับ “ผ่าน” ขึน
้ ไป
53

4. ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รับระดับ
“ผ่าน” ขึน
้ ไป
5. ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและรับการตัดสินผล
การเรียน “ผ่าน” ทุกกิจกรรม

อภิธานศัพท์
กระบวนการคิด
การฟั ง การพูด การอ่าน และการเขียน เป็ นกระบวนการคิด คนที่
จะคิดได้ดีต้องเป็ นผู้ฟัง ผู้พูด ผู้อ่าน และผู้เขียนที่ดี บุคคลที่จะคิดได้ดีจะ
ต้องมีความรู้และประสบการณ์พ้น
ื ฐานในการคิด บุคคลจะมีความสามารถ
ในการรวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริง วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมิน
ค่า จะต้องมีความรู้และประสบการณ์พ้น
ื ฐานที่นำมาช่วยในการคิดทัง้ สิน

การสอนให้คิดควรให้ผู้เรียนรู้จักคัดเลือกข้อมูล ถ่ายทอด รวบรวม และ
จำข้อมูลต่างๆ สมองของมนุษย์จะเป็ นผู้บริโภคข้อมูลข่าวสาร และ
สามารถแปลความข้อมูลข่าวสาร และสามารถนำมาใช้อ้างอิง การเป็ นผู้
ฟั ง ผู้พูด ผู้อ่าน และผู้เขียนที่ดี จะต้องสอนให้เป็ นผู้บริโภคข้อมูลข่าวสาร
ที่ดีและเป็ นนักคิดที่ดีด้วย กระบวนการสอนภาษาจึงต้องสอนให้ผู้เรียนเ
ป็ นผู้รับรู้ข้อมูลข่าวสารและมีทักษะการคิด นำข้อมูลข่าวสารที่ได้จากการ
ฟั งและการอ่านนำมาสู่การฝึ กทักษะการคิด นำการฟั ง การพูด การอ่าน
และการเขียน มาสอนในรูปแบบ บูรณาการทักษะ ตัวอย่าง เช่น การ
เขียนเป็ นกระบวนการคิดในการวิเคราะห์ การแยกแยะ การสังเคราะห์ การ
ประเมินค่า การสร้างสรรค์ ผู้เขียนจะนำความรู้และประสบการณ์สู่การคิด
54

และแสดงออกตามความคิดของตนเสมอ ต้องเป็ นผู้อ่านและผูฟ


้ ั งเพื่อรับรู้
ข่าวสารที่จะนำมาวิเคราะห์และสามารถแสดงทรรศนะได้

การดำเนินการ (operation)
การดำเนินการในที่นจ
ี ้ ะหมายถึงการดำเนินการของจำนวนและการ
ดำเนินการของเซต ซึง่ การดำเนินการของจำนวนในที่นี ้ ได้แก่ การบวก
การลบ การคูณ การหาร การยกกำลัง และการถอดรากของจำนวนที่
กำหนด การดำเนินการของเซตในที่นี ้ ได้แก่ ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน
และคอมพลีเมนต์ของเซต

การตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ (awareness of
reasonableness of answer)
การตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ เป็ นการสำนึก
เฉลียวใจ หรือฉุกคิดว่าคำตอบที่ได้มานัน
้ น่าจะถูกต้องหรือไม่ เป็ นคำ
ตอบที่เป็ นไปได้หรือเป็ นไปไม่ได้ หรือเป็ นคำตอบที่ควรตอบหรือไม่ เช่น
1 1 2
+
นักเรียนคนหนึ่งตอบว่า 2 4 เท่ากับ 6 แสดงว่านักเรียนคนนีไ้ ม่
ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ เพราะไม่ฉุกคิดว่าเมื่อมีอยู่แล้ว
ครึ่งหนึ่ง การเพิ่มจำนวนที่เป็ นบวกเข้าไป ผลลัพธ์ที่ได้ออกมาต้อง
2
มากกว่าครึ่ง แต่คำตอบที่ได้ 6 นัน
้ น้อยกว่าครึ่ง ดังนัน
้ คำตอบที่ได้
ไม่น่าจะถูกต้อง สมควรที่จะต้องคิดหาคำตอบใหม่
ผู้ที่มีความรู้สึกเชิงจำนวนดีจะเป็ นผู้ที่ตระหนักถึงความสมเหตุสมผล
ของคำตอบที่ได้จากการคำนวณหรือการแก้ปัญหาได้ดี การประมาณค่า
เป็ นวิธีหนึ่งที่อาจช่วยให้พิจารณาได้ว่าคำตอบที่ได้สมเหตุสมผลหรือไม่
55

การนึกภาพ (visualization)
การนึกภาพเป็ นการนึกถึงหรือวิเคราะห์ภาพหรือรูปเรขาคณิตต่าง
ๆ ในจินตนาการเพื่อคิดหาคำตอบ หรือกระบวนการที่จะได้ภาพหรือเกิด
ภาพที่ปรากฏ เช่น

รูป ก รูป ข รูป ค


56

เมื่อต้องการหาปริมาตรและพื้นที่ผิวของปริซึมในรูป ก ถ้าสามารถ
ใช้การนึกภาพได้ว่าปริซึมดังกล่าวประกอบด้วยปริซึม 2 แท่ง ดังรูป ข
หรือรูป ค ก็อาจทำให้หารปริมาตรและพื้นที่ผิวของปริซึมในรูป ก ได้
ง่ายขึน

การประมาณ (approximation)
การประมาณเป็ นการหาค่าซึง่ ไม่ใช่ค่าที่แท้จริง แต่เป็ นการหาค่าที่
มีความละเอียดเพียงพอที่จะนำไปใช้ เช่น ประมาณ 25.20 เป็ น 25
หรือประมาณ 178 เป็ น 180 หรือประมาณ 18.45 เป็ น 20 เพื่อ
สะดวกในการคำนวณ ค่าที่ได้จากการประมาณ เรียกว่า ค่าประมาณ

การประมาณค่า (estimation)
การประมาณค่าเป็ นการคำนวณหาผลลัพธ์โดยประมาณ ด้วยการ
ประมาณแต่ละจำนวนที่เกี่ยวข้องก่อนแล้วจึงนำมาคำนวณหาผลลัพธ์
การประมาณแต่ละจำนวนที่จะนำมาคำนวณอาจใช้หลักการปั ดเศษหรือ
ไม่ใช้ก็ได้ ขึน
้ อยู่กับความเหมาะสมในแต่ละสถานการณ์

การแปลงทางเรขาคณิต (geometric transformation)


การแปลงทางเรขาคณิตในที่นเี ้ น้นเฉพาะการเปลี่ยนตำแหน่งของรูป
เรขาคณิตที่ลักษณะและขนาดของรูปยังคงเดิม ซึ่งเป็ นผลจากการเลื่อน
ขนาน (translation) การสะท้อน (reflection) หรือการหมุน
(rotation) โดยไม่กล่าวถึงสมการหรือสูตรที่แสดงความสัมพันธ์ในการ
แปลงนัน

57

การสืบเสาะ สังเกต และคาดการณ์เกีย


่ วกับสมบัติทางเรขาคณิต
การสืบเสาะ สังเกต และคาดการณ์เป็ นกระบวนการเรียนรู้ทส
ี่ ่ง
เสริมให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ขน
ึ ้ มาด้วยตนเอง ในที่นใี ้ ช้สมบัติทาง
เรขาคณิตเป็ นสื่อในการเรียนรู้ ผู้สอนควรกำหนดกิจกรรมทางเรขาคณิต
ที่ผู้เรียนสามารถใช้ความรู้พ้น
ื ฐานเดิมที่เคยเรียนมาเป็ นฐานในการต่อยอด
ความรู้ ด้วยการสำรวจ สังเกต หาแบบรูป และสร้างข้อความคาดการณ์
ที่อาจเป็ นไปได้ อย่างไรก็ตามผู้สอนต้องให้ผู้เรียนตรวจสอบว่าข้อความ
คาดการณ์นน
ั ้ ถูกต้องหรือไม่ โดยอาจค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมว่า
ข้อความคาดการณ์นน
ั ้ สอดคล้องกับสมบัติทางเรขาคณิตหรือทฤษฎีบท
ทางเรขาคณิตใดหรือไม่ ในการประเมินผลความสามารถ พิจารณาได้
จากการทำกิจกรรมของผู้เรียน

ความรู้สึกเชิงจำนวน (number sense)


ความรู้สึกเชิงจำนวนเป็ นสามัญสำนึกและความเข้าใจเกี่ยวกับ
จำนวนที่อาจพิจารณาในด้านต่าง ๆ เช่น
 เข้าใจความหมายของจำนวนที่ใช้บอกปริมาณ (เช่น ดินสอ 5
แท่ง) และใช้บอกอันดับที่ (เช่น วิ่งเข้าเส้นชัยเป็ นที่ 5)
 เข้าใจความสัมพันธ์ที่หลากหลายของจำนวนใด ๆ กับจำนวน
อื่น ๆเช่น 8 มากกว่า 7 อยู่ 1 แต่น้อยกว่า 10 อยู่ 2
 เข้าใจเกี่ยวกับขนาดของจำนวนใด ๆ เมื่อเปรียบเทียบกับ
จำนวนอื่น เช่น 8 ใกล้เคียงกับ 4 แต่ 8 น้อยกว่า 100 มาก
 เข้าใจผลที่เกิดขึน
้ เกี่ยวกับการดำเนินการของจำนวน เช่น คำ
ตอบของ 65 + 42 ควรมากกว่า 100 เพราะว่า 65 > 60 , 42 >
40 และ 60 + 40 = 100
58

 ใช้เกณฑ์จากประสบการณ์ในการเทียบเคียงถึงความสมเหตุสม
ผลของจำนวน เช่น การรายงานว่านักเรียนชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 1 คน
หนึ่งสูง 250 เซนติเมตรนัน
้ ไม่น่าเป็ นไปได้
ความรู้สึกเชิงจำนวนสามารถพัฒนาและส่งเสริมให้เกิดขึน
้ กับผู้
เรียนได้ โดยจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เหมาะสมซึ่งรวมไปถึงการคิดใน
ใจและการประมาณค่า ผู้เรียนที่มีความรู้สึกเชิงจำนวนดีจะเป็ นผู้ที่
สามารถตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้จากการคำนวณ
และการแก้ปัญหาได้ดี

ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model)


ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ได้แก่ ตาราง กราฟ นิพจน์ สมการ
อสมการ ฟั งก์ชัน หรืออื่น ๆ ที่เหมาะสม ซึ่งใช้ในการอธิบายความ
สัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่กำหนดให้

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ (mathematical skill


and process)
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เป็ นความสามารถที่จะนำ
ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึง่ ความรู้และ
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในที่นี ้ เน้นที่ทักษะและกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ที่จำเป็ น และต้องการพัฒนาให้เกิดขึน
้ กับผู้เรียน ได้แก่
ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการให้เหตุผล ความ
สามารถในการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำเสนอ
ความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ และการมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
59

บรรณานุกรม

ก ร ะ ท ร ว ง ศ ึก ษ า ธ ิก า ร . (2544). ห ล ัก ส ูต ร ก า ร ศ ึก ษ า ข น
ั ้ พ ้น
ื ฐาน
พุทธศักราช 2544.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
สภาพัฒ นาการเศรษฐกิจ และสัง คมแห่ง ชาติ. (2549). แผนพัฒ นา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 10.
สำนัก งานเลขาธิก ารสภาการศึก ษา. (2547). ข้อ เสนอยุท ธศาสตร์ก าร
ปฏิรูปการศึกษา.
กรุงเทพฯ: เซ็นจูร่.ี
สำนักนายกรัฐมนตรี, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ .(2542).
พระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์ก ารรับ ส่ง สินค้า
และพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).
สำนักผู้ตรวจราชการและติดตามประเมินผล. (2548). การติดตามปั ญหา
อุปสรรคการใช้หลักสูตร
การศึกษาขัน
้ พืน
้ ฐาน พ.ศ. 2544. บันทึก ที่ ศธ 0207/ 2692 ลงวันที่
19 กันยายน 2548.
สำนัก วิช าการและมาตรฐานการศึก ษา. (2546 ก.).สรุป ผลการประชุม
วิเคราะห์หลักสูตรการศึกษา
ขัน
้ พื้นฐาน.27-28 ตุลาคม 2546 โรงแรมตรัง กรุงเทพฯ. (เอกสาร
อัดสำเนา).
60

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2546 ข.).สรุปความเห็นจากการ


ประชุมเสวนาหลักสูตร
การศึก ษาขัน
้ พื้น ฐาน 5 จุด .พฤศจิก ายน 2546 (เอกสารอัด
สำเนา).
สำ นัก วิช าการและมาตรฐานการศึก ษา. (2548 ก). รายงานการวิจ ัย
การใช้หลักสูตรการศึกษา
ขัน
้ พื้นฐานตามทัศนะของผู้สอน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับ
ส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์
(ร.ส.พ.).
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2548 ข.). รายงานการวิจัย
โครงการวิจัยเชิงทดลอง กระบวนการสร้างหลักสูตรสถาน
ศึกษาแบบอิงมาตรฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้า
และพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).
สุวิมล ว่องวาณิช และ นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2547). การประเมินผลการ
ปฎิรูปการเรียนรู้ ตาม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 พหุกรณี
ศึกษา.เอกสารการประชุมทาง
วิชาการการวิจัยเกี่ยวกับการปฏิรป
ู การเรียนรู้ โดยสำนักงาน
เลขาธิการสภาการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ วันที่ 19- 20 กรกฎาคม 2547.
Kittisunthorn, C., (2003). Standards-based curriculum: The
first experience of Thai teachers. Doctoral
Dissertation, Jamia Islamia University, Delhi, India.
61

Nutravong, R., (2002). School-based curriculum decision-


making: A study of the Thailand reform experiment.
Doctoral Dissertation, IndianaUniversity, Bloomington.
U.S.A.

คณะผู้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
พุทธศักราช 2553 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2559)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
โรงเรียนพัฒนา
62

You might also like