You are on page 1of 142

[1]

ทำวัตร-สวดมนต
ฉบับวัดหลวงพอสดธรรมกายาราม

จัดพิมพโดย
วัดหลวงพอสดธรรมกายาราม
อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

Dhammaintrend ร่วมเผยแพร่และแบ่งปันเป็ นธรรมทาน


ทำวัตร-สวดมนต ฉบับวัดหลวงพอสดธรรมกายาราม

ISBN : 974-86302-4-2
พิมพครัง้ ที่ ๔ : มีนาคม ๒๕๕๐ จำนวน ๓,๐๐๐ เลม
พิมพครัง้ ที่ ๕ : พฤศจิกายน ๒๕๕๐ จำนวน ๓,๐๐๐ เลม

จัดพิมพโดย :
วัดหลวงพอสดธรรมกายาราม
อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ๗๐๑๓๐
โทรศัพท ๐-๓๒๒๕-๓๖๓๒ กดตอ ๒๒๐/๑๙๑,
๐๘-๓๐๓๒-๘๙๐๗ โทรสาร: ๐-๓๒๒๕-๔๙๕๔

จัดทำรูปเลม/เรียงพิมพ :
กองงานสือ่ สิง่ พิมพ วัดหลวงพอสดฯ
ภัคกร เมืองนิล เพชรเกษมการพิมพ

พิมพที่ :
โรงพิมพ เพชรเกษมการพิมพ
โทรศัพท ๐๓๔-๒๕๙๗๕๙
Õÿ‚∫ ∂«—¥À≈«ßæãÕ ¥∏√√¡°“¬“√“¡
Õ”‡¿Õ¥”‡π‘π –¥«° ®—ßÀ«—¥√“™∫ÿ√’
หลวงพอวัดปากน้ำ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)
ผูปฏิบัติและสอนภาวนาตามแนวสติปฏฐาน ๔
ถึงธรรมกายและพระนิพพานของพระพุทธเจา
คติธรรม
ของ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงพอวัดปากน้ำ

รักษรางพอสรางราย รอดตน
ยอดเยีย่ ม “ธรรมกาย” ผล ผองแผว
เลอเลิศลวงกุศล ใดอืน่
เชิญทานถือเอาแกว กองหลา เรืองสกล

ไมหยุด ไมถึงพระ ตัวหยุดนีแ่ หละเปนตัวสำเร็จ

ผลไมดก นกชุม น้ำเย็น ปลาชอบอาศัย

ดวยความหมั่น มัน่ ใจ ไมประมาท
รักษาอาตม ขมใจ ไวเปนศรี
ผูฉลาด อาจตั้งหลัก พำนักดี
อันหวงน้ำ ไมมี มารังควาน

ประกอบเหตุ สังเกตผล ทนเอาเถิด ประเสริฐนัก
ประกอบเหตุ สังเกตผล สนใจเถิด ประเสริฐนัก
ประกอบในเหตุ สังเกตในผล สนใจเขาเถิด ประเสริฐดีนัก
ประกอบที่ในเหตุ สังเกตดูในผล สนใจหนักเขาเถิด ประเสริฐดียิ่งนัก

ขุดบอลอธารา ใหอุตสาห ขุดร่ำไป
ขุดตืน้ ๆ น้ำบมี ขุดถึงที่ น้ำจึง่ ไหล

เกิดมาวาจะมาหาแกว พบแลวไมกำ จะเกิดมาทำอะไร
สิ่งที่อยากก็หลอก สิ่งที่หยอกเขาก็ลวง ทำใหจิตเปนหวงใย
เลิกอยากลาหยอก รีบออกจากกาม เดินตามขันธสามเรื่อยไป
เสร็จกิจสิบหก ไมตกกันดาร เรียกวานิพพานก็ได

พระราชญาณวิสฐิ (เสริมชัย ชยมงฺคโล ป.ธ.๖)
เจาอาวาสวัดหลวงพอสดธรรมกายาราม
ผูปฏิบัติและสอนภาวนาตามแนวสติปฏฐาน ๔
ที่หลวงพอวัดปากน้ำฯ ไดปฏิบัติและสั่งสอนถายทอดไว

ประวั ติ ย อ
พระราชญาณวิสฐิ (เสริมชัย ชยมงฺคโล ป.ธ.๖)
ชือ่ ฉายา พระราชญาณวิสฐิ (เสริมชัย ชยมงฺคโล ป.ธ.๖)
นามสกุล พลพัฒนาฤทธิ์
วันเดือนปเกิด วันพฤหัสบดีที่ ๖ มีนาคม พ.ศ.๒๔๗๒
ชาติภูมิเดิม อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย
อุปสมบท ๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๙
ณ พัทธสีมา วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กรุงเทพฯ
พระอุปช ฌาย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ฟน ชุตินธรมหาเถระ)
วัดสามพระยา กรุงเทพฯ
พระกรรมวาจาจารย สมเด็จพระพุฒาจารย (เกีย่ ว อุปเสณมหาเถระ) วัดสระเกศ
ราชวรมหาวิหาร กรุงเทพฯ ในสมั ย ที่ ดำรงสมณศั ก ดิ์ เ ป น ที่
พระพรหมคุณาภรณ
พระอนุสาวนาจารย สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย (ชวง วรปุญญมหาเถระ)
วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กรุงเทพฯ
ในสมัยที่ดำรงสมณศักดิ์เปนที่ พระธรรมธีรราชมหามุนี
พระวิปสสนาจารย พระราชพรหมเถร (วี ร ะ คณุ ต ตโม) รองเจ า อาวาสและ
พระอาจารยใหญฝา ยวิปส สนาธุระ วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กรุงเทพฯ
วุฒิการศึกษาภาคปริยัติ ป.ธ.๖, น.ธ.เอก
เปนพระอุปชฌายสามัญ วันที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๙
สังกัด พรรษา ๑-๕ (๒๕๒๙-๒๕๓๓) วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กรุงเทพฯ
พรรษา ๖ (๒๕๓๔) ถึงปจจุบนั วัดหลวงพอสดธรรมกายาราม

ประวัตกิ อ นบรรพชาอุปสมบท
วุฒิการศึกษา
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (เกียรตินิยม ‘ดี’) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ประกาศนียบัตรการศึกษาอบรม “วิชาวิจัยทางสังคมศาสตร” Institute of Social
Research, The University of Michigan, Ann Arbor สหรัฐอเมริกา
ประกาศนียบัตรการศึกษาอบรมหลักสูตรการจัดการคอมพิวเตอร และระบบขาวสาร
ดวยเครือ่ งคอมพิวเตอร จากสำนักแถลงขาวสหรัฐ วอชิงตัน ดีซี ประเทศสหรัฐอเมริกา
หนาทีก่ ารงานประจำ เปนพนักงานประจำสำนักขาวสารอเมริกนั กรุงเทพฯ ในตำแหนง
Research Specialist ลาออกจากสำนักขาวสารอเมริกนั กอนถึงเวลาเกษียณอายุ ๓ ป คือ
เมื่อมีอายุ ๕๗ ป เพื่อบรรพชาอุปสมบท ปฏิบัติพระศาสนา ปจจุบันเปนพนักงานบำนาญของ
รัฐบาลสหรัฐอเมริกา
ผูบรรยายพิเศษ สาขา “วิชาระเบียบวิธีการวิจัยและประเมินผล” แกนักศึกษา
ชั้นปริญญาโท สาขาวารสารศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ฯลฯ
คำ นำ

หนังสือ “ทำวัตร-สวดมนต” ฉบับนี้ วัดหลวงพอสดธรรมกายาราม ไดจัดพิมพ


ขึน้ ใหม หลังจากวางเวนไปนาน
ในการพิมพครั้งใหมนี้ ยังไดเพิ่มคำแปลภาษาไทย ในเกือบทุกแหง เพื่อใหอุบาสก
อุบาสิกา ผูที่ใชหนังสือนี้ ไดเขาใจความหมายของบทที่สวด อันเปนพระพุทธวจนะบาง
พระเถรภาษิตบาง ของบูรพาจารยตา งๆ บาง ซึง่ นอกจากจะไดอานิสงสจากการทำวัตร-
สวดมนต ดวยศรัทธาปสาทะ เพือ่ สรรเสริญบูชาคุณพระรัตนตรัย ฝกจิตใหสงบสะอาดแลว
เปนการเพิม่ พูนปญญาใหสวางไสว เปนปญญาบารมีใหยงิ่ ๆ ขึน้ ไปดวย
หนังสือ “ทำวัตร-สวดมนต” ฉบับนี้ สำเร็จลงดวยความอุตสาหะวิรยิ ะของกองงาน
สือ่ สิง่ พิมพ วัดหลวงพอสดธรรมกายาราม อาตมภาพจึงขอขอบคุณและอนุโมทนาสาธุการ
ในกุศลเจตนาและความอุตสาหะวิริยะของทานทั้งหลาย ที่ไดชวยใหการจัดพิมพหนังสือ
เลมนี้สำเร็จลงดวยดี และขออนุโมทนาทานเจาภาพตลอดทั้งผูมีอุปการคุณอื่นๆ ที่ชวย
ในการจัดพิมพหนังสือนีด้ ว ย
อาตมภาพขออำนาจคุณพระศรีรัตนตรัย จงไดโปรดดลบันดาลประทานพรให
ทานเจาภาพทุกทาน และผมู อี ปุ การคุณในการจัดพิมพหนังสือเลมนี้ จงเจริญรงุ เรืองดวย
พระสัทธรรมของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา และจงเจริญดวย อายุ วรรณะ สุขะ พละ
ปฏิภาณ ธนสารสมบัติ ปรารถนาสิง่ ใดๆ โดยชอบทีไ่ มเหลือวิสยั เหตุปจ จัย ก็ขอจงสำเร็จ
ทุกประการ เทอญ.

(พระราชญาณวิสิฐ)
เจาอาวาสวัดหลวงพอสดธรรมกายาราม
อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี
สารบัญ
ทำวัตร
ทำวัตรเชา .............................................................................................................................. ๒
รตนัตตยัปปณามคาถา (พุทโธ สุสทุ โธ)........................................................................... ๕
สังเวคปริกติ ตนปาฐะ (อิธะ ตะถาคะโต) ......................................................................... ๖
ธาตุปฏิกลู ปจจเวกขณปาฐะ (ยะถาปจจะยัง) ............................................................... ๙
ตังขณิกปจจเวกขณปาฐะ (ปะฏิสงั ขา โยนิโส) ............................................................ ๑๐
ปตติทานคาถา (ยา เทวะตา) ............................................................................................ ๑๑
วิหารทานคาถา (สีตงั อุณหัง).......................................................................................... ๑๒
ทำวัตรเย็น .......................................................................................................................... ๑๓
อตีตปจจเวกขณปาฐะ (อัชชะ มยา) ............................................................................ ๒๐
กรวดน้ำ (ของเกา) (อิมนิ า ปุญญะกัมเมนะ) ................................................................ ๒๑

พระปริตร
ชุมนุมเทวดา (ผะริตว๎ านะ เมตตัง) ................................................................................... ๒๔
นมการสิทธิคาถา (โย จักขุมา) ....................................................................................... ๒๖
สัมพุทเธฯ ........................................................................................................................... ๒๗
นโมการอัฏฐคาถา (นะโม อะระหะโต) .......................................................................... ๒๘
(๗) มังคลปริตร (อะเสวะนา จะ พาลานัง) ..................................................................... ๒๘
(๗) รัตนปริตร (ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรงั วา) ........................................................... ๓๑
(๗) กรณียเมตตสูตร (กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ) ...................................................... ๓๒
(๗) ขันธปริตร (วิรปู ก เขหิ เม เมตตัง) .............................................................................. ๓๔
(๗) โมรปริตร (อุเทตะยัญจักขุมา) .................................................................................... ๓๕
ฉัททันตปริตร (วะธิสสะเมนันติ) ....................................................................................... ๓๖
(๑๒) วัฏฏกปริตร (อัตถิ โลเก สีละคุโณ) ........................................................................ ๓๗
(๗) ธชัคคปริตร (...อรัญเญ รุกขะมูเล วา) ..................................................................... ๓๘
(๗) อาฏานาฏิยปริตร (วิปส สิสสะ นะมัตถุ) ................................................................... ๔๒
(๗) หมายถึง เปนบทสวดพระปริตรใน ๗ ตำนานและ ๑๒ ตำนาน
(๑๒) หมายถึง เปนบทสวดพระปริตรใน ๑๒ ตำนานเทานั้น
[10]
(๑๒) อังคุลมิ าลปริตร (ยะโตหัง ภะคินิ อะริยายะ) ....................................................... ๔๓
(๑๒) โพชฌังคปริตร (โพชฌังโค สะติสงั ขาโต) ............................................................. ๔๓
(๑๒) อภยปริตร (ยันทุนนิมติ ตัง) ........................................................................................ ๔๕
โส อัตถะลัทโธฯ ................................................................................................................. ๔๕
สักกัตว๎ า พุทธะระตะนัง ................................................................................................. ๔๖
ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก ................................................................................................... ๔๖
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ............................................................................................. ๔๖
ถวายพรพระ (อิตปิ  โส ภะคะวา) ................................................................................... ๔๗
พุทธชัยมงคลคาถา (พาหุง) ............................................................................................ ๔๘
(๑๒) ชยปริตร (มะหาการุณโิ ก นาโถ) ............................................................................... ๕๐
มงคลจักรวาฬใหญ (สิรธิ ติ ิมะติเตโช) ............................................................................. ๕๑
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง ................................................................................................... ๕๒
นักขัตตะยักขะภูตานัง .................................................................................................... ๕๓
เทวตาอุยโยชนคาถา (ทุกขัปปตตา จะ นิททุกขา) ....................................................... ๕๓
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ................................................................................................... ๕๔
เมตตานิสงั สสุตตปาฐะ (เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมตุ ติยา) ........................................ ๖๑
เขมาเขมสรณทีปก คาถา (พะหุง เว สะระณัง ยันติ) .................................................. ๖๓
โอวาทปาฏิโมกขคาถา (สัพพะปาปสสะ อะกะระณัง) ................................................ ๖๔
ปจฉิมพุทโธวาท .................................................................................................................. ๖๔
ปพพโตปมคาถา (ยะถาป เสลา) ...................................................................................... ๖๕
ภัทเทกรัตตคาถา (อะตีตงั นาน๎วาคะเมยยะ) ................................................................. ๖๖
ภารสุตตคาถา (ภารา หะเว ปญจักขันธา) ....................................................................... ๖๖
ทวัตติงสาการะปาฐะ (อาการ ๓๒) (อะยัง โข เม กาโย) ..................................... ๖๗
ปญจอภิณหปจจเวกขณปาฐะ (ชะราธัมโมม๎ห)ิ .......................................................... ๖๘
พระคาถาชินบัญชร (ชะยาสะนาคะตา พุทธา) ............................................................ ๖๙
พระคาถาบูชาพระพุทธเจา ๒,๐๔๘,๑๐๙ พระองค .......................................... ๗๒
มังคลเทวมุนปิ ต ติทานคาถา (โย โส จันทะสะโร เถโร) .............................................. ๘๐
รตนัตตยยัปปภาวสิทธิคาถา (อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ โลกานัง อะนุกมั ปะโก) ............ ๘๑
ภูมพิ ลมหาราชวรัสสะ ชยมังคลวรทานคาถา (ภูมพิ ะโล มะหาราชา) ............... ๘๔
[11]
อนุโมทนาวิธี
อนุโมทนาวิธี (ยะถาฯ สัพพีฯ) ........................................................................................... ๘๘
ระตะนัตนะยานุภาเวนะฯ ............................................................................................... ๘๘
อาฏานาฏิยปริตร (ยอ) (สัพพะโรคะวินมิ ตุ โต) ............................................................. ๘๙
มงคลจักรวาฬนอย (สัพพะพุทธานุภาเวนะ) ................................................................. ๙๐
โภชนทานานุโมทนาคาถา (อายุโท พะละโท) .............................................................. ๙๑
อัคคัปปสาทสูตร (อัคคะโต เว ปะสันนานัง)................................................................... ๙๑
กาลทานสุตตคาถา (กาเล ทะทันติ) ............................................................................... ๙๒
ติโรกุฑฑกัณฑปจฉิมภาค (อะทาสิ เม - อะยัญจะ โข) .............................................. ๙๓

อานุภาพพระปริตร
อานุภาพพระปริตร .......................................................................................................... ๙๔
อานิสงสพระปริตร .......................................................................................................... ๙๔
จำนวนพระปริตร ............................................................................................................. ๙๕

ตำนานพระปริตร
มงคลปริตร ......................................................................................................................... ๙๕
รตนปริตร ............................................................................................................................ ๙๖
กรณียเมตตปริตร ............................................................................................................ ๙๖
ขันธปริตร ........................................................................................................................... ๙๗
โมรปริตร ............................................................................................................................. ๙๘
วัฏฏกปริตร ........................................................................................................................ ๙๙
ธชัคคปริตร ........................................................................................................................ ๙๙
อาฏานาฏิยปริตร ........................................................................................................... ๑๐๐
อังคุลิมาลปริตร .............................................................................................................. ๑๐๐
โพชฌังคปริตร ................................................................................................................ ๑๐๑
อภยปริตร ......................................................................................................................... ๑๐๑
ชยปริตร ............................................................................................................................. ๑๐๑
[12]
ภาคผนวก
คำอาราธนาศีล-ใหศีล
อาราธนาศีล ๕ ................................................................................................................ ๑๐๔
อาราธนาศีล ๘ ................................................................................................................ ๑๐๔
ไตรสรณคมน ................................................................................................................... ๑๐๔
คำสมาทานสิกขาบท ๕ (ศีล ๕) ............................................................................... ๑๐๕
คำสมาทานสิกขาบท ๘ (ศีล ๘) ............................................................................... ๑๐๖
อาราธนาพระปริตร .................................................................................................... ๑๐๗
อาราธนาธรรม ............................................................................................................. ๑๐๗
อานิสงสแหงศีล .............................................................................................................. ๑๐๘
องคแหงศีล ....................................................................................................................... ๑๑๐
ธรรมของอุบาสก-อุบาสิกาแกว (อุบาสก-อุบาสิการตนะ) ............................ ๑๑๓
การคาตองหามสำหรับอุบาสกอุบาสิกา (มิจฉาวณิชชา) ................................... ๑๑๔

คำถวายสังฆทาน
คำถวายภัตตาหาร ......................................................................................................... ๑๑๕
คำถวายขาวสาร ............................................................................................................ ๑๑๕
คำถวายพระพุทธรูป ..................................................................................................... ๑๑๕
คำถวายผาปา (ผาบังสุกลู ) ............................................................................................ ๑๑๖
คำถวายผาอาบน้ำฝน (วัสสิกสาฎก) .......................................................................... ๑๑๖
คำถวายผากฐิน ............................................................................................................... ๑๑๖
คำถวายเสนาสนะ กุฏิ วิหาร .................................................................................. ๑๑๗
คำบูชาขาวพระ ............................................................................................................. ๑๑๗
คำลาขาวพระ ................................................................................................................ ๑๑๗
คำกรวดน้ำแบบสัน้ ..................................................................................................... ๑๑๗
วิธปี ฏิบตั ภิ าวนาเบือ้ งตน ............................................................................................ ๑๑๙
คำบูชาพระกัมมัฏฐาน ................................................................................................. ๑๒๐
คำอธิษฐาน ..................................................................................................................... ๑๒๒
ทำวั ต รเช า 1

ทำวัตรเชา - เย็น
2 ทำวั ต ร-สวดมนต

ทำวัตรเชา
(นำ-วาตาม)
โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, ส๎วากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม,
สุปะฏิปนโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง
สะสังฆัง อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปเตหิ อะภิปชู ะยามะ.
พระผมู พี ระภาคเจานัน้ พระองคใด เปนพระอรหันต ตรัสรเู องโดยชอบแลว, พระธรรม
เปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจาพระองคใด ตรัสไวดีแลว, พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา
พระองคใด ปฏิบตั ดิ แี ลว, ขาพเจาขอบูชาอยางยิง่ ซึง่ พระผมู พี ระภาคเจาพระองคนน้ั พรอมทัง้
พระสัทธรรม และพระอริยสงฆเจาทัง้ หลาย ดวยเครือ่ งสักการะทัง้ หลายเหลานี้ อันยกขึน้ ตาม
สมควรแลว.
สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจริ ะปะรินพิ พุโตป ปจฉิมาชะนะตานุกมั ปะมานะสา
อิเม สักกาเร ทุคคะตะปณณาการะภูเต ปะฏิคคัณห๎ าตุ อัมห๎ ากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ
สุขายะ.
ขาแตพระองคผูเจริญ พระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น แมปรินิพพานนานแลวก็ตาม
ยังประโยชนยงิ่ ใหญใหสำเร็จแกขา พเจาทัง้ หลาย ขอจงรับเครือ่ งสักการะอันเปนบรรณาการของ
คนยากทั้ ง หลายเหล า นี้ ด ว ยพระหฤทั ย เพื่ อ จะอนุ เ คราะห ป ระชุ ม ชนผู เ กิ ด แล ว ในภายหลั ง
เพือ่ ประโยชน เพือ่ ความสุข แกขา พเจาทัง้ หลาย สิน้ กาลนานเทอญ.

คำนมัสการ
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา. พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. (กราบ ๑ ครัง้ )
พระผมู พี ระภาคเจา เปนพระอรหันต ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกขสนิ้ เชิง ตรัสรชู อบไดโดย
พระองคเอง ขาพเจาอภิวาทพระผมู พี ระภาคเจา ผรู ู ผตู นื่ ผเู บิกบาน.
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม. ธัมมัง นะมัสสามิ. (กราบ ๑ ครัง้ )
พระธรรมเปนธรรมทีพ่ ระผมู พี ระภาคเจา ตรัสไวดแี ลว ขาพเจานมัสการพระธรรม.
สุปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ. สังฆัง นะมามิ. (กราบ ๑ ครัง้ )
พระสงฆสาวกของพระผมู พี ระภาคเจา ปฏิบตั ดิ แี ลว ขาพเจานอบนอมพระสงฆ.
ทำวั ต รเช า 3
(นำ) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส.
ปุพพภาคนมการ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)
ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น ผูไกลจากกิเลส ตรัสรูชอบดวยพระองคเอง

(นำ) หันทะ มะยัง พุทธาภิถตุ งิ กะโรมะ เส.


พุทธาภิถตุ ิ
โย โส ตะถาคะโต อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปนโน สุคะโต
โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา,
พระตถาคตเจานัน้ พระองคใด เปนผไู กลจากกิเลส เปนผคู วรไหวควรบูชา เปนผตู รัสรู
ชอบไดโดยพระองคเอง เปนผถู งึ พรอมแลวดวยวิชชาและจรณะ เปนผเู สด็จไปดีแลว เปนผรู โู ลก
อยางแจมแจง เปนผฝู ก บุรษุ ทีค่ วรฝก ไมมผี อู นื่ ยิง่ กวา เปนครูสอนเทวดาและมนุษยทงั้ หลาย
เปนผรู ู ผตู นื่ ผเู บิกบานแลว เปนผจู ำแนกธรรมสัง่ สอนสัตว,
โย อิมงั โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพ๎รหั ม๎ ะกัง สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิง
ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกตั ว๎ า ปะเวเทสิ,
พระผมู พี ระภาคเจาพระองคใด ไดทรงทำใหแจงดวยพระปญญาอันยิง่ เองแลว ทรงสอนโลก
นี้ กับทัง้ เทวดา มาร พรหม และหมสู ตั ว พรอมทัง้ สมณพราหมณ และเทวดา มนุษย ใหรตู าม,
โย ธัมมัง เทเสสิ อาทิกลั ย๎ าณัง มัชเฌกัลย๎ าณัง ปะริโยสานะกัลย๎ าณัง สาตถัง
สะพ๎ยญ
ั ชะนัง เกวะละปะริปณุ ณัง ปะริสทุ ธัง พ๎รหั ม๎ ะจะริยงั ปะกาเสสิ,
พระผูมีพระภาคเจาพระองคใด ทรงแสดงแลวซึ่งธรรม ไพเราะในเบื้องตน ไพเราะใน
ทามกลาง ไพเราะในทีส่ ดุ ทรงประกาศพรหมจรรย พรอมทัง้ อรรถ พรอมทัง้ พยัญชนะ บริสทุ ธิ์
บริบรู ณ สิน้ เชิง,
ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปชู ะยามิ. ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ.
ขาพเจาขอบูชาโดยยิ่ง ซึ่งพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น. ขาพเจานอบนอมพระผูมี
พระภาคเจาพระองคนนั้ ดวยเศียรเกลา.
(กราบ ๑ ครัง้ )
4 ทำวั ต ร-สวดมนต

(นำ) หันทะ มะยัง ธัมมาภิถตุ งิ กะโรมะ เส.


ธัมมาภิถตุ ิ
โย โส ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปส สิโก
โอปะนะยิโก ปจจัตตัง เวทิตพั โพ วิญูห,ิ
พระธรรมนัน้ ใด อันพระผมู พี ระภาคเจาตรัสดีแลว เปนสิง่ อันบุคคลพึงเห็นไดดว ยตนเอง
เปนสิง่ ทีป่ ฏิบตั ไิ ด และใหผลไดไมจำกัดกาล เปนสิง่ ทีค่ วรกลาวกะผอู นื่ วาทานจงมาดูเถิด เปน
สิง่ อันบุคคลพึงนอมเขามาใสตน เปนสิง่ อันวิญูชนทัง้ หลายพึงรไู ดเฉพาะตน,
ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปชู ะยามิ. ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมามิ. (กราบ ๑ ครัง้ )
ขาพเจาขอบูชาโดยยิง่ ซึง่ พระธรรมนัน้ . ขาพเจานอบนอมซึง่ พระธรรมนัน้ ดวยเศียรเกลา.

(นำ) หันทะ มะยัง สังฆาภิถตุ งิ กะโรมะ เส.


สังฆาภิถตุ ิ
โย โส สุปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชปุ ะฏิปน โน ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจปิ ะฏิปน โน ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ,
พระสงฆสาวกของพระผมู พี ระภาคเจานั้นหมูใด เปนผูปฏิบัติดีแลว, พระสงฆสาวกของ
พระผูมีพระภาคเจาหมูใด เปนผูปฏิบัติตรงแลว, พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจาหมูใด
ปฏิบตั เิ พือ่ รธู รรมเปนเครือ่ งออกจากทุกขแลว, พระสงฆสาวกของพระผมู พี ระภาคเจาหมใู ด เปน
ผูปฏิบัติชอบแลว,
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง
ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ
ไดแก คูแหงบุรุษ ๔ บุรุษบุคคลทั้งหลาย ๘๑, นั่นแหละ พระสงฆสาวกของพระผูมี
พระภาคเจา เปนผคู วรแกสกั การะทีเ่ ขานำมาบูชา เปนผคู วรแกสกั การะทีเ่ ขาจัดไวตอ นรับ เปน
ผคู วรรับทักษิณาทาน เปนผทู บี่ คุ คลควรทำอัญชลี เปนเนือ้ นาบุญของโลก ไมมนี าบุญอืน่ ยิง่ กวา,
ตะมะหัง สังฆัง อะภิปชู ะยามิ. ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ. (กราบ ๑ ครัง้ )
ขาพเจาขอบูชาโดยยิง่ ซึง่ พระสงฆหมนู นั้ . ขาพเจานอบนอมพระสงฆหมนู นั้ ดวยเศียรเกลา.

คือ โสดาปตติมรรค-โสดาปตติผล, สกิทาคามิมรรค-สกิทาคามิผล, อนาคามิมรรค-อนาคามิผล, อรหัตตมรรค-อรหัตตผล
ทำวั ต รเช า 5

รตนัตตยัปปณามคาถา
(นำ) หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย ภะณามะ เส.
ถาสวดสังเวคปริกติ ตนปาฐะดวย ใหวา นำรวมกันดังนี้
(นำ) หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะ สังเวคะปะริกติ ตะนะปาฐัญจะ
ภะณามะ เส.
พุทโธ สุสทุ โธ กะรุณามะหัณณะโว
โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน
โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก,
วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง.
พระพุทธเจาผบู ริสทุ ธิ์ มีพระกรุณาดุจหวงมหรรณพ พระองคใด มีตาคือญาณอันประเสริฐ
หมดจดถึงทีส่ ดุ เปนผฆู า เสียซึง่ บาป และอุปกิเลสของโลก, ขาพเจาไหวพระพุทธเจาพระองคนนั้
โดยใจเคารพเอื้อเฟอ.
ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน
โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก
โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน,
วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง.
พระธรรมของพระศาสดา สวางรงุ เรืองเปรียบดวงประทีป จำแนกประเภท คือ มรรค ผล
นิพพาน สวนใด ซึง่ เปนตัวโลกุตตระ และสวนใดทีช่ แี้ นวแหงโลกุตตระนัน้ , ขาพเจาไหวพระธรรมนัน้
โดยใจเคารพเอื้อเฟอ.
สังโฆ สุเขตตาภ๎ยะติเขตตะสัญญิโต
โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก
โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส,
วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง.
พระสงฆเปนนาบุญอันยิง่ ใหญกวานาบุญอันดีทงั้ หลาย เปนผเู ห็นพระนิพพาน ตรัสรตู าม
พระสุคต หมใู ด เปนผลู ะกิเลสเครือ่ งโลเล เปนพระอริยเจา มีปญ  ญาดี, ขาพเจาไหวพระสงฆ
หมนู นั้ โดยใจเคารพเอือ้ เฟอ .
6 ทำวั ต ร-สวดมนต

อิจเจวะเมกันตะภิปชู ะเนยยะกัง
วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสงั ขะตัง
ปุญญัง มะยา ยัง, มะมะ สัพพุปท ทะวา
มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา.
บุญใด ที่ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งวัตถุสาม คือพระรัตนตรัย อันควรบูชายิ่งโดยสวนเดียว
ไดกระทำแลวเปนอยางยิ่งเชนนี้ นี้, ขออุปททวะขัดของทั้งหลาย จงอยามีแกขาพเจาเลย
ดวยอำนาจความสำเร็จ อันเกิดจากบุญนั้น.

สังเวคปริกติ ตนปาฐะ
อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปนโน อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ. ธัมโม จะ เทสิโต
นิยยานิโก อุปะสะมิโก ปะรินพิ พานิโก สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต.
พระตถาคตเจาเกิดขึน้ แลว ในโลกนี้ เปนผไู กลจากกิเลส ตรัสรชู อบไดโดยพระองคเอง.
และพระธรรมทีท่ รงแสดง เปนธรรมเครือ่ งออกจากทุกข เปนเครือ่ งสงบกิเลส เปนไปเพือ่ ปรินพิ พาน
เปนไปเพือ่ ความรพู รอม เปนธรรมทีพ่ ระสุคตประกาศ.
มะยันตัง ธัมมัง สุต๎วา เอวัง ชานามะ: ชาติป ทุกขา. ชะราป ทุกขา.
มะระณัมป ทุกขัง. โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาป ทุกขา. อัปปเยหิ
สัมปะโยโค ทุกโข. ปเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข. ยัมปจฉัง นะ ละภะติ, ตัมป ทุกขัง.
พวกเราเมือ่ ไดฟง ธรรมนัน้ แลว จึงไดรอู ยางนีว้ า : แมความเกิดก็เปนทุกข. แมความแก
ก็เปนทุกข. แมความตายก็เปนทุกข. แมความโศก ความร่ำไรรำพัน ความไมสบายกาย ความไม
สบายใจ ความคับแคนใจ ก็เปนทุกข. ความประสบกับสิง่ ไมเปนทีร่ กั ทีพ่ อใจ ก็เปนทุกข. ความ
พลัดพรากจากสิง่ เปนทีร่ กั ทีพ่ อใจ ก็เปนทุกข. ปรารถนาสิง่ ใด ไมไดสงิ่ นัน้ , นัน่ ก็เปนทุกข.
สังขิตเตนะ ปญจุปาทานักขันธา ทุกขา. เสยยะถีทงั รูปปู าทานักขันโธ เวทะนูปา-
ทานักขันโธ สัญูปาทานักขันโธ สังขารูปาทานักขันโธ วิญญาณูปาทานักขันโธ.
วาโดยยอ อุปาทานขันธทั้ง ๕ เปนตัวทุกข. ไดแกสิ่งเหลานี้ คือ ขันธอันเปนที่ตั้งแหง
ความยึดมั่น คือรูป ขันธอันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น คือเวทนา ขันธอันเปนที่ตั้งแหงความ
ยึดมัน่ คือสัญญา ขันธอนั เปนทีต่ งั้ แหงความยึดมัน่ คือสังขาร ขันธอนั เปนทีต่ งั้ แหงความยึดมัน่
คือวิญญาณ.
ทำวั ต รเช า 7
เยสัง ปะริญญายะ ธะระมาโน โส ภะคะวา เอวัง พะหุลงั สาวะเก วิเนติ.
เอวัง ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนุสาสะนี พะหุลา ปะวัตตะติ.
เพือ่ ใหสาวกกำหนดรอบรอู ปุ าทานขันธเหลานี้ พระผมู พี ระภาคเจานัน้ เมือ่ ยังทรงพระชนม
อยู จึงทรงแนะนำสาวกทัง้ หลาย เชนนีเ้ ปนสวนมาก. อนึง่ คำสัง่ สอนของพระผมู พี ระภาคเจานัน้
ยอมเปนไปในสาวกทัง้ หลาย สวนมาก มีสว นคือการจำแนกอยางนีว้ า
รูปง อะนิจจัง. เวทะนา อะนิจจา. สัญญา อะนิจจา. สังขารา อะนิจจา.
วิญญาณัง อะนิจจัง. รูปง อะนัตตา. เวทะนา อะนัตตา. สัญญา อะนัตตา. สังขารา
อะนัตตา. วิญญาณัง อะนัตตา. สัพเพ สังขารา อะนิจจา. สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ.
รูปไมเที่ยง. เวทนาไมเที่ยง. สัญญาไมเที่ยง. สังขารไมเที่ยง. วิญญาณไมเที่ยง.
รูปไมใชตวั ตน. เวทนาไมใชตวั ตน. สัญญาไมใชตวั ตน. สังขารไมใชตวั ตน. วิญญาณไมใชตวั ตน.
สังขารทัง้ ปวงไมเทีย่ ง. ธรรมทัง้ ปวงไมใชตวั ตน ดังนี.้
เต (ตา)๑ มะยัง โอติณณาม๎หะ ชาติยา ชะรามะระเณนะ โสเกหิ ปะริเทเวหิ
ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ ทุกโขติณณา ทุกขะปะเรตา. อัปเปวะ นามิมสั สะ
เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิรยิ า ปญญาเยถาติ,๒
พวกเราทั้งหลาย เปนผูถูกครอบงำแลว โดยความเกิด โดยความแกและความตาย
โดยความโศกความร่ำไรรำพัน ความไมสบายกายความไมสบายใจ ความคับแคนใจทั้งหลาย
เปนผถู กู ความทุกขหยัง่ เอาแลว เปนผมู คี วามทุกขเปนเบือ้ งหนาแลว. ทำไฉน การทำทีส่ ดุ แหง
กองทุกขทั้งสิ้นนี้ จะพึงปรากฏชัดแกเราได.
จิระปะรินพิ พุตมั ป ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง, สัทธา
อะคารัส๎มา อะนะคาริยัง ปพพะชิตา ตัส๎มิง ภะคะวะติ พ๎รัห๎มะจะริยัง จะรามะ.
ภิกขูนัง สิกขาสาชีวะสะมาปนนา.๓ ตัง โน พ๎รัห๎มะจะริยัง อิมัสสะ เกวะลัสสะ
ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิรยิ ายะ สังวัตตะตูต.ิ
เราทัง้ หลาย อุทศิ เฉพาะพระผมู พี ระภาคเจา ผไู กลจากกิเลส ตรัสรชู อบได โดยพระองคเอง
แมปรินพิ พานนานแลว พระองคนนั้ เปนผมู ศี รัทธา ออกบวชจากเรือน ไมเกีย่ วของดวยเรือน
แลว ประพฤติอยูซึ่งพรหมจรรย ในพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น ถึงพรอมดวยสิกขาและ
สาชีพคือธรรมเปนเครือ่ งเลีย้ งชีวติ ของภิกษุทงั้ หลาย. ขอใหพรหมจรรยของเราทัง้ หลายนัน้ จงเปน
ไปเพื่อการทำที่สุดแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ เทอญ.

สำหรับผหู ญิงสวด

ถาเปนอุบาสก-อุบาสิกา พึงหยุดตรงนี้ แลวสวดตอในวงเล็บ (หนาถัดไป)

สามเณรพึงงดคำวา “ภิกขูนงั สิกขาสาชีวะสะมาปนนา”
8 ทำวั ต ร-สวดมนต

(จิระปะรินิพพุตัมป ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา ธัมมัญจะ สังฆัญจะ.


ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะถาสัตติ ยะถาพะลัง มะนะสิกะโรมะ อะนุปะฏิปช ชามะ.
สา สา โน ปะฏิปต ติ อิมสั สะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิรยิ ายะ สังวัตตะตุ.)
เราทั้งหลาย ถึงแลวซึ่งพระผูมีพระภาคเจา แมปรินิพพานนานแลวพระองคนั้นเปนสรณะ
ถึงพระธรรมดวย ถึงพระภิกษุสงฆดวย เปนสรณะ. เราทั้งหลาย ทำในใจอยู ปฏิบัติตามอยู
ซึง่ คำสัง่ สอนของพระผมู พี ระภาคเจานัน้ ตามความสามารถ ตามกำลัง. ขอใหความปฏิบตั นิ นั้ ๆ
ของเราทัง้ หลาย จงเปนไปเพือ่ การทำทีส่ ดุ แหงกองทุกขทงั้ สิน้ นี้ เทอญ.
ทำวั ต รเช า 9

ธาตุปฏิกูลปจจเวกขณปาฐะ
(นำ) หันทะ มะยัง ธาตุปะฏิกลู ะปจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.

ยะถาปจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง. ยะทิทัง จีวะรัง ตะทุปะ


ภุญชะโก จะ ปุคคะโล ธาตุมตั ตะโก นิสสัตโต นิชชีโว สุญโญ. สัพพานิ ปะนะ อิมานิ
จีวะรานิ อะชิคจุ ฉะนิยานิ อิมงั ปูตกิ ายัง ปตว๎ า อะติวยิ ะ ชิคจุ ฉะนิยานิ ชายันติ.
สิง่ เหลานีน้ เี่ ปนสักวาธาตุ เปนไปตามเหตุตามปจจัย. สิง่ เหลานีค้ อื จีวร และคนผใู ชสอย
จีวรนัน้ สักวาเปนธาตุ มิไดเปนสัตว มิไดเปนชีวะ วางเปลา. ก็จวี รทัง้ หมดนี้ เปนของไมนา เกลียด
มาแตเดิม ครัน้ มาถูกกายอันเปอ ยเนานีแ้ ลว กลับกลายเปนของนาเกลียดเปนอยางยิง่ ไป.
ยะถาปจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมตั ตะเมเวตัง. ยะทิทงั ปณฑะปาโต, ตะทุปะ-
ภุญชะโก จะ ปุคคะโล ธาตุมัตตะโก นิสสัตโต นิชชีโว สุญโญ. สัพโพ ปะนายัง
ปณฑะปาโต อะชิคจุ ฉะนิโย อิมงั ปูตกิ ายัง ปตว๎ า อะติวยิ ะ ชิคจุ ฉะนิโย ชายะติ.
สิง่ เหลานีน้ เี่ ปนสักวาธาตุ เปนไปตามเหตุตามปจจัย. สิง่ เหลานีค้ อื บิณฑบาต และคนผบู ริโภค
บิณฑบาตนัน้ สักวาเปนธาตุ มิไดเปนสัตว มิไดเปนชีวะ วางเปลา. ก็บณ ิ ฑบาตทัง้ หมดนี้ เปนของไม
นาเกลียดมาแตเดิม ครัน้ มาถูกกายอันเปอ ยเนานีแ้ ลว กลับกลายเปนของนาเกลียดเปนอยางยิง่ ไป.
ยะถาปจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมตั ตะเมเวตัง. ยะทิทงั เสนาสะนัง, ตะทุปะ-
ภุญชะโก จะ ปุคคะโล ธาตุมตั ตะโก นิสสัตโต นิชชีโว สุญโญ. สัพพานิ ปะนะ อิมานิ
เสนาสะนานิ อะชิคจุ ฉะนิยานิ อิมงั ปูตกิ ายัง ปตว๎ า อะติวยิ ะ ชิคจุ ฉะนิยานิ ชายันติ.
สิง่ เหลานีน้ เี่ ปนสักวาธาตุ เปนไปตามเหตุตามปจจัย. สิง่ เหลานีค้ อื เสนาสนะ และคนผใู ช
สอยเสนาสนะนัน้ สักวาเปนธาตุ มิไดเปนสัตว มิไดเปนชีวะ วางเปลา. ก็เสนาสนะทัง้ หมดนี้ เปน
ของไมนา เกลียดมาแตเดิม ครัน้ มาถูกกายอันเปอ ยเนานีแ้ ลว กลับกลายเปนของนาเกลียดเปนอยางยิง่ ไป.
ยะถาปจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมตั ตะเมเวตัง. ยะทิทงั คิลานะปจจะยะเภสัชชะ-
ปะริกขาโร ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล ธาตุมัตตะโก นิสสัตโต นิชชีโว สุญโญ.
สัพโพ ปะนายัง คิลานะปจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร อะชิคจุ ฉะนิโย อิมงั ปูตกิ ายัง ปตว๎ า
อะติวยิ ะ ชิคจุ ฉะนิโย ชายะติ.
สิง่ เหลานีน้ เี่ ปนสักวาธาตุ เปนไปตามเหตุตามปจจัย. สิง่ เหลานีค้ อื เภสัชบริขารอันเปนปจจัย
สำหรับคนไข และคนผบู ริโภคเภสัชบริขารนัน้ สักวาเปนธาตุ มิไดเปนสัตว มิไดเปนชีวะ วางเปลา.
ก็เภสัชบริขารอันเปนปจจัยสำหรับคนไขทงั้ หมดนี้ เปนของไมนา เกลียดมาแตเดิม ครัน้ มาถูกกายอัน
เปอ ยเนานีแ้ ลว กลับกลายเปนของนาเกลียดเปนอยางยิง่ ไป.
10 ทำวั ต ร-สวดมนต

ตังขณิกปจจเวกขณปาฐะ
(นำ) หันทะ มะยัง ตังขะณิกะปจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.
ปะฏิสงั ขา โยนิโส จีวะรัง ปะฏิเสวามิ ยาวะเทวะ สีตสั สะ ปะฏิฆาตายะ
อุณ๎หสั สะ ปะฏิฆาตายะ ฑังสะ มะกะสะ วาตา ตะปะ สิรงิ สะปะ สัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ
ยาวะเทวะ หิรโิ กปนะ ปะฏิจฉาทะนัตถัง.
เรายอมพิจารณาโดยแยบคายแลว นงุ หมจีวร เพียงเพือ่ บำบัดความหนาว เพือ่ บำบัดความ
รอน เพือ่ บำบัดสัมผัสอันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตวเลือ้ ยคลานทัง้ หลาย เพียงเพือ่
ปกปดอวัยวะอันใหเกิดความละอายเทานั้น.
ปะฏิสังขา โยนิโส ปณฑะปาตัง ปะฏิเสวามิ เนวะ ทะวายะ นะ มะทายะ
นะ มัณฑะนายะ นะ วิภูสะนายะ ยาวะเทวะ อิมัสสะ กายัสสะ ฐิติยา ยาปะนายะ
วิหิงสุปะระติยา พ๎รัห๎มะจะริยานุคคะหายะ อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหังขามิ
นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ ยาต๎รา จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวัชชะตา จะ
ผาสุวหิ าโร จาติ.
เรายอมพิจารณาโดยแยบคายแลว ฉันบิณฑบาต มิใชเพือ่ เลน มิใชเพือ่ ความมัวเมา มิใชเพือ่
ประดับ มิใชเพือ่ ตกแตง แตเพียงเพือ่ ความตัง้ อยไู ด เพือ่ ความเปนไปไดแหงกายนี้ เพือ่ ความสิน้ ไป
แหงความลำบาก เพือ่ อนุเคราะหพรหมจรรย ดวยการทำอยางนี้ เรายอมระงับเสียไดซงึ่ เวทนาเกา
และไมทำเวทนาใหมใหเกิดขึน้ อนึง่ ความเปนไปได และความไมมโี ทษ ความอยผู าสุก จักมีแกเรา.
ปะฏิสังขา โยนิโส เสนาสะนัง ปะฏิเสวามิ ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ
อุณ๎หสั สะ ปะฏิฆาตายะ ฑังสะ มะกะสะ วาตา ตะปะ สิรงิ สะปะ สัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ
ยาวะเทวะ อุตุ ปะริสสะยะ วิโนทะนัง ปะฏิสลั ลานารามัตถัง.
เรายอมพิจารณาโดยแยบคายแลว ใชสอยเสนาสนะ เพียงเพือ่ บำบัดความหนาว เพือ่
บำบัดความรอน เพือ่ บำบัดสัมผัสอันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตวเลือ้ ยคลานทัง้ หลาย
เพียงเพือ่ บรรเทาอันตรายแตฤดู เพือ่ ความเปนผยู นิ ดีในทีห่ ลีกเรน.
ปะฏิสงั ขา โยนิโส คิลานะ ปจจะยะเภสัชชะปะริกขารัง ปะฏิเสวามิ ยาวะเทวะ
อุปปนนานัง เวยยาพาธิกานัง เวทะนานัง ปะฏิฆาตายะ อัพย๎ าปชฌะปะระมะตายาติ.
เรายอมพิจารณาโดยแยบคายแลว บริโภคเภสัชบริขารอันเปนปจจัยสำหรับคนไข เพียงเพือ่
บำบัดเวทนามีอาพาธตางๆ เปนมูล อันเกิดขึน้ แลว เพือ่ ความเปนผไู มมโี รคเบียดเบียนเปนอยางยิง่ .
ทำวั ต รเช า 11

ปตติทานคาถา*
(นำ) หันทะ มะยัง ปตติทานะคาถาโย ภะณามะ เส.
ยา เทวะตา สันติ วิหาระวาสินี เทวดาเหลาใด มีปกติอยูในวิหาร สถิตอยูที่เรือน
ถูเป ฆะเร โพธิฆะเร ตะหิง ตะหิง, พระสถูป ทีเ่ รือนพระโพธิ ในทีน่ นั้ ๆ, เทวดาเหลานัน้
ตา ธัมมะทาเนนะ ภะวันตุ ปูชติ า เป น ผู อั น เราทั้ ง หลายบู ช าแล ว ด ว ยธรรมทาน
โสตถิง กะโรนเตธะ วิหาระมัณฑะเล. จงทำความสวัสดีในวิหารมณฑลนี้.
เถรา จะ มัชฌา นะวะกา จะ ภิกขะโว พระภิกษุทงั้ หลาย ทีเ่ ปนเถระ ทีเ่ ปนปานกลาง ทีย่ งั
สารามิกา ทานะปะตี อุปาสะกา ใหม ก็ดี, อุบาสกอุบาสิกาทัง้ หลาย ผเู ปนทานบดี
คามา จะ เทสา นิคะมา จะ อิสสะรา, พรอมทัง้ อารามิกชนก็ด,ี ชนทัง้ หลายทีเ่ ปนชาวบาน
สัปปาณะภูตา สุขติ า ภะวันตุ เต. ที่เปนชาวเมือง ที่เปนชาวนิคม ที่เปนอิสระก็ดี,
สัตวทมี่ ชี วี ติ ทัง้ หลายเหลานัน้ จงเปนผถู งึ ซึง่ ความสุข.
ชะลาพุชา เยป จะ อัณฑะสัมภะวา แมสตั วเหลาใด ทีเ่ ปนชลาพุชะกำเนิด (เกิดในครรภ)
สังเสทะชาตา อะถะโวปะปาติกา, ทีเ่ ปนอัณฑชะกำเนิด (เกิดในไข) ทีเ่ ปนสังเสทชะกำเนิด
นิยยานิกงั ธัมมะวะรัง ปะฏิจจะ เต (เกิดในไคล) ทีเ่ ปนโอปปาติกะกำเนิด (เกิดผุดขึน้ ) ก็ด,ี
สัพเพป ทุกขัสสะ กะโรนตุ สังขะยัง. สัตวเหลานัน้ อาศัยพระธรรมเปนนิยยานิกธรรมแลว
แมทงั้ หมด จงทำความสิน้ ไปแหงทุกข.

ฐาตุ จิรงั สะตัง ธัมโม ธัมมัทธะรา จะ ปุคคะลา.


สังโฆ โหตุ สะมัคโค วะ อัตถายะ จะ หิตายะ จะ.
ขอธรรมของสัตบุรุษทั้งหลาย จงดำรงอยูนาน และบุคคลทั้งหลายที่ทรงธรรม จงดำรง
อยนู าน. ขอพระสงฆจงเปนผพู รอมเพรียงกันเทียว เพือ่ ประโยชนและเกือ้ กูล.
อัมเห รักขะตุ สัทธัมโม สัพเพป ธัมมะจาริโน.
วุฑฒิง สัมปาปุเณยยามะ ธัมเม อะริยปั ปะเวทิเต.
ขอพระสัทธรรม จงรักษาเราทัง้ หลาย ผปู ระพฤติธรรม แมทงั้ ปวง. ขอเราทัง้ หลาย จงถึง
ความเจริญ ในธรรมทีพ่ ระอริยเจาแสดงแลวเถิด.

* พระราชนิพนธของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยหู วั
12 ทำวั ต ร-สวดมนต

วิหารทานคาถา
สีตงั อุณห๎ งั ปะฏิหนั ติ ตะโต วาฬะมิคานิ จะ
สิรงิ สะเป จะ มะกะเส สิสเิ ร จาป วุฏฐิโย.
ตะโต วาตาตะโป โฆโร สัญชาโต ปะฏิหญ ั ญะติ.
เสนาสนะยอมปองกันเย็นรอน และสัตวรา ย งู และ ยุง ฝนทีต่ งั้ ขึน้ ในสิสริ ฤดู. แตนนั้
ลมและแดดอันกลา ทีเ่ กิดขึน้ แลว ยอมบรรเทาไป.
เลนัตถัญจะ สุขตั ถัญจะ ฌายิตงุ จะ วิปส สิตงุ
วิหาระทานัง สังฆัสสะ อัคคัง พุทเธหิ วัณณิตงั .
การถวายวิหารแกสงฆ เพื่อเรนอยู เพื่อความสุข เพื่อเพงพิจารณา และเพื่อเห็นแจง
พระพุทธเจาทรงสรรเสริญวาเปนทานเลิศ.
ตัสม๎ า หิ ปณฑิโต โปโส สัมปสสัง อัตถะมัตตะโน
วิหาเร การะเย รัมเม วาสะเยตถะ พะหุสสุเต.
เพราะเหตุนนั้ แล บุรษุ บัณฑิต เมือ่ เล็งเห็นประโยชนตน พึงสรางวิหารอันรืน่ รมย ใหภกิ ษุ
ทัง้ หลาย ผเู ปนพหุสตู อยเู ถิด.
เตสัง อันนัญจะ ปานัญจะ วัตถะเสนาสะนานิ จะ
ทะเทยยะ อุชภุ เู ตสุ วิปปะสันเนนะ เจตะสา
อนึง่ พึงถวายขาว น้ำ ผา เสนาสนะ แกทา นเหลานัน้ ดวยน้ำใจอันเลือ่ มใสในทานผซู อื่ ตรง.
เต ตัสสะ ธัมมัง เทเสนติ สัพพะทุกขาปะนูทะนัง
ยัง โส ธัมมะมิธญ
ั ญายะ ปะรินิพพาต๎ยะนาสะโวติ.
เขารูธรรมอันใดในโลกนี้แลว จะเปนผูไมมีอาสวะปรินิพพาน ทานยอมแสดงธรรมนั้น
อันเปนเครือ่ งบรรเทาทุกขทงั้ ปวงแกเขา ดังนีแ้ ล.
ทำวั ต รเย็ น 13

ทำวัตรเย็น
(นำ-วาตาม)
โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, ส๎วากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม,
สุปะฏิปน โน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง
อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปเตหิ อะภิปชู ะยามะ.
พระผมู พี ระภาคเจานัน้ พระองคใด เปนพระอรหันต ตรัสรเู องโดยชอบแลว, พระธรรม
เปนธรรมทีพ่ ระผมู พี ระภาคเจา พระองคใด ตรัสไวดแี ลว, พระสงฆสาวกของพระผมู พี ระภาคเจา
พระองคใด ปฏิบตั ดิ แี ลว, ขาพเจาขอบูชาอยางยิง่ ซึง่ พระผมู พี ระภาคเจา พระองคนนั้ พรอมทัง้
พระสัทธรรม และพระอริยสงฆเจาทัง้ หลาย ดวยเครือ่ งสักการะทัง้ หลายเหลานี้ อันยกขึน้ ตาม
สมควรแลว.
สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจริ ะปะรินพิ พุโตป ปจฉิมาชะนะตานุกมั ปะมานะสา
อิเม สักกาเร ทุคคะตะปณณาการะภูเต ปะฏิคคัณห๎ าตุ อัมห๎ ากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ
สุขายะ.
ขาแตพระองคผูเจริญ พระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น แมปรินิพพานนานแลวก็ตาม
ยังประโยชนยงิ่ ใหญใหสำเร็จแกขา พเจาทัง้ หลาย ขอจงรับเครือ่ งสักการะอันเปนบรรณาการของ
คนยากทั้งหลายเหลานี้ ดวยพระหฤทัยเพื่อจะอนุเคราะหประชุมชนผูเกิดแลวในภายหลัง เพื่อ
ประโยชน เพือ่ ความสุข แกขา พเจาทัง้ หลาย สิน้ กาลนานเทอญ.

คำนมัสการ
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา. พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. (กราบ ๑ ครัง้ )
พระผมู พี ระภาคเจา เปนพระอรหันต ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกขสนิ้ เชิง ตรัสรชู อบได
โดยพระองคเอง ขาพเจาอภิวาทพระผมู พี ระภาคเจา ผรู ู ผตู นื่ ผเู บิกบาน.
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม. ธัมมัง นะมัสสามิ. (กราบ ๑ ครัง้ )
พระธรรมเปนธรรมทีพ่ ระผมู พี ระภาคเจา ตรัสไวดแี ลว ขาพเจานมัสการพระธรรม.
สุปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ. สังฆัง นะมามิ. (กราบ ๑ ครัง้ )
พระสงฆสาวกของพระผมู พี ระภาคเจา ปฏิบตั ดิ แี ลว ขาพเจานอบนอมพระสงฆ.
14 ทำวั ต ร-สวดมนต

(นำ) ยะมัมหะ โข มะยัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา, อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง,


ยัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ ปพพะชิตา, ยัสม๎ งิ ภะคะวะติ พ๎รหั ม๎ ะจะริยงั จะรามะ, ตัมมะยัง
ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง, ยะถาระหัง อาโรปเตหิ สักกาเรหิ อะภิปชู ะยิตว๎ า อะภิวาทะนัง
กะริมห๎ า, หันทะทานิ มะยันตัง ภะคะวันตัง วาจายะ อะภิคายิตงุ , ปุพพะภาคะนะมะ-
การัญเจวะ พุทธานุสสะตินะยัญจะ กะโรมะ เส.
ปุพพภาคนมการ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ จบ)
ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น ซึ่งเปนผูไกลจากกิเลส ตรัสรูชอบดวย
พระองคเอง.

พุทธานุสสตินัย
ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัลย๎ าโณ กิตติสทั โท อัพภุคคะโต,
ก็กติ ติศพั ทอนั งามของพระผมู พี ระภาคเจา พระองคนนั้ แล ไดฟงุ ไปแลวอยางนีว้ า
อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปนโน สุคะโต
โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.
แมเพราะเหตุอยางนี้ พระผมู พี ระภาคเจานัน้ เปนผไู กลจากกิเลส เปนผตู รัสรชู อบไดโดย
พระองคเอง เปนผูถึงพรอมแลวดวยวิชชาและจรณะ เปนผูเสด็จไปดีแลว เปนผูรูโลกอยาง
แจมแจง เปนผฝู ก บุรษุ ทีค่ วรฝก ไมมผี อู นื่ ยิง่ กวา เปนครูผสู อนเทวดาและมนุษยทงั้ หลาย เปนผรู ู
ผตู นื่ ผเู บิกบานแลว เปนผจู ำแนกธรรมสัง่ สอนสัตว ดังนี.้

(นำ) หันทะ มะยัง พุทธาภิคตี งิ กะโรมะ เส.


พุทธาภิคตี ิ
พุทธ๎วาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต, พระพุทธเจาเปนผูประกอบแลวดวยพระคุณ มี
สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต, ความประเสริฐแหงอรหันตคุณเปนตน มีพระ
โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ สูโร อัธยาศัยประกอบดวยพระบริสทุ ธิคณ ุ พระปญญา-
คุณ และพระกรุณาคุณ พระองคใด ทรงกระทำ
วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง.
ชนที่ดีใหเบิกบานแลว ดุจอาทิตยทำบัวใหบาน
ฉะนัน้ . ขาพเจาไหวพระผมู พี ระภาคเจาพระองค
นัน้ ผไู มมขี า ศึก ผเู ปนจอมชนะ ดวยเศียรเกลา.
ทำวั ต รเย็ น 15
พุทโธ โย สัพพะปาณีนงั สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง.
พระพุทธเจาพระองคใด เปนสรณะอันเกษมสูงสุด ของสรรพสัตวทงั้ หลาย, ขาพเจาขอไหว
พระพุทธเจาพระองคนนั้ ผเู ปนทีต่ งั้ แหงความระลึกองคทหี่ นึง่ ดวยเศียรเกลา.
พุทธัสสาหัสม๎ ิ ทาโส (ทาสี)* วะ. พุทโธ เม สามิกสิ สะโร.
พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตสั สะ เม.
ขาพเจาเปนทาสของพระพุทธเจา. พระพุทธเจาเปนเจานายของขาพเจา. พระพุทธเจา
เปนผกู ำจัดทุกขดว ย เปนผทู รงทำซึง่ ประโยชนเกือ้ กูลแกขา พเจาดวย.
พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรญั ชีวติ ญ
ั จิทงั .
วันทันโตหัง (วันทันตีหงั )* จะริสสามิ พุทธัสเสวะ สุโพธิตงั .
ขาพเจามอบกายถวายชีวติ นีแ้ ดพระพุทธเจา. ขาพเจาผไู หวอยู จักประพฤติตามซึง่ ความ
ตรัสรูดีของพระพุทธเจา.
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง. พุทโธ เม สะระณัง วะรัง.
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน.
สรณะอืน่ ของขาพเจาไมมี พระพุทธเจาเปนสรณะอันประเสริฐของขาพเจา. ดวยการกลาว
คำสัตยนี้ ขอขาพเจาพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา.
พุทธัง เม วันทะมาเนนะ (วันทะมานายะ)* ยัง ปุญญัง ปะสุตงั อิธะ,
สัพเพป อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.
ขาพเจาผไู หวอยซู งึ่ พระพุทธเจา ไดขวนขวายบุญใด ในบัดนี,้ แมสรรพอันตรายทัง้ หลาย
อยาไดมแี กขา พเจา ดวยเดชแหงบุญนัน้ .

(หมอบกราบลงสวด)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี กรรมนา
พุทเธ กุกมั มัง ปะกะตัง มะยา ยัง, ติเตียนอันใด ทีข่ า พเจากระทำแลวในพระพุทธเจา,
พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง ขอพระพุทธเจา จงงดซึง่ โทษลวงเกินอันนัน้ เพือ่
กาลันตะเร สังวะริตงุ วะ พุทเธ. การสำรวมระวัง ในพระพุทธเจา ในกาลตอไป.

* สำหรับผหู ญิงสวด
16 ทำวั ต ร-สวดมนต

(นำ) หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.


ธัมมานุสสตินยั
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปส สิโก โอปะนะยิโก
ปจจัตตัง เวทิตพั โพ วิญูหตี .ิ
พระธรรมอันพระผมู พี ระภาคเจาตรัสดีแลว เปนสิง่ อันบุคคลพึงเห็นไดดว ยตนเอง เปนสิง่ ที่
ปฏิบตั ไิ ด และใหผลไดไมจำกัดกาล เปนสิง่ ทีค่ วรกลาวกะผอู นื่ วา ทานจงมาดูเถิด เปนสิง่ อันบุคคล
ควรนอมเขามาใสตน เปนสิง่ อันวิญูชนทัง้ หลายพึงรไู ดเฉพาะตน ดังนี้

(นำ) หันทะ มะยัง ธัมมาภิคตี งิ กะโรมะ เส.


ธัมมาภิคีติ
ส๎วากขาตะตาทิคณุ ะโยคะวะเสนะ เสยโย พระธรรมเปนสิ่งประเสริฐ เพราะประกอบดวย
โย มัคคะปากะปะริยตั ติวโิ มกขะเภโท คุณ คือ ความทีพ่ ระผมู พี ระภาคเจาตรัสไวดแี ลว
ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี, เปนตน เปนธรรมอันจำแนกเปนมรรค ผล ปริยตั ิ
วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง. และนิพพาน พระธรรมทรงไวซงึ่ ผทู รงธรรมนัน้
จากการตกไปสโู ลกทีช่ วั่ , ขาพเจาไหวพระธรรม
อันประเสริฐนัน้ อันเปนเครือ่ งขจัดเสียซึง่ ความมืด.
ธัมโม โย สัพพะปาณีนงั สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
ทุตยิ านุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง.
พระธรรมใด เปนสรณะอันเกษมสูงสุดของสรรพสัตวทงั้ หลาย, ขาพเจาไหวพระธรรมนัน้
อันเปนทีต่ งั้ แหงความระลึกองคทสี่ อง ดวยเศียรเกลา.
ธัมมัสสาหัสม๎ ิ ทาโส (ทาสี) วะ. ธัมโม เม สามิกสิ สะโร.
ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตสั สะ เม.
ขาพเจาเปนทาสของพระธรรม. พระธรรมเปนเจานายของขาพเจา. พระธรรมเปนเครือ่ ง
กำจัดทุกขดว ย เปนธรรมทำซึง่ ประโยชนเกือ้ กูลแกขา พเจาดวย.
ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรญ
ั ชีวติ ญ
ั จิทงั .
วันทันโตหัง (วันทันตีหงั ) จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธมั มะตัง.
ขาพเจามอบกายถวายชีวติ นีแ้ ดพระธรรม. ขาพเจาผไู หวอยู จักประพฤติตามซึง่ ความเปน
ความดีของพระธรรม.
ทำวั ต รเย็ น 17
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง. ธัมโม เม สะระณัง วะรัง.
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน.
สรณะอืน่ ของขาพเจาไมม.ี พระธรรมเปนสรณะอันประเสริฐของขาพเจา. ดวยการกลาว
คำสัตยนี้ ขอขาพเจาพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา.
ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ (วันทะมานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตงั อิธะ,
สัพเพป อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.
ขาพเจาผไู หวอยซู งึ่ พระธรรม ไดขวนขวายบุญใด ในบัดนี,้ แมสรรพอันตรายทัง้ หลาย
อยาไดมแี กขา พเจา ดวยเดชแหงบุญนัน้
(หมอบกราบลงสวด)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี กรรมนา
ธัมเม กุกมั มัง ปะกะตัง มะยา ยัง, ติเตียนอันใด ทีข่ า พเจากระทำแลว ในพระธรรม
ธัมโม ปะฏิคคัณห๎ ะตุ อัจจะยันตัง ขอพระธรรม จงงดซึง่ โทษลวงเกินอันนัน้ เพือ่ การ
กาลันตะเร สังวะริตงุ วะ ธัมเม. สำรวมระวังในพระธรรม ในกาลตอไป.

(นำ) หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.


สังฆานุสสตินยั
สุปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ. อุชปุ ะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ.
ญายะปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ. สามีจปิ ะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ.
พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจาเปนผูปฏิบัติดีแลว. พระสงฆสาวกของพระผูมี
พระภาคเจา เปนผปู ฏิบตั ติ รงแลว. พระสงฆสาวกของพระผมู พี ระภาคเจา ปฏิบตั เิ พือ่ รธู รรมเปน
เครือ่ งออกจากทุกขแลว. พระสงฆสาวกของพระผมู พี ระภาคเจา เปนผปู ฏิบตั ิชอบแลว.
ยะทิทงั จัตตาริ ปุรสิ ะยุคานิ อัฏฐะ ปุรสิ ะปุคคะลา.
ไดแก คแู หงบุรษุ ๔ บุรษุ บุคคลทัง้ หลาย ๘.
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลี-
กะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.
นัน่ แหละ พระสงฆสาวกของพระผมู พี ระภาคเจา เปนผคู วรแกสกั การะทีเ่ ขานำมาบูชา เปน
ผคู วรแกสกั การะทีเ่ ขาจัดไวตอ นรับ เปนผคู วรรับทักษิณาทาน เปนผทู บี่ คุ คลทัว่ ไปควรทำอัญชลี
เปนเนือ้ นาบุญของโลก ไมมนี าบุญอืน่ ยิง่ กวา ดังนี.้
18 ทำวั ต ร-สวดมนต

(นำ) หันทะ มะยัง สังฆาภิคตี งิ กะโรมะ เส.


สังฆาภิคตี ิ
สัทธัมมะโช สุปะฏิปต ติคณ
ุ าทิยตุ โต พระสงฆสาวกของพระผมู พี ระภาคเจา เปนผเู กิด
โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ จากพระสัทธรรม ประกอบดวยคุณมีความปฏิบตั ดิ ี
สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต. เปนตน เปนหมแู หงพระอริยบุคคลอันประเสริฐสุด
วันทามะหัง ตะมะริยานะคะณัง สุสทุ ธัง. แปดจำพวก มีกายและจิต อาศัยธรรมอันประเสริฐ
มีศีลเปนตน. ขาพเจาไหวหมูแหงพระอริยเจา
เหลานัน้ อันบริสทุ ธิด์ ว ยดี.
สังโฆ โย สัพพะปาณีนงั สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง.
พระสงฆหมใู ด เปนสรณะอันเกษมสูงสุด ของสรรพสัตวทงั้ หลาย, ขาพเจาขอไหวพระสงฆ
หมนู นั้ ผเู ปนทีต่ งั้ แหงความระลึกองคทสี่ าม ดวยเศียรเกลา
สังฆัสสาหัสม๎ ิ ทาโส (ทาสี) วะ. สังโฆ เม สามิกสิ สะโร.
สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตสั สะ เม.
ขาพเจาเปนทาสของพระสงฆ. พระสงฆเปนเจานายของขาพเจา. พระสงฆเปนผกู ำจัดทุกข
ดวย เปนผทู ำไวซงึ่ ประโยชนเกือ้ กูลแกขา พเจาดวย.
สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรญ
ั ชีวติ ญ
ั จิทงั .
วันทันโตหัง (วันทันตีหงั ) จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปน นะตัง.
ขาพเจามอบกายถวายชีวติ นีแ้ ดพระสงฆ. ขาพเจาผไู หวอยู จักประพฤติตาม ซึง่ ความ
ปฏิบัติดีของพระสงฆ.
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง. สังโฆ เม สะระณัง วะรัง.
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน.
สรณะอืน่ ของขาพเจาไมม.ี พระสงฆเปนสรณะอันประเสริฐของขาพเจา. ดวยการกลาว
คำสัตยนี้ ขอขาพเจาพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา.
สังฆัง เม วันทะมาเนนะ (วันทะมานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตงั อิธะ,
สัพเพป อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.
ขาพเจาผไู หวซงึ่ พระสงฆ ไดขวนขวายบุญใด ในบัดนี,้ อันตรายทัง้ ปวง อยาไดมแี ก
ขาพเจา ดวยเดชแหงบุญนัน้ .
ทำวั ต รเย็ น 19
(หมอบกราบลงสวด)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี กรรม
สังเฆ กุกมั มัง ปะกะตัง มะยา ยัง, นาติเตียนอันใด ทีข่ า พเจากระทำแลว ในพระสงฆ
สังโฆ ปะฏิคคัณห๎ ะตุ อัจจะยันตัง, ขอพระสงฆ จงงดซึง่ โทษลวงเกินอันนัน้ เพือ่ การ
กาลันตะเร สังวะริตงุ วะ สังเฆ. สำรวมระวังในพระสงฆ ในกาลตอไป.
20 ทำวั ต ร-สวดมนต

อตีตปจจเวกขณปาฐ
(นำ) หันทะ มะยัง อะตีตะปจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.
อัชชะ มะยา อะปจจะเวกขิตว๎ า ยัง จีวะรัง ปะริภตุ ตัง, ตัง ยาวะเทวะ สีตสั สะ
ปะฏิฆาตายะ อุณห๎ สั สะ ปะฏิฆาตายะ ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิรงิ สะปะสัมผัสสานัง
ปะฏิฆาตายะ ยาวะเทวะ หิรโิ กปนะปะฏิจฉาทะนัตถัง.
จีวรใด อันเรานงุ หมแลว มิทนั ไดพจิ ารณาในวันนี้ จีวรนัน้ เรานงุ หมแลวเพียงเพือ่ บำบัด
ความหนาว เพื่อบำบัดความรอน เพื่อบำบัดสัมผัสอันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตว
เลือ้ ยคลานทัง้ หลาย เพียงเพือ่ ปกปดอวัยวะอันใหเกิดความละอายเทานัน้ .
อัชชะ มะยา อะปจจะเวกขิตว๎ า โย ปณฑะปาโต ปะริภตุ โต, โส เนวะ ทะวายะ
นะ มะทายะ นะ มัณฑะนายะ นะ วิภสู ะนายะ ยาวะเทวะ อิมสั สะ กายัสสะ ฐิตยิ า
ยาปะนายะ วิหงิ สุปะระติยา พ๎รหั ม๎ ะจะริยานุคคะหายะ. อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง
ปะฏิหังขามิ นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ. ยาต๎รา จะ เม ภะวิสสะติ
อะนะวัชชะตา จะ ผาสุวหิ าโร จาติ.
บิณฑบาตใด อันเราฉันแลว มิทนั ไดพจิ ารณาในวันนี,้ บิณฑบาตนัน้ เราฉันแลวมิใชเพือ่ เลน มิใชเพือ่
ความมัวเมา มิใชเพือ่ ประดับ มิใชเพือ่ ตกแตง แตเพียงเพือ่ ความตัง้ อยไู ด เพือ่ ความเปนไปไดแหงกายนี้ เพือ่
ความสิน้ ไปแหงความลำบาก เพือ่ อนุเคราะหพรหมจรรย. ดวยการทำอยางนี้ เรายอมระงับเสียไดซงึ่ เวทนา
เกา และไมทำเวทนาใหมใหเกิดขึน้ . อนึง่ ความเปนไปได ความไมมโี ทษ และความอยผู าสุก จักมีแกเรา.
อัชชะ มะยา อะปจจะเวกขิตว๎ า ยัง เสนาสะนัง ปะริภตุ ตัง, ตัง ยาวะเทวะ
สีตสั สะ ปะฏิฆาตายะ, อุณห๎ สั สะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิรงิ -สะปะสัมผัส
สานัง ปะฏิฆาตายะ, ยาวะเทวะ อุตปุ ะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏิสลั ลานารามัตถัง.
เสนาสนะอันใด อันเราใชสอยแลว มิทนั ไดพจิ ารณาในวันนี,้ เสนาสนะนัน้ เพียงเพือ่ บำบัด
ความหนาว เพือ่ บำบัดความรอน เพือ่ บำบัดสัมผัสอันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตวเลือ้ ยคลาน
ทัง้ หลาย เพียงเพือ่ บรรเทาอันตรายแตฤดู เพือ่ ความเปนผยู นิ ดีในทีเ่ รน.
อัชชะ มะยา อะปจจะเวกขิตว๎ า โย คิลานะปจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร ปะริภตุ โต,
โส ยาวะเทวะ อุปปนนานัง เวยยาพาธิกานัง เวทะนานัง ปะฏิฆาตายะ, อัพย๎ าปชฌะ-
ปะระมะตายาติ.
เภสัชบริขารอันเปนปจจัยสำหรับคนไขอันใด อันเราบริโภคแลว มิทันไดพิจารณาในวันนี้,
คิลานปจจัยเภสัชบริขารนัน้ เพียงเพือ่ บำบัดเวทนาอันเกิดขึน้ แลว มีอาพาธตางๆ เปนมูล เพือ่ ความ
เปนผไู มมโี รคเบียดเบียนเปนอยางยิง่ .
ทำวั ต รเย็ น 21

บทกรวดน้ำ (ของเกา)
(นำ) หันทะ มะยัง อุททิสสะนาธิฏฐานะคาถาโย ภะณามะ เส.
อิมนิ า ปุญญะกัมเมนะ อุปช ฌายา คุณตุ ตะรา
อาจะริยปู ะการา จะ มาตา ปตา จะ ญาตะกา
(อาจะริยปู ะการา จะ มาตา ปตา) ปยา มะมัง
ดวยบุญกรรมที่ขาพเจากระทำนี้ ขอพระอุปชฌายผูมีพระคุณอันยิ่ง และอาจารยผูมี
อุปการคุณ ทัง้ มารดาบิดา และหมญ ู าติทงั้ หลาย อันเปนทีร่ กั ของขาพเจา
สุรโิ ย จันทิมา ราชา คุณะวันตา นะราป จะ
พ๎รหั ม๎ ะมารา จะ อินทา จะ๑
โลกะปาลา จะ เทวะตา
ตลอดถึงพระอาทิตย พระจันทร และพระราชา และนรชนผูมีคุณงามความดีทั้งหลาย
อีกทัง้ เหลาพรหมและหมมู าร และพระอินทาธิราช ถึงจอมเทพดาผรู กั ษาโลกทัง้ สี่
ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ มัชฌัตตา เวริกาป จะ
สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ. ปุญญานิ ปะกะตานิ เม.
และพระยมราช อีกมิตรสหาย ทั้งชนผูวางตนเปนกลาง และผูมีเวรกัน ทานเหลานั้น
ทัง้ ปวง จงเปนผมู คี วามสุข.
สุขงั จะ ติวธิ งั ๒ เทนตุ ขิปปง ปาเปถะ โวมะตัง.
อิมนิ า ปุญญะกัมเมนะ. อิมนิ า อุททิเสนะ จะ
ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ ตัณ๎หุปาทานะเฉทะนัง.
ดวยบุญกรรมทีข่ า พเจากระทำไวนี้ จงใหซงึ่ ความสุข ๓ ประการ๒ ใหถงึ สุขอยางยิง่ คือ
อมตมหานิพพาน โดยพลัน. อนึง่ ดวยการอุทศิ สวนบุญนี้ ขอใหขา พเจาพึงไดซงึ่ การตัดขาดตัณหา
อุปาทาน โดยพลัน.
เย สันตาเน หินา ธัมมา ยาวะ นิพพานะโต มะมัง
นัสสันตุ สัพพะทาเยวะ. ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว
อุชจุ ติ ตัง สะติปญ ญา สัลเลโข วีรยิ มั ห๎ นิ า.
ธรรมชัว่ ในสันดานจงพินาศไป ตราบเทาถึงพระนิพพาน ในกาลทุกเมือ่ เทียว. หากขาพเจา
ยังตองไปเกิดในทีใ่ ดๆ ขอใหมจี ติ ซือ่ ตรง มีสติปญ
 ญา มีความเพียร ขัดเกลากิเลส.


บางแหงวา จะตุ- ๒
ไดแก กามสุข ฌานสุข นิพพานสุข
22 ทำวัตร-สวดมนต
มารา ละภันตุ โนกาสัง กาตุญจะ วีรเิ ยสุ เม.
ขอหมมู ารจงอยาไดโอกาสเพือ่ ทำอันตรายในความเพียรของขาพเจาได.
พุทโธ ทีปะวะโร๑ นาโถ. ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม.
นาโถ ปจเจกะพุทโธ จะ สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง
พระพุทธเจาผูเปนที่พึ่ง ดุจประทีปอันประเสริฐ. พระธรรมเปนที่พึ่งอันประเสริฐสูงสุด.
ทัง้ พระปจเจกพุทธเจา พระสงฆ อันเปนทีพ่ งึ่ อันสูงสุด ของขาพเจา.
เตโสตตะมานุภาเวนะ มาโรกาสัง ละภันตุ มา.
ดวยอานุภาพอันสูงสุดของพระรัตนะ ๓ เหลานัน้ ขอหมมู ารจงอยาไดโอกาส เทอญ.


บางแหงวา พุทธาทิปะวะโร
พระปริตร 23

พระปริตร
24 ทำวัตร-สวดมนต

ชุมนุมเทวดา
[๑] - สะมันตา จักกะวาเฬสุ อัตร๎ าคัจฉันตุ เทวะตา
สัทธัมมัง มุนริ าชัสสะ สุณนั ตุ สัคคะโมกขะทัง.
เหลาเทพยดาจักรวาลทัง้ หลายโดยรอบ ขอจงมาประชุมกันในสถานทีน่ ี้ จงฟงพระสัทธรรม
อันใหสวรรคและพระนิพพาน ของพระสัมมาสัมพุทธเจาผเู ปนราชาแหงมุนเี ถิด.
[๒] - ผะริตว๎ านะ เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา
อะวิกขิตตะจิตตา ปะริตตัง ภะณันตุ.
ทานผเู จริญทัง้ หลาย ผมู เี มตตา ขอแผไมตรีจติ อยาไดมจี ติ ฟงุ ซาน ตัง้ ใจสวดพระปริตรเถิด.
[๓] - สะรัชชัง สะเสนัง สะพันธุง นะรินทัง
ปะริตตานุภาโว สะทา รักขะตูต.ิ
ดวยคิดวา ขออานุภาพแหงพระปริตร จงพิทักษรักษา พระราชาผูเปนเจาแหงนรชน
พรอมดวยราชสมบัติ พรอมดวยพระราชวงศ พรอมดวยเสนามาตย ในกาลทุกเมื่อเถิด.
สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน,
ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุมห๎ ิ เขตเต,
ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา.
ติฏฐันตา สันติเก ยัง มุนิวะระวะจะนัง สาธะโว เม สุณนั ตุ.
ขอเชิญเหลาเทพยดา ซึง่ สถิตอยใู นสวรรค ชัน้ กามภพก็ดี ชัน้ รูปภพก็ดี และภุมมเทวด
ที่สถิตที่ยอดขุนเขา หุบเหว ในอากาศวิมาน ในเกาะ ในแวนแควน ในบาน ที่ตนไมและปาชัฏ
ในเรือน และในไรนาก็ดี และยักษ คนธรรพ นาคทีส่ ถิตอยใู นน้ำ บนบก และทีอ่ นั ไมเรียบราบก็ดี
อันอยูในที่ใกลเคียงกัน จงมาประชุมพรอมกันในที่นี้. ทานสาธุชนทั้งหลาย จงสดับรับฟง
พระดำรัสของพระมุนีเจาผูประเสริฐ กับขาพเจาเถิด.
ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา.
ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา.
ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา.
ทานผเู จริญทัง้ หลาย เวลานี้ เปนเวลาฟงธรรม.

สำหรับสวด ๑๒ ตำนาน

สำหรับสวด ๗ ตำนาน

ใชเฉพาะในราชการ
พระปริตร 25
ปุพพภาคนมการะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ.
ขอนอบนอมแดพระผมู พี ระภาคเจาพระองคนนั้ ซึง่ เปนผไู กลจากกิเลส ตรัสรชู อบดวยพระองคเอง.

สรณคมนปาฐะ
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ขาพเจาขอถึงพระพุทธเจา-พระธรรม-พระสงฆ วาเปนทีพ่ งึ่ ทีร่ ะลึก.
ทุตยิ มั ป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุตยิ มั ป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุตยิ มั ป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
แมครัง้ ที่ ๒ ขาพเจาขอถึงพระพุทธเจา-พระธรรม-พระสงฆ วาเปนทีพ่ งึ่ ทีร่ ะลึก.
ตะติยมั ป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยมั ป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยมั ป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
แมครัง้ ที่ ๓ ขาพเจาขอถึงพระพุทธเจา-พระธรรม-พระสงฆ วาเปนทีพ่ งึ่ ทีร่ ะลึก.
26 ทำวั ต ร-สวดมนต

นมการสิทธิคาถา*
โย จักขุมา โมหะมะลาปะกัฏโฐ ทานพระองคใด มีพระปญญาจักษุ ขจัดมลทินคือโมหะ
สามัง วะ พุทโธ สุคะโต วิมตุ โต แลว ไดตรัสรเู ปนพระพุทธเจาโดยพระองคเอง เสด็จ
มารัสสะ ปาสา วินโิ มจะยันโต ไปดี พนไปแลว ทรงเปลื้องชุมนุมชนอันเปนเวไนย
ปาเปสิ เขมัง ชะนะตัง วิเนยยัง. จากบวงแหงมาร นำมาใหถึงความเกษม.
พุทธัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ ขาพระพุทธเจาขอถวายนมัสการพระพุทธเจาผูบวร
โลกัสสะ นาถัญจะ วินายะกัญจะ. พระองคนนั้ ผเู ปนนาถะและเปนผนู ำแหงโลก. ดวย
ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ เดชพระพุทธเจานั้น ขอความสำเร็จแหงชัยชนะจงมี
สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ. แกทา น และขออันตรายทัง้ มวลจงถึงความพินาศ.
ธัมโม ธะโช โย วิยะ ตัสสะ สัตถุ พระธรรมเจาใด เปนดุจธงชัยแหงพระศาสดาพระองค
ทัสเสสิ โลกัสสะ วิสทุ ธิมคั คัง นั้น แสดงทางแหงความบริสุทธิ์แกโลก เปนคุณอัน
นิยยานิโก ธัมมะธะรัสสะ ธารี นำยุคเข็ญ คุมครองชนผูทรงธรรม ประพฤติดีแลว
สาตาวะโห สันติกะโร สุจณ ิ โณ. นำความสุขมา ทำความสงบ.
ธัมมัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ ขาพระพุทธเจาขอถวายนมัสการพระธรรมอันบวรนั้น
โมหัปปะทาลัง อุปะสันตะทาหัง. อันทำลายโมหะ ระงับความเรารอน. ดวยเดชพระ
ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ ธรรมเจานั้น ขอความสำเร็จแหงชัยชนะจงมีแกทาน
สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ. และขออันตรายทั้งมวลจงถึงความพินาศ.
สัทธัมมะเสนา สุคะตานุโค โย พระสงฆเจาใด เปนเสนา ประกาศพระสัทธรรม ดำเนิน
โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะเชตา ตามพระศาสดา ผเู สด็จดีแลว ผจญเสียซึง่ อุปกิเลส
สันโต สะยัง สันตินโิ ยชะโก จะ อันเลวทรามของสัตวโลก (ดวยการสั่งสอนใหละเสีย)
สว๎ากขาตะธัมมัง วิทติ งั กะโรติ. เปนผูสงบเองดวย ประกอบผูอื่นไวในความสงบดวย
ยอมทำพระธรรมอันพระศาสดาตรัสดีแลวใหมผี รู ตู าม.
สังฆัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ ขาพระพุทธเจาขอถวายนมัสการพระสงฆเจาผูบวรนั้น
พุทธานุพทุ ธัง สะมะสีละทิฏฐิง. ผตู รัสรตู ามพระพุทธเจา มีศลี และทิฏฐิเสมอกัน. ดวย
ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ เดชพระสังฆเจานัน้ ขอความสำเร็จแหงชัยชนะจงมีแก
สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ. ทาน และขออันตรายทัง้ มวลจงถึงความพินาศ เทอญ.
* พระนิพนธของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส.
พระปริตร 27

สัมพุทเธฯ
สัมพุทเธ อัฏฐะวีสญ
ั จะ ท๎วาทะสัญจะ สะหัสสะเก
ปญจะ สะตะ สะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง.
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหงั .
นะมะการานุภาเวนะ หันต๎วา สัพเพ อุปท ทะเว
อะเนกา อันตะรายาป วินสั สันตุ อะเสสะโต.
ขาพเจาขอนอบนอมพระพุทธเจาทั้งหลายจำนวน ๕๑๒,๐๒๘ พระองค ดวยเศียรเกลา.
ขาพเจาขอนอบนอม พระธรรมดวย พระสงฆดวย แหงพระสัมพุทธเจาเหลานั้น ดวยใจเคารพ.
ดวยอานุภาพแหงการกระทำความนอบนอม จงขจัดเสียซึง่ อุปท วะทัง้ ปวง แมอนั ตรายทัง้ หลาย
เปนอันมาก จงพินาศไปโดยไมเหลือเถิด.
สัมพุทเธ ปญจะปญญาสัญจะ จะตุวีสะติสะหัสสะเก
ทะสะ สะตะ สะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง.
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหงั .
นะมะการานุภาเวนะ หันต๎วา สัพเพ อุปท ทะเว
อะเนกา อันตะรายาป วินสั สันตุ อะเสสะโต.
ขาพเจาขอนอบนอม พระพุทธเจาทัง้ หลาย จำนวน ๑,๐๒๔,๐๕๕ พระองค ดวยเศียรเกลา.
ขาพเจาขอนอบนอม พระธรรมดวย พระสงฆดวย แหงพระสัมพุทธเจาเหลานั้น ดวยใจเคารพ.
ดวยอานุภาพแหงการกระทำความนอบนอม จงขจัดเสียซึง่ อุปท วะทัง้ ปวง แมอนั ตรายทัง้ หลาย
เปนอันมาก จงพินาศไปโดยไมเหลือเถิด.
สัมพุทเธ นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาฬีสะสะหัสสะเก
วีสะติ สะตะ สะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง.
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหงั .
นะมะการานุภาเวนะ หันต๎วา สัพเพ อุปท ทะเว
อะเนกา อันตะรายาป วินสั สันตุ อะเสสะโต.
ขาพเจาขอนอบนอม พระพุทธเจาทัง้ หลาย จำนวน ๒,๐๔๘,๑๐๙ พระองค ดวยเศียรเกลา.
ขาพเจาขอนอบนอม พระธรรมดวย พระสงฆดวย แหงพระสัมพุทธเจาเหลานั้น ดวยใจเคารพ.
ดวยอานุภาพแหงการกระทำความนอบนอม จงขจัดเสียซึง่ อุปท วะทัง้ ปวง แมอนั ตรายทัง้ หลาย
เปนอันมาก จงพินาศไปโดยไมเหลือเถิด.
28 ทำวั ต ร-สวดมนต

นโมการอัฏฐกคาถา*
นะโม อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ มะเหสิโน.
ขอนอบนอมแดพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา ผแู สวงหาคุณอันยิง่ ใหญ. (อะ)
นะโม อุตตะมะธัมมัสสะ ส๎วากขาตัสเสวะ เตนิธะ.
ขอนอบนอมแดพระธรรมอันสูงสุด ในพระศาสนานี้ อันพระองคตรัสดีแลว. (อุ)
นะโม มะหาสังฆัสสาป วิสุทธะสีละทิฏฐิโน.
ขอนอบนอมแดพระสงฆหมใู หญ ผมู ศี ลี และทิฏฐิ อันหมดจด. (มะ)
นะโม โอมาต๎ยารัทธัสสะ ระตะนัตต๎ยสั สะ สาธุกงั .
การนอบนอมแดพระรัตนตรัย ทีป่ รารภไวแลววา ‘โอม’ (คือ อะ อุ มะ) ใหสำเร็จประโยชน.
นะโม โอมะกาตีตสั สะ ตัสสะ วัตถุตตะยัสสะป.
ขอนอบนอมแมแตหมวดวัตถุ ๓ [คือพระรัตนตรัย] อันลวงพนโทษต่ำชา นัน้ .
นะโม การัปปะภาเวนะ วิคจั ฉันตุ อุปท ทะวา.
ดวยการประกาศการกระทำความนอบนอม อุปท วะทัง้ หลาย จงปราศจากไป.
นะโม การานุภาเวนะ สุวตั ถิ โหตุ สัพพะทา.
ดวยอานุภาพ แหงการกระทำความนอบนอม ขอความสวัสดีจงมีทกุ เมือ่ .
นะโม การัสสะ เตเชนะ วิธมิ ห๎ ิ โหมิ เตชะวา.
ดวยเดชแหงการกระทำความนอบนอม เราจงเปนผมู เี ดชในมงคลพิธเี ถิด.

มังคลปริตร
เอวัมเม สุตงั . เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยงั วิหะระติ เชตะวะเน
อะนาถะปณฑิกสั สะ อาราเม.
อันขาพเจา คือพระอานันทเถระ ไดสดับมาแลวอยางนี้. สมัยหนึ่ง สมเด็จพระผูมี
พระภาคเจา เสด็จประทับอยทู เี่ ชตวันวิหาร อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกลเมืองสาวัตถี.

* พระราชนิพนธของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยหู วั
พระปริตร 29
อะถะ โข อัญญะตะรา เทวะตา อะภิกกันตายะ รัตติยา อะภิกกันตะวัณณา
เกวะละกัปปง เชตะวะนัง โอภาเสตว๎ า, เยนะ ภะคะวา, เตนุปะสังกะมิ.
ครั้งนั้นแล เทพยดาองคใดองคหนึ่ง ครั้นเมื่อราตรีปฐมยามลวงไปแลว มีรัศมีอันงามยิ่ง
นัก ยังเชตวันทัง้ สิน้ ใหสวาง, พระผมู พี ระภาคเจาเสด็จประทับอยู โดยทีใ่ ด, ก็เขาไปเฝา ณ ทีน่ นั้ .
อุปะสังกะมิต๎วา ภะคะวันตัง อะภิวาเทต๎วา เอกะมันตัง อัฏฐาสิ. เอกะมันตัง
ฐิตา โข สา เทวะตา ภะคะวันตัง คาถายะ อัชฌะภาสิ. (หยุด)
ครัน้ เขาไปเฝาแลว จึงถวายอภิวาทพระผมู พี ระภาคเจา แลวไดยนื อยใู นทามกลางสวนขางหนึง่ .
ครั้นเทพยดานั้นยืนในที่สมควรสวนขางหนึ่งแลวแล ไดทูลพระผูมีพระภาคเจา ดวยคาถาวา
‘พะหู เทวา มะนุสสา จะ มังคะลานิ อะจินตะยุง
อากังขะมานา โสตถานัง พ๎รหู ิ มังคะละมุตตะมัง’.
‘หมเู ทวดาและมนุษย เปนอันมาก ผหู วังความสวัสดี ไดคดิ หามงคลทัง้ หลาย ขอพระองค
โปรดแสดงมงคลอันสูงสุด’.
[พระผมู พี ระภาคไดตรัสตอบวา]
อะเสวะนา จะ พาลานัง ปณฑิตานัญจะ เสวะนา
ปูชา จะ ปูชะนียานัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
[๑] การไมคบคนพาล [๒] การคบบัณฑิต และ [๓] การบูชาบุคคลทีค่ วรบูชา นีเ้ ปนมงคล
อันสูงสุด.
ปะฏิรปู ะเทสะวาโส จะ ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา
อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
[๔] การอยใู นถิน่ ทีอ่ นั สมควร สิง่ แวดลอมดี [๕] การไดทำบุญทำความดีไวกอ น และ [๖]
การตัง้ ตนไวถกู ตอง นีเ้ ปนมงคลอันสูงสุด.
พาหุสจั จัญจะ สิปปญจะ วินะโย จะ สุสกิ ขิโต
สุภาสิตา จะ ยา วาจา เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
[๗] การไดฟง ไดอา นมากศึกษามาก [๘] ศิลปะวิทยา [๙] ระเบียบวินยั ทีฝ่ ก ฝนดี และ
[๑๐] วาจาทีก่ ลาวดี นีเ้ ปนมงคลอันสูงสุด.
มาตาปตอุ ปุ ฏ ฐานัง ปุตตะทารัสสะ สังคะโห
อะนากุลา จะ กัมมันตา เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
[๑๑] การเลีย้ งดูมารดาบิดา [๑๒-๑๓] การสงเคราะหบตุ รและภรรยา และ [๑๔] การงาน
ทีไ่ มคงั่ คาง นีเ้ ปนมงคลอันสูงสุด.
30 ทำวั ต ร-สวดมนต

ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ ญาตะกานัญจะ สังคโห


อะนะวัชชานิ กัมมานิ เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
[๑๕] การให [๑๖] การประพฤติธรรม [๑๗] การสงเคราะหญาติ และ [๑๘] การกระทำ
การงานทีไ่ มมโี ทษ นีเ้ ปนมงคลอันสูงสุด.
อาระตี วิระตี ปาปา มัชชะปานา จะ สัญญะโม
อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
[๑๙] การงดเวนจากบาปความชั่ว [๒๐] การสำรวมเวนจากการดื่มน้ำเมา และ
[๒๑] ความไมประมาทในธรรมทัง้ หลาย นีเ้ ปนมงคลอันสูงสุด.
คาระโว จะ นิวาโต จะ สันตุฏฐี จะ กะตัญุตา
กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
[๒๒] ความเคารพ [๒๓] ความไมอวดเบง ความออนนอม [๒๔] ความสันโดษยินดีดว ย
สิง่ ทีห่ ามาได มาดวยความสุจริต [๒๕] ความรอู ปุ การะทีท่ า นทำแกตน และ [๒๖] การฟงธรรม
ตามกาล นีเ้ ปนมงคลอันสูงสุด.
ขันตี จะ โสวะจัสสะตา สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง
กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
[๒๗] ความอดทน [๒๘] ความเปนคนวางายสอนงาย [๒๙] การเห็นสมณะ และ [๓๐]
การสนทนาธรรมตามกาล นีเ้ ปนมงคลอันสูงสุด.
ตะโป จะ พ๎รัห๎มะจะริยญ ั จะ อะริยะสัจจานะ ทัสสะนัง
นิพพานะสัจฉิกริ ยิ า จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
[๓๑] ความเพียรเผากิเลส [๓๒] ความประพฤติอนั ประเสริฐ [๓๓] การเห็นอริยสัจ
และ [๓๔] การทำนิพพานใหแจง นีเ้ ปนมงคลอันสูงสุด.
ผุฎฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ
อะโสกัง วิระชัง เขมัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง.
[๓๕] ถูกโลกธรรมกระทบแลว จิตไมหวัน่ ไหว [๓๖] จิตไมโศกเศรา [๓๗] จิตทีป่ ราศจาก
ธุลคี อื กิเลส และ [๓๘] จิตทีเ่ กษม นีเ้ ปนมงคลอันสูงสุด.
เอตาทิสานิ กัต๎วานะ สัพพัตถะมะปะราชิตา
สัพพัตถะ โสตถิง คัจฉันติ. ตันเตสัง มังคะละมุตตะมันติ.
เทวดาและมนุษยทงั้ หลาย กระทำมงคลเชนนีแ้ ลว ไมพา ยแพในทุกที่ ยอมถึงความสวัสดี
ในทีท่ งั้ ปวง. ขอนัน้ เปนมงคลอันสูงสุด ของเทวดาและมนุษยทงั้ หลายเหลานัน้ แล.
พระปริตร 31
รัตนปริตร
ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรงั วา ทรัพยเครือ่ งปลืม้ ใจ อันใดอันหนึง่ ในโลกนีห้ รือโลกอืน่
สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตงั , หรือรัตนะอันใด อันประณีต ในสวรรค, รัตนะอันนั้น
นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ. ที่เสมอดวยพระตถาคตเจา ไมมีเลย.
อิทมั ป พุทเธ ระตะนัง ปะณีตงั . แมอันนี้ เปนรัตนะอันประณีตในพระพุทธเจา. ดวย
เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหตุ. คำสัตยนี้ ขอความสวัสดีจงมี.
ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตงั พระสักยมุนี มีพระหทัยตั้งมั่น ไดบรรลุธรรมอันใด
ยะทัชฌะคา สักย๎ ะมุนี สะมาหิโต, อันประณีต อันเปนที่สิ้นกิเลส เปนที่สิ้นราคะ เปน
นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ. อมตธรรม, สิง่ ใดๆ ทีเ่ สมอดวยธรรมนัน้ ยอมไมม.ี
อิทมั ป ธัมเม ระตะนัง ปะณีตงั . แมอนั นี้ เปนรัตนะอันประณีตในพระธรรม. ดวยคำสัตย
เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหตุ. นี้ ขอความสวัสดีจงมี.
ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวณ ั ณะยี สุจงิ , พระพุทธเจาผปู ระเสริฐทีส่ ดุ ทรงสรรเสริญสมาธิอนั ใดวา
สะมาธิมานันตะริกญั ญะมาหุ, เปนธรรมสะอาด, บัณฑิตทัง้ หลายกลาวถึงสมาธิใดวาให
สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ. ผลตามลำดับ, สมาธิใดๆ ทีเ่ สมอดวยสมาธินนั้ ยอมไมม.ี
อิทมั ป ธัมเม ระตะนัง ปะณีตงั . แมอนั นี้ เปนรัตนะอันประณีตในพระธรรม. ดวยคำสัตยนี้
เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหตุ. ขอความสวัสดีจงมี.
เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัตถา บุคคล ๘ จำพวก ๔ คู อันเหลาสัตบุรษุ สรรเสริญแลว
จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ เปนสาวกของพระสุคตเจา ควรแกทกั ษิณาทาน, ทาน
เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา, ทัง้ หลาย อันบุคคลถวายในทานเหลานัน้ ยอมมีผลมาก.
เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ.
อิทมั ป สังเฆ ระตะนัง ปะณีตงั . แมอนั นี้ เปนรัตนะอันประณีตในพระสงฆ. ดวยคำสัตยนี้
เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหตุ. ขอความสวัสดีจงมี.
เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬเ๎ หนะ พระอริยบุคคลเหลาใด ในศาสนาของพระโคตมเจา
นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัมห๎ ,ิ ประกอบดีแลว มีใจมั่นคง หมดความใครแลว, พระ
เต ปตติปต ตา อะมะตัง วิคยั หะ อริยบุคคลเหลานัน้ ถึงพระอรหัตตผลทีค่ วรถึง หยัง่ เขาสู
ลัทธา มุธา นิพพุตงิ ภุญชะมานา. อมตนิพพาน ไดซงึ่ ความดับกิเลสโดยเปลาๆ แลวเสวยผลอย.ู
32 ทำวัตร-สวดมนต
อิทมั ป สังเฆ ระตะนัง ปะณีตงั . แมอนั นี้ เปนรัตนะอันประณีตในพระสงฆ. ดวยคำสัตยนี้
เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหตุ. ขอความสวัสดีจงมี.
ขีณงั ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง, กรรมเกาของพระอริยบุคคลเหลาใดสิน้ แลว กรรม
วิรตั ตะจิตตายะติเก ภะวัสม๎ งิ , สมภพใหมยอ มไมม,ี พระอริยบุคคลเหลาใดมีจติ อัน
เต ขีณะพีชา อะวิรฬุ ห๎ ฉิ นั ทา หนายแลวในภพตอไป, พระอริยบุคคลเหลานัน้ มีพชื
นิพพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป. สิน้ ไปแลว มีความพอใจงอกไมไดแลว เปนผมู ปี ญ
 ญา
ยอมปรินพิ พาน เหมือนประทีปอันดับไป ฉะนัน้ .
อิทมั ป สังเฆ ระตะนัง ปะณีตงั . แมอนั นี้ เปนรัตนะอันประณีตในพระสงฆ. ดวยคำสัตยนี้
เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหตุ. ขอความสวัสดีจงมี.

กรณียเมตตปริตร
กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ, ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ.
สักโก อุชู จะ สุหชุ ู จะ สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี
กิจนัน้ ใด อันพระอริยเจา บรรลุบทอันสงบ กระทำแลว, กิจนัน้ อันกุลบุตรผฉู ลาดในประโยชน
พึงกระทำ. กุลบุตรนัน้ พึงเปนผอู าจหาญและซือ่ ตรงดี เปนผทู วี่ า งาย ออนโยน ไมมอี ติมานะ
สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ
สันตินท๎รโิ ย จะ นิปะโก จะ อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคทิ โธ.
เปนผสู นั โดษ เลีย้ งงาย เปนผมู กี จิ ธุระนอย ประพฤติเบากายจิต มีอนิ ทรียอ นั สงบแลว
มีปญ
 ญา เปนผไู มคกึ คะนอง ไมพวั พันในตระกูลทัง้ หลาย.
นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญู ปะเร อุปะวะเทยยุง
สุขโิ น วา เขมิโน โหนตุ ‘สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขติ ตั ตา.
วิญูชนติเตียนเหลาชนอืน่ ไดดว ยกรรมใด, ไมพงึ ประพฤติในกรรมอันนัน้ เลย [พึงแผเมตตา
ไปในหมสู ตั ววา ] ‘ขอสัตวทงั้ ปวง จงเปนผมู สี ขุ มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด.
เย เกจิ ปาณะภูตตั ถิ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา
ทีฆา วา เย มะหันตา วา มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา
สัตวมชี วี ติ ทัง้ หลายเหลาใดเหลาหนึง่ มีอยู ยังเปนผสู ะดงุ (คือมีตณ
ั หา) หรือเปนผมู นั่ คง
(ไมมตี ณ
ั หา) ทัง้ หมดไมเหลือ เหลาใด ยาว หรือ สัน้ ใหญ หรือ ปานกลาง ผอม หรือ อวน
พระปริตร 33
ทิฎฐา วา เย จะ อะทิฎฐา เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทเู ร
ภูตา วา สัมภะเวสี วา, สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขติ ตั ตา,
เหลาใดทีเ่ ราเห็นแลว หรือมิไดเห็น เหลาใด อยใู นทีไ่ กล หรือทีไ่ มไกล ทีเ่ กิดแลว หรือ
กำลังแสวงหาภพก็ด,ี ขอสัตวทงั้ ปวงเหลานัน้ จงเปนผมู ตี นถึงความสุขเถิด.
นะ ปะโร ปะรัง นิกพุ เพถะ. นาติมญ
ั เญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ.
พ๎ยาโรสะนา ปะฏีฆะสัญญา นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ.
สัตวอนื่ อยาพึงขมเหงสัตวอนื่ . อยาพึงดูหมิน่ อะไรๆ เขา ในทีไ่ รๆ เลย. ไมควรปรารถนา
ทุกขแกกนั และกัน เพราะความโกรธและความแคนเคือง.
มาตา ยะถา นิยงั ปุตตัง อายุสา เอกะปุตตะมะนุรกั เข,
เอวัมป สัพพะภูเตสุ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง.
มารดาถนอมลูกนอยคนเดียว ผเู กิดในตน ดวยยอมพราชีวติ ได ฉันใด, พึงเจริญเมตตา
มีในใจ ไมมปี ระมาณในสัตวทงั้ ปวง แมฉนั นัน้ .
เมตตัญจะ สัพพะโลกัสม๎ งิ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง
อุทธัง อะโธ จะ ติรยิ ญ
ั จะ อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปตตัง.
บุคคลพึงเจริญเมตตา มีในใจ ไมมีประมาณ ไปในโลกทั้งสิ้น ทั้งเบื้องบน เบื้องต่ำ
เบือ้ งเฉียง เปนธรรมอันไมคบั แคบ ไมมเี วร ไมมศี ตั รู.
ติฏฐัญจะรัง นิสนิ โน วา สะยาโน วา ยาวะ ตัสสะ วิคะตะมิทโธ
เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ. พ๎รหั ม๎ ะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ.
ผเู จริญเมตตาจิตนัน้ ยืนอยกู ด็ ี เดินไปก็ดี นัง่ แลวก็ดี นอนแลวก็ดี เปนผปู ราศจากความ
งวงนอน เพียงใด ก็ตงั้ สติอนั นัน้ ไวเพียงนัน้ . บัณฑิตทัง้ หลายกลาวกิรยิ าอันนีว้ า เปนพรหมวิหาร
ในพระศาสนานี้.
ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีละวา ทัสสะเนนะ สัมปนโน
กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีต.ิ
บุคคลทีม่ เี มตตา ไมเขาถึงทิฏฐิ เปนผมู ศี ลี ถึงพรอมแลวดวยทัศนะ [คือโสดาปตติมรรค]
นำความหมกมนุ ในกามทัง้ หลายออก ยอมไมถงึ ความนอนในครรภอกี โดยแททเี ดียวแล.
34 ทำวั ต ร-สวดมนต

ขันธปริตร
วิรปู ก เขหิ เม เมตตัง. เมตตัง เอราปะเถหิ เม.
ฉัพย๎ าปุตเตหิ เม เมตตัง. เมตตัง กัณห๎ าโคตะมะเกหิ จะ.
ความเปนมิตรของเรา จงมีกับพญานาคทั้งหลายตระกูลวิรูปกข. ความเปนมิตรของเรา
จงมีกบั พญานาคทัง้ หลายตระกูลเอราบถ. ความเปนมิตรของเรา จงมีกบั พญานาคทัง้ หลายตระกูล
ฉัพยาบุตร. ความเปนมิตรของเรา จงมีกบั พญานาคทัง้ หลายตระกูลกัณหโคตมกะ.
อะปาทะเกหิ เม เมตตัง. เมตตัง ทิปาทะเกหิ เม.
จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง. เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม.
สัตวไมมเี ทา อยาเบียดเบียนเรา. สัตว ๒ เทา อยาเบียดเบียนเรา. สัตว ๔ เทา อยา
เบียดเบียนเรา. สัตวมากเทา อยาเบียดเบียนเรา.
มา มัง อะปาทะโก หิงสิ. มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก.
มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ. มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท.
ความเปนมิตรของเรา จงมีกบั สัตวทงั้ หลาย ทีไ่ มมเี ทา. ความเปนมิตรของเรา จงมีกบั สัตว
ทั้งหลาย ที่มีสองเทา. ความเปนมิตรของเรา จงมีกับสัตวทั้งหลาย ที่มีสี่เทา. ความเปนมิตร
ของเรา จงมีกบั สัตวทงั้ หลาย ทีม่ เี ทามาก.
สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา
สัพเพ ภัทร๎ านิ ปสสันตุ. มา กิญจิ ปาปะมาคะมา.
ขอสรรพสัตวมชี วี ติ ทัง้ หลาย ทีเ่ กิดมาทัง้ หมด จนสิน้ เชิงดวย จงเห็นซึง่ ความเจริญทัง้ หลาย
ทัง้ ปวงเถิด. โทษเลวทรามใดๆ อยาไดมาถึงแกสตั วเหลานัน้ .
อัปปะมาโณ พุทโธ. อัปปะมาโณ ธัมโม. อัปปะมาโณ สังโฆ. ปะมาณะวันตานิ
สิรงิ สะปานิ อะหิ วิจฉิกา สะตะปะที อุณณานาภี สะระพู มูสกิ า.
พระพุทธเจา ทรงพระคุณไมมปี ระมาณ. พระธรรม ทรงพระคุณไมมปี ระมาณ. พระสงฆ
ทรงพระคุณไมมปี ระมาณ. สัตวเสือกคลานทัง้ หลาย คือ งู แมงปอง ตะเข็บ ตะขาบ แมงมุม ตกุ แก
หนู เหลานี้ ลวนมีประมาณ [มีไมมากเหมือนคุณพระรัตนตรัย].
กะตา เม รักขา. กะตา เม ปะริตตา. ปะฏิกกะมันตุ ภูตานิ. โสหัง นะโม
ภะคะวะโต. นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานัง.
ความรักษาอันเราทำแลว ความปองกันอันเราทำแลว. หมสู ตั วทงั้ หลายจงหลีกไปเสีย. เรา
นัน้ กระทำการนอบนอมแดพระผมู พี ระภาคอย.ู นอบนอมแดพระสัมมาสัมพุทธเจา ๗ พระองคอย.ู
พระปริตร 35

โมรปริตร
อุเทตะยัญจักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส.
พระอาทิตย เปนดวงตาของโลก เปนเอกราช มีสเี พียงดังสีแหงทอง ยังพืน้ แหงปฐพีใหสวาง
อุทัยขึ้นมา.
ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง.
ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ ทิวะสัง.
เพราะเหตุนนั้ ขาขอนอบนอมพระอาทิตยนนั้ ซึง่ มีสเี พียงดังสีแหงทอง ยังพืน้ ปฐพีใหสวาง.
ขาทัง้ หลาย อันทานปกครองแลว ในวันนี้ พึงอยเู ปนสุขตลอดวัน.
เย พ๎ราห๎มะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม, เต เม นะโม. เต จะ มัง ปาละยันตุ.
พราหมณทงั้ หลายเหลาใด ผถู งึ ซึง่ เวทในธรรมทัง้ ปวง, พราหมณทงั้ หลายเหลานัน้ ขอจง
รับความนอบนอมของขา. อนึง่ พราหมณทงั้ หลายเหลานัน้ ขอจงรักษาขา.
นะมัตถุ พุทธานัง. นะมัตถุ โพธิยา. นะโม วิมตุ ตานัง. นะโม วิมตุ ติยา.
ความนอบนอมของขา จงมีแดพระพุทธเจาทั้งหลาย. ความนอบนอมของขา จงมีแด
พระโพธิญาณ. ความนอบนอมของขา จงมีแดทา นผหู ลุดพนแลวทัง้ หลาย. ความนอบนอมของขา
จงมีแดวิมุตติธรรม.
อิมงั โส ปะริตตัง กัตว๎ า โมโร จะระติ เอสะนา.
นกยูงนั้นไดทำปริตรอันนี้แลว จึงเที่ยวไปเพื่อการแสวงหาอาหาร.
อะเปตะยัญจักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส.
พระอาทิตย เปนดวงตาของโลก เปนเอกราช มีสีเพียงดังสีแหงทอง ยังพื้นปฐพีใหสวาง
ยอมอัสดงคตไป.
ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง.
ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ รัตติง.
เพราะเหตุนนั้ ขาขอนอบนอมพระอาทิตยนนั้ ซึง่ มีสเี พียงดังสีแหงทอง ยังพืน้ ปฐพีใหสวาง.
ขาทัง้ หลาย อันทานปกครองแลว ในวันนี้ พึงอยเู ปนสุขตลอดคืน.
เย พ๎ราห๎มะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม, เต เม นะโม. เต จะ มัง ปาละยันตุ.
พราหมณทงั้ หลายเหลาใด ผถู งึ ซึง่ เวทในธรรมทัง้ ปวง, พราหมณทงั้ หลายเหลานัน้ ขอจง
รับความนอบนอมของขา. อนึง่ พราหมณทงั้ หลายเหลานัน้ ขอจงรักษาขา.
36 ทำวั ต ร-สวดมนต

นะมัตถุ พุทธานัง. นะมัตถุ โพธิยา. นะโม วิมตุ ตานัง. นะโม วิมตุ ติยา.
ความนอบนอมของขา จงมีแดพระพุทธเจาทั้งหลาย. ความนอบนอมของขา จงมีแด
พระโพธิญาณ. ความนอบนอมของขา จงมีแดทา นผหู ลุดพนแลวทัง้ หลาย. ความนอบนอมของขา
จงมีแดวิมุตติธรรม.
อิมงั โส ปะริตตัง กัตว๎ า โมโร วาสะมะกัปปะยีต.ิ
นกยูงนัน้ ไดทำปริตรอันนีแ้ ลว จึงสำเร็จความอยแู ล.

ฉัททันตปริตร
‘วะธิสสะเมนันติ ปะรามะสันโต
กาสาวะมัททักขิ ธะชัง อิสนี งั
ทุกเขนะ ผุฏฐัสสุทะปาทิ สัญญา
‘อะระหัทธะโช สัพภิ อะวัชฌะรูโป’
พญาชางฉัททันตโพธิสตั ว ไดจบั พรานไพรดวยคิดวา ‘จักฆามัน’ ครัน้ ไดเห็นผากาสาวพัสตร
อันเปนธงชัยของเหลาผแู สวงหาคุณ. ทัง้ ทีไ่ ดรบั ความทุกข [เพราะถูกนายพรานยิงดวยธนู] ก็เกิด
ความรสู กึ วา ‘ธงชัยแหงพระอรหันตอนั สัตบุรษุ ไมพงึ ทำลาย’.
สัลเลนะ วิทโธ พ๎ยะถิโตป สันโต
กาสาวะวัตถัมหิ มะนัง นะ ทุสสะยิ.
สะเจ อิมงั นาคะวะเรนะ สัจจัง,
มา มัง วะเน พาละมิคา อะคัญฉุนติ.
แมพระโพธิสัตวถูกศร ควรจะหวั่นไหว แตเปนผูสงบระงับได ไมทำใจประทุษรายใน
ผากาสาวพัสตร. ถาคำนีอ้ นั พญาชางกลาวจริงแลว, ขอเหลาพาลมฤคสัตวรา ยในพงไพร อยาได
กล้ำกรายตัวเรา.
พระปริตร 37

วัฏฏกปริตร
อัตถิ โลเก สีละคุโณ. สัจจัง โสเจยยะนุททะยา.
เตนะ สัจเจนะ กาหามิ สัจจะกิรยิ ะมะนุตตะรัง.
คุณแหงศีลมีอยใู นโลก. สัจจะ ความสะอาดกาย และความเอ็นดู มีอยใู นโลก. ดวยสัจจะนัน้
ขาพเจาจักทำสัจจกิริยาอันเยี่ยม.
อาวัชชิตว๎ า ธัมมะพะลัง สะริตว๎ า ปุพพะเก ชิเน
สัจจะพะละมะวัสสายะ สัจจะกิริยะมะกาสะหัง.
ข า พเจ า พิ จ ารณาซึ่ ง กำลั ง แห ง ธรรม และระลึ ก ถึ ง พระชิ น เจ า ทั้ ง หลายในปางก อ น
อาศัยกำลังแหงสัจจะ ขอทำสัจจกิรยิ า.
สันติ ปกขา อะปตตะนา. สันติ ปาทา อะวัญจะนา.
มาตา ปตา จะ นิกขันตา. ชาตะเวทะ ปะฏิกกะมะ.
ปกทัง้ หลายของขามีอยู แตบนิ ไมได. เทาทัง้ หลายของขามีอยู แตเดินไมได. มารดาและ
บิดาของขา ออกไปหาอาหาร. ดูกอ นไฟปา ขอทานจงหลีกไป.
สะหะ สัจเจ กะเต มัยหัง มะหาปชชะลิโต สิขี
วัชเชสิ โสฬะสะ กะรีสานิ อุทะกัง ปตว๎ า ยะถา สิข.ี
ครั้นเมื่อสัจจะ อันเราทำแลว เปลวไฟอันรุงเรืองใหญหลีกไป ๑๖ กรีส พรอมกับสัจจะ
ประหนึ่งเปลวไฟอันตกถึงน้ำ.
สัจเจนะ เม สะโม นัตถิ. เอสา เม สัจจะปาระมีต.ิ
สิง่ ใดเสมอดวยสัจจะของเราไมม.ี นีเ้ ปนสัจจบารมีของเรา.
38 ทำวั ต ร-สวดมนต

ธชัคคปริตร
เอวัมเม สุตงั . เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยงั วิหะระติ เชตะวะเน
อะนาถะปณฑิกสั สะ อาราเม. ตัต๎ระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ “ภิกขะโวติ.
“ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปจจัสโสสุง. ภะคะวา เอตะทะโวจะ. (หยุด)
ขาพเจาไดสดับมาแลวอยางนี.้ สมัยหนึง่ พระผมู พี ระภาคประทับอยู ณ พระวิหารเชตวัน
อารามของทานอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี. ในกาลนัน้ แล พระผมู พี ระภาคตรัสเรียก
ภิกษุทั้งหลายมาวา “ภิกษุทั้งหลาย”. ภิกษุเหลานั้นทูลรับพระดำรัสของพระผูมีพระภาคแลว.
พระผูมีพระภาคตรัสพระพุทธพจนนี้วา
“ภูตะปุพพัง ภิกขะเว เทวาสุระสังคาโม สะมุปพ๎ยุฬ๎โห อะโหสิ. อะถะโข
ภิกขะเว สักโก เทวานะมินโท เทเว ตาวะติงเส อามันเตสิ ‘สะเจ มาริสา เทวานัง
สังคามะคะตานัง อุปปชเชยยะ ภะยัง วา ฉัมภิตตั ตัง วา โลมะหังโส วา. มะเมวะ
ตัส๎มิง สะมะเย ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ. มะมัง หิ โว ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง
ยัมภะวิสสะติภะยัง วา ฉัมภิตตั ตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ. โน เจ เม
ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ อะถะ ปะชาปะติสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ.
ปะชาปะติสสะ หิ โว เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา
ฉัมภิตตั ตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ. โน เจ ปะชาปะติสสะ เทวะราชัสสะ
ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ. อะถะ วะรุณสั สะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ.
วะรุณสั สะ หิ โว เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา
ฉัมภิตตั ตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ. โน เจ วะรุณสั สะ เทวะราชัสสะ
ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ. อะถะ อีสานัสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ.
อีสานัสสะ หิ โว เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา
ฉัมภิตตั ตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะตีต.ิ
“ภิกษุทั้งหลาย เรื่องเคยมีมาแลว. สงครามระหวางเทวดากับอสูรประชิดกันแลว. ภิกษุ
ทัง้ หลาย ครัง้ นัน้ แล ทาวสักกะผเู ปนจอมแหงเทพตรัสเรียกเทวดาชัน้ ดาวดึงสมาสัง่ วา ‘แนะ ทานผู
นิรทุกขทงั้ หลาย หากความกลัวก็ดี ความหวาดเสียวก็ดี ความขนพองสยองเกลาก็ดี จะพึงเกิดขึน้
แกพวกเทวดาผูไปในสงคราม. สมัยนั้น พวกทานพึงแลดูยอดธงของเราทีเดียว. เพราะวาเมื่อ
พวกทานแลดูยอดธงของเราอยู ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุงก็ดี ความขนพองสยองเกลาก็ดี
ทีจ่ กั มีขนึ้ ก็จกั หายไป. ถาพวกทานไมแลดูยอดธงของเรา ทีนนั้ พวกทานพึงแลดูยอดธงของทาว
พระปริตร 39
ปชาบดีเทวราชเถิด. เพราะวาเมือ่ พวกทานแลดูยอดธงของทาวปชาบดีเทวราชอยู ความกลัวก็ดี
ความหวาดสะดงุ ก็ดี ความขนพองสยองเกลาก็ดี ทีจ่ กั มีขนึ้ ก็จกั หายไป. หากพวกทานไมแลดูยอด
ธงของทาวปชาบดีเทวราช. ทีนนั้ พวกทานพึงแลดู ยอดธงของทาววรุณเทวราชเถิด. เพราะวาเมือ่
พวกทานแลดูยอดธงของทาววรุณ เทวราชอยู ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดงุ ก็ดี ความขนพองสยอง
เกลาก็ดี ทีจ่ กั มีขนึ้ ก็จกั หายไป. หากพวกทานไมแลดูยอดธงของทาววรุณเทวราช. ทีนนั้ พวก
ทาน พึงแลดูยอดธงของทาวอีสานเทวราชเถิด. เพราะวาเมือ่ พวกทานแลดูยอดธงของทาวอีสาน
เทวราชอยู ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดงุ ก็ดี ความขนพองสยองเกลา ก็ดี ทีจ่ กั มีขนึ้ ก็จกั หายไป.’
ตัง โข ปะนะ ภิกขะเว สักกัสสะ วา เทวานะมินทัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง
ปะชาปะติสสะ วา เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง วะรุณสั สะ วา เทวะราชัสสะ
ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง อีสานัสสะ วา เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง
ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตตั ตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยเยถาป โนป
ปะหิยเยถะ ตัง กิสสะ เหตุ สักโก หิ ภิกขะเว เทวานะมินโท อะวีตะราโค อะวีตะโทโส
อะวีตะโมโห ภิรุ ฉัมภี อุต๎ราสี ปะลายีต.ิ
ภิกษุทั้งหลาย เมื่อพวกเทวดาแลดูยอดธงของทาวสักกะผูเปนจอมแหงเทพก็ดี แลดูยอด
ธงของทาวปชาบดีเทวราชอยกู ด็ ี แลดูยอดธงของทาววรุณเทวราชอยกู ด็ ี แลดูยอดธงของทาว
อีสานเทวราชอยกู ด็ ี ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดงุ ก็ดี ความขนพองสยองเกลาก็ดี ทีจ่ กั มีขนึ้
พึงหายไปไดบา ง ไมไดบา ง. ขอนัน้ เปนเหตุแหงอะไร. ภิกษุทงั้ หลาย เหตุวา ทาวสักกะผเู ปนจอม
แหงเทพ ยังเปนผไู มปราศจากราคะ ไมปราศจากโทสะ ไมปราศจากโมหะ ยังเปนผกู ลัว หวาดสะดงุ
หนีไป อย.ู
“อะหัญจะ โข ภิกขะเว เอวัง วะทามิ สะเจ ตุมห๎ ากัง ภิกขะเว อะรัญญคะตานัง
วา รุกขะมูละคะตานัง วา สุญญาคาระคะตานัง วา อุปปชเชยยะ ภะยัง วา ฉัมภิตตั ตัง
วา โลมะหังโส วา มะเมวะ ตัส๎มงิ สะมะเย อะนุสสะเรยยาถะ. (หยุด)
“ภิกษุทงั้ หลาย สวนเราแล กลาวอยางนีว้ า ภิกษุทงั้ หลาย หากความกลัวก็ดี ความหวาด
สะดงุ ก็ดี ความขนพองสยองเกลาก็ดี พึงบังเกิดแกพวกเธอผไู ปในปาก็ดี อยทู โี่ คนไมกด็ ี อยใู น
เรือนทีว่ า งเปลาก็ดี ทีนัน้ พวกเธอพึงตามระลึกถึงเรานีแ้ หละวา
‘อิตปิ  โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปนโน สุคะโต
โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ
มะมัง หิ โว ภิกขะเว อะนุสสะระตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา
โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ.
40 ทำวั ต ร-สวดมนต

แมเพราะเหตุนี้ๆ พระผูมีพระภาค พระองคนั้นเปนพระอรหันต เปนผูตรัสรูเองโดยชอบ


เปนผูถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดีแลว เปนผูรูแจงโลก เปนสารถีฝกบุรุษที่ควรฝก
ไมมีผูอื่นจะยิ่งไปกวา เปนศาสดาของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย เปนผูตื่นแลว เปนผูจำแนก
ธรรม ดังนี.้ ภิกษุทงั้ หลาย เพราะวา เมือ่ พวกเธอตามระลึกถึงเราอยู ความกลัวก็ดี ความ
หวาดสะดงุ ก็ดี ความขนพองสยองเกลาก็ดี ทีจ่ กั มีขนึ้ ก็จกั หายไป.
โน เจ มัง อะนุสสะเรยยาถะ. อะถะ ธัมมัง อะนุสสะเรยยาถะ. ส๎วากขาโต
ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปส สิโก โอปะนะยิโก ปจจัตตัง เวทิตพั โพ
วิญูหตี .ิ ธัมมัง หิ โว ภิกขะเว อะนุสสะระตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตตั ตัง
วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ.
หากพวกเธอไมตามระลึกถึงเรา ทีนนั้ พวกเธอพึงตามระลึกถึงพระธรรมวา พระธรรมอันพระ
ผมู พี ระภาคตรัสดีแลว บุคคลพึงเห็นไดเอง ไมประกอบดวยกาล ควรเรียกใหมาดูได ควรนอมเขา
ไปในตน อันวิญูชนพึงรแู จงไดเฉพาะตน ดังนี้ ดูกรภิกษุทงั้ หลาย เพราะวา เมือ่ พวกเธอตามระลึกถึง
พระธรรมอยู ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดงุ ก็ดี ความขนพองสยองเกลาก็ดี ทีจ่ กั มีขนึ้ ก็จกั หายไป
โน เจ ธัมมัง อะนุสสะเรยยาถะ. อะถะ สังฆัง อะนุสสะเรยยาถะ. สุปะฏิปน โน
ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชปุ ะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปนโน
ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจปิ ะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทงั จัตตาริ
ปุรสิ ะยุคานิ อัฏฐะ ปุรสิ ะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. (หยุด)
หากพวกเธอไมตามระลึกถึงพระธรรม. ทีนนั้ พวกเธอพึงตามระลึกถึงพระสงฆวา พระสงฆ
สาวกของพระผมู พี ระภาคเปนผปู ฏิบตั ดิ แี ลว เปนผปู ฏิบตั ติ รง เปนผปู ฏิบตั เิ ปนธรรม เปนผปู ฏิบัติ
ชอบยิ่ง. พระสงฆนั้นคือใคร ไดแกคูแหงบุรุษสี่ รวมเปนบุรุษบุคคลแปด. นี้คือพระสงฆสาวก
ของพระผมู พี ระภาค เปนผคู วรแกสกั การะทีเ่ ขานำมาบูชา เปนผคู วรแกของตอนรับ เปนผคู วร
แกทกั ขิณา เปนผคู วรแกการทำอัญชลี เปนบุญเขตของโลก ไมมบี ญ ุ เขตอืน่ ยิง่ ไปกวา.
สังฆัง หิ โว ภิกขะเว อะนุสสะระตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตตั ตัง วา
โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ. ตัง กิสสะ เหตุ. ตะถาคะโต หิ ภิกขะเว อะระหัง สัมมา
สัมพุทโธ วีตะราโค วีตะโทโส วีตะโมโห อะภิรุ อัจฉัมภี อะนุตร๎ าสี อะปะลายีต.ิ
พระปริตร 41
เพราะวา เมือ่ พวกเธอตามระลึกถึงพระสงฆอยู ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดงุ ก็ดี ความ
ขนพองสยองเกลาก็ดี ทีจ่ กั มีขนึ้ ก็จกั หายไป. ขอนัน้ เปนเพราะเหตุแหงอะไร. เพราะวา พระตถาคต-
อรหันตสัมมาสัมพุทธเจา เปนผูปราศจากราคะ ปราศจากโทสะ ปราศจากโมหะ ไมเปนผูกลัว
ไมหวาด ไมสะดงุ ไมหนีไป.”
อิทะมะโวจะ ภะคะวา อิทงั วัต๎วานะ สุคะโต อะถาปะรัง เอตะทะโวจะ สัตถา.
พระผูมีพระภาคผูสุคตศาสดา ครั้นไดตรัสไวยากรณภาษิตนี้จบลงแลว จึงไดตรัสคาถา
ประพันธตอไปอีกวา
“อะรัญเญ รุกขะมูเล วา สุญญาคาเรวะ ภิกขะโว
อะนุสสะเรถะ สัมพุทธัง ภะยัง ตุมห๎ ากะ โน สิยา.
“ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายอยูในปาก็ดี อยูที่โคนไมก็ดี อยูในเรือนวางเปลาก็ดี
พึงระลึกถึงพระสัมพุทธเจาเถิด ความกลัวไมพงึ มีแกเธอทัง้ หลาย.
โน เจ พุทธัง สะเรยยาถะ โลกะเชฏฐัง นะราสะภัง.
อะถะ ธัมมัง สะเรยยาถะ นิยยานิกงั สุเทสิตงั .
ถาวาเธอทัง้ หลายไมพงึ ระลึกถึงพระพุทธเจาผเู จริญทีส่ ดุ ในโลก ผอู งอาจกวานรชน. ทีนนั้
เธอทัง้ หลายพึงระลึกถึงพระธรรมอันนำออกจากทุกข อันพระพุทธเจาทรงแสดงดีแลว.
โน เจ ธัมมัง สะเรยยาถะ นิยยานิกงั สุเทสิตงั .
อะถะ สังฆัง สะเรยยาถะ ปุญญักเขตตัง อะนุตตะรัง.
ถาเธอทัง้ หลายไมพงึ ระลึกถึงพระธรรมอันนำออกจากทุกข อันพระพุทธเจาทรงแสดงดีแลว.
ทีนนั้ เธอทัง้ หลายพึงระลึกถึงพระสงฆผเู ปนบุญเขต ไมมบี ญ
ุ เขตอืน่ ยิง่ ไปกวา.
เอวัมพุทธัง สะรันตานัง ธัมมัง สังฆัญจะ ภิกขะโว
ภะยัง วา ฉัมภิตตั ตัง วา โลมะหังโส นะ เหสสะตีต.ิ
ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย เมื่ อ เธอทั้ ง หลายระลึ ก ถึ ง พระพุ ท ธเจ า พระธรรม และพระสงฆ อ ยู
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดงุ ก็ดี ความขนพองสยองเกลาก็ดี จักไมมเี ลย.”
42 ทำวัตร-สวดมนต

อาฏานาฏิยปริตร
วิปส สิสสะ นะมัตถุ จักขุมนั ตัสสะ สิรมี ะโต.
สิขสิ สะป นะมัตถุ สัพพะภูตานุกมั ปโน.
ความนอบนอมแหงขาพเจา จงมีแดพระวิปส สีพทุ ธเจา ผมู จี กั ษุ ผมู สี ริ .ิ ความนอบนอม
แหงขาพเจา จงมีแมแดพระสิขพี ทุ ธเจา ผมู ปี กติอนุเคราะหแกสตั วโลกทัง้ ปวง.
เวสสะภุสสะ นะมัตถุ น๎หาตะกัสสะ ตะปสสิโน.
นะมัตถุ กะกุสนั ธัสสะ มาระเสนัปปะมัททิโน.
ความนอบนอมแหงขาพเจา จงมีแดพระเวสสภูพุทธเจา ผูมีกิเลสอันลางแลว ผูมีตบะ.
ความนอบนอมแหงขาพเจา จงมีแดพระกกุสันธพุทธเจา ผูย่ำยีมารและเสนา.
โกนาคะมะนัสสะ นะมัตถุ พ๎ราห๎มะณัสสะ วุสมี ะโต.
กัสสะปสสะ นะมัตถุ วิปปะมุตตัสสะ สัพพะธิ.
อังคีระสัสสะ นะมัตถุ สักย๎ ะปุตตัสสะ สิรมี ะโต.
ความนอบนอมแหงขาพเจา จงมีแดพระโกนาคมนพุทธเจา ผูมีบาปอันลอยแลว ผูมี
พรหมจรรยอนั อยจู บแลว. ความนอบนอมแหงขาพเจา จงมีแดพระกัสสปพุทธเจา ผพู น แลวจากกิเลส
ทัง้ ปวง. ความนอบนอมแหงขาพเจา จงมีแดพระอังคีรสพุทธเจา ผเู ปนโอรสแหงสักยราช ผมู สี ริ .ิ
โย อิมงั ธัมมะมะเทเสสิ สัพพะทุกขาปะนูทะนัง,
เย จาป นิพพุตา โลเก ยะถาภูตงั วิปส สิสงุ ,
เต ชะนา อะปสณ ุ า มะหันตา วีตะสาระทา.
พระพุทธเจาพระองคใด ไดทรงแสดงแลวซึง่ ธรรมนี้ เปนเครือ่ งบรรเทาทุกขทงั้ ปวง, อนึง่
พระพุทธเจาเหลาใดก็ดี ที่ดับกิเลสแลวในโลก เห็นแจงธรรมตามความเปนจริง, พระพุทธเจา
เหลานัน้ เปนผไู มมคี วามสอเสียด ผเู ปนใหญ ผปู ราศจากความครัน่ คราม.
หิตงั เทวะมะนุสสานัง ยัง นะมัสสันติ โคตะมัง
วิชชาจะระณะสัมปนนัง มะหันตัง วีตะสาระทัง,
วิชชาจะระณะสัมปนนัง พุทธัง วันทามะ โคตะมันติ.
เทพยดาและมนุษยทั้งหลาย นอบนอมอยู ซึ่งพระพุทธเจาพระองคใด ผูโคตมโคตร
ผเู ปนประโยชนเกือ้ กูลแกเทพยดาและมนุษยทงั้ หลาย ถึงพรอมแลวดวยวิชชาและจรณะ ผเู ปนใหญ
ผปู ราศจากความครัน่ คราม, ขาพเจาทัง้ หลาย ขอนมัสการพระพุทธเจาพระองคนนั้ ผโู คตมโคตร
ผูถึงพรอมแลวดวยวิชชาและจรณะ.
พระปริตร 43

อังคุลิมาลปริตร
ยะโตหัง ภะคินิ อะริยายะ ชาติยา ชาโต, นาภิชานามิ สัญจิจจะ ปาณัง ชีวติ า
โวโรเปตา. เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ, โสตถิ คัพภัสสะ.
ดูกอ นนองหญิง ตัง้ แตเราเกิดแลวโดยชาติอริยะ ไมรจู กั แกลง [คือจงใจ] ปลงสัตวมชี วี ติ
จากชีวติ . ดวยคำสัตยนี้ ขอความสวัสดีจงมีแกทา น ขอความสวัสดีจงมีแกครรภของทาน.

โพชฌังคปริตร
โพชฌังโค สะติสงั ขาโต ธัมมานัง วิจะโย ตะถา
วิรยิ มั ปตปิ ส สัทธิ- โพชฌังคา จะ ตะถาปะเร
สะมาธุเปกขะโพชฌังคา สัตเตเต สัพพะทัสสินา
มุนนิ า สัมมะทักขาตา ภาวิตา พะหุลกี ะตา
สังวัตตันติ อะภิญญายะ นิพพานายะ จะ โพธิยา.
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา.
โพชฌงค ๗ ประการ คือ สติสัมโพชฌงค ธรรมวิจยสัมโพชฌงค วิริยสัมโพชฌงค
ปตสิ มั โพชฌงค ปสสัทธิสมั โพชฌงค สมาธิสมั โพชฌงค อุเบกขาสัมโพชฌงค อันพระมุนเี จาผเู ห็น
ธรรมทัง้ ปวง ตรัสไวชอบแลว อันบุคคลมาเจริญ ทำใหมากแลว ยอมเปนไปเพือ่ ความรยู งิ่ เพือ่
นิพพาน และเพือ่ ความตรัสร.ู ดวยความกลาวสัตยนี้ ขอความสวัสดีจงมีแกทา นทุกเมือ่ .
เอกัสม๎ งิ สะมะเย นาโถ โมคคัลลานัญจะ กัสสะปง
คิลาเน ทุกขิเต ทิสว๎ า โพชฌังเค สัตตะ เทสะยิ.
เต จะ ตัง อะภินนั ทิตว๎ า โรคา มุจจิงสุ ตังขะเณ.
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา.
ในสมัยหนึง่ พระโลกนาถเจา ทอดพระเนตรเห็นพระโมคคัลลานะและพระกัสสปะ เปนไข
ถึงทุกขเวทนาแลว ทรงแสดงโพชฌงค ๗ ประการ. ทานทัง้ ๒ ก็เพลิดเพลินภาษิตนัน้ หายจาก
โรคในขณะนัน้ . ดวยความกลาวสัตยนี้ ขอความสวัสดีจงมีแกทา นทุกเมือ่ .
44 ทำวัตร-สวดมนต
เอกะทา ธัมมะราชาป เคลัญเญนาภิปฬิโต
จุนทัตเถเรนะ ตัญเญวะ ภะณาเปต๎วานะ สาทะรัง
สัมโมทิตว๎ า จะ อาพาธา ตัมห๎ า วุฏฐาสิ ฐานะโส.
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา.
ครั้งหนึ่ง แมพระธรรมราชา อันความประชวรเบียดเบียนแลว รับสั่งใหพระจุนทเถระ
แสดงโพชฌงคนนั้ โดยยินดี ก็ทรงบันเทิงพระหทัย หายความประชวรไปโดยฐานะ. ดวยความกลาว
สัตยนี้ ขอความสวัสดีจงมีแกทา นทุกเมือ่ .
ปะหีนา เต จะ อาพาธา ติณณันนัมป มะเหสินงั
มัคคาหะตะกิเลสาวะ ปตตานุปปตติธมั มะตัง.
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา.
ก็อาพาธทัง้ หลายนัน้ อันพระผแู สวงคุณอันใหญทงั้ ๓ องคละไดแลว ถึงความไมบงั เกิดเปน
ธรรมดา ดุจกิเลสอันมรรคกำจัดแลว. ดวยความกลาวสัตยนี้ ขอความสวัสดีจงมีแกทา นทุกเมือ่ .
พระปริตร 45

อภยปริตร
ยันทุนนิมติ ตัง อะวะมังคะลัญจะ
โย จามะนาโป สะกุณสั สะ สัทโท
ปาปคคะโห ทุสสุปน งั อะกันตัง.
พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ.
ยันทุนนิมติ ตัง อะวะมังคะลัญจะ
โย จามะนาโป สะกุณสั สะ สัทโท
ปาปคคะโห ทุสสุปน งั อะกันตัง.
ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ.
ยันทุนนิมติ ตัง อะวะมังคะลัญจะ
โย จามะนาโป สะกุณสั สะ สัทโท
ปาปคคะโห ทุสสุปน งั อะกันตัง.
สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ.
ลางชัว่ รายอันใด และอวมงคลอันใด เสียงนกเปนทีไ่ มชอบใจอันใด และบาปเคราะหอนั ใด
สุบนิ (ความฝน) ชัว่ อันไมพอใจอันใด มีอย.ู ขอสิง่ เหลานัน้ จงถึงความพินาศไป ดวยอานุภาพ
แหงพระพุทธเจา-พระธรรม-พระสงฆ.

โส อัตถะลัทโธ สุขโิ ต วิรฬุ โห พุทธะสาสะเน


อะโรโค สุขโิ ต โหหิ สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ
สา อัตถะลัทธา สุขติ า วิรฬุ หา พุทธะสาสะเน
อะโรคา สุขติ า โหหิ สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ
เต อัตถะลัทธา สุขติ า วิรฬุ หา พุทธะสาสะเน
อะโรคา สุขติ า โหถะ สะหะ สัพเพหิ ญาติภ.ิ
ทานชาย ทานหญิง ทานทั้งหลายทั้งชายและหญิง จงเปนผูมีประโยชนอันไดแลว
ถึงแลวซึง่ ความสุข เจริญในพระพุทธศาสนา ไมมโี รค ถึงแลวซึง่ ความสุข พรอมกับดวยญาติ
ทั้งหลาย.
46 ทำวั ต ร-สวดมนต

สักกัตว๎ า พุทธะระตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง


หิตงั เทวะมะนุสสานัง พุทธะเตเชนะ โสตถินา
นัสสันตุปท ทะวา สัพเพ. ทุกขา วูปะสะเมนตุ เต.
สักกัตว๎ า ธัมมะระตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง
ปะริฬาหูปะสะมะนัง ธัมมะเตเชนะ โสตถินา
นัสสันตุปท ทะวา สัพเพ ภะยา วูปะสะเมนตุ เต.
สักกัตว๎ า สังฆะระตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง
อาหุเนยยัง ปาหุเนยยัง สังฆะเตเชนะ โสตถินา
นัสสันตุปท ทะวา สัพเพ โรคา วูปะสะเมนตุ เต.
เพราะทำความเคารพพระพุทธรัตนะ-พระธรรมรัตนะ-พระสังฆรัตนะ อันเปนดัง่ โอสถอันอุดม
ประเสริฐ เปนประโยชนแกเทวดาและมนุษยทงั้ หลาย. ดวยเดชแหงพระพุทธเจา-พระธรรม-พระสงฆ
ขอสรรพอุปทวะทั้งหลายจงพินาศไป. ขอทุกข-ภัย-โรคทั้งหลายของทาน จงสงบไปโดยสวัสดี.
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง. พุทโธ เม สะระณัง วะรัง.
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง.
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง. ธัมโม เม สะระณัง วะรัง.
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง.
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง. สังโฆ เม สะระณัง วะรัง.
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง.
ทีพ่ งึ่ อืน่ ของขาพเจาไมม.ี พระพุทธเจา-พระธรรม-พระสงฆ เปนทีพ่ งึ่ อันประเสริฐของขาพเจา
ดวยการกลาวสัจจะนี้ ขอความสวัสดีจงมีแกทา น.
ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวธิ งั ปุถ.ุ
ระตะนัง พุทธะสะมัง นัตถิ. ตัสม๎ า โสตถี ภะวันตุ เต.
ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวธิ งั ปุถ.ุ
ระตะนัง ธัมมะสะมัง นัตถิ. ตัสม๎ า โสตถี ภะวันตุ เต.
ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวธิ งั ปุถ.ุ
ระตะนัง สังฆะสะมัง นัตถิ. ตัสม๎ า โสตถี ภะวันตุ เต.
รัตนะอันใดอันหนึง่ ในโลก มีหลายหลากมากชนิด แตรตั นะนัน้ ทีจ่ ะเสมอดวยพระพุทธรัตนะ-
พระธรรมรัตนะ-พระสังฆรัตนะ ยอมไมม.ี เพราะเหตุนนั้ ขอความสวัสดีทงั้ หลาย จงมีแกทา น.
พระปริตร 47

ถวายพรพระ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ หน)
อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปนโน สุคะโต
โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.
พระผมู พี ระภาคเจาพระองคนนั้ เปนพระอรหันต ตรัสรดู โี ดยชอบดวยพระองคเอง ทรงถึง
พรอมดวยวิชชาและจรณะ (ความรแู ละความประพฤติ) เสด็จไปดี (คือไปทีใ่ ดก็ยงั ประโยชนใหทนี่ นั้ )
ทรงรแู จงโลก ทรงเปนสารถีฝก คนทีค่ วรฝก หาผอู นื่ เปรียบมิได ทรงเปนศาสดาของเทวดาและ
มนุษยทงั้ หลาย ทรงเปนผตู นื่ เปนผทู รงจำแนกธรรม.
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปส สิโก โอปะนะยิโก
ปจจัตตัง เวทิตพั โพ วิญูหตี .ิ
พระธรรมอันพระผมู พี ระภาคเจาตรัสดีแลว อันผปู ฏิบตั เิ ห็นชอบไดดว ยตนเอง ไมประกอบ
ดวยกาลเวลา ควรเรียกมาดูได ควรนอบนอมเขาไปหา อันผรู พู งึ รไู ดเฉพาะตน.
สุปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชปุ ะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ญายะปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจปิ ะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ยะทิทงั จัตตาริ ปุรสิ ะยุคานิ อัฏฐะ ปุรสิ ะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง
โลกัสสาติ.
พระสงฆสาวกของพระผมู พี ระภาค เปนผปู ฏิบตั ดิ แี ลว พระสงฆสาวกของพระผมู พี ระภาค
เปนผปู ฏิบตั ติ รง พระสงฆสาวกของพระผมู พี ระภาคเปนผปู ฏิบตั เิ พือ่ ความรู พระสงฆสาวกของ
พระผูมีพระภาคเปนผูปฏิบัติชอบ พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคนั้น จัดเปนบุรุษ ๔ คู
เปนบุคคล ๘ เปนผคู วรบูชา เปนผคู วรรับทิกษิณา เปนผคู วรกราบไหว เปนเนือ้ นาบุญของโลก
หาสิ่งอื่นเปรียบมิได.
48 ทำวั ต ร-สวดมนต

พุทธชัยมงคลคาถา
พาหุง สะหัสสะมะภินมิ มิตะสาวุธนั ตัง พระจอมมุนไี ดชนะพญามารผนู ริ มิตแขนมากตัง้ พัน
ค๎รเี มขะลัง อุทติ ะโฆระสะเสนะมารัง ถืออาวุธครบมือ ขีค่ ชสารครีเมขละ พรอมดวย
ทานาทิธมั มะวิธนิ า ชิตะวา มุนนิ โท. เสนามารโหรอ งกองกึก ดวยธรรมวิธมี ที านบารมี
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ. เปนตน. ขอชัยมงคลทัง้ หลาย จงมีแกทา น ดวย
เดชแหงพระพุทธชัยมงคลนั้น.
มาราติเรกะมะภิยชุ ฌิตะสัพพะรัตติง พระจอมมุนีไดชนะอาฬวกยักษผูมีจิตกระดาง
โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ปราศจากความอดทน มีฤทธิพ์ ลิ กึ ยิง่ กวาพญามาร
ขันตีสทุ นั ตะวิธนิ า ชิตะวา มุนนิ โท. เขามาตอสยู งิ่ นัก จนตลอดรงุ ดวยวิธที รมาน
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ. เปนอันดีคอื พระขันติ. ขอชัยมงคลทัง้ หลายจงมี
แกทา น ดวยเดชแหงพระพุทธชัยมงคลนัน้
นาฬาคิรงิ คะชะวะรัง อะติมตั ตะภูตงั พระจอมมุนีไดชนะชางตัวประเสริฐชื่อนาฬาคีรี
ทาวัคคิจกั กะมะสะนีวะ สุทารุณนั ตัง เปนชางเมามันยิ่งนัก แสนที่จะทารุณประดุจ
เมตตัมพุเสกะ วิธนิ า ชิตะวา มุนนิ โท. เพลิงปา จักราวุธ และสายฟา ดวยวิธรี ดลงดวย
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ. น้ำคือพระเมตตา. ขอชัยมงคลทัง้ หลายจงมีแก
ทาน ดวยเดชแหงพระพุทธชัยมงคลนัน้ .
อุกขิตตะขัคคะมะติหตั ถะสุทารุณนั ตัง พระจอมมุนีมีพระหฤทัยไปในที่จะกระทำอิทธิ-
ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง ปาฏิ ห าริ ย ได ช นะโจรชื่ อ องคุ ลิ ม าล ๑ แสน
อิทธีภสิ งั ขะตะมะโน ชิตะวา มุนนิ โท. รายกาจมีฝมือ ถือดาบเงื้อวิ่งไลพระองคไปสิ้น
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ. ทางสามโยชน. ขอชัยมงคลทัง้ หลายจงมีแกทา น
ดวยเดชแหงพระพุทธชัยมงคลนั้น
กัตว๎ านะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินยี า พระจอมมุ นี ไ ด ช นะความกล า วร า ยของนาง
จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ จิญจมาณวิกา ทำอาการประดุจวามีครรภ เพราะ
สันเตนะ โสมะวิธนิ า ชิตะวา มุนนิ โท. ทำไมมีสัณฐานอันกลม ใหเปนประดุจมีทอง
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ. ดวยวิธสี มาธิอนั งาม คือความระงับพระหฤทัย.
ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแกทาน ดวยเดชแหง
พระพุทธชัยมงคลนั้น.

ผมู พี วงดอกไมคอื นิว้ มนุษย
พระปริตร 49
สัจจัง วิหายะ มะติสจั จะกะวาทะเกตุง พระจอมมุนรี งุ เรืองแลวดวยประทีปคือพระปญญา
วาทาภิโรปตะมะนัง อะติอนั ธะภูตงั ไดชนะสัจจกนิครนถ ผมู อี ชั ฌาสัยในทีจ่ ะละเสีย
ปญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนนิ โท. ซึ่งความสัตย มีใจในที่จะยกถอยคำของตนใหสูง
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ. ดุจยกธง เปนผมู ดื มนยิง่ นัก ดวยเทศนาญาณวิธี คือ
รอู ชั ฌาสัยแลวตรัสเทศนา. ขอชัยมงคลทัง้ หลาย
จงมีแกทา น ดวยเดชแหงพระพุทธชัยมงคลนัน้ .
นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพธุ งั มะหิทธิง พระจอมมุนี โปรดใหพระโมคคัลลานเถระผูเปน
ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต พุทธชิโนรส นิรมิตกายเปนนาคราชไปทรมาน
อิทธูปะเทสะวิธนิ า ชิตะวา มุนนิ โท. พญานาคชือ่ นันโทปนันทะ ผมู คี วามรผู ดิ มีฤทธิม์ าก
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ. ดวยวิธีอันใหอุปเทศแหงฤทธิ์แกพระเถระ. ขอ
ชั ย มงคลทั้ ง หลายจงมี แ ก ท า น ด ว ยเดชแห ง
พระพุทธชัยมงคลนั้น.
ทุคคาหะทิฏฐิภชุ ะเคนะ สุทฏั ฐะหัตถัง พระจอมมุนีไดชนะพรหมผูมีนามวาพกา ผูมีฤทธิ์
พ๎รหั ม๎ งั วิสทุ ธิชตุ มิ ทิ ธิพะกาภิธานัง ผมู อี นั สำคัญตนวาเปนผรู งุ เรืองดวยคุณอันบริสทุ ธิ์
ญาณาคะเทนะ วิธนิ า ชิตะวา มุนนิ โท. ผู มี มื อ อั น ท า วภุ ช งค คื อ ทิ ฏ ฐิ ที่ ต นถื อ ผิ ด รึ ง รั ด ไว
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ. แนนแฟนแลว ดวยวิธวี างยาอันพิเศษคือ เทศนาญาณ.
ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแกทาน ดวยเดชแหง
พระพุทธชัยมงคลนั้น.
เอตาป พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา นรชนใด มีปญ  ญาไมเกียจคราน สวดก็ดี ระลึกก็ดี
โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเตมะตันที ซึง่ พระพุทธชัยมงคล ๘ คาถาแมเหลานีท้ กุ ๆ วัน.
หิตว๎ านะเนกะวิวธิ านิ จุปท ทะวานิ นรชนนั้นพึงละเสียไดซึ่งอุปทวันตรายทั้งหลาย
โมกขัง สุขงั อะธิคะเมยยะ นะโร สะปญโญ. มีประการตางๆ เปนอเนก ถึงโมกขธรรมอัน
เปนสุขแล.
50 ทำวั ต ร-สวดมนต

ชยปริตร
มะหาการุณโิ ก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินงั
ปูเรต๎วา ปาระมี สัพพา ปตโต สัมโพธิมตุ ตะมัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง.
พระสัมมาสัมพุทธเจา ผเู ปนทีพ่ งึ่ ของสัตวโลก ประกอบแลวดวยพระมหากรุณา ทรงยังบารมี
ทัง้ หลายทัง้ ปวงใหเต็ม เพือ่ ประโยชนแกสรรพสัตวทงั้ หลาย ทรงบรรลุแลวซึง่ ความตรัสรอู นั สูงสุด.
ดวยคำสัตยนี้ ขอชัยมงคลจงมีแกทา น.
ชะยันโต โพธิยา มูเล สัก๎ยานัง นันทิวฑั ฒะโน
เอวัง ต๎วงั วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
อะปะราชิตะปลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปตโต ปะโมทะติ.
ขอทานจงมีชัยชนะ เหมือนพระพุทธเจาทรงชนะมารที่โคนโพธิพฤกษ ถึงความเปนผูเลิศ
ในสรรพพุทธาภิเษก ทรงปราโมทยอยูบนอปราชิตบัลลังก [บัลลังกอันไมพายแพ] อันสูง เปน
จอมมหาปฐพี ทรงเพิม่ พูนความยินดีแกเหลาประยูรญาติศากยวงศ ฉะนัน้ เทอญ.
สุนกั ขัตตัง สุมงั คะลัง สุปะภาตัง สุหฏุ ฐิตงั
สุกขะโณ สุมหุ ตุ โต จะ สุยฏิ ฐัง พ๎รัห๎มะจาริสุ
เวลาที่บุคคลประพฤติชอบ ชื่อวาเปนฤกษดี มงคลดี สวางดี รุงดี ขณะดี ครูดี บูชาดี
ในพรหมจารีบุคคลทั้งหลาย.
ปะทักขิณงั กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณงั
ปะทักขิณงั มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา
ปะทักขิณานิ กัต๎วานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ.
กรรมอันเปนประทักษิณ [อาการแสดงความเคารพ] ทางกาย กรรมอันเปนประทักษิณทาง
วาจา กรรมอันเปนประทักษิณทางใจ ความปรารถนาของทาน เปนประทักษิณ. สัตวทงั้ หลาย
ทำกรรมอันเปนประทักษิณ ยอมไดประโยชนทงั้ หลายอันเปนประทักษิณ.
พระปริตร 51

มงคลจักรวาฬใหญ
สิ ริ ธิ ติ ม ะติ เ ตโชชะยะสิ ท ธิ ม ะหิ ท ธิ ม ะหาคุ ณ าปะริ มิ ต ะปุ ญ ญาธิ ก ารั ส สะ
สัพพันตะรายะนิวาระณะสะมัตถัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
ท๎วัตติงสะมะหาปุริสะลักขะณานุภาเวนะ
ดวยอานุภาพแหงพระมหาปุรสิ ลักษณะ ๓๒ ประการ แหงพระผมู พี ระภาคผอู รหันต ผตู รัสรู
แลวเองโดยชอบ ผูมีบุญญาธิการอันกำหนดไมได ดวยพระฤทธิ์อันใหญ และพระคุณอันใหญ
อันสำเร็จดวยพระสิริ พระปญญาเครือ่ งตัง้ มัน่ พระปญญาเครือ่ งรู พระเดช และพระชัย ผสู ามารถ
ในการหามเสียซึ่งสรรพอันตราย
อะสีต๎ยานุพ๎ยญ
ั ชะนานุภาเวนะ อัฏุตตะระสะตะมังคะลานุภาเวนะ ฉัพพัณณะ-
รังสิยานุภาเวนะ เกตุมาลานุภาเวนะ ทะสะปาระมิตานุภาเวนะ ทะสะอุปะปาระมิตานุ-
ภาเวนะ ทะสะปะระมัตถะปาระมิตานุภาเวนะ สีละสะมาธิปญ  ญานุภาเวนะ พุทธานุ-
ภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ สังฆานุภาเวนะ
ดวยอานุภาพแหงพระอนุพยัญชนะ ๘๐ มงคล ๑๐๘ พระรัศมีมีสี ๖ พระเกตุมาลา
พระบารมี ๑๐ พระอุปบารมี ๑๐ พระปรมัตถบารมี ๑๐ ศีล สมาธิ ปญญา พระพุทธรัตนะ
พระธรรมรัตนะ พระสังฆรัตนะ
เตชานุภาเวนะ อิทธานุภาเวนะ พะลานุภาเวนะ เญยยะธัมมานุภาเวนะ
จะตุราสีตสิ ะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ นะวะโลกุตตะระธัมมานุภาเวนะ อัฏฐังคิกะ-
มัคคานุภาเวนะ อัฏฐะสะมาปตติยานุภาเวนะ ฉะฬะภิญญานุภาเวนะ จะตุสัจจะ-
ญาณานุภาเวนะ
ดวยอานุภาพแหงพระเดช พระฤทธิ์ พระกำลัง พระเญยยธรรม พระธรรมขันธ ๘๔,๐๐๐
พระโลกุตตรธรรม ๙ พระอริยมรรคมีองค ๘ พระสมาบัติ ๘ พระอภิญญา ๖ พระญาณในสัจจะ ๔
ทะสะพะละญาณานุภาเวนะ สัพพัญุตะญาณานุภาเวนะ เมตตากะรุณามุทติ า
อุเปกขานุภาเวนะ สัพพะปะริตตานุภาเวนะ
ดวยอานุภาพแหงพระญาณมีกำลัง ๑๐ พระสัพพัญุตญาณ พระเมตตา กรุณา
มุทติ า อุเบกขา พระปริตรทัง้ ปวง
ระตะนัตตะยะสะระณานุภาเวนะ
ดวยอานุภาพแหงพระรัตนตรัย [ทีก่ ลาวมานี]้
52 ทำวั ต ร-สวดมนต

ตุย๎หัง สัพพะโรคะโสกุปททะวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา วินัสสันตุ. สัพพะ-


อันตะรายาป วินสั สันตุ. สัพพะสังกัปปา ตุย๎หงั สะมิชฌันตุ.
แมโรค ความโศก อุปท ทวะ ทุกข โทมนัส ความคับแคนใจ ทัง้ ปวง ของทาน จงสิน้ สูญไป.
แมเหลาอันตรายทัง้ ปวง จงสิน้ สูญไป. ความดำริทงั้ ปวงของทานจงสำเร็จดวยดี.
ทีฆายุตา ตุย๎หงั โหตุ. สะตะวัสสะชีเวนะ สะมังคิโก โหตุ สัพพะทา.
ความเปนผูมีอายุยืนจงมีแกทาน. ทานจงเปนผูมีความพรอมเพรียงดวยความเปนอยู
สิน้ ๑๐๐ ป ทุกเมือ่ .
อากาสะปพพะตะวะนะภูมคิ งั คามะหาสะมุททา อารักขะกา เทวะตา สะทา ตุมเ๎ ห
อะนุรกั ขันตุ.
เทพยดาผคู มุ ครองรักษาทัง้ หลาย ผสู ถิตอยใู นอากาศ ภูเขา ปาดงพงไพร แผนดิน คงคา
[แมน้ำ] และมหาสมุทร จงตามรักษาทานทุกเมือ่ เทอญ.

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง. รักขันตุ สัพพะเทวะตา.


สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง. รักขันตุ สัพพะเทวะตา.
สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง. รักขันตุ สัพพะเทวะตา.
สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.
ขอใหสงิ่ อันเปนมงคลทัง้ ปวง จงมีแกทา น. ขอเทวดาทัง้ หลายทัง้ ปวง จงปกปกรักษาทาน.
ดวยอานุภาพแหงพระพุทธเจา ดวยอานุภาพแหงพระธรรม ดวยอานุภาพแหงพระสงฆ ขอความ
สวัสดีจงมีแกทา น ตลอดกาล ทุกเมือ่ เถิด.
พระปริตร 53
นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปคคะหะนิวาระณา.
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันต๎วา เตสัง อุปท ทะเว.
นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปคคะหะนิวาระณา.
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันต๎วา เตสัง อุปท ทะเว.
นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปคคะหะนิวาระณา.
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันต๎วา เตสัง อุปท ทะเว.
ความปองกัน แหงบาปเคราะหทงั้ หลาย จากสำนักแหงเหลานักษัตร [ดวงดาวทีใ่ หโทษ] และ
ยักษ และภูต ไดมแี ลว. ดวยอานุภาพแหงพระปริตร จงกำจัดเสียซึง่ อุปท วะทัง้ หลาย จากสำนัก
แหงเหลานักษัตร และยักษ และภูต เหลานัน้ .

เทวตาอุยโยชนคาถา
ทุกขัปปตตา จะ นิททุกขา ภะยัปปตตา จะ นิพภะยา
โสกัปปตตา จะ นิสโสกา โหนตุ สัพเพป ปาณิโน.
ขอสรรพสัตวทงั้ หลายทีถ่ งึ แลวซึง่ ทุกข จงเปนผไู มมที กุ ข และทีถ่ งึ แลวซึง่ ภัย จงเปนผไู มมี
ภัย และทีถ่ งึ แลวซึง่ โศก จงเปนผไู มมโี ศก ดวยกันทัง้ หมดทุกตัวตนเถิด.
เอตตาวะตา จะ อัมเหหิ สัมภะตัง ปุญญะสัมปะทัง
สัพเพ เทวานุโมทันตุ สัพพะสัมปตติสทิ ธิยา
อนึ่ง ขอเทวดาทั้งหลาย จงอนุโมทนาซึ่งสมบัติ อันเราทั้งหลายกอสรางแลว ดวยเหตุมี
ประมาณเทานี้ เพือ่ อันสำเร็จสมบัตทิ งั้ ปวง.
ทานัง ทะทันตุ สัทธายะ สีลงั รักขันตุ สัพพะทา
ภาวะนาภิระตา โหนตุ. คัจฉันตุ เทวะตาคตา. (หยุด)
มนุษยทงั้ หลาย จงใหทานดวยศรัทธา จงรักษาศีลในกาลทัง้ ปวง จงเปนผยู นิ ดีแลวใน
ภาวนา. เทพดาทัง้ หลายทีม่ าแลว ขอเชิญกลับไปเถิด.
สัพเพ พุทธา พะลัปปตตา ปจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส.
พระพุทธเจาทัง้ หลาย ลวนทรงพระกำลังทัง้ หมด. กำลังใดแหงพระปจเจกพุทธเจาทัง้ หลาย และ
แหงพระอรหันตทงั้ หลายมีอย,ู ขาพเจาขอผูกความรักษา ดวยเดชแหงกำลังนัน้ โดยประการทัง้ ปวง.
54 ทำวั ต ร-สวดมนต

บทขัดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
อะนุตตะรัง อะภิสมั โพธิง สัมพุชฌิตว๎ า ตะถาคะโต,
ปะฐะมัง ยัง อะเทเสสิ ธัมมะจักกัง อะนุตตะรัง,
สัมมะเทวะ ปะวัตเตนโต โลเก อัปปะฏิวตั ติยงั ,
พระตถาคตเจา ครัน้ ไดตรัสรพู ระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแลว เมือ่ จะทรงประกาศธรรม
ทีใ่ ครๆ ยังมิไดใหเปนไปแลวในโลก ใหเปนไปโดยชอบแท ไดทรงแสดงพระอนุตตรธรรมจักรใดกอน.
ยัตถากขาตา อุโภ อันตา ปะฏิปต ติ จะ มัชฌิมา,
จะตูส๎วาริยะสัจเจสุ วิสทุ ธัง ญาณะทัสสะนัง,
ในธรรมจักรใด พระองคตรัสทีส่ ดุ ๒ ประการ และขอปฏิบตั สิ ายกลาง และปญญาเครือ่ ง
รเู ห็นอันหมดจด ในอริยสัจ ๔.
เทสิตงั ธัมมะราเชนะ สัมมาสัมโพธิกติ ตะนัง,
นาเมนะ วิสสุตงั สุตตัง ธัมมะจักกัปปะวัตตะนัง,
เวยยากะระณะปาเฐนะ สังคีตนั ตัมภะณามะ เส.
พวกเราทัง้ หลาย จงรวมกันสวดพระธรรมจักรนัน้ ทีพ่ ระองคผธู รรมราชา ทรงแสดงไวแลว
มีชอื่ ปรากฏวา ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เปนพระสูตรประกาศพระสัมมาสัมโพธิญาณ อันพระสังคีต-ิ
กาจารยรอ งกรองไว โดยทำเปนบทสวดถูกหลักไวยากรณ เทอญ.

ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวา พาราณะสิยัง วิหะระติ อิสิปะตะเน
มิคะทาเย. ตัตร๎ ะ โข ภะคะวา ปญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ.
ขาพเจา (คือพระอานนท) ไดสดับมาแลวอยางนี.้ สมัยหนึง่ พระผมู พี ระภาคเจาเสด็จประทับ
อยทู ปี่ า อิสปิ ตนมฤคทายวัน ใกลเมืองพาราณสี. พระผมู พี ระภาคเจาตรัสเรียกภิกษุปญ  จวัคคีย ใน
ทีน่ นั้ แล (ทรงแสดงธรรม) วา
เท๎วเม ภิกขะเว อันตา ปพพะชิเตนะ นะ เสวิตพั พา. โย จายัง กาเมสุ กามะ-
สุขลั ลิกานุโยโค หีโน คัมโม โปถุชชะนิโก อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต. โย จายัง อัตตะ-
กิละมะถานุโยโค ทุกโข อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต. เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต
อะนุปะคัมมะ มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะ-
กะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
พระปริตร 55
ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย ทีส่ ดุ โตง ๒ อยางนี้ บรรพชิตไมควรเสพ. คือ การประกอบความ
เปนผตู ดิ กามสุขในกามทัง้ หลาย นีใ้ ด เปนของคนเพศต่ำ เปนของชาวบาน เปนของปุถชุ น ไมใช
ของพระอริยะ ไมประกอบดวยประโยชน อยางหนึง่ . คือ การประกอบความทำตนใหลำบาก นี้
ใด ใหเกิดทุกขแกผปู ระกอบเปลาๆ ไมใชอริยธรรม ไมประกอบดวยประโยชน อยางหนึง่ . ดูกอ น
ภิกษุทงั้ หลาย นีแ่ นะ ขอปฏิบตั สิ ายกลาง ไมขอ งแวะทีส่ ดุ โตงสองอยางนัน่ นัน้ ตถาคตได
ตรัสรแู ลว เปนเหตุใหเกิดธรรมจักษุ เปนเหตุใหเกิดญาณ เปนไปเพือ่ ความสงบ ระงับ เพือ่
ความรยู งิ่ เพือ่ ความตรัสรู เพือ่ พระนิพพาน.
กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา
จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ
สังวัตตะติ. อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค เสยยะถีทงั สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป
สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ.
อะยัง โข สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสมั พุทธา จักขุกะระณี
ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย ก็ขอ ปฏิบตั สิ ายกลาง ทีต่ ถาคตไดตรัสรแู ลว เปนเหตุใหเกิดธรรมจักษุ
เปนเหตุใหเกิดญาณ ยอมเปนไปเพือ่ ความสงบระงับ เพือ่ ความรยู งิ่ เพือ่ ความตรัสรู เพือ่ พระนิพพาน
นัน้ คืออะไร. อริยมรรคมีองค ๘ นี้เอง กลาวคือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ วาจาชอบ การงาน
ชอบ ความเลีย้ งชีวติ ชอบ ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตัง้ จิตชอบ. ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย
ขอปฏิบัติสายกลางนี้แล ที่ตถาคตไดตรัสรูแลว เปนเหตุใหเกิด ธรรมจักษุ เปนเหตุใหเกิดญาณ
ยอมเปนไปเพือ่ ความสงบระงับ เพือ่ ความรยู งิ่ เพือ่ ความตรัสรู เพือ่ พระนิพพาน.
อิทงั โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง ชาติป ทุกขา ชะราป ทุกขา
มะระณั ม ป ทุ ก ขั ง โสกะปะริ เ ทวะทุ ก ขะโทมะนั ส สุ ป ายาสาป ทุ ก ขา อั ป ป เ ยหิ
สัมปะโยโค ทุกโข ปเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ยัมปจฉัง นะ ละภะติ ตัมป ทุกขัง
สังขิตเตนะ ปญจุปาทานักขันธา ทุกขา. อิทงั โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุทะโย
อะริยะสัจจัง ยายัง ตัณห๎ า โปโนพภะวิกา นันทิราคะสะหะคะตา ตัตร๎ ะ ตัตร๎ าภินนั ทินี
เสยยะถีทัง กามะตัณ๎หา ภะวะตัณ๎หา วิภะวะตัณ๎หา. อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว
ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง โย ตัสสาเยวะ ตัณ๎หายะ อะเสสะวิราคะนิโรโธ จาโค
ปะฏินสิ สัคโค มุตติ อะนาละโย. อิทงั โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา
อะริยะสัจจัง อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค เสยยะถีทงั สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป
สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ. (หยุด)
56 ทำวั ต ร-สวดมนต

ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย ก็อนั นีแ้ ล ชือ่ วา ทุกขอริยสัจ คือ แมความเกิดก็เปนทุกข แมความ
แกกเ็ ปนทุกข แมความตายก็เปนทุกข แมความโศก ความร่ำไรรำพัน ความไมสบายกายไมสบาย
ใจ ความคับแคนใจ ก็เปนทุกข ความตองประสบกับสิง่ อันไมเปนทีร่ กั ก็เปนทุกข ความตองพลัดพราก
จากสิง่ อันเปนทีร่ กั ก็เปนทุกข ปรารถนาสิง่ ใดไมไดสงิ่ นัน้ ก็เปนทุกข วาโดยยอ อุปาทานขันธ ๕
เปนตัวทุกข. ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย อันนีแ้ ล ชือ่ วา ทุกขสมุทยั อริยสัจ คือตัณหานีใ้ ด ทำใหมภี พ
อีก [ไมจบสิน้ ] ไปดวยกันกับความยินดีพอใจ มงุ หนาเพลิดเพลินในอารมณนนั้ ๆ [ไมรจู กั พอ] ตัณหา
นี้นั้นคืออะไร คือความทะยานอยากในกาม ความทะยานอยากในความมีความเปน ความ
ทะยานอยาก ในความไมมไี มเปน. ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย อันนีแ้ ล ชือ่ วา ทุกขนิโรธอริยสัจ คือความ
ดับโดยสำรอกออกอยางไมเหลือแหงตัณหานัน้ นัน่ แหละ ความสละ ความละทิง้ ความปลอยวาง ความไม
อาลัยตัณหานัน้ นัน่ แหละ. ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย อันนีแ้ ล ชือ่ วา ทุกขนิโรธคามินปี ฏิปทาอริยสัจ
คือ อริยมรรคมีองค ๘ นัน่ เอง กลาวคือ ความเห็นชอบ ความดำริชอบ วาจาชอบ การงานชอบ
ความเลีย้ งชีวติ ชอบ ความเพียรชอบ ความระลึกชอบ ความตัง้ จิตชอบ.
อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง
อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
ตัง โข ปะนิทงั ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญเญยยันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ
ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก
อุทะปาทิ. ตัง โข ปะนิทงั ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญญาตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ
อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา
อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย จักษุ ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดขึน้ แกเรา ในธรรมทัง้ หลาย
ทีเ่ ราไมเคยฟงมากอนวา นี้เปนทุกขอริยสัจ. อนึง่ จักษุ ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดขึน้ แก
เรา ในธรรมทัง้ หลายทีเ่ ราไมเคยฟงมากอนวา ก็ ทุกขอริยสัจนีน้ นั้ แล เปนสิง่ ทีค่ วรกำหนดร.ู อนึง่
จักษุ ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดขึน้ แกเรา ในธรรมทัง้ หลายทีเ่ ราไมเคยฟงมากอนวา
ก็ทกุ ขอริยสัจ นี้นั้นแล เราไดกำหนดรแู ลว.
อิ ทั ง ทุ ก ขะสะมุ ท ะโย อะริ ย ะสั จ จั นติ เม ภิ ก ขะเว ปุ พ เพ อะนะนุ ส สุ เ ตสุ
ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก
อุทะปาทิ. ตัง โข ปะนิทงั ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหาตัพพันติ เม ภิกขะเว
ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา
อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ. ตัง โข ปะนิทงั ทุกขะสะมุทะโย อริยะสัจจัง ปะหีนนั ติ
เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา
อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
พระปริตร 57
ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย จักษุ ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดขึน้ แกเรา ในธรรมทัง้ หลาย
ทีเ่ ราไมเคยฟงมากอนวา นี้ ทุกขสมุทยั อริยสัจ. อนึง่ จักษุ ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดขึน้
แกเรา ในธรรมทัง้ หลายทีเ่ ราไมเคยฟงมากอนวา ก็ ทุกขสมุทยั อริยสัจนีน้ นั้ แล เปนสิง่ ทีค่ วรละ.
อนึง่ จักษุ ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดขึน้ แกเรา ในธรรมทัง้ หลาย ทีเ่ ราไมเคยฟงมากอน
วา ก็ ทุกขสมุทยั อริยสัจนีน้ นั้ แล เราไดละแลว.
อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ
จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
ตั ง โข ปะนิ ทั ง ทุ ก ขะนิ โ รโธ อะริ ย ะสั จ จั ง สั จ ฉิ ก าตั พ พั นติ เม ภิกขะเว ปุพเพ
อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา
อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ. ตัง โข ปะนิทงั ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกะตันติ เม
ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา
อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย จักษุ ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดขึน้ แกเรา ในธรรมทัง้ หลาย
ทีเ่ ราไมเคยฟงมากอนวา นี้ ทุกขนิโรธอริยสัจ. อนึง่ จักษุ ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดขึน้
แกเรา ในธรรมทัง้ หลายทีเ่ ราไมเคยฟงมากอนวา ก็ ทุกขนิโรธอริยสัจนีน้ นั้ แล เปนสิง่ ทีค่ วรทำใหแจง.
อนึง่ จักษุ ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดขึน้ แกเรา ในธรรมทัง้ หลายทีเ่ ราไมเคยฟงมากอน
วา ก็ทกุ ขนิโรธอริยสัจนีน้ นั้ แล เราไดทำใหแจงแลว.
อิ ทั ง ทุ ก ขะนิ โ รธะคามิ นี ปะฏิ ป ะทา อะริ ย ะสั จ จั นติ เม ภิกขะเว ปุพเพ
อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ
อาโลโก อุทะปาทิ. ตัง โข ปะนิทงั ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาเวตัพพันติ
เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา
อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ. ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี
ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาวิตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง
อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย จักษุ ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดขึน้ แกเรา ในธรรมทัง้ หลาย
ทีเ่ ราไมเคยฟงมากอนวา นี้ ทุกขนิโรธคามินปี ฏิปทาอริยสัจ. อนึง่ จักษุ ญาณ ปญญา วิชชา แสง
สวาง ไดเกิดขึน้ แกเรา ในธรรมทัง้ หลายทีเ่ ราไมเคยฟงมากอนวา ก็ ทุกขนิโรธคามินปี ฏิปทาอริยสัจ
นีน้ นั้ แล เปนสิง่ ทีค่ วรทำใหมขี นึ้ . อนึง่ จักษุ ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดขึน้ แกเรา ใน
ธรรมทัง้ หลายทีเ่ ราไมเคยฟงมากอนวา ก็ทกุ ขนิโรธคามินปี ฏิปทาอริยสัจนีน้ นั้ แล เราทำใหมขี นึ้ แลว.
58 ทำวั ต ร-สวดมนต

ยาวะกีวัญจะ เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติปะริวัฏฏัง


ท๎วาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิ, เนวะ ตาวาหัง
ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพ๎รัห๎มะเก สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิยา ปะชายะ
สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสมั พุทโธ ปจจัญญาสิง.
ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย ก็แล ความรเู ห็นตามเปนจริง ในอริยสัจ ๔ เหลานี้ ซึง่ มีรอบ ๓
มีอาการ ๑๒ อยางนี้ของเรา ยังไมหมดจดดี เพียงใดแลว, เราก็ยังไมปฏิญญาตนวา เปน
ผตู รัสรอู นุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ในโลกนีก้ บั ทัง้ เทวโลก มารโลก พรหมโลก คือในหมสู ตั ว รวม
ทัง้ สมณพราหมณ ทัง้ ทีเ่ ปนเทวดาและเปนมนุษยเพียงนัน้ .
ยะโต จะ โข เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวั น ติ ป ะริ วั ฏ ฏั ง
ท๎วาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง สุวิสุทธัง อะโหสิ, อะถาหัง ภิกขะเว
สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพ๎รหั ม๎ ะเก สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิยา ปะชายะ สะเทวะ--
มะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสมั พุทโธ ปจจัญญาสิง. ญาณัญจะ ปะนะ
เม ทัสสะนัง อุทะปาทิ ‘อะกุปปา เม วิมตุ ติ. อะยะมันติมา ชาติ. นัตถิทานิ ปุนพั ภะโวติ.
ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ตอเมื่อใดแล ความรูเห็นตามเปนจริงในอริยสัจ ๔ เหลานี้ ซึ่งมี
รอบ ๓ มีอาการ ๑๒ ของเราอยางนีข้ องเรา หมดจดดีแลว, เมือ่ นัน้ เราจึงไดปฏิญญาตนวา
เปนผตู รัสรอู นุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ในโลกนีก้ บั ทัง้ เทวโลก มารโลก พรหมโลก คือในหมสู ตั ว
รวมทัง้ สมณพราหมณ ทัง้ ทีเ่ ปนเทวดาและเปนมนุษย. ก็แลความรเู ห็นไดเกิดขึน้ แกเราวา ‘วิมตุ ติ
ของเราไมกลับกำเริบ. ชาตินเี้ ปนทีส่ ดุ แลว. บัดนี้ ไมมภี พอีก’.
อิทะมะโวจะ ภะคะวา อัตตะมะนา ปญจะวัคคิยา ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตงั อะภินนั ทุง
อิมัส๎มิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัส๎มงิ ภัญญะมาเน อายัส๎มะโต โกณฑัญญัสสะ วิระชัง
วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง อุทะปาทิ ‘ยังกิญจิ สะมุทะยะธัมมัง, สัพพันตัง นิโรธะธัมมันติ.
พระผูมีพระภาคเจาตรัสธรรมปริยายนี้จบลง ภิกษุปญจวัคคียก็มีใจชื่นชมยินดีภาษิตของ
พระผมู พี ระภาคเจาเปนอยางยิง่ . ก็แลเมือ่ ไวยากรณนี้ อันพระผมู พี ระภาคเจาตรัสอยู ธรรมจักษุ
อันปราศจากธุลปี ราศจากมลทิน ไดเกิดขึน้ แลวแกทา นโกณฑัญญะวา ‘สิง่ ใดสิง่ หนึง่ มีความเกิดขึน้
เปนธรรมดา สิง่ นัน้ ทัง้ ปวงมีความดับไปเปนธรรมดา’.
ปะวัตติเต จะ ภะคะวะตา ธัมมะจักเก, ภุมมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง
‘เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง
ปะวัตติตงั อัปปะฏิวตั ติยงั สะมะเณนะ วา พ๎ราห๎มะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา
พ๎รหั ม๎ นุ า วา เกนะจิ วา โลกัสม๎ นิ ติ. (หยุด)
พระปริตร 59
ก็ครัน้ เมือ่ ธรรมจักร อันพระผมู พี ระภาคเจาใหเปนไปแลว, เหลาภุมมเทวดาก็แซซอ งขึน้ วา
‘นัน่ พระธรรมจักร [ลอแหงธรรม] ไมมจี กั รอืน่ ยิง่ กวา พระผมู พี ระภาคเจาใหเปนไป [หมุน] แลว ที่
อิสปิ ตนมฤคทายวัน ใกลเมืองพาราณสี ซึง่ สมณะหรือพราหมณ หรือเทวดา มาร พรหม หรือใครๆ
ก็ตามในโลก โตแยงไมได [หมุนกลับไมได] ดังนี.้
ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตว๎ า จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง.
จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง.
ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. ยามานัง
เทวานัง สัททัง สุตว๎ า ตุสติ า เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. ตุสติ านัง เทวานัง สัททัง สุตว๎ า
นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง. ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนงั เทวานัง
สัททัง สุตว๎ า พ๎รหั ม๎ ะกายิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ‘เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยงั
อิสปิ ะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตงั อัปปะฏิวตั ติยงั สะมะเณนะ
วา พ๎ราห๎มะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พ๎รหั ม๎ นุ า วา เกนะจิ วา โลกัสม๎ นิ ติ. (หยุด)
เทวดาเหลาจาตุมหาราชไดฟง เสียงของเทวดาเหลาภุมมะแลว ก็แซซอ งตอกันไป. เทวดา
เหลาดาวดึงส ไดฟง เสียงของเทวดาเหลาจาตุมหาราชแลว ก็แซซอ งตอกันไป. เทวดาเหลายามา
ไดฟง เสียงของเทวดาเหลาดาวดึงสแลว ก็แซซอ งตอกันไป. เทวดาเหลาดุสติ ไดฟง เสียงของเทวดา
เหลายามาแลว ก็แซซอ งตอกันไป. เทวดาเหลานิมมานรดี ไดฟง เสียงของเทวดาเหลาดุสติ แลว
ก็แซซองตอกันไป. เทวดาเหลาปรนิมมิตวสวัตดี ไดฟงเสียงของเทวดาเหลานิมมานรดีแลว ก็
แซซอ งตอกันไป. เหลาเทวดาทีน่ บั เนือ่ งในหมแู หงพรหม ไดฟง เสียงของเทวดาเหลาปรนิมมิต-
วสวัตดีแลว ก็แซซอ งตอกันไปวา ‘นัน่ พระธรรมจักร ไมมจี กั รอืน่ ยิง่ กวา พระผมู พี ระภาคเจาใหเปน
ไปแลว ทีอ่ สิ ปิ ตนมฤคทายวัน ใกลเมืองพาราณสี ซึง่ สมณะหรือพราหมณ หรือเทวดา มาร พรหม
หรือใครๆ ในโลก โตแยงไมได’ ดังนี.้
อิตหิ ะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มุหตุ เตนะ ยาวะ พ๎รหั ม๎ ะโลกา สัทโท อัพภุคคัจฉิ.
อะยัญจะ ทะสะสะหัสสี โลกะธาตุ สังกัมป สัมปะกัมป สัมปะเวธิ. อัปปะมาโณ จะ
โอฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุระโหสิ อะติกกัมเมวะ เทวานัง เทวานุภาวัง.
โดยขณะเดียวนั้นครูเดียวนั้น เสียงแซซองขึ้นไปถึงพรหมโลก ดวยประการฉะนี้. และ
หมืน่ โลกธาตุนกี้ ห็ วัน่ ไหวสะเทือนสะทาน. ทัง้ แสงสวางอันยิง่ ไมมปี ระมาณ ก็ไดปรากฏขึน้ ในโลก
ลวงเทวานุภาพของเทวดาทั้งหลายทีเดียว.
60 ทำวั ต ร-สวดมนต

อะถะโข ภะคะวา อุทานัง อุทาเนสิ ‘อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญ. อัญญาสิ


วะตะ โภ โกณฑัญโญติ. อิติ หิทงั อายัสม๎ ะโต โกณฑัญญัสสะ อัญญาโกณฑัญโญเต๎ววะ
นามัง อโหสีต.ิ
ลำดับนัน้ แล พระผมู พี ระภาคเจาไดทรงเปลงอุทานขึน้ วา ‘โกณฑัญญะไดรแู ลวหนอ ผเู จริญ
โกณฑัญญะไดรแู ลวหนอ ผเู จริญ’. เพราะเหตุนนั้ นามวา อัญญาโกณฑัญญะ นีเ้ ทียว จึงไดมแี ก
ทานโกณฑัญญะ ดวยประการฉะนีแ้ ล.
พระปริตร 61

เมตตานิสังสสุตตปาฐะ
เอวัมเม สุตัง เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน
อะนาถะปณฑิกัสสะ อาราเม. ตัต๎ระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ‘ภิกขะโวติ.
‘ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปจจัสโสสุง. ภะคะวา เอตะทะโวจะ
ขาพเจา [คือพระอานนท] ไดสดับมาแลวอยางนี.้ สมัยหนึง่ พระผมู พี ระภาคเจา เสด็จประทับ
อยูที่เชตวันมหาวิหาร ซึ่งเปนอารามของอนาถปณฑิกคฤหัสบดี ใกลเมืองสาวัตถี. ณ ที่นั้นแล
พระผมู พี ระภาคเจาตรัสเรียกภิกษุทงั้ หลายวา ‘ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย. ภิกษุเหลานัน้ ทูลรับพระผมู ี
พระภาคเจาแลว. พระผมู พี ระภาคเจาไดตรัสพระดำรัสนีว้ า
‘เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ
ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจติ ายะ สุสะมารัทธายะ เอกาทะสานิสงั สา
ปาฏิกงั ขา. กะตะเม เอกาทะสะ
‘ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เมตตาอันเปนไปเพื่อความหลุดพนแหงจิตนี้ อันบุคคลบำเพ็ญจน
คุนแลว อบรมแลว ทำใหมาก ทำใหเปนยวดยานของใจ ทำใหเปนที่อยูของใจ ตั้งไวเปนนิตย
อันบุคคลสัง่ สม พากเพียรดีแลว ยอมมีอานิสงส ๑๑ ประการ. อานิสงส ๑๑ ประการอะไรบาง. คือ
๑) สุขงั สุปะติ. ๑) หลับอยูก็เปนสุข.
๒) สุขงั ปะฏิพชุ ฌะติ. ๒) ตื่นก็เปนสุข.
๓) นะ ปาปะกัง สุปน งั ปสสะติ. ๓) ไมฝนราย.
๔) มะนุสสานัง ปโย โหติ. ๔) เปนที่รักของเหลามนุษยทั้งหลาย.
๕) อะมะนุสสานัง ปโย โหติ. ๕) เปนที่รักของเหลาอมนุษยทั้งหลาย.
๖) เทวะตา รักขันติ. ๖) เทวดายอมคุมครองรักษา.
๗) นาสสะ อัคคิ วา วิสงั วา ๗) ไฟก็ดี ยาพิษก็ดี ศาสตราก็ดี
สัตถัง วา กะมะติ. ยอมทำอันตรายไมได.
๘) ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ. ๘) จิตยอมเปนสมาธิไดเร็ว.
๙) มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ. ๙) สีหนายอมผองใส.
๑๐) อะสัมมุฬโ๎ ห กาลัง กะโรติ. ๑๐) เปนผไู มลมุ หลงทำกาละ [ตายอยางมีสติ].
๑๑) อุตตะริง อัปปะฏิวชิ ฌันโต ๑๑) เมือ่ ยังไมบรรลุคณ ุ วิเศษอันยิง่ ๆ ขึน้ ไป
พ๎รหั ม๎ ะโลกูปะโค โหติ. ยอมเปนผูเขาถึงพรหมโลก.
62 ทำวั ต ร-สวดมนต

เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ


ยานี ก ะตายะ วั ต ถุ ก ะตายะ อะนุ ฏ ฐิ ต ายะ ปะริ จิ ต ายะ สุ ส ะมารั ท ธายะ อิ เ ม
เอกาทะสานิสงั สา ปาฏิกงั ขาติ.
ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เมตตาอันเปนไปเพื่อความหลุดพนแหงจิตนี้ อันบุคคลบำเพ็ญ
จนคนุ แลว อบรมแลว ทำใหมาก ทำใหเปนยวดยานของใจ ทำใหเปนทีอ่ ยขู องใจ ตัง้ ไวเปนนิตย
อันบุคคลสัง่ สม พากเพียรดีแลว ยอมมีอานิสงส ๑๑ ประการเหลานี.้
อิทะมะโวจะ ภะคะวา. อัตตะมะนา เต ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตงั อะภินนั ทุนติ.
พระผมู พี ระภาคเจา ไดตรัสธรรมปริยายอันนีแ้ ลว. ภิกษุทงั้ หลายเหลานี้ ก็มใี จยินดี พอใจ
ในภาษิตของพระผมู พี ระภาคเจาพระองคนนั้ ดวยประการฉะนีแ้ ล.
พระปริตร 63

เขมาเขมสรณทีปกคาถา
(ทีพ่ งึ่ อันเกษมและไมเกษม)
พะหุง เว สะระณัง ยันติ ปพพะตานิ วะนานิ จะ
อารามะรุกขะเจต๎ยานิ มะนุสสา ภะยะตัชชิตา
มนุษยเปนอันมาก ถูกภัยคุกคามแลว ก็ถอื เอาภูเขา ปา อาราม และรุกขเจดีย เปนทีพ่ งึ่ .
เนตัง โข สะระณัง เขมัง. เนตัง สะระณะมุตตะมัง.
เนตัง สะระณะมาคัมมะ สัพพะทุกขา ปะมุจจะติ.
นัน่ มิใชทพี่ งึ่ อันเกษมอันปลอดภัยเลย. นัน่ มิใชทพี่ งึ่ อันสูงสุด. เขาอาศัยทีพ่ งึ่ เหลานัน้ แลว
ยอมไมพนจากทุกขทั้งปวง.
โย จะ พุทธัญจะ ธัมมัญจะ สังฆัญจะ สะระณัง คะโต
จัตตาริ อะริยะสัจจานิ สัมมัปปญญายะ ปสสะติ.
สวนผถู งึ พระพุทธเจา พระธรรม และพระสงฆ วาเปนทีพ่ งึ่ ยอมเห็นความจริงอันประเสริฐ
๔ ประการ ดวยปญญาอันชอบ.
ทุกขัง ทุกขะสะมุปปาทัง ทุกขัสสะ จะ อะติกกะมัง
อะริยญั จัฏฐังคิกงั มัคคัง ทุกขูปะสะมะคามินงั .
ไดแก ทุกข เหตุใหเกิดทุกข ความกาวลวงทุกข และหนทางประกอบดวยองค ๘ อัน
ประเสริฐ อันใหถงึ ความสงบระงับทุกข.
เอตัง โข สะระณัง เขมัง เอตัง สะระณะมุตตะมัง
เอตัง สะระณะมาคัมมะ สัพพะทุกขา ปะมุจจะติ.
นัน่ แหละ เปนทีพ่ งึ่ อันเกษม นัน่ เปนทีพ่ งึ่ อันสูงสุด บุคคลอาศัยทีพ่ งึ่ นัน่ แลว ยอมพนจาก
ทุกขทั้งปวงได.
64 ทำวั ต ร-สวดมนต

โอวาทปาฏิโมกขคาถา
(คาถาแสดงหลักคำสอนสำคัญของพระพุทธศาสนา)
สัพพะปาปสสะ อะกะระณัง. กุสะลัสสูปะสัมปะทา.
สะจิตตะปะริโยทะปะนัง. เอตัง พุทธานะสาสะนัง.
การไมทำบาปความชัว่ ทัง้ ปวง. การทำกุศลคุณความดีใหถงึ พรอม. การชำระจิตของตนให
ผองใส. นีเ้ ปนคำสัง่ สอนของพระพุทธเจาทัง้ หลาย.
ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีตกิ ขา.
นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พุทธา.
นะ หิ ปพพะชิโต ปะรูปะฆาตี.
สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต.
ขันติ คือความอดกลั้น เปนธรรมเครื่องเผากิเลสอยางยิ่ง. พระพุทธเจาทั้งหลายกลาว
พระนิพพานวาเปนบรมธรรม. ผทู ำรายผอู นื่ ไมชอื่ วาเปนบรรพชิต. ผเู บียดเบียนผอู นื่ ไมชอื่ วา
เปนสมณะ.
อะนูปะวาโท อะนูปะฆาโต ปาติโมกเข จะ สังวะโร
มัตตัญุตา จะ ภัตตัสม๎ งิ ปนตัญจะ สะยะนาสะนัง
อะธิจติ เต จะ อาโยโค เอตัง พุทธานะสาสะนัง.
การไมกลาวราย การไมทำราย การสำรวมในพระปาติโมกข ความเปนผรู ปู ระมาณใน
อาหาร การนอนการนั่งอันสงบสงัด และความหมั่นประกอบในอธิจิต๑ นี้เปนคำสอนของ
พระพุทธเจาทัง้ หลาย.
ปจฉิมพุทโธวาท
(พระพุทธโอวาทครัง้ สุดทาย)
หันทะทานิ ภิกขะเว อามันตะยามิ โว ‘วะยะธัมมา สังขารา’. อัปปะมาเทนะ
สัมปาเทถะ’. [อะยัง ตะถาคะตัสสะ ปจฉิมา วาจา].
ภิกษุทงั้ หลาย เอาละ! บัดนี้ เราขอเตือนทานทัง้ หลายวา ‘สังขารทัง้ หลายมีความเสือ่ มไป
เปนธรรมดา. ทานทั้งหลายจงยังความไมประมาทใหถึงพรอมเถิด’๒. [นี้เปนพระวาจาครั้ง
สุดทายของพระตถาคตเจา].

การฝกจิต ใหเปนสมาธิ และมีคณ
ุ ธรรมอืน่ ๆ เชน เมตตา เปนตน.

แปลกันวา ‘เธอทัง้ หลาย จงยังกิจของตนและกิจเพือ่ ผอู นื่ ใหถงึ พรอมดวยความไมประมาทเถิด’ ก็ม.ี
พระปริตร 65

ปพพโตปมคาถา
(วาดวยการเปรียบเทียบความแกความตายดวยภูเขาหินบดทับสัตว)
ยะถาป เสลา วิปลุ า นะภัง อาหัจจะ ปพพะตา
สะมันตา อะนุปะริเยยยุง นิปโปเถนตา จะตุททิสา,
ภูเขาหินแทงทึบ สูงใหญจดทองฟา กลิง้ บดสัตวมาโดยรอบทัง้ ๔ ทิศ แมฉนั ใด,
เอวัง ชะรา จะ มัจจุ จะ อะธิวตั ตันติ ปาณิโน.
ความแกและความตาย ยอมครอบงำสัตวทงั้ หลาย ฉันนัน้ .
ขัตติเย พ๎ราห๎มะเณ เวสเส สุทเท จัณฑาละปุกกุเส
นะ กิญจิ ปะริวชั เชติ สัพพะเมวาภิมัททะติ.
เปนกษัตริยก ต็ าม เปนพราหมณกต็ าม เปนพลเมืองก็ตาม เปนไพร [ศูทร] ก็ตาม เปนครึง่
ชาติ [จัณฑาล] ก็ตาม เปนกุลเี ทขยะมูลฝอยก็ตาม ไมเวนใครๆ ไวเลย ยอมย่ำยีเสียสิน้ .
นะ ตัตถะ หัตถีนงั ภูมิ นะ ระถานัง นะ ปตติยา
นะ จาป มันตะยุทเธนะ สักกา เชตุง ธะเนนะ วา
ไมมยี ทุ ธภูมสิ ำหรับพลชาง. ไมมยี ทุ ธภูมสิ ำหรับพลรถ. ไมมยี ทุ ธภูมสิ ำหรับพลเดินเทา [ใน
การตอสกู บั ความแกและความตาย] นัน้ . และไมอาจจะเอาชนะแมดว ยการรบ ดวยเวทมนตร หรือ
ดวยทรัพย.
ตัสม๎ า หิ ปณฑิโต โปโส สัมปสสัง อัตถะมัตตะโน
พุทเธ ธัมเม จะ สังเฆ จะ ธีโร สัทธัง นิเวสะเย.
เพราะฉะนัน้ แล บุรษุ ผเู ปนบัณฑิต มีปญ
 ญา เมือ่ เล็งเห็นประโยชนตน พึงตัง้ ศรัทธาไวใน
พระพุทธเจา ในพระธรรม และในพระสงฆ.
โย ธัมมะจารี กาเยนะ วาจายะ อุทะ เจตะสา,
อิเธวะ นัง ปะสังสันติ. เปจจะ สัคเค ปะโมทะตีต.ิ
ผใู ดมีปกติประพฤติธรรมดวยกาย ดวยวาจา หรือดวยใจ, บัณฑิตทัง้ หลายยอมสรรเสริญ
ผนู นั้ ในโลกนีน้ นั่ เทียว. ผนู นั้ ละโลกนีไ้ ป ยอมบันเทิงในสวรรค.
66 ทำวั ต ร-สวดมนต

ภัทเทกรัตตคาถา
(ผมู ชี วี ติ อยเู พียงวันเดียวก็ยงั นับวาเจริญ)
อะตีตงั นาน๎วาคะเมยยะ. นัปปะฏิกงั เข อะนาคะตัง.
ยะทะตีตมั ปะหีนนั ตัง อัปปตตัญจะ อะนาคะตัง
บุคคลไมควรตามคิดถึงซึง่ สิง่ ทีล่ ว งไปแลว. ไมควรหวังสิง่ ทีย่ งั ไมมา. สวนใดทีเ่ ปนอดีต
สวนนัน้ ก็ละไปแลว. สวนทีเ่ ปนอนาคตเลา ก็ยงั ไมมา.
ปจจุปปนนัญจะ โย ธัมมัง ตัตถะ ตัตถะ วิปส สะติ
อะสังหิรงั อะสังกุปปง, ตัง วิทธา มะนุพร๎ หู ะเย.
ก็บคุ คลใด มาเห็นแจงประจักษ ซึง่ ธรรมอันเปนปจจุบนั เกิดขึน้ เฉพาะหนา ในขณะนัน้ ๆ อยู
ไมงอ นแงน ไมคลอนแคลน, บุคคลนัน้ รคู วามจริงขอนีแ้ ลว พึงเจริญไวเนืองๆ.
อัชเชวะ กิจจะมาตัปปง. โก ชัญญา มะระณัง สุเว.
นะ หิ โน สังคะรันเตนะ มะหาเสเนนะ มัจจุนา
ความเพียรเผากิเลส เปนสิ่งที่ทานทั้งหลายตองทำวันนี้. ใครจะไปรูวา ความตายจะมี
[แกเรา] แมในวันพรงุ นี.้ การจะทำสงครามตอตานมัจจุราช ซึง่ มีกองทัพใหญนนั้ เปนไปไมได.
เอวังวิหาริมาตาปง อะโหรัตตะมะตันทิตงั
ตัง เว ‘ภัทเทกะรัตโตติ สันโต อาจิกขะเต มุนตี .ิ
มุนี คือทานผูรูทั้งหลาย เปนผูสงบระงับแลว ยอมจะกลาวสรรเสริญบุคคลผูมีปกติอยู
อยางนี้ ไมเกียจครานทัง้ กลางวันและกลางคืนแล วา ‘แมจะมีชวี ติ อยเู พียงวันเดียว ก็ยงั ประเสริฐ’.

ภารสุตตคาถา (ขันธ ๕ เปนภาระหนัก)


ภารา หะเว ปญจักขันธา. ภาราหาโร จะ ปุคคะโล.
ภาราทานัง ทุกขัง โลเก. ภาระนิกเขปะนัง สุขงั .
ขันธทงั้ ๕ เปนภาระหนักแล. ก็ ‘บุคคล’ นัน่ แหละเปนผแู บกของหนักไป. การแบกถือ
ของหนักไวเปนความทุกขในโลก. การสลัดของหนักทิง้ ลงเสีย เปนความสุข.
นิกขิปต ว๎ า คะรุง ภารัง อัญญัง ภารัง อะนาทิยะ
สะมูลงั ตัณห๎ งั อัพพุยห๎ ะ นิจฉาโต ปะรินพิ พุโตติ
บุคคลสลัดทิง้ ของหนักลงเสียแลว ทัง้ ไมหยิบฉวยเอาของหนักอืน่ มาอีก จึงเปนผถู อนตัณหา
ขึน้ ได พรอมทัง้ ราก เปนผหู มดความปรารถนา ปรินพิ พาน ดังนีแ้ ล.
พระปริตร 67
ทวัตติงสาการะปาฐะ (อาการ ๓๒)
อะยัง โข เม กาโย กายของเรานีแ้ ล อุทธัง ปาทะตะลา ขางบนแตพนื้ เทาขึน้ ไป
อะโธ เกสะมัตถะกา ขางลางแตปลายผมลงมา ตะจะปะริยนั โต มีหนังหมุ อยเู ปนทีส่ ดุ รอบ
ปูโร นานัปปะการัสสะ อะสุจโิ น เต็มไปดวยของไมสะอาดมีประการตางๆ.
อัตถิ อิมสั มิง กาเย มีอยใู นกายนี้
เกสา ผม ยะกะนัง ตับ โลหิตัง เลือด
โลมา ขน กิโลมะกัง พังผืด เสโท เหงือ่
นะขา เล็บ ปหะกัง ไต เมโท มันขน
ทันตา ฟน ปปผาสัง ปอด อัสสุ น้ำตา
ตะโจ หนัง อันตัง ลำไสใหญ วะสา มันเหลว
มังสัง เนือ้ อันตะคุณงั ลำไสนอ ย เขโฬ น้ำลาย
นะหารู เอ็น อุทะริยงั อาหารใหม สิงฆาณิกา น้ำมูก
อัฏฐี กระดูก กะรีสงั อาหารเกา ละสิกา ไขขอ
อัฏฐิมญ
ิ ชัง เยือ่ ในกระดูก ปตตัง ดี มุตตัง มูตร
วักกัง มาม เสม๎หงั เสลด มัตถะลุงคัง สมองศีรษะ
หะทะยัง หัวใจ ปุพโพ หนอง.
เอวะมะยัง เม กาโย กายของเรานี้ อยางนีแ้ ล อุทธัง ปาทะตะลา ขางบนแต
พืน้ เทาขึน้ ไป อะโธ เกสะมัตถะกา ขางลางแตปลายผมลงมา ตะจะปะริยนั โต มีหนังหมุ
อยเู ปนทีส่ ดุ รอบ ปูโร นานัปปะการัสสะ อะสุจโิ น เต็มไปดวยของไมสะอาด มีประการตางๆ.
68 ทำวั ต ร-สวดมนต

ปญจอภิณหปจจเวกขณปาฐะ
(ขอทีค่ วรพิจารณาเนืองๆ ๕ ประการ๑)
ชะราธัมโมม๎หิ ชะรัง อะนะตีโต. เรามีความแกเปนธรรมดา ลวงพนความแกไปไมได.
พ๎ยาธิธมั โมม๎หิ พ๎ยาธิง อะนะตีโต.เรามีความเจ็บไขเปนธรรมดา ลวงพนความเจ็บไขไป
ไมได.
มะระณะธัมโมม๎หิ มะระณัง อะนะตีโต. เรามีความตายเปนธรรมดา ลวงพนความตายไปไมได.
สัพเพหิ เม ปเยหิ มะนาเปหิ เราจะตองพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น.
นานาภาโว วินาภาโว
กัมมัสสะโกม๎หิ กัมมะทายาโท เรามีกรรมเปนของตน เปนทายาทแหงกรรม
กัมมะโยนิ กัมมะพันธุ มีกรรมเปนกำเนิด มีกรรมเปนเผาพันธุ
กัมมะปะฏิสะระโณ มีกรรมเปนที่พึ่ง
ยัง กัมมัง กะริสสามิ จะทำกรรมใด
กัลย๎ าณัง วา ปาปะกัง วา ดีกต็ าม ชัว่ ก็ตาม
ตัสสะ ทายาโท ภะวิสสามีติ เราจะเปนผูรับผลของกรรมนั้น
เอวัง อัมเ๎ หหิ อะภิณห๎ งั ปจจะเวกขิตพั พัง. เราทัง้ หลายพึงพิจารณาเนืองๆ อยางนีแ้ ล.


ฐานะ ๕ ประการ อันสตรี บุรษุ คฤหัสถ หรือบรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ
พระปริตร 69

พระคาถาชินบัญชร
สมเด็จพระพุฒาจารย (โต พรหมรังสี) วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร
ชะยาสะนาคะตา๑ พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง
จะตุสจั จาสะภัง ระสัง เย ปวงิ สุ นะราสะภา.
พระพุทธเจาและพระนราสภะทั้งหลายผูประทับนั่งแลวบนชัยบัลลังก ทรงพิชิตพระยา
มาราธิราช ผพู รัง่ พรอมดวยเสนาราชพาหนะแลว เสวยอมตรส คือ อริยสัจจธรรมทัง้ ๔ ประการ.
ตัณห๎ งั กะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา.
สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนสิ สะรา.
พระพุทธเจาทั้งหลาย ผูนำสรรพสัตวใหขามพนจากกิเลสและกองทุกข ๒๘ พระองค มี
พระพุทธเจาตัณหังกรเปนอาทิ. พระพุทธเจาผจู อมมุนที งั้ หมดนัน้ ขาพเจาขออัญเชิญมาประดิษฐาน
เหนือเศียรเกลา
สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ. ธัมโม ท๎วโิ ลจะเน.
สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ประดิษฐานอยูบนศีรษะของขาพเจา. พระธรรม
อยทู ดี่ วงตาทัง้ สอง. พระสงฆผเู ปนอากรบอเกิดแหงสรรพคุณอยทู อี่ กของขาพเจา.
หะทะเย เม อะนุรทุ โธ. สารีปตุ โต จะ ทักขิเณ.
โกณฑัญโญ ปฏฐิภาคัส๎มงิ . โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
พระอนุรทุ ธะอยทู หี่ วั ใจของขาพเจา. พระสารีบตุ รอยเู บือ้ งขวา. พระอัญญาโกณฑัญญะ
อยูเบื้องหลัง. พระโมคคัลลานอยูเบื้องซาย.
ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะราหุลา.๒
กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
พระอานนทกบั พระราหุลอยทู หี่ ขู วาขาพเจา. พระกัสสปะกับพระมหานามะ ทัง้ สองอยทู หี่ ซู า ย.
เกสะโต๓ ปฏฐิภาคัสม๎ งิ สุรโิ ยวะ ปะภังกะโร
นิสนิ โน สิรสิ มั ปนโน โสภิโต มุนปิ งุ คะโว.
มุนผี ปู ระเสริฐ คือ พระโสภิตะ ผสู มบูรณดว ยสิริ นัง่ ทีส่ ว นหลังแตปลายผม ดังพระอาทิตย
สองแสงอยู.

บางแหงใช กะตา ๒
บางแหงใช ราหุลา ๓บางแหงใช เกสันเต, เกเสนเต
70 ทำวั ต ร-สวดมนต

กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก


โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณากะโร.
พระเถระกุมารกัสสปะ ผแู สวงหาคุณยิง่ ใหญ เปนบอเกิดแหงคุณอันวิเศษ มีวาทะอันวิจติ ร
ไพเราะนัน้ ดำรงอยทู ปี่ ากของขาพเจา เปนประจำ.
ปุณโณ อังคุลมิ าโล จะ อุปาลี นันทะสีวะลี
เถรา ปญจะ อิเม ชาตา นะลาเฏ ติละกา มะมะ.
พระปุณณะ พระอังคุลมิ าล พระอุบาลี พระนันทะ และพระสีวลี พระเถระทัง้ ๕ นี้ ปรากฏ
เกิดเปนกระแจะจุณเจิมที่หนาผากของขาพเจา.
เสสาสีติ มะหาเถรา๑ วิชติ า ชินะสาวะกา.
เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
สวนพระอสีตมิ หาเถระทีเ่ หลือ ผมู ชี ยั เปนพระสาวกของพระพุทธเจา ผทู รงชัย. พระมหา
เถระ ๘๐ องคเหลานี้ เปนผูชนะ พระโอรสของพระชินเจา ลวนรุงเรืองไพโรจนดวยเดชแหงศีล
ดำรงอยูทั่วอวัยวะนอยใหญ.
ระตะนัง ปุระโต อาสิ. ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง.
ธะชัคคัง ปจฉะโต อาสิ. วาเม อังคุลมิ าละกัง.
พระรัตนสูตรอยูเบื้องหนา. พระเมตตาสูตรอยูเบื้องขวา. พระธชัคคสูตรอยูเบื้องหลัง.
พระอังคุลิมาลปริตรอยูเบื้องซาย.
ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะสุตตะกัง
อากาเส ฉะทะนัง อาสิ. เสสา ปาการะสัณฐิตา.
พระขันธปริตร พระโมรปริตร และพระอาฏานาฏิยสูตร เปนเครื่องกางกั้นดุจหลังคา อยู
บนนภากาศ. พระสูตรทีเ่ หลือตัง้ ไวเปนกำแพง.
ชินาณาวะระสังยุตตา สัตตะปาการะลังกะตา.
วาตะปตตาทิสญ
ั ชาตา พาหิรชั ฌัตตุปท ทะวา
อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา
วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปญชะเร.


ฉบับสิงหลไมมวี รรคนี้
พระปริตร 71
พระชินพุทธเจาทัง้ หลาย ประกอบดวยเครือ่ งกางกัน้ คือพระอำนาจของพระชินเจา ประดับ
ดวยอาภรณคือกำแพงปองกันเจ็ดชั้น.
เมือ่ ขาพระพุทธเจาเขาอาศัยอยใู นพระบัญชร แวดวงกรงลอมแหงพระสัมมาสัมพุทธเจา ดวย
กิจของตนทุกเมือ่ ดวยเดชแหงพระอนันตชินเจา ขออุปท วะทัง้ ภายนอกและภายใน อันเกิดแตลม
และดีเปนตน จงถึงความพินาศไปโดยไมเหลือ.
ชินะปญชะระมัชฌัม๎หิ วิหะรันตัง มะหีตะเล๑
สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุรสิ าสะภา.
ขอพระมหาบุรุษผูทรงพระคุณอันล้ำเลิศทั้งปวงนั้น จงอภิบาลขาพเจา ผูอยูในภาคพื้น
ทามกลางพระชินบัญชร.
อิจเจวะมันโต สุคตุ โต สุรกั โข.
ชินานุภาเวนะ ชิตปุ ท ทะโว.
ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสงั โฆ.
สังฆานุภาเวนะ ชิตนั ตะราโย.
สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะปญชะเรติ.
พระพุทธเจาทั้งหลาย ทรงมีอานุภาพดังวามานี้ ขอใหขาพเจาไดรับคุมครองรักษาเปน
อยางดี. ดวยอานุภาพแหงพระชินเจา ขอใหขา พเจาชนะอุบาทวความขัดของ. ดวยอานุภาพแหง
พระธรรม ขอใหขาพเจาชนะหมูขาศึก. ดวยอานุภาพแหงพระสงฆ ขอใหขาพเจาชนะอันตราย.
ขาพเจาผทู อี่ านุภาพแหงพระสัทธรรมรักษาแลว จะประพฤติอยใู นพระพุทธชินบัญชร ดังนีแ้ ล.


บาลีออกเสียงวา มะ-ฮี-ตะ-เล
72 ทำวัตร-สวดมนต
พระคาถาบูชาพระพุทธเจา ๒,๐๔๘,๑๐๙ พระองค*
จากคัมภีรม ลู ภาษา ทีอ่ าจารยพระมหาแสวง โชติปาโล
วัดศรีประวัติ บางกรวย นนทบุรี ไดนำมาจากประเทศพมา

ปณามคาถา
นะโม สัมมาสัมพุทธานัง ปะระมัตถะทัสสีนงั สีลาทิคณ
ุ ะปาระมิปปตตานัง. (๓ จบ)
พุทธัม สะระณัม คัจฉามิ.
ธัมมัม สะระณัม คัจฉามิ.
สังฆัม สะระณัม คัจฉามิ.
ทุติยัมป พุทธัม สะระณัม คัจฉามิ.
ทุติยัมป ธัมมัม สะระณัม คัจฉามิ.
ทุติยัมป สังฆัม สะระณัม คัจฉามิ.
ตะติยมั ป พุทธัม สะระณัม คัจฉามิ.
ตะติยมั ป ธัมมัม สะระณัม คัจฉามิ.
ตะติยมั ป สังฆัม สะระณัม คัจฉามิ.

อธิฏฐานสีลคาถา
(อธิษฐานศีล ๕ สำหรับญาติโยม สำหรับพระไมตอ งอธิษฐานนี)้
อิมานิ ปญจะสิกขาปะทานิ อะธิฏฐามิ
ทุติยัมป อิมานิ ปญจะสิกขาปะทานิ อะธิฏฐามิ
ตะติยมั ป อิมานิ ปญจะสิกขาปะทานิ อะธิฏฐามิ
ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง อะธิฏฐามิ
อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง อะธิฏฐามิ
กาเมสุมจิ ฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง อะธิฏฐามิ
มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง อะธิฏฐามิ
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง อะธิฏฐามิ
* พระคาถาอันศักดิส์ ทิ ธิ์ บูชาพระพุทธเจาผวู ริ ยิ าธิกะ (ยิง่ ดวยความเพียร) ๒,๐๔๘,๑๐๙ พระองค ขอทานทัง้ หลายจงตัง้ ใจสวด
สาธยายสรรเสริญพระพุทธเจาทัง้ หลายของเรานี้ ถาใครไดสวดสาธยายทุกเชา-ค่ำ จะไดรบั สิรมิ งคลดวยลาภ สักการะ เกียรติยศ
สรรเสริญ ของเหลามนุษยและเทวดาทัง้ หลาย ทัง้ ยังปกปองอันตรายและภัยทัง้ หลายจากอาวุธนานาชนิด แมจะเปนลูกระเบิด
ก็ไมตอ งไปกลัวแล.
พระปริตร 73
อะระหันเต นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาลีสะสะหัสสะเก
วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง.
อัปปะกา วาฬุกา คังคา. อะนันตา นิพพุตา ชินา.
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหงั .
นะมะการานุภาเวนะ หิตว๎ า สัพเพ อุปท ทะเว.
อะเนกา อันตะรายาป วินสั สันตุ อะเสสะโต.
สัมมาสัมพุทเธ นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาลีสะสะหัสสะเก
วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง.
อัปปะกา วาฬุกา คังคา. อะนันตา นิพพุตา ชินา.
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหงั .
นะมะการานุภาเวนะ หิตว๎ า สัพเพ อุปท ทะเว.
อะเนกา อันตะรายาป วินสั สันตุ อะเสสะโต.
วิชชาจะระณะสัมปนเน นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาลีสะสะหัสสะเก
วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง.
อัปปะกา วาฬุกา คังคา. อะนันตา นิพพุตา ชินา.
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหงั .
นะมะการานุภาเวนะ หิตว๎ า สัพเพ อุปท ทะเว.
อะเนกา อันตะรายาป วินสั สันตุ อะเสสะโต.
สุคะเต นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาลีสะสะหัสสะเก
วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง.
อัปปะกา วาฬุกา คังคา. อะนันตา นิพพุตา ชินา.
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหงั .
นะมะการานุภาเวนะ หิตว๎ า สัพเพ อุปท ทะเว.
อะเนกา อันตะรายาป วินสั สันตุ อะเสสะโต.
โลกะวิทเุ ก นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาลีสะสะหัสสะเก
วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง.
อัปปะกา วาฬุกา คังคา. อะนันตา นิพพุตา ชินา.
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหงั .
นะมะการานุภาเวนะ หิตว๎ า สัพเพ อุปท ทะเว.
อะเนกา อันตะรายาป วินสั สันตุ อะเสสะโต.
74 ทำวัตร-สวดมนต
อนุตตะเร ปุรสิ ะทัมมะสาระถิเก นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาลีสะสะหัสสะเก
วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง.
อัปปะกา วาฬุกา คังคา. อะนันตา นิพพุตา ชินา.
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหงั .
นะมะการานุภาเวนะ หิตว๎ า สัพเพ อุปท ทะเว.
อะเนกา อันตะรายาป วินสั สันตุ อะเสสะโต.
สัตถาเทวะมะนุสเส นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาลีสะสะหัสสะเก
วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง.
อัปปะกา วาฬุกา คังคา. อะนันตา นิพพุตา ชินา.
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหงั .
นะมะการานุภาเวนะ หิตว๎ า สัพเพ อุปท ทะเว.
อะเนกา อันตะรายาป วินสั สันตุ อะเสสะโต.
พุทเธ นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาลีสะสะหัสสะเก
วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง.
อัปปะกา วาฬุกา คังคา. อะนันตา นิพพุตา ชินา.
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหงั .
นะมะการานุภาเวนะ หิตว๎ า สัพเพ อุปท ทะเว.
อะเนกา อันตะรายาป วินสั สันตุ อะเสสะโต.
ภะคะวันเต นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาลีสะสะหัสสะเก
วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง.
อัปปะกา วาฬุกา คังคา. อะนันตา นิพพุตา ชินา.
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหงั .
นะมะการานุภาเวนะ หิตว๎ า สัพเพ อุปท ทะเว.
อะเนกา อันตะรายาป วินสั สันตุ อะเสสะโต.
อะระหันตาทินะวะหิ คุเณหิ สัมปนเน นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาลีสะสะหัสสะเก
วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง.
อัปปะกา วาฬุกา คังคา. อะนันตา นิพพุตา ชินา.
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหงั .
นะมะการานุภาเวนะ หิตว๎ า สัพเพ อุปท ทะเว.
อะเนกา อันตะรายาป วินสั สันตุ อะเสสะโต.
พระปริตร 75
นะโม เต พุทธะวีรตั ถุ. วิปปะมุตโตสิ สัพพะธิ.
สัมพาธะปะฏิปน โนส๎ม.ิ ตัสสะ เม สะระณัง ภะวะ.
ตะถาคะตัง อะระหันตัง จันทิมา สะระณัง คะโต.
ราหุ จันทัง ปะมุญจัสสุ. พุทธา โลกานุกมั ปะกา.
ตะถาคะตัง อะระหันตัง สุรโิ ย สะระณัง คะโต.
ราหุ สุรยิ งั ปะมุญจัสสุ. พุทธา โลกานุกมั ปะกา.
นาญญัตร๎ ะ โพชฌังคา ตะปะสา นาญญัตร๎ นิ ท๎รยิ ะสังวะรา
นาญญัตร๎ ะ สัพพะนิสสัคคา โสตถิง ปสสามิ ปาณินงั .
อะตีตงั พุทธะระตะนัง พุทธะวังสัง อะนาคะตัง
มะมะ สีเส ฐะเปต๎วา ยาวะชีวงั นะมัตถุ เม.
พุทโธ เม รักขะตุ นิจจัง. พุทโธ เม รักขะตุ สะทา.
พุทโธ เม รักขะตุ ทิเน. อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
ธัมโม เม รักขะตุ นิจจัง. ธัมโม เม รักขะตุ สะทา.
ธัมโม เม รักขะตุ ทิเน. อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
สังโฆ เม รักขะตุ นิจจัง. สังโฆ เม รักขะตุ สะทา.
สังโฆ เม รักขะตุ ทิเน. อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
มาราฬะวะกะนาฬาคิรงิ อังคุลงิ จิญจะสัจจะกัง
นันโทปะนันทะพ๎รห๎มญ
ั จะ เชตุ โหตุ ตะโต ปะรัง.
คัจฉันเต วา สะยะเน วา สัพพัสม๎ งิ อิรยิ าปะเถ
มิจฉาเทวา ปกกะมันตุ สัมมาเทวา อุเปนตุ เม
พุทโธ เม สีเส ติฏฐะตุ. พุทโธ เม หะทะเย ติฏฐะตุ.
พุทโธ เม อังเส ติฏฐะตุ. อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
ธัมโม เม สีเส ติฏฐะตุ. ธัมโม เม หะทะเย ติฏฐะตุ.
ธัมโม เม อังเส ติฏฐะตุ. อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
สังโฆ เม สีเส ติฏฐะตุ. สังโฆ เม หะทะเย ติฏฐะตุ.
สังโฆ เม อังเส ติฏฐะตุ. อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
ตัณห๎ งั กะโร พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
76 ทำวั ต ร-สวดมนต

เมธังกะโร พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ


อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
สะระณังกะโร พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
ทีปง กะโร พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
โกณฑัญโญ พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
สุมงั คะโล พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
สุมะโน พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
เรวะโต พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
โสภิโต พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
อะโนมะทัสสี พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
ปะทุโม พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
พระปริตร 77
นาระโท พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
ปะทุมตุ ตะโร พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
สุเมโธ พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
สุชาโต พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
ปยะทัสสี พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
อัตถะทัสสี พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
ธัมมะทัสสี พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
สิทธัตโถ พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
ติสโส พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
ผุสโส พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
78 ทำวัตร-สวดมนต
วิปส สี พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
สิขี พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
เวสสะภู พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
กะกุสนั โธ พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
โกนาคะมะโน พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
กัสสะโป พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
โคตะโม พุทโธ ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
อะนันตะปุญโญ อะนันตะคุโณ อะนันตะญาโณ อะนันตะเตโช
อะนันตะอิทธิ อะนันตะชุติ อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
อัฏฐะวีสะติเม พุทธา ภะคะวันโต อะระหันโต สัมมาสัมพุทธา
อะนันตะปุญญา อะนันตะคุณา อะนันตะญาณา อะนันตะเตชา
อะนันตะอิทธิมนั ตา อะนันตะชุตมิ นั ตา อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
นะโม เตสัง อัฏฐะวีสะติยา พุทธานัง ภะคะวันตานัง
อะระหันตานัง สัมมาสัมพุทธานัง อายุ ทีฆงั สุขงั ภะเว.
อะนันตะปุญญา อัฏฐะวีสะติเม พุทธา ภะคะวันโต อะระหันโต
สัมมาสัมพุทธา อะนันเตหิ ปุญญะจักเกหิ มัง รักขันตุ.
อะนันตะคุณา อัฏฐะวีสะติเม พุทธา ภะคะวันโต อะระหันโต
สัมมาสัมพุทธา อะนันเตหิ คุณะจักเกหิ มัง รักขันตุ.
พระปริตร 79
อะนันตะญาณา อัฏฐะวีสะติเม พุทธา ภะคะวันโต อะระหันโต
สัมมาสัมพุทธา อะนันเตหิ ญาณะจักเกหิ มัง รักขันตุ.
อะนันตะเตชา อัฏฐะวีสะติเม พุทธา ภะคะวันโต อะระหันโต
สัมมาสัมพุทธา อะนันเตหิ เตชะจักเกหิ มัง รักขันตุ.
อะนันตะอิทธิมนั ตา อัฏฐะวีสะติเม พุทธา ภะคะวันโต อะระหันโต
สัมมาสัมพุทธา อะนันเตหิ อิทธิมนั ตะจักเกหิ มัง รักขันตุ.
อะนันตะชุตมิ นั ตา อัฏฐะวีสะติเม พุทธา ภะคะวันโต อะระหันโต
สัมมาสัมพุทธา อะนันเตหิ ชุตมิ นั ตะจักเกหิ มัง รักขันตุ.
ทิวา ตะปะติ อาทิจโจ. รัตติมาภาติ จันทิมา.
สันนัทโธ ขัตติโย ตะปะติ. ฌายี ตะปะติ พ๎ราห๎มะโณ.
อะถะ สัพพะมะโหรัตติง พุทโธ ตะปะติ เตชะสา.
ตาทิสงั เตชะสัมปนนัง พุทธัง วันทามิ อาทะรัง.
ทิวา ตะปะติ อาทิจโจ. รัตติมาภาติ จันทิมา.
สันนัทโธ ขัตติโย ตะปะติ. ฌายี ตะปะติ พ๎ราห๎มะโณ.
อะถะ สัพพะมะโหรัตติง ธัมโม ตะปะติ เตชะสา.
ตาทิสงั เตชะสัมปนนัง ธัมมัง วันทามิ อาทะรัง.
ทิวา ตะปะติ อาทิจโจ. รัตติมาภาติ จันทิมา.
สันนัทโธ ขัตติโย ตะปะติ. ฌายี ตะปะติ พ๎ราห๎มะโณ.
อะถะ สัพพะมะโหรัตติง สังโฆ ตะปะติ เตชะสา.
ตาทิสงั เตชะสัมปนนัง สังฆัง วันทามิ อาทะรัง.
แผเมตตาใหตนเอง
อะหัง สุขโิ ต โหมิ. อะหัง อะเวโร โหมิ. อะหัง อัพย๎ าปชโฌ โหมิ.
อะหัง อะนีโฆ โหมิ. อะหัง สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.
แผเมตตาใหสรรพสัตว
สัพเพ สัตตา อะเวรา โหนตุ. สัพเพ สัตตา อัพย๎ าปชฌา โหนตุ.
สัพเพ สัตตา อะนีฆา โหนตุ. สัพเพ สัตตา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
อิทงั เม ปุญญัง ปุพพะการีนญ ั จะ เวรีนญ
ั จะ อารักขะเทวานัญจะ ญาตะกานัญจะ
ทุกขัปปตตานัญจะ โหตุ. นิพพานัสสะ จะ ปจจะโย โหตุ ปจจุปปนเน กาเล.
80 ทำวั ต ร-สวดมนต

มังคลเทวมุนิปตติทานคาถา*
(วาดวยการอุทศิ ถวายสวนบุญแดพระเดชพระคุณ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)
โย โส จันทะสะโร เถโร สัปปญโญ กะรุณายะโก
ราชะทินนาภิธาเนนะ มังคะละเทวะมุนิว๎หะโย
พระเถระใด นามวา ‘จันทสร’ เปนผมู ปี ญ
 ญา เจริญดวยกรุณา มีชอื่ โดยพระราชทินนนาม
วา ‘พระมงคลเทพมุน’ี
ชะนานัง อิธะ สัพเพสัง อิสสะโร ปะริหาระโก
วินะยัสสะ จะ ธัมมัสสะ ธัมมะกายัสสะ โกวิโท
เปนใหญ บริหารปกครองชนทัง้ ปวง ในวัดปากน้ำนี้ ทัง้ เปนผฉู ลาดในพระธรรมวินยั และ
ธรรมกาย.
ธัมเมสุ คะรุโก ธีโร สีเลสุ สุสะมาหิโต
สิสสานัง ภิกขุอาทีนงั ปตฏุ ฐาเน ปะติฏฐิโต
เปนปราชญ เปนผหู นักในธรรม ตัง้ มัน่ อยใู นศีลทัง้ หลาย ดำรงอยใู นฐานะบิดา ของศิษย
ทัง้ หลาย มีภกิ ษุเปนตน
อาหาราทีหิ วัตถูหิ เอเตสัง อะนุกมั ปะโก
พะหุนนัง กุละปุตตานัง อุปช ฌาโย วิจกั ขะโณ,
อนุเคราะหศิษยเหลานั้น ดวยวัตถุมีอาหารเปนตน เปนพระอุปชฌาย ผูมีปญญาเครื่อง
พิจารณา ของกุลบุตรทัง้ หลายเปนอันมาก,
โสทานิ กาละมากาสิ กัล๎ยาณะกิตติ ติฏฐะติ.
บัดนี้ ทานไดมรณภาพแลว แตชอื่ เสียงอันงดงามของทานยังดำรงอย.ู
ตัมมะยัง ยะติกา เถรา มัชฌิมา นะวะกา จิธะ
นิจจัง อะนุสสะรันตาวะ ตัสสะ คุเณนะ โจทิตา
ปุญญันตัสสะ กะริต๎วานะ เทมะ ปตติง อะเสสะโต
เราทัง้ หลาย ผเู ปนนักบวช ในพระศาสนานี้ ทีเ่ ปนเถระ ปานกลาง ผใู หม ก็ตาม ระลึกถึง
ทานอยูเปนนิตยเทียว อันคุณความดีของทานตักเตือนแลว กระทำบุญแลว ยอมอุทิศสวนบุญ
แกทา น โดยไมเหลือ.
* พระธรรมวรนายก (ทองหลอ สุวณฺณรํส)ี ผแู ตง
** คำวา ‘ทาน’ ทีป่ รากฏในคำแปลนี้ หมายถึง พระเดชพระคุณ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) - ผแู ปล.
พระปริตร 81
ยัง ยัง เตนะ กะตัง ปุญญัง, ยัง ยัง อัมเหหิ สัญจิตงั ,
ตัสสะ ตัสสานุภาเวนะ ตัสสะ ตัสเสวะ เตชะสา
สัทธัมมัฏฐิตกิ าโม โส สุขโิ ต โหตุ สัพพะทา.
บุญใดๆ อันทานทำแลว, บุญใดๆ อันเราทัง้ หลายสัง่ สมแลว, ดวยอานุภาพ ดวยเดช
แหงบุญนั้นๆ ทานปรารถนาการดำรงมั่นอยูแหงพระสัทธรรม จงเปนผูมีความสุข ในกาล
ทุกเมื่อ.
สะเจ ยัตถะ ปะติฏฐายะ นะ ละเภยยะ อิมงั วะรัง,
ตัตถะ สัพเพ มะเหสักขา เทวา คันต๎วา นิเวทะยุง.
อะนุโมทะตุ โส ปุญญัง ปตติง ละเภตุ สัพพะโสติ.
หากทานดำรงอยู ณ แหงหนใด ไมพงึ ไดซงึ่ พรนีไ้ ซร ขอเทพยดาผมู ศี กั ดิใ์ หญทงั้ ปวง
จงไปประกาศในทีน่ นั้ . ขอทานจงอนุโมทนาบุญ [และ] จงไดซงึ่ สวนบุญ โดยประการทัง้ ปวง เทอญ.

รตนัตตยยัปปภาวสิทธิคาถา
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ โลกานัง อะนุกมั ปะโก
เวเนยยานัง ปะโพเธตา สันติมัคคานุสาสะโก
พระผมู พี ระภาคเจาเปนพระอรหันต ตรัสรพู รอมดวยพระองคเอง เปนผมู คี วามเอ็นดูตอ
สัตวโลกทัง้ หลาย เปนผปู ลุกเวไนยสัตวทงั้ หลายใหตนื่ [จากความหลับคือกิเลส] เปนผพู ร่ำสอน
หนทางแหงสันติคือพระนิพพาน.
ส๎วากขาโต อุตตะโม ธัมโม โลกานัง ตะมะทาละโก
นิยยานิโก จะ ทุกขัสม๎ า ธัมมะจารีนุปาละโก
พระธรรมอันพระผมู พี ระภาคเจาตรัสไวดแี ลว เปนธรรมสูงสุด เปนเครือ่ งทำลายเสียซึง่
ความมืดบอดของสัตวโลกทัง้ หลาย เปนเครือ่ งนำสัตวทงั้ หลายออกจากกองทุกข และตามรักษา
บุคคลผูประพฤติธรรมนั้น.
สุปะฏิปน โน มะหาสังโฆ โลกานัง ปุญญะมากะโร
สีละทิฏฐีหิ สังสุทโธ สันติมัคคะนิโยชะโก
สงฆหมใู หญของพระผมู พี ระภาคเจานัน้ เปนผปู ฏิบตั ดิ แี ลว เปนบอเกิดแหงบุญของสัตวโลก
ทัง้ หลาย เปนผบู ริสทุ ธิด์ แี ลว ดวยศีลและทิฏฐิ เปนผปู ระพฤติอยใู นหนทางแหงสันติคอื นิพพาน.
82 ทำวั ต ร-สวดมนต

อิจเจตัง ระตะนัง เสฏฐัง โลเก สะระณะมุตตะมัง


ปะริกขะกานะ ธีรานัง ญาณะสัญจาระณักขะมัง
ดวยคุณสมบัตอิ นั ยอดเยีย่ มดังกลาวมานี้ พระรัตนตรัยอันประเสริฐนี้ จึงเปนสรณะทีพ่ งึ่
อันอุดมในโลก ควรแกการพิจารณาดวยปญญาของหมชู นนักปราชญผเู ปนนักคนควา.
ยัสสะ โลกัง ปะภาเสติ อาตะโปวะ ตะโมนุโท
ทัยยะเทโส อิมาคัมมะ เขมะมัคคัปปะโชตะนัง
ประเทศไทย ซึง่ เปนดินแดนแถบทีม่ แี สงสวางคอยบรรเทาความมืดสองโลกใหสวางไสวอยู
[แถบเอเซียตะวันออกเฉียงใต] ไดอาศัยพระรัตนตรัยนี้เปนเครื่องสองหาหนทางที่เกษมปลอดภัย
จึงตั้งมั่นอยูในสันติสุข ดำรงอิสรภาพติดตอกันมาได.
สันติสเุ ข ปะติฏฐาติ อิสสะโร สาตะตัง ฐิโต
อัคคะเมตัง ติระตะนัง คะรุง กัตว๎ านะ รักขิตงั
ธะชัง กัตว๎ า ปะเทสัสสะ ทัยยะเทเสนะ อุทธะตัง
พระเจาแผนดินแหงประเทศไทย ไดทรงพิทักษรักษาพระรัตนตรัยอันเลิศนี้เปนที่เคารพ
สักการะบูชา ยกขึน้ ไวใหเปนธงชัยของประเทศ.
นีตปิ ญ
 ญัตติการายะ สะทิฏฐิกา ปะกุพพะเน
ธัมมะนุญญัง วะ รัฏฐัสสะ รัฏฐานัง สิทธิทายะกัง
ในการยกรางกฎหมายนิติบัญญัติ พรอมดวยหลักการและเหตุผลจึงมีรัฐธรรมนูญของ
ประเทศเปนแมบทที่ใหสิทธิเสรีภาพแกประชาชนผูเปนเจาของประเทศ.
เอวัง สาสะนะกิจเจสุ สังฆัง กัตว๎ านะธิสสะรัง
ปะสิชฌะนันติทงั พุทธะ- สาสะนัสสะ ปะสาสะนัง
ในศาสนกิจทัง้ หลายก็เชนเดียวกันนี้ มีการออกพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆเปนเครือ่ งปกครอง
พระพุทธศาสนา ยกพระสงฆใหเปนอิสระในประเทศนี้ โดยอุบายแหงการปกครองอยางนี้
พระศาสนาจะดำรงอยูไดอยางมั่นคง.
เอวัง ปะสาสะนุปาเยนะ จิรงั ติฏฐะติ สาสะนัง
ระตะนัตตะยานุภาเวนะ ระตะนัตตะยะเตชะสา
ทัยยะชาติ วิโรเจตุ สัพพะสัมปตติสทิ ธิยา
ดวยอานุภาพแหงพระรัตนตรัย (และ) ดวยเดชะแหงพระรัตนตรัยขอชาติไทย จงรงุ เรือง
ดวยความสำเร็จแหงสมบัติทั้งปวง จงถึงความสำเร็จความไพบูลยและความเจริญงอกงามยิ่งๆ
ขึ้นไป ตลอดกาลทุกเมื่อ.
พระปริตร 83
อิทธิง ปปโปตุ เวปุลลัง วิรฬุ ห๎ งิ จุตตะริง สะทา
จิรงั ติฏฐะตุ โลกัสม๎ งิ สัมมาสัมพุทธะสาสะนัง
ทัสเสนตัง ภัพพะสัตตานัง อัญชะสังวะ วิสทุ ธิยา
ขอพระศาสนาแห ง สมเด็ จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ า จงสถิ ต อยู ใ นโลกตลอดกาลนาน
แสดงหนทางเพื่อความบริสุทธิ์แกปวงชนผูที่ควรจะตรัสรูได.
จิรญ
ั ชีวะตุ ทีฆายุ ทัยยานัง ธัมมะขัตติโย
วัณณะวา พะละสัมปนโน นิรามะโย จะ นิพภะโย
ขอพระมหากษัตริยผูทรงเปนธรรมิกราชของชาวไทย จงมีพระชนมายุยิ่งยืนยาวนาน
ทรงมีพระเกียรติคณ
ุ ปรากฏเปนทีช่ นื่ ชมยินดี ทรงมีพละกำลังทีส่ มบูรณ ปราศจากอุปสรรคสรรพ
โรคาพาธ ปราศจากภัยพิบัติทั้งหลายทั้งปวง.
รัฏฐัสสะ ธัมมะนุญญัญจะ จิรงั ติฏฐะตุ โสตถินา
ขอรัฐธรรมนูญของประเทศไทย จงดำรงอยโู ดยสวัสดิภาพตลอดกาลนาน.
ระตะนัตตะยัปปะภาเวนะ วุฑฒิยาสา สะมิชฌะตุ
ดวยอานุภาพแหงพระรัตนตรัย ขอความหวังทีจ่ ะพัฒนาประเทศจงสำเร็จสมทุกประการ.
ทัยยานัง รัฏฐะปาลีนงั สัพพะสิทธิ สะทา ถิรงั
ขอความสำเร็จทุกประการ อันเปนไปอยางมัน่ คง จงมีแกคณะรัฐบาลไทยตลอดกาลทุกเมือ่ .
ชะยะมัตถุ จะ ทัยยานัง วุฑฒิ สันติ นิรนั ตะรัง
ขอชาวไทย จงมีชยั ชนะ มีความเจริญ มีสนั ติสขุ เปนนิรนั ดรกาล.
ปะวัฑฒะตัง จะ ภิยโยโส ธะนุฏฐาเนนะ สัมปะทาติ.
และขอความสมบูรณดว ยเศรษฐกิจ จงเจริญรงุ เรืองยิง่ ๆ ขึน้ ไปเทอญ.
84 ทำวั ต ร-สวดมนต

ภูมพิ ลมหาราชวรัสสะ ชยมังคลวรทานคาถา


(คาถาถวายพระพรชัยมงคล พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั ภูมพิ ลอดุลยเดช)
ภูมพิ ะโล มะหาราชา ทัยยานัง รัฏฐะวัฑฒะโน
ธัมมิโก ทะสะธัมเมหิ รัชชัง กาเรติ สัพพะทา.
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ผูทรงเปนมิ่งขวัญของปวงชน
ชาวไทย ทรงเปนพระธรรมิกมหาราช ทรงปกครองแผนดินดวยทศพิธราชธรรมตลอดมา.
ทุกขะโต ทุกขิเต ทัยเย ภะยะโต ภะยะตัชชิเต
สะมุสสาโห ปะโมเจติ มะหาการุญญะเจตะสา.
เมตโตทะเกนะ โตเสติ ฆัมเม เทโว วะ ภูมเิ ช.
ทรงมีพระราชอุตสาหะสม่ำเสมอ ดวยพระหฤทัยกอปรดวยพระการุณยภาพอันยิ่งใหญ
ชวยปลดเปลือ้ งชาวไทยผปู ระสบความทุกขยากใหพน จากความทุกขยาก ผปู ระสบภัยพิบตั ใิ หพน จาก
ภัยพิบตั .ิ ทรงทำใหชาวไทยชมุ ชืน่ ใจ ดวยน้ำพระทัยคือพระเมตตาธรรม เหมือนพระพิรณ ุ โปรย
ปรายลงมาในหนาแลงทำใหส่ำสัตวบนแผนดินชมุ ชืน่ ฉะนัน้ .
ยัตถะ อัจโจทะกัง โหติ สะโมกันตัง ปะกุพพะเต.
ยัญจะ สุกขัง อะโสกัญจะ ตินตัง โสกัง กะโรติ นัง.
สถานทีใ่ ดมีน้ำทวม ก็ทรงทำสถานทีน่ นั้ ใหมนี ้ำพอดี. สถานทีใ่ ดแหงแลงขาดแคลนน้ำ
ก็ทรงทำที่นั้นใหชุมฉ่ำมีน้ำสมบูรณ
ยันตัง ภะชะติ ภูมนิ โท สะทุกขัง สะภะยัมปจะ,
ตัตถะ ทุกขัง วะ ทุกขีนงั ขีณงั ตัสสานุภาวะโต.
พระจอมแผนดินเสด็จพระราชดำเนินถึงสถานที่ใดๆ ซึ่งมีความทุกขเข็ญและผองภัย,
ความทุกขเข็ญ ณ ทีน่ นั้ ๆ ก็พลันมลายไปดวยพระบรมเดชานุภาพของพระองค.
กะตังสะ สัพพะกิจจัญจะ สัพพะวาจา จะ วาจิตา
จินติตา สัพพะจินตา จะ สัพพะเสทา จะ มุจจะเร
สัพพานิ สัพพะทัยยานัง สุขตั ถายะ ปะวัตตะเร.
พระราชกรณียกิจทัง้ ปวงทีพ่ ระองคทรงบำเพ็ญแลวก็ดี พระราชดำรัสทัง้ หมดทีต่ รัสแสดง
แลวก็ดี พระราชดำริทงั้ สิน้ ทีท่ รงดำริไวแลวก็ดี พระเสโททุกหยาดทีห่ ยดโลมดินก็ดี ลวนเปนไป
เพื่อความสุขและประโยชนแกปวงชนชาวไทยทั้งสิ้น.
พระปริตร 85
สัพพะทัยยา อิมาคัมมะ วิจกั ขะณัง นะริสสะรัง
สะมัคคา เอกะจิตตา จะ ธัมเมนะ ทัยยะวัฑฒะเน
รัฏฐัสสะ เอกะรัชชัญจะ ธัมมะเนตติญจะ รักขะเร.
ปวงชนชาวไทย ไดอาศัยพระบารมีแหงพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั ผทู รงพระปญญา
แจงประจักษพระองคนี้ จึงมีความสมัครสมานสามัคคีมีน้ำใจรวมกันในการพัฒนาประเทศไทย
ชวยกันรักษาเอกราชและธรรมเนียมประเพณีของชาติไวไดโดยธรรม.
อิทาเนโส มหาราชา ปุณณาสีติสะมายุโก๑
อีทเิ ส มังคะเล กาเล เทมัสสะ วะระมังคะลัง.
บัดนี้ พระมหาราชเจาพระองคนนั้ ทรงเจริญพระชนมายุ ๘๐ พรรษา๑ แลว ในมหามงคลสมัยนี้
อาตมภาพทั้งหลายขอถวายพระพรชัยมงคลแดสมเด็จบรมบพิตรพระราชสมภารเจาพระองคนั้น
ระตะนัตตะยานุภาเวนะ ระตะนัตตะยะเตชะสา
ยัง สัพพะกุสะลัง กัมมัง อัมเหหิ ปะสุตงั สะทา
ยันโน สัพพะปะริตตัญจะ ภะณิตงั สิทธิทายะกัง
คือ ดวยเดชานุภาพแหงพระศรีรตั นตรัย และดวยอานุภาพแหงกุศลกรรมทัง้ ปวงทีอ่ าตมภาพ
ทัง้ หลายสัง่ สมไวแลวทุกเมือ่ มา ตลอดทัง้ อานุภาพแหงพระปริตรทีอ่ ำนวยความศักดิส์ ทิ ธิใ์ หทงั้ ปวง
ทีอ่ าตมภาพทัง้ หลายไดสวดสาธยายแลวนี้
ตัสสะ ตัสสานุภาเวนะ ภูมพิ ะโล นะราธิโป
ทีฆายุโก อะโรโค จะ สุขโิ ต อะกุโตภะโย
ขอพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลบรมบพิตรพระราชสมภารเจา ทรงมีพระชนมายุ
ยิง่ ยืนนาน ทรงนิราศจากโรคาพาธ ทรงพระเกษมสำราญ หาเภทภัยจากทีใ่ ดๆ มาพองพานมิได
พะลูเปโต สะโต โหตุ สัพพะจินตานะ ปาระคู
จิรงั รัชเช ปะติฏฐาตุ ปะติฏฐา ทัยยะวาสินนั ติ.
มีพระพลานามัยแข็งแรง มีพระสติมนั่ คง ทรงไดรบั ความสำเร็จแหงพระราชดำริทงั้ ปวง
สถิตสถาพรอยใู นไอศูรยราชสมบัติ เปนทีพ่ งึ่ แหงพสกนิกรชาวไทย ตลอดกาลนาน เทอญ.


ในป พ.ศ.๒๕๕๐
86 ทำวั ต ร-สวดมนต
พระปริตร 87

อนุโมทนาวิธี
88 ทำวั ต ร-สวดมนต

อนุโมทนาวิธี
(องคประธานเริ่ม)
ยะถา วาริวะหา ปูรา ปะริปเู รนติ สาคะรัง,
เอวะเมวะ อิโต ทินนัง เปตานัง อุปะกัปปะติ.
หวงน้ำเต็ม ยอมยังสมุทรสาครใหบริบูรณไดฉันใด, ทานที่ทานอุทิศใหแลวในโลกนี้
ยอมสำเร็จประโยชนแกผทู ลี่ ะโลกนีไ้ ปแลว ฉันนัน้ .
อิจฉิตงั ปตถิตงั ตุมห๎ งั ขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ.
สัพเพ ปูเรนตุ สังกัปปา จันโท ปณณะระโส ยะถา
(สัพเพ ปูเรนตุ สังกัปปา) มะณิ โชติระโส ยะถา.
ขออิฏฐิผล ทีท่ า นปรารถนาแลว ตัง้ ใจแลว จงสำเร็จโดยฉับพลัน. ขอความดำริทงั้ ปวง
จงเต็มทีเ่ หมือนพระจันทรวนั เพ็ญ เหมือนแกวมณีอนั สวางไสว ควรยินดี.
สัพพีตโิ ย๑ วิวชั ชันตุ๒ สัพพะโรโค วินสั สะตุ
มา เต ภะวัตว๎ นั ตะราโย สุขี ทีฆายุโก ภะวะ. (๓ จบ)
ความจัญไรทัง้ ปวงจงเวนไป. โรคทัง้ ปวงจงฉิบหายไป. อันตรายอยาไดมแี กทา น. ขอทาน
จงเปนผูมีสุขมีอายุยืน.
อะภิวาทะนะสีลิสสะ นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน
จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ อายุ วัณโณ สุขงั พะลัง.
ธรรม ๔ ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ยอมเจริญแกบคุ คล ผมู ปี กติไหวบคุ คลผคู วร
ไหว ผอู อ นนอมตอบุคคลผเู จริญ เปนนิตย.

คำสวดตอจาก “ยถาฯ สัพพีฯ” ทีใ่ ชในราชการ


ระตะนัตตะยานุภาเวนะ ระตะนัตตะยะเตชะสา
ทุกขะโรคะภะยา เวรา โสกา สัตตุ จุปท ทะวา
อะเนกา อันตะรายาป วินสั สันตุ อะเสสะโต.
ดวยเดชานุภาพแหงพระศรีรตั นตรัย ทุกข โรค ภัย และเวรทัง้ หลาย ความโศก ศัตรู และ
อุปท ทวะทัง้ หลาย อันตรายทัง้ หลายเปนอเนก จงพินาศไป โดยไมเหลือ.


รูปรองลงไป รับ สัพพีตโิ ย ๒
รับพรอมกัน วิวชั ชันตุ สัพพะโรโค วินสั สะตุ ...
อนุ โ มทนาวิ ธี 89
ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง โสตถิ ภาค๎ยงั สุขงั พะลัง
สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ โภคัง วุฑฒี จะ ยะสะวา
สะตะวัสสา จะ อายู จะ ชีวะสิทธี ภะวันตุ เต.
ความชนะ ความสำเร็จ ทรัพยและลาภ ความสวัสดี ความมีโชค ความสุข มีกำลัง สิริ
อายุ วรรณะ โภคะ ความเจริญ และความเปนผูมียศ อายุยืนรอยป และความสำเร็จในชีวิต
จงมีแกทา น ในกาลทุกเมือ่ .
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.
ขอสรรพมงคลทัง้ หลายจงมีแกทา น, ขอเหลาเทวดาทัง้ หลายจงรักษาทาน, ดวยอานุภาพ
แหงพระพุทธเจา, ดวยอานุภาพแหงพระธรรม, ดวยอานุภาพแหงพระสงฆ, ขอความสวัสดีทงั้ หลาย,
จงมีแดทานทุกเมื่อเทอญ.

อาฏานาฏิยปริตร (ยอ)
สัพพะโรคะวินิมุตโต สัพพะสันตาปะวัชชิโต
สัพพะเวระมะติกกันโต นิพพุโต จะ ตุวงั ภะวะ.
ทานจงเปนผพู น แลวจากภัยทัง้ ปวง เวนแลวจากความเดือดรอนทัง้ ปวง ลวงเสียซึง่ เวร
ทัง้ ปวง และเปนผดู บั ทุกขทงั้ ปวง.
สัพพีตโิ ย วิวชั ชันตุ สัพพะโรโค วินสั สะตุ
มา เต ภะวัตว๎ นั ตะราโย สุขี ทีฆายุโก ภะวะ.
ความจัญไรทัง้ ปวงจงเวนไป. โรคทัง้ ปวงจงฉิบหายไป. อันตรายอยาไดมแี กทา น. ขอทาน
จงเปนผูมีสุขมีอายุยืน.
อะภิวาทะนะสีลิสสะ นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน
จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ อายุ วัณโณ สุขงั พะลัง.
ธรรม ๔ ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ยอมเจริญแกบคุ คล ผมู ปี กติไหวบคุ คลผคู วร
ไหว ผอู อ นนอมตอบุคคลผเู จริญ เปนนิตย.
90 ทำวั ต ร-สวดมนต

มงคลจักรวาฬนอย
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ พุทธะระตะนัง
ธัมมะระตะนัง สังฆะระตะนัง ติณณัง ระตะนานัง อานุภาเวนะ จะตุราสีตสิ ะหัสสะ-
ธัมมักขันธานุภาเวนะ ปฏะกัตตะยานุภาเวนะ ชินะสาวะกานุภาเวนะ สัพเพ เต โรคา
สัพเพ เต ภะยา สัพเพ เต อันตะรายา สัพเพ เต อุปท ทะวา สัพเพ เต ทุนนิมติ ตา
สัพเพ เต อะวะมังคะลา วินสั สันตุ.
ดวยอานุภาพแหงพระพุทธเจาทั้งปวง ดวยอานุภาพแหงพระธรรมทั้งปวง ดวยอานุภาพ
แหงพระสงฆทั้งปวง ดวยอานุภาพแหงพระรัตนะ ๓ คือ พุทธรัตนะ ธรรมรัตนะ สังฆรัตนะ
ดวยอานุภาพแหงพระธรรมขันธแปดหมืน่ สีพ่ นั ดวยอานุภาพแหงพระไตรปฎก ดวยอานุภาพแหง
พระสาวกของพระชินเจา โรคทั้งปวงของทาน ภัยทั้งปวงของทาน อันตรายทั้งปวงของทาน
อุปท ทวะทัง้ ปวงของทาน นิมติ รายทัง้ ปวงของทาน อวมงคลทัง้ ปวงของทาน จงพินาศไป.
อายุ วั ฑ ฒะโก ธะนะวั ฑ ฒะโก สิ ริ วั ฑ ฒะโก ยะสะวั ฑ ฒะโก พะละวั ฑ ฒะโก
วัณณะวัฑฒะโก สุขะวัฑฒะโก โหตุ สัพพะทา.
ความเจริญอายุ ความเจริญทรัพย ความเจริญสิริ ความเจริญยศ ความเจริญกำลัง
ความเจริญวรรณะ ความเจริญสุข จงมีแกทา น ในกาลทัง้ ปวง.
ทุกขะโรคะภะยา เวรา โสกา สัตตุ จุปท ทะวา
อะเนกา อันตะรายาป วินสั สันตุ จะ เตชะสา
ทุกข โรค ภัย และเวรทั้งหลาย ความโศก ศัตรู และอุปททวะทั้งหลาย อันตราย
ทัง้ หลายเปนอเนก จงพินาศไป ดวยเดชะ [แหงพระรัตนตรัย].

ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง โสตถิ ภาค๎ยงั สุขงั พะลัง
สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ โภคัง วุฑฒี จะ ยะสะวา
สะตะวัสสา จะ อายู จะ ชีวะสิทธี ภะวันตุ เต.
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.

ดูคำแปลในหนากอน
อนุ โ มทนาวิ ธี 91

โภชนทานานุโมทนาคาถา
อายุโท พะละโท ธีโร วัณณะโท ปะฏิภาณะโท
สุขสั สะ ทาตา เมธาวี สุขงั โส อะธิคจั ฉะติ.
ผมู ปี ญ
 ญา ใหอายุ ใหกำลัง ใหวรรณะ ใหปฏิภาณ ใหความสุข ยอมประสบสุข.
อายุง ทัตว๎ า พะลัง วัณณัง สุขญ
ั จะ ปะฏิภาณะโท
ทีฆายุ ยะสะวา โหติ ยัตถะ ยัตถูปะปชชะตีต.ิ
ผมู ปี ญ ญา ใหอายุ วรรณะ สุขะ พละ และปฏิภาณ บังเกิดในทีใ่ ดๆ ยอมเปนผมู อี ายุยนื
มียศ ในทีน่ นั้ ๆ.

อัคคัปปสาทสูตร
อัคคะโต เว ปะสันนานัง อัคคัง ธัมมัง วิชานะตัง
อัคเค พุทเธ ปะสันนานัง ทักขิเณยเย อะนุตตะเร
เมือ่ บุคคลรจู กั ธรรมอันเลิศ เลือ่ มใสแลวโดยความเปนของเลิศ เลือ่ มใสแลวในพระพุทธเจา
ผเู ลิศ ซึง่ เปนทักษิไณยบุคคลอันเยีย่ มยอด.
อัคเค ธัมเม ปะสันนานัง วิราคูปะสะเม สุเข
อัคเค สังเฆ ปะสันนานัง ปุญญักเขตเต อะนุตตะเร
เลือ่ มใสแลวในพระธรรมอันเลิศ ซึง่ เปนธรรมปราศจากราคะและสงบระงับเปนสุข เลือ่ มใส
แลวในพระสงฆผเู ลิศ ซึง่ เปนบุญเขตอยางยอด.
อัคคัสม๎ งิ ทานัง ทะทะตัง อัคคัง ปุญญัง ปะวัฑฒะติ.
อัคคัง อายุ จะ วัณโณ จะ ยะโส กิตติ สุขงั พะลัง
ถวายทานในทานผเู ลิศนัน้ บุญทีเ่ ลิศก็ยอ มเจริญ. อายุ วรรณะ ทีเ่ ลิศ และยศ เกียรติคณ

สุขะ พละ ทีเ่ ลิศ ยอมเจริญ.
อัคคัสสะ ทาตา เมธาวี อัคคะธัมมะสะมาหิโต
เทวะภูโต มะนุสโส วา อัคคัปปตโต ปะโมทะตีต.ิ
ผูมีปญญาตั้งมั่นในธรรมอันเลิศแลว ใหทานแกทานผูเปนบุญเขตอันเลิศ จะไปเกิดเปน
เทพยดาหรือไปเกิดเปนมนุษยกต็ าม ยอมถึงความเปนผเู ลิศบันเทิงอยู ดังนีแ้ ล.
92 ทำวั ต ร-สวดมนต

กาลทานสุตตคาถา
กาเล ทะทันติ สะปญญา วะทัญู วีตะมัจฉะรา
กาเลนะ ทินนัง อะริเยสุ อุชภุ เู ตสุ ตาทิสุ
วิปปะสันนะมะนา ตัสสะ, วิปลุ า โหติ ทักขิณา.
ทายกทัง้ หลายเหลาใด เปนผมู ปี ญ ญา มีปกติรจู กั คำพูด ปราศจากความตระหนี่ มีใจ
เลือ่ มใสแลวในพระอริยเจาทัง้ หลาย ซึง่ เปนผตู รง คงที่ บริจาคทานทำใหเปนของทีต่ นถวายโดย
กาลนิยม ในกาลสมัย, ทักษิณาของทายกนัน้ เปนสมบัตมิ ผี ลไพบูลย.
เย ตัตถะ อะนุโมทันติ เวยยาวัจจัง กะโรนติ วา,
นะ เตนะ ทักขิณา โอนา. เตป ปุญญัสสะ ภาคิโน.
ชนทัง้ หลายเหลาใดอนุโมทนา หรือชวยกระทำการขวนขวายในทานนัน้ , ทักษิณาทานของ
เขา [ทายก] มิไดบกพรองไปดวยเหตุนนั้ . ชนทัง้ หลายแมเหลานัน้ ยอมเปนผมู สี ว นแหงบุญนัน้ ดวย.
ตัส๎มา ทะเท อัปปะฏิวานะจิตโต ยัตถะ ทินนัง มะหัปผะลัง.
ปุญญานิ ปะระโลกัสม๎ งิ ปะติฏฐา โหนติ ปาณินนั ติ.
เหตุนนั้ ทายกควรเปนผทู มี่ จี ติ ไมทอ ถอย ใหในทีใ่ ดมีผลมาก ควรใหในทีน่ นั้ . บุญยอมเปน
ทีพ่ งึ่ ของสัตวทงั้ หลายในโลกหนา ฉะนัน้ แล.
อนุ โ มทนาวิ ธี 93

ติโรกุฑฑกัณฑปจฉิมภาค
‘อะทาสิ เม อะกาสิ เม ญาติมติ ตา สะขา จะ เม’
เปตานัง ทักขิณงั ทัชชา ปุพเพ กะตะมนุสสะรัง
บุคคลเมือ่ ระลึกถึงอุปการะอันทานไดทำแกตนในกาลกอนวา ‘ผนู ใี้ หสงิ่ นีแ้ กเรา ผนู ไี้ ดทำกิจ
นีข้ องเรา ผนู เี้ ปนญาติ เปนมิตร เปนเพือ่ นของเรา’ ดังนี้ ก็ควรใหทกั ษิณาทาน๑ เพือ่ ผทู ลี่ ะโลกนี้
ไปแลว.
นะ หิ รุณณัง วา โสโก วา ยา วัญญา ปะริเทวะนา,
นะ ตัง เปตานะมัตถายะ. เอวัง ติฏฐันติ ญาตะโย.
การรองไหก็ตาม การเศราโศกก็ตาม หรือร่ำไรรำพันอยางอื่นก็ตาม บุคคลไมควรทำเลย,
เพราะวาการรองไหเปนตนนัน้ ไมเปนประโยชนแกญาติทงั้ หลาย ผลู ะโลกนีไ้ ปแลว. ญาติทงั้ หลาย
ยอมตัง้ อยอู ยางนัน้ [นอนนิง่ ไมฟน คืนมาได].
อะยัญจะ โข ทักขิณา ทินนา สังฆัมห๎ ิ สุปะติฏฐิตา
ทีฆะรัตตัง หิตายัสสะ ฐานะโส อุปะกัปปะติ.
ก็ทกั ษิณานุปทาน๒ นีแ้ ล อันทานใหแลว ประดิษฐานไวดแี ลวในสงฆ ยอมสำเร็จประโยชน
เกือ้ กูล แกผทู ลี่ ะโลกนีไ้ ปแลวนัน้ ตลอดกาลนาน ตามฐานะ.
โส ญาติธมั โม จะ อะยัง นิทสั สิโต.
เปตานะ ปูชา จะ กะตา อุฬารา.
ญาติธรรม๓ นีน้ นั้ ทานไดแสดงใหปรากฏแลวแกญาติทงั้ หลายผลู ะโลกนีไ้ ปแลว. และบูชา
อยางยิง่ ทานก็ไดทำแลวแกญาติทงั้ หลายผลู ะโลกนีไ้ ปแลว.
พะลัญจะ ภิกขูนะมะนุปปะทินนัง.
ตุมเหหิ ปุญญัง ปะสุตงั อะนัปปะกันติ.
กำลังแหงภิกษุทงั้ หลาย ชือ่ วาทานไดเพิม่ ใหแลวดวย. บุญไมนอ ย ทานไดขวนขวายแลว.


ทักษิณาทาน คือ ของทำบุญ

ทักษิณานุปทาน คือ การทำบุญอุทศิ ผลแกผตู าย

ญาติธรรม คือ ธรรมทีพ่ งึ ปฏิบตั ติ อ ญาติ
94 ทำวั ต ร-สวดมนต

อานุภาพพระปริตร
ในคัมภีรอรรถกถา มีปรากฏเรื่องที่อานุภาพพระปริตรคุมครองผูสวด อาทิเชน
เมื่อครั้งพระโพธิสัตวเสวยพระชาติเปนนกยูงทอง พระองคทรงหมั่นสาธยาย “โมรปริตร”
ทีก่ ลาวถึงคุณของพระพุทธเจา จึงทำใหแคลวคลาดจากบวงทีน่ ายพรานดักไว (ชา. อฏ. ๒/๓๕)
และในสมัยพุทธกาล มีภกิ ษุ ๕๐๐ รูป ไปเจริญภาวนาในปา ไดถกู เทวดารบกวน จนกระทัง่
ปฏิบตั ธิ รรมไมได ตองเดินทางกลับเมืองสาวัตถี ในขณะนัน้ พระพุทธเจาไดตรัสสอน “เมตตปริตร”
ทีก่ ลาวถึงการเจริญเมตตา ครัน้ ภิกษุเหลานัน้ หมัน่ เจริญเมตตาภาวนา เทวดาก็มไี มตรีจติ ตอบสนอง
ชวยพิทกั ษคมุ ครอง ไมรบกวนเหมือนกอน (สุตตฺ นิ. อฏ. ๑/๒๒๑, ขุททฺ ก. อฏ. ๒๒๕)
อานุภาพพระปริตรยังสามารถคมุ ครองผฟู ง ไดอกี ดวย ดังมีปรากฏในอรรถกถาวา ในสมัย
พุทธกาล เมื่อเมืองเวสาลีประสบภัย ๓ อยาง คือ ขาวยากหมากแพง อมนุษย และโรคระบาด
พระพุทธเจาไดรับนิมนตเสด็จไปโปรด พระองคทรงรับสั่งใหพระอานนทสวด “รตนปริตร” ที่
กลาวถึงคุณของพระรัตนตรัย ภัยดังกลาวในเมืองนัน้ ไดสงบลง (ขุททฺ ก. อฏ. ๑๔๑-๑๔๔)
และในสมัยพุทธกาล มีเด็กคนหนึ่งจะถูกยักษจับกินภายใน ๗ วัน เมื่อพระพุทธเจาทรง
แนะนำใหภิกษุสวดพระปริตรตลอด ๗ คืน และพระองคไดเสด็จไปสวดพระปริตรในคืนที่ ๘
ทำใหเด็กนั้นรอดพนจากการถูกยักษจับกิน มีอายุยืน ๑๒๐ ป บิดามารดาของเขาจึงตั้งชื่อวา
อายุวฑั ฒนกุมาร คือ เด็กผมู อี ายุยนื เพราะรอดพนจากอันตราย ดังกลาว (ธ.อ. ๔/๑๑๓-๑๑๖)

อานิสงสพระปริตร
โบราณาจารยไดรวบรวมอานิสงสของพระปริตร ดังนี้ คือ
๑. กรณียเมตตปริตร ทำใหหลับเปนสุข ตื่นเปนสุข ไมฝนราย เปนที่รักของมนุษย
ทัง้ หลาย เปนทีร่ กั ของอมนุษยทงั้ หลาย เทพพิทกั ษรกั ษา ไมมภี ยันตราย จิตเกิดสมาธิงา ย ใบหนา
ผองใส มีสริ มิ งคล ไมหลงสติในเวลาเสียชีวติ และเกิดเปนพรหมเมือ่ บรรลุเมตตาฌาน
๒. ขันธปริตร ปองกันภัยจากอสรพิษและสัตวรายอื่นๆ
๓. โมรปริตร ปองกันภัยจากผูคิดราย
๔. อาฏานาฏิยปริตร ปองกันภัยจากอมนุษย มีสขุ ภาพดี และมีความสุข
๕. โพชฌังคปริตร ทำใหมสี ขุ ภาพดี มีอายุยนื และพนจากอุปสรรคทัง้ ปวง
๖. ชยปริตร ทำใหประสบชัยชนะ และมีความสุขสวัสดี
๗. รตนปริตร ทำใหไดรบั ความสวัสดี และพนจากอุปสรรคอันตราย
ตำนานพระปริตร 95
๘. วัฏฏกปริตร ทำใหพนจากอัคคีภัย
๙. มังคลปริตร ทำใหเกิดสิรมิ งคล และปราศจากอันตราย
๑๐. ธชัคคปริตร ทำใหพน จากอุปสรรคอันตราย และการตกจากทีส่ งู
๑๑. อังคุลมิ าลปริตร ทำใหคลอดบุตรงาย และปองกันอุปสรรคอันตราย
๑๒. อภยปริตร ทำใหพน จากภัยพิบตั ิ ไมฝน ราย.

จำนวนพระปริตร
โบราณาจารยไดจำแนกพระปริตรออกเปน ๒ ประเภท คือ
๑. จุลราชปริตร (๗ ตำนาน) มี ๗ พระปริตร คือ
๑. มังคลปริตร ๕. โมรปริตร
๒. รตนปริตร ๖. ธชัคคปริตร
๓. กรณียเมตตปริตร ๗. อาฏานาฏิยปริตร
๔. ขันธปริตร
๒. มหาราชปริตร (๑๒ ตำนาน) มี ๑๒ พระปริตร คือ
๑. มังคลปริตร ๗. ธชัคคปริตร
๒. รตนปริตร ๘. อาฏานาฏิยปริตร
๓. กรณียเมตตปริตร ๙. อังคุลิมาลปริตร
๔. ขันธปริตร ๑๐. โพชฌังคปริตร
๕. โมรปริตร ๑๑. อภยปริตร
๖. วัฏฏกปริตร ๑๒. ชยปริตร

ตำนานพระปริตร
มังคลปริตร
มังคลปริตร คือ ปริตรทีก่ ลาวถึงมงคล ๓๘ ประการ
มีประวัติวา กอนที่พระพุทธเจาจะตรัสมงคลนี้ ไดเกิดปญหาถกเถียงกันในโลกมนุษยวา
อะไรเปนมงคล บางคนกลาววาการเห็นรูปทีด่ เี ปนมงคล บางคนกลาววาไดยนิ เสียงทีด่ เี ปนมงคล
บางคนกลาววา กลิน่ รส สัมผัส ทีด่ เี ปนมงคล ตางฝายก็ยนื ยันความเห็นของตน แตไมสามารถ
* จากหนังสือพระปริตรธรรม วัดทามะโอ จ.ลำปาง แปลโดย พระคันธสาราภิวงศ, ฉบับพิมพครัง้ ที่ ๑ จำนวน ๓,๐๐๐ เลม
พ.ศ.๒๕๔๐; จิตวัฒนาการพิมพ อ.เมือง จ.ลำปาง
96 ทำวั ต ร-สวดมนต

อธิบายใหฝายอื่นยอมรับได ปญหานี้ไดแพรไปถึงเทวโลกและพรหมโลก จนเทวดาและพรหมได


แบงแยกเปน ๓ ฝาย เหมือนมนุษย และยังดำรงอยนู าน ๑๒ ป ตอมาในปที่ ๑๒ เหลาเทวดาชัน้
ดาวดึงสไดทลู ถามปญหานีก้ บั พระอินทร ทาวเธอจึงทรงมอบหมายใหเทพบุตรตนหนึง่ ทูลถามปญหา
นีก้ บั พระพุทธเจาแลวเสด็จมาเฝา พรอมกับเหลาเทวดาเพือ่ สดับมงคล
ฉะนัน้ พระพุทธองคจงึ ตรัสพระปริตรนีต้ ามคำอาราธนาของเทพบุตรนัน้ (ขุททฺ ก.อฏ.๑๐๒-๑๐๖).
รตนปริตร
รตนปริตร คือ ปริตรที่กลาวถึงคุณของพระรัตนตรัย แลวอางคุณนั้นมาพิทักษคุมครอง
ใหมีความสวัสดี
มีประวัติวา ในสมัยหนึ่งเมืองเวสาลีเกิดฝนแลงขาดแคลนอาหาร มีคนอดอยากลมตาย
มากมาย ซากศพถูกโยนทิง้ นอกเมือง พวกมนุษยไดกลิน่ ศพก็พากันเขามาในเมือง ทำอันตราย
คนตายมากขึน้ และยังเกิดอหิวาตกโรคระบาดอีกดวย ทำใหเมืองเวสาลีประสบภัย ๓ อยาง ไดแก
ทุพภิกขภัย คือขาวยากหมากแพง อมนุสสภัย คือภัยจากอมนุษย โรคภัย คือภัยจากโรคระบาด
ในขณะนัน้ ชาวเมืองดำริวา เมืองนีไ้ มเคยเกิดภัยพิบตั เิ ชนนีถ้ งึ ๗ รัชสมัย จึงกราบทูลเจา
ผูครองนครวา ภัยเกิดจากการที่พระองคไมทรงธรรมหรือ? เจาผูครองนครไดรับสั่งใหชาวเมือง
ประชุมกันพิจารณาโทษของพระองค แตชาวเมืองไมสามารถพิจารณาโทษได ทัง้ หมดจึงปรึกษา
กันวาควรจะนิมนตพระศาสดาองคหนึ่งมาดับทุกขภัยนี้ บางคนกลาววาควรนิมนตเดียรถีย
บางคนกลาววาควรนิมนตพระพุทธเจา ในทีส่ ดุ ทุกฝายมีความเห็นตรงกันวา ควรนิมนตพระพุทธเจา
ใหเสด็จมาโปรด จึงสงเจาลิจฉวีสองพระองคเปนผทู ลู นิมนต
เมือ่ พระพุทธองคเสด็จถึงเมืองเวสาลี พระอินทรพรอมดวยเทพบริวารเปนอันมาก ไดมา
เฝาในสถานที่นั้น ทำใหพวกอมนุษยตองหลบหนีออกจากเมือง จากนั้นพระพุทธองคทรงสอน
พระปริตรนี้แกพระอานนท และรับสั่งใหทานสาธยายรอบเมืองที่มีกำแพงสามชั้นตลอดสามยาม
พวกอมนุษยทยี่ งั เหลืออยไู ดหลบหนีไปหมด เพราะกลัวอานุภาพพระปริตร ครัน้ อมนุษยหนีไปและ
โรคระบาดระงับลงแลว ชาวเมืองไดมาประชุมกันทีศ่ าลากลางเมือง แลวนิมนตพระพุทธองคเสด็จ
ในเวลานัน้ พระพุทธองคไดตรัสรัตนปริตรนีแ้ กพทุ ธบริษทั ทีม่ าประชุมกันในทีน่ นั้ (ขุททฺ ก. อฏ ๑๔๑-๑๔๔)

กรณียเมตตปริตร
กรณียเมตตสูตร คือ ปริตรทีก่ ลาวถึงการเจริญเมตตา
มีประวัตวิ า สมัยหนึง่ เมือ่ พระพุทธเจาประทับอยทู วี่ ดั พระเชตวัน กรุงสาวัตถี มีภกิ ษุ ๕๐๐ รูป
เรียนกัมมัฏฐานจากพระพุทธองคแลว เดินทางไปแสวงหาสถานทีเ่ พือ่ ปฏิบตั ธิ รรม พวกทานไดมา
ถึงไพรสณฑแหงหนึ่ง ปรึกษากันวาสถานที่นี้เหมาะสมแกการเจริญสมณธรรม จึงตกลงใจอยู
ตำนานพระปริตร 97
จำพรรษาในที่นั้น ชาวบานก็มีจิตศรัทธาสรางกุฏิถวายใหพำนักรูปละหลัง และอุปฏฐากดวย
ปจจัย ๔ มิใหขาดแคลน
เมื่อฝนตก พวกทานจะเจริญกัมมัฏฐานที่กุฏิ ครั้นฝนไมตกก็จะมาปฏิบัติธรรมที่โคนตนไม
รุกขเทวดาที่สิงสถิตอยูที่ตนไม ไมสามารถอยูในวิมานได เพราะผูทรงศีลมาอยูใตวิมานของตน
จึงตองพาบุตรธิดาลงมาอยบู นพืน้ เบือ้ งแรกเทวดาคิดวาพวกภิกษุคงจะอยชู วั่ คราว ก็ทนรอดูอยู
แตเมือ่ รวู า มาจำพรรษาตลอด ๓ เดือน จึงไมพอใจ คิดจะขับไลใหกลับไปในระหวางพรรษา ฉะนัน้
จึงพยายามหลอกหลอนดวยวิธตี า งๆ เชน สำแดงรูปรางทีน่ า กลัว รองเสียงโหยหวน ทำใหไดรบั
กลิน่ เหม็นตางๆ
พวกภิกษุไดหวาดหวัน่ ตกใจตออารมณทนี่ า กลัวเหลานัน้ ไมสามารถปฏิบตั ธิ รรมโดยสะดวก
ได จึงปรึกษากันวาไมควรจะอยใู นสถานทีน่ ตี้ อ ไป ควรจะกลับไปจำพรรษาในสถานทีอ่ นื่ จากนัน้ จึง
รีบเดินทางกลับโดยไมบอกลาชาวบาน เมือ่ มาถึงวัดพระเชตวัน ไดเขาเฝาพระพุทธเจาแลวกราบทูล
เรือ่ งนี้ แตพระพุทธองคกท็ รงเล็งเห็นวาสถานทีเ่ ดิมเหมาะสมกับภิกษุเหลานีม้ ากกวาทีอ่ นื่ จึงทรง
แนะนำใหพวกทานกลับไปสถานทีน่ นั้ พรอมกับตรัสสอนเมตตปริตรเพือ่ เจริญเมตตาแกรกุ ขเทวดา
เมือ่ พวกภิกษุไดเรียนเมตตปริตรจากพระพุทธเจาแลว จึงเดินทางกลับไปสถานทีเ่ ดิม กอน
จะเขาสรู าวปา พวกทานไดเจริญเมตตาโดยสาธยายพระปริตรนี้ อานุภาพแหงเมตตาทำใหรกุ ขเทวดา
มีจิตออนโยน มีไมตรีจิต จึงไมเบียดเบียนเหมือนกอน ทั้งยังชวยปรนนิบัติและคุมครองภัยอื่นๆ
อีกดวย ภิกษุเหลานัน้ ไดพากเพียรเจริญเมตตาภาวนา แลวเจริญวิปส สนาภาวนา โดยใชเมตตา
เปนบาทแหงวิปส สนา ทุกรูปไดบรรลุอรหัตตผลภายในพรรษานัน้ (สุตตฺ นิ.อฏ. ๑/๒๒๑, ขุททฺ ก. อฏ. ๒๒๕)
ขันธปริตร
ขันธปริตร คือ พระปริตรทีก่ ลาวถึงการเจริญเมตตาแกพญางูทงั้ ๔ ตระกูล และแกสรรพสัตว
มีประวัตวิ า เมือ่ พระพุทธเจาทรงประทับอยทู วี่ ดั พระเชตวัน กรุงสาวัตถี มีภกิ ษุรปู หนึง่ ถูก
งูกดั เหลาภิกษุไดกราบทูลความนีแ้ ดพระพุทธองค พระพุทธองคตรัสวา ภิกษุนนั้ ถูกงูกดั เพราะไมได
แผเมตตาแกพญางูทงั้ ๔ ตระกูล ผแู ผเมตตาแกพญางูเหลานัน้ จะไมถกู งูกดั แลวตรัสสอนใหแผ
เมตตาแกพญางูทงั้ ๔ ตระกูล คือ งูตระกูลวิรปู ก ษ, งูตระกูลเอราบถ, งูตระกูลอัพยาบุตร และงูตระกูล
กัณหาโคตม (อํ. จตุกกฺ . ๒๑/๖๗/๘๓, วิ. จูฬ. ๗/๒๕๑/๘, ขุ. ชา. ๒๗/๑๐๕/๕๖)
ในอรรถกถาชาดก (ชา.อฏ. ๓/๑๔๔) มีประวัตดิ งั นี้ เมือ่ ภิกษุรปู หนึง่ ถูกงูกดั พระพุทธเจาตรัสวา
เราตถาคตเคยสอนขันธปริตรในขณะทีย่ งั เปนพระโพธิสตั วอยู คือเมือ่ พระพุทธองคเสวยพระชาติ
เปนฤๅษีทปี่ า หิมพานต ไดพำนักอยรู ว มกับฤๅษีเปนอันมาก ขณะนัน้ มีฤๅษีตนหนึง่ ถูกงูกดั จนเสีย
ชีวติ ทานจึงไดสอนขันธปริตรแกพวกฤๅษีเพือ่ ปองกันภัยจากอสรพิษ.
98 ทำวั ต ร-สวดมนต

โมรปริตร
โมรปริตร คือ ปริตรของนกยูง เปนพระปริตรที่กลาวถึงคุณของพระพุทธเจา แลวนอม
พระพุทธคุณมาพิทกั ษคมุ ครองใหมคี วามสวัสดี
มีประวัตวิ า สมัยหนึง่ ครัน้ พระโพธิสตั วเสวยพระชาติเปนนกยูงทอง อาศัยอยบู นเขาทัณฑก-
หิรญั บรรพตในปาหิมพานต พระโพธิสตั วจะเพงดูพระอาทิตยในเวลาพระอาทิตยอทุ ยั แลวรายมนต
สาธยาย ๒ คาถาแรกวา “อุเทตะยัญจักขุมา เอกะราชา” เปนตน แลวจึงออกแสวงหาอาหาร
ครั้นกลับจากการแสวงหาอาหารในเวลาพระอาทิตยอัสดง ก็เพงดูพระอาทิตย พรอมกับรายมนต
สาธยาย ๒ คาถาหลังวา “อะเปตะยัญจักขุมา” เปนตน นกยูงทองจึงแคลวคลาดจากอันตราย
ทุกอยางดวยมนตบทนี้
วันหนึง่ พรานปาจากหมบู า นใกลเมืองพาราณสี ไดพบนกยูงทองโดยบังเอิญ จึงบอกความนัน้
แกบตุ รของตน ขณะนัน้ พระนางเขมาเทวีมเหสีพระเจาพาราณสีทรงพระสุบนิ วา พระนางเห็นนกยูง
ทองแสดงธรรมอยู จึงกราบทูลพระสวามีวา ทรงประสงคจะฟงธรรมของนกยูงทอง ทาวเธอจึง
รับสัง่ ใหพรานปาสืบหา พรานปาทีเ่ คยไดยนิ คำบอกเลาของบิดาไดมากราบทูลวา นกยูงทองมีอยู
จริงทีท่ ณ
ั ฑกหิรญ ั บรรพต ทาวเธอจึงทรงมอบหมายใหเขาจับนกยูงทองมาถวาย
พรานปาคนนั้นไดเดินทางไปปาหิมพานต แลววางบวงดักนกยูงทองไวทุกแหงในที่แสวงหา
อาหาร แมเวลาผานไปถึง ๗ ป เขาก็ยงั จับไมได เพราะนกยูงทองแคลวคลาดบาง บวงไมแลน
บาง จนในทีส่ ดุ ตองเสียชีวติ อยใู นปานัน้ ฝายพระนางเขมาเทวีกท็ รงประชวรสิน้ พระชนม เพราะ
เสียพระทัยไมสมพระประสงค พระเจาพาราณสีจงึ ทรงพิโรธ ไดรบั สัง่ ใหจารึกอักษรลงในแผน
ทองวา ผกู นิ เนือ้ นกยูงทองทีเ่ ขาทัณฑกหิรญ ั บรรพต จะไมแก ไมตาย หลังจากนัน้ ไมนาน พระองค
ก็สนิ้ พระชนม พระราชาองคอนื่ ทีค่ รองราชยสบื ตอมาไดพบขอความนัน้ จึงสงพรานปาไปจับนกยูง
ทองแตไมมใี ครสามารถจับได กาลเวลาไดลว งเลยไปจนเปลีย่ นพระราชาถึง ๖ พระองค
ครั้นถึงสมัยพระราชาองคที่ ๗ พระองคก็รับสั่งใหพรานปาไปจับอีก พรานคนนี้ฉลาด
หลักแหลม สังเกตการณอยหู ลายวันก็รวู า นกยูงไมตดิ บวง เพราะมีมนตขลัง กอนออกหาอาหาร
จะทำพิธีรายมนตกอนแลวออกไป จึงไมมีใครสามารถจับได เขาคิดวาจะตองจับนกยูงกอนที่จะ
รายมนต จึงไดจบั นางนกยูงตัวหนึง่ มาเลีย้ งใหเชือ่ ง แลวนำไปปลอยไวทเี่ ชิงเขาโดยดักบวงอยใู กลๆ
จากนัน้ ไดทำสัญญาณใหนางนกยูงรำแพนสงเสียงรอง พระโพธิสตั วเมือ่ ไดยนิ เสียงนางนกยูงก็ลมื
สาธยายมนตคมุ ครองตน เผลอตัวบินไปหานางนกยูงโดยเร็ว จึงติดบวงทีด่ กั ไว ครัน้ แลวพราน
ปาไดนำพระโพธิสตั วไปถวายพระเจาพาราณสี
เมือ่ นกยูงทองพระโพธิสตั วเขาเฝาพระเจาพาราณสีแลว ไดทลู ถามวา “เพราะเหตุไร พระองค
จึงจับหมอมฉันมา” ทาวเธอตรัสวา “เพราะมีแผนจารึกวา ผกู นิ เนือ้ นกยูงทองจะไมแก ไมตาย”
ตำนานพระปริตร 99
พระโพธิสัตวทูลวา “ผูกินเนื้อหมอมฉันจะไมตาย แตหมอมฉันจะตองตายมิใชหรือ” ทาวเธอตรัส
วา “ถูกแลว เจาจะตองตาย” พระโพธิสตั วทลู วา “เมือ่ หมอมฉันจะตองตาย แลวผกู นิ เนือ้ หมอม
ฉันจะไมตายไดอยางไร” ทาวเธอตรัสวา “เพราะเจามีขนสีทอง จึงทำใหผูกินเนื้อเจาไมตาย”
พระโพธิสัตวทูลวา “หมอมฉันมีขนสีทองก็เพราะภพกอนเคยเกิดเปนพระเจาจักรพรรดิในพระนคร
พาราณสีนี้ ไดรกั ษาเบญจศีลเปนนิตย และชักชวนใหราษฎรรักษา” จากนัน้ พระโพธิสตั วไดทลู
เรือ่ งทีเ่ คยฝงรถทีป่ ระทับของพระเจาจักรพรรดิไวทสี่ ระมงคลโบกขรณี พระเจาพาราณสีไดรบั สัง่
ใหไขน้ำออกจากสระแลวกรู ถขึน้ มา จึงทรงเชือ่ คำของพระโพธิสตั ว หลังจากนัน้ พระโพธิสตั วไดถวาย
โอวาทพระราชาใหดำรงอยใู นความไมประมาท แลวกลับไปยังปาหิมพานตตามเดิม (ชา.อฏ. ๒/๓๕)
วัฏฏกปริตร
วัฏฏกปริตร คือ ปริตรของนกคมุ เปนพระปริตรทีก่ ลาวถึงสัจจวาจาของพระพุทธเจาทีเ่ คย
กระทำเมือ่ ครัง้ เสวยพระชาติเปนนกคมุ แลวอางสัจจวาจานัน้ มาพิทกั ษคมุ ครองใหพน จากอัคคีภยั
มีประวัตปิ รากฏอยู ๒ แหง คือ ชาดก และจริยาปฎก
ในคัมภีรช าดก (ขุ. ชา. ๒๗/๓๕/๙) มีปรากฏเพียงคาถาเดียว คือ คาถาที่ ๓
สวนคัมภีรจริยาปฎก (ขุ. จริยา. ๓๓/๗๒-๘๒/๖๒๐-๖๒๑) มีปรากฏ ๑๑ คาถา พระปริตร
ทีน่ ยิ มสวดอยใู นปจจุบนั มีทงั้ หมด ๔ คาถา เพราะโบราณาจารยไดคดั มาสวดเฉพาะ ๔ คาถาหลัง
โดยเวน ๗ คาถาแรก เนือ่ งจาก ๔ คาถาเหลานัน้ แสดงสัจจวาจาของพระโพธิสตั ว สวน ๗ คาถา
แรกแสดงประวัติความเปนมา
ในจริยาปฏกแสดงวา พระพุทธเจาไดตรัสพระปริตรนี้แกพระสารีบุตร เพื่อแสดงบารมีที่
พระองคเคยสัง่ สมในภพกอนๆ สวนในอรรถกถาชาดก (ชา. อฏ. ๑/๒๙๑) มีประวัตวิ า สมัยหนึง่
พระพุทธเจารวมกับพระภิกษุสงฆเสด็จจาริกอยูในแควนมคธ ทรงพบไฟปาโดยบังเอิญ เมื่อไฟปา
ลุกลามลอมมาถึงสถานที่ ๑๖ กรีสะ คือ พืน้ ทีห่ วานเมล็ดพืชได ๗๐๔ ทะนาน ไดดบั ลงทันทีเหมือน
ไฟถูกน้ำดับไป พระพุทธเจาตรัสวา ไฟปานีม้ ใิ ชดบั ลงดวยอานุภาพของตถาคตในภพนี้ แตดบั ลง
ดวยอานุภาพสัจจวาจาทีเ่ ราเคยกระทำในชาติทเี่ กิดเปนนกคมุ สถานทีน่ จี้ ะเปนสถานทีไ่ มมไี ฟไหม
ตลอดกัป แลวตรัสพระปริตรนีแ้ กภกิ ษุเหลานัน้ .
ธชัคคปริตร
ธชัคคปริตร คือ ปริตรยอดธง เปนพระปริตรที่กลาวถึงเรื่องที่เทวดาชั้นดาวดึงสแหงนดู
ยอดธงของพระอินทร ฯลฯ ในสงครามระหวางเทวดาและอสูร และแนะนำใหภกิ ษุระลึกถึงคุณ
ของพระพุทธเจา พระธรรม และพระสงฆ ในเวลาเกิดความสะดงุ กลัว เมือ่ อยใู นปา โคนไม หรือ
เรือนวาง (สํ. ส. ๑๕/๒๔๙/๒๖๓)
100ทำวัตร-สวดมนต
พระอรรถกถาจารยไดกลาววา พระปริตรนีส้ ามารถคมุ ครองผทู ตี่ กจากทีส่ งู ได และเลา
เรือ่ งทีเ่ กิดในประเทศศรีลงั กาวา เมือ่ พระภิกษุชว ยกันโบกปูนพระเจดียช อื่ ทีฆวาป มีพระภิกษุรปู หนึง่
ไดพลัดตกลงจากเจดีย พระทีย่ นื อยขู า งลางไดรบี บอกวา “ทานจงระลึกธชัคคปริตรเถิด” พระที่
พลัดตกนัน้ ไดกลาววา “ขอธชัคคปริตรจงคมุ ครองขาพเจา” ขณะนัน้ อิฐสองกอนในพระเจดียไ ด
ยืน่ ออกมารองรับเทาของทาน เมือ่ พระรูปอืน่ พากันนำบันไดมารับลงไปแลว อิฐดังกลาวไดเคลือ่ น
กลับไปสถานทีเ่ ดิม (สํ. อฏ. ๑/๓๒๔-๓๒๕).
อาฏานาฏิยปริตร
อาฏานาฏิยปริตร คือ ปริตรของทาวกุเวรผคู รองนครอาฏานาฏา เพราะเปนพระปริตร
ทีท่ า วกุเวรไดนำมากราบทูลพระพุทธเจา พระปริตรนีก้ ลาวถึงพระนามของพระพุทธเจา ๗ พระองค
และคุณของพระพุทธเจาเหลานั้น รวมทั้งอางอานุภาพพระพุทธเจาและเทวานุภาพมาพิทักษ
ใหมีความสวัสดี
มี ป ระวั ติ ว า สมั ย หนึ่ ง พระพุ ท ธเจ า ประทั บ อยู ที่ ภู เ ขาคิ ช ฌกู ฏ แขวงกรุ ง ราชคฤห
ทาวจตุมหาราชทัง้ ๔ คือ ทาวธตรฐ, ทาววิรฬุ หก, ทาววิรปู ก ษ, และทาวกุเวร ไดมาเฝาพระพุทธเจา
ในมัชฌิมยามแหงราตรี ขณะนัน้ ทาวกุเวรไดกราบทูลวา อมนุษยบางพวกเลือ่ มใสพระองค บางพวก
ไมเลือ่ มใส สวนใหญมกั ไมเลือ่ มใส เพราะพระองคตรัสสอนใหละเวนจากอกุศลกรรม มีปาณาติปาต
เปนตน แตพวกเขาไมสามารถจะเวนได จึงไมพอใจคำสอนที่ขัดแยงกับความประพฤติของตน
เมื่อภิกษุไปปฏิบัติธรรมในปาเปลี่ยว อมนุษยเหลานั้นอาจจะรบกวนได จึงขอใหพระองคทรงรับ
เอาเครือ่ งคมุ ครอง คือ อาฏานาฏิยปริตรไว แลวประทานแกพทุ ธบริษทั เพือ่ สาธยายคมุ ครองตน
และเพื่อใหอมนุษยเกิดความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา จากนั้น ทาวกุเวรไดกราบทูลคาถา
เปนตนวา “วิปส สิสสะ นะมัตถุ” เมือ่ ทาวมหาราชเหลานัน้ เสด็จกลับมา พระพุทธเจาจึงนำมาตรัส
แกพุทธบริษัทในภายหลัง.
อังคุลิมาลปริตร
อังคุลมิ าลปริตร คือ พระปริตรของพระองคุลมิ าล
มีประวัตวิ า วันหนึง่ เมือ่ องคุลมิ าลออกบิณฑบาตอยู ทานไดพบหญิงคนหนึง่ คลอดบุตรไม
ได จึงเกิดความสงสาร ไดกลับมาวัดเพือ่ เขาเฝาพระพุทธเจา แลวกราบทูลเรือ่ งนี้ พระพุทธเจาได
ตรัสสอนพระปริตรนีแ้ กองคุลมิ าล ทานไดกลับไปสาธยายแกหญิงนัน้ เมือ่ นางไดฟง พระปริตรนี้
ก็คลอดบุตรไดโดยสะดวก ทัง้ มารดาและบุตรไดรบั ความสวัสดี
อนึง่ ตัง่ ทีพ่ ระองคุลมิ าลนัง่ สวดพระปริตรนี้ ไดกลายเปนตัง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ถามีหญิงคลอดบุตร
ยาก มานั่งตั่งนี้ไมได ก็นำน้ำลางตั่งไปรดศีรษะ ทำใหคลอดบุตรงาย เปรียบดังน้ำไหลออกจาก
ตำนานพระปริตร 101

ธมกรก (กระบอกกรองน้ำของพระภิกษุ) แมกระทัง่ สัตวทตี่ กลูกยาก เมือ่ นำมานัง่ ทีต่ งั่ นีก้ จ็ ะตกลูก
งาย นอกจากการคลอดบุตรแลว ตัง่ นีย้ งั สามารถรักษาโรคอืน่ ๆ ไดอกี ดวย (ม. อฏ. ๒/๒๔๕).
โพชฌังคปริตร
โพชฌังคปริตร คือ พระปริตรกลาวถึงโพชฌงค คือ องคแหงการรแู จง แลวอางสัจจวาจานัน้
มาพิทักษคุมครองใหมีความสวัสดี
มีประวัตวิ า สมัยหนึง่ พระพุทธเจาประทับอยทู วี่ ดั เวฬุวนั กรุงราชคฤห พระมหากัสสปเถระ
ไดอาพาธหนักทีถ่ ้ำปปผลิคหุ า พระพุทธเจาไดเสด็จเยีย่ มและทรงแสดงโพชฌงค ๗ เมือ่ พระเถระ
ไดสดับโพชฌงคเหลานี้ ไดเกิดปตวิ า โพชฌงค ๗ เคยปรากฏแกเราในขณะรแู จงสัจจธรรม หลังออก
บวชแลว ๗ วัน คำสอนของพระพุทธเจาเปนทางพนทุกขโดยแท ครัน้ ดำริเชนนี้ พระเถระไดเกิด
ปตอิ มิ่ เอิบใจ ทำใหเลือดในกายและรูปธรรมอืน่ ๆ ผองใส โรคของพระเถระจึงอันตรธานไปเหมือน
หยาดน้ำกลิ้งลงจากใบบัว
นอกจากนัน้ พระพุทธเจายังตรัสโพชฌงค ๗ แกพระมหาโมคคัลลานเถระผอู าพาธทีภ่ เู ขา
คิชฌกูฏอีกดวย ครัน้ พระเถระสดับโพชฌงคนแี้ ลวก็หายจากอาพาธนัน้ ทันที
อนึง่ เมือ่ พระพุทธเจาประทับอยทู วี่ ดั เวฬุวนั นัน้ ทรงพระประชวรหนัก จึงรับสัง่ ใหพระจุนทเถระ
สาธยายโพชฌงค ๗ ครัน้ ทรงสดับแลว พระองคทรงหายจากพระประชวรนัน้ (สํ.มหา. ๑๙/๑๙๕-๑๙๗/๗๑
-๗๔).

อภยปริตร
อภยปริตร คือปริตรไมมภี ยั เปนปริตรทีโ่ บราณาจารยประพันธขนึ้ โดยอางคุณพระรัตนตรัย
มาพิทกั ษคมุ ครองใหมคี วามสวัสดี พระปริตรนีม้ ปี รากฏใน ๗ ตำนาน และ ๑๒ ตำนาน ของไทย
และยังแพรหลายไปถึงประเทศสหภาพพมาและศรีลังกาอีกดวย.

ชยปริตร
ชยปริตร คือ พระปริตรทีก่ ลาวถึงชัยชนะของพระพุทธเจา แลวอางสัจจวาจานัน้ มาพิทกั ษ
คมุ ครองใหมคี วามสวัสดี คาถาที่ ๑-๓ แสดงชัยชนะของพระพุทธเจา เปนคาถาทีโ่ บราณาจารย
ประพันธขนึ้ ภายหลัง สวนคาถาที่ ๔-๖ เปนพระพุทธพจนทนี่ ำมาจากอังคุตตรนิกาย ปุพพัณหสูตร
(อํ. ๒๐/๑๕๖ - ๒๘๗).
102 ทำวัตร-สวดมนต

อาณากฺเขตฺตํ โกฏิสตสหสฺสจกฺกวาฬปริยนฺตํ โหติ,


ยตฺถ รตนปริตตฺ ํ เมตฺตปริตตฺ ํ ขนฺธปริตตฺ ํ ธชคฺคปริตตฺ ํ
อาฏานาฏิยปริตตฺ ํ โมรปริตตฺ นฺติ อิเมสํ ปริตตฺ านํ อานุภาโว
ปวตฺตติ.
(วินย. อ. ๑/๑๕๘.)

สถานที่ อานุภาพแหงพระปริตรเหลานี้ คือ รตนปริตร


เมตตาปริ ต ร ขั น ธปริ ต ร ธชั ค คปริ ต ร อาฏานาฏิ ย ปริ ต ร
โมรปริตร เปนไป ชื่อวา อาณาเขต ซึ่งมีแสนโกฏิจักรวาล
เปนทีส่ ดุ .
ภาคผนวก 103

ภาคผนวก
104 ทำวัตร-สวดมนต

อาราธนาศีล ๕
มะยัง ภันเต วิสงุ วิสงุ รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ.
ทุตยิ มั ป มะยัง ภันเต วิสงุ วิสงุ รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ.
ตะติยมั ป มะยัง ภันเต วิสงุ วิสงุ รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ.
ขาแตทานผูเจริญ ขาพเจา (ทั้งหลาย) ขอศีล ๕ พรอมทั้งไตรสรณาคมน เพื่อรักษา
[ศีลแตละขอ] แยกกัน.
ขาแตทานผูเจริญ แมครั้งที่ ๒ ขาพเจา (ทั้งหลาย) ขอศีล ๕ พรอมทั้งไตรสรณาคมน
เพือ่ รักษา [ศีลแตละขอ] แยกกัน.
ขาแตทานผูเจริญ แมครั้งที่ ๓ ขาพเจา (ทั้งหลาย) ขอศีล ๕ พรอมทั้งไตรสรณาคมน
เพือ่ รักษา [ศีลแตละขอ] แยกกัน.

อาราธนาศีล ๘
มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐะ สีลานิ ยาจามะ.
ทุตยิ มั ป มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐะ สีลานิ ยาจามะ.
ตะติยมั ป มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐะ สีลานิ ยาจามะ.
ขาแตทา นผเู จริญ ขาพเจา (ทัง้ หลาย) ขอศีล ๘ พรอมทัง้ ไตรสรณาคมน.
ขาแตทา นผเู จริญ แมครัง้ ที่ ๒ ขาพเจา (ทัง้ หลาย) ขอศีล ๘ พรอมทัง้ ไตรสรณาคมน.
ขาแตทา นผเู จริญ แมครัง้ ที่ ๓ ขาพเจา (ทัง้ หลาย) ขอศีล ๘ พรอมทัง้ ไตรสรณาคมน.
หมายเหตุ: ถาวาคนเดียว เปลีย่ นคำ “มะยัง” เปน “อะหัง” และเปลีย่ น “ยาจามะ” เปน “ยาจามิ”.

ไตรสรณาคมน
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ ครัง้ )
ขอนอบนอมแดพระผมู พี ระภาคเจาพระองคนนั้ ซึง่ เปนผไู กลจากกิเลส ตรัสรชู อบดวยพระองคเอง.
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ.
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ.
ขาพเจาขอถึงพระพุทธเจา-พระธรรม-พระสงฆ วาเปนทีพ่ งึ่ ทีร่ ะลึก.
ภาคผนวก 105
ทุติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
ทุตยิ มั ป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ.
ทุตยิ มั ป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ.
แมครัง้ ที่ ๒ ขาพเจาขอถึงพระพุทธเจา-พระธรรม-พระสงฆ วาเปนทีพ่ งึ่ ทีร่ ะลึก.
ตะติยมั ป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
ตะติยมั ป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยมั ป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
แมครัง้ ที่ ๓ ขาพเจาขอถึงพระพุทธเจา-พระธรรม-พระสงฆ วาเปนทีพ่ งึ่ ทีร่ ะลึก.
เมือ่ พระภิกษุกลาววา “ติสรณคมนัง นิฏฐิตงั ” (ไตรสรณาคมนจบแลว) ผสู มาทานรับวา
“อามะ ภันเต” (ครับ/คะ ทานผเู จริญ).

คำสมาทานสิกขาบท๑ ๕ (ศีล ๕)
๑) ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.
ขาพเจาขอสมาทานสิกขาบท คือเวนจากการฆาสัตวมชี วี ติ .
๒) อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.
ขาพเจาขอสมาทานสิกขาบท คือเวนจากการถือเอาสิง่ ของทีเ่ ขามิไดให.
๓) กาเมสุมจิ ฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.
ขาพเจาขอสมาทานสิกขาบท คือเวนจากการประพฤติผดิ ในกามทัง้ หลาย.
๔) มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.
ขาพเจาขอสมาทานสิกขาบท คือเวนจากการพูดเท็จ.
๕) สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.
ขาพเจาขอสมาทานสิกขาบท คือเวนจาก (การดืม่ ) น้ำเมา คือ สุราและเมรัย
อันเปนที่ตั้งแหงความประมาท.
ทานจะแสดงสรุปอานิสงสของสิกขาบทคือศีลเหลานี้วา
อิมานิ ปญจะ สิกขาปะทานิ. เหลานีแ้ หละคือสิกขาบท (ศีล) ๕.
สีเลนะ สุคะติง ยันติ. (รับวา สาธุ) สัตวโลกจะไปสสู คุ ติ (คือโลกมนุษยและเทวโลก) ไดดว ยศีล.
สีเลนะ โภคะสัมปะทา. (รับวา สาธุ) โภคทรัพยจะเพียบพรอมบริบรู ณไดดว ยศีล.
สีเลนะ นิพพุตงิ ยันติ. (รับวา สาธุ) สัตวโลกจะบรรลุพระนิพพานอันเย็นสนิทไดดว ยศีล.
ตัสม๎ า สีลงั วิโสธะเย. เพราะฉะนัน้ บัณฑิตผมู ปี ญ
 ญาพึงรักษาศีลใหบริสทุ ธิ.์

สิกขาบท คือ ขอปฏิบตั สิ ำหรับศึกษาฝกฝนอบรมตน ใหกาย วาจา เรียบรอยดี ไมมโี ทษ (แกตนและผอู นื่ )
106 ทำวัตร-สวดมนต

คำสมาทานสิกขาบท ๘ (ศีล ๘)
๑) ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.
ขาพเจาขอสมาทานสิกขาบท คือเวนจากการฆาสัตวมชี วี ติ .
๒) อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.
ขาพเจาขอสมาทานสิกขาบท คือเวนจากการถือเอาสิง่ ของทีเ่ ขามิไดให.
๓) อะพ๎รหั ม๎ ะจะริยา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.
ขาพเจาขอสมาทานสิกขาบท คือเวนจากกรรมอันเปนขาศึกแกพรหมจรรย.
๔) มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.
ขาพเจาขอสมาทานสิกขาบท คือเวนจากการพูดเท็จ.
๕) สุราเมระยะ มัชชะ ปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.
ขาพเจาขอสมาทานสิกขาบท คือเวนจาก (การดืม่ ) น้ำเมา คือ สุราและเมรัย
อันเปนที่ตั้งแหงความประมาท.
๖) วิกาละโภชะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.
ขาพเจาขอสมาทานสิกขาบท คือเวนจากการบริโภคโภชนะในเวลาวิกาล๑.
๗) นัจจะ คีตะ วาทิตะ วิสกู ะ ทัสสะนะ มาลา คันธะ วิเลปะนะ ธาระณะ มัณฑะนะ
วิภสู ะนัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.
ขาพเจาขอสมาทานสิกขาบท คือเวนจากการฟอนรำ ขับรอง ประโคมดนตรีและ
ดูการละเลน อันเปนขาศึกตอการประพฤติพรหมจรรย การลูบไล ประดับ ทัดทรง
อันเปนทีต่ งั้ แหงการแตงตัว ดวยระเบียบดอกไม ของหอม เครือ่ งยอม เครือ่ งทา.
๘) อุจจาสะยะนะ มะหาสะยะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ.
ขาพเจาขอสมาทานสิกขาบท คือ เวนจากการนัง่ หรือนอนบนทีน่ งั่ ทีน่ อนอันสูง
หรือที่นั่งที่นอนใหญ.
ทานจะแสดงสรุปอานิสงสของสิกขาบทคือศีลเหลานี้วา
อิมานิ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ สะมาทิยามิ. (วาตาม ๓ ครัง้ ) ขาพเจาขอสมาทานสิกขาบท ๘ เหลานี.้
สีเลนะ สุคะติง ยันติ. (รับวา สาธุ) สัตวโลกจะไปสสู คุ ติ (คือโลกมนุษยและเทวโลก) ไดดว ยศีล.
สีเลนะ โภคะสัมปะทา. (รับวา สาธุ) โภคทรัพยจะเพียบพรอมบริบรู ณไดดว ยศีล.
สีเลนะ นิพพุตงิ ยันติ. (รับวา สาธุ) สัตวโลกจะบรรลุพระนิพพานอันเย็นสนิทไดดว ยศีล.
ตัสม๎ า สีลงั วิโสธะเย. เพราะฉะนั้น บัณฑิตผูมีปญญาพึงรักษาศีลใหบริสุทธิ์.

วิกาล คือ เวลาตัง้ แตพระอาทิตยเทีย่ งแลว ไปจนถึงกอนอรุณวันใหม.
ภาคผนวก 107

อาราธนาพระปริตร
วิปต ติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปตติสทิ ธิยา
สัพพะทุกขะวินาสายะ ปะริตตัง พ๎รถู ะ มังคะลัง
วิปตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปตติสทิ ธิยา
สัพพะภะยะวินาสายะ ปะริตตัง พ๎รถู ะ มังคะลัง
วิปตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปตติสทิ ธิยา
สัพพะโรคะวินาสายะ ปะริตตัง พ๎รถู ะ มังคะลัง.
เพือ่ ปองกันความวิบตั ิ เพือ่ ความสำเร็จแหงสมบัตทิ งั้ ปวง เพือ่ ใหทกุ ข-ภัย-โรค ทัง้ หมด
พินาศไป ขอทานทัง้ หลายจงสวดพระปริตรอันเปนมงคล.

อาราธนาธรรม
พ๎รัห๎มา จะ โลกาธิปะตี สะหัมปะติ
กะตัญชะลี อะนะธิวะรัง อะยาจะถะ
‘สันตีธะ สัตตาปปะระชักขะชาติกา
เทเสตุ ธัมมัง อะนุกมั ปมงั ปะชัง’.
ก็ทาวสหัมบดีพรหม ผูเปนอธิบดีแหงโลก ไดประนมกรนมัสการกราบทูลวิงวอนพระผูมี
พระภาคเจา ผกู นั้ เสียซึง่ ความมืดบอด วา ‘สัตวโลกทัง้ หลายทีม่ ธี ลุ คี อื ราคาทิกเิ ลส ในปญญาจักษุ
นอยเบาบาง มีอยใู นโลกนี้ ขอพระผมู พี ระภาคเจาทรงแสดงธรรมอนุเคราะหหมสู ตั วนเี้ ถิด’.
108 ทำวัตร-สวดมนต

อานิสงสแหงศีล
ศีลนี้มีคุณคาหรือคุณสมบัติประจำตัว ถึงใครจะรักษาหรือไมรักษาก็ตาม คุณคาก็ยังอยู
ในตัวของศีลเอง หรือผรู กั ษาจะเปนใครก็ตาม คุณคานัน้ ก็จะไปอยกู บั ตัวผนู นั้ เหมือนกันหมด
เหมือนยามีสรรพคุณในการรักษาโรคประจำอยใู นตัวฉะนัน้ คุณคาหรือคุณสมบัตขิ องศีลนัน้ คือ
๑. มลวิโสธนํ เปนเครื่องชำระมลทิน
๒. ปริฬาหวูปสมนํ เปนเครื่องระงับความเรารอน
๓. สุจิคนฺธวายนํ เปนเครื่องทำใหกลิ่นสะอาดฟุงไป
๔. สคฺคนิพฺพานาธิคมุปายํ เปนวิธีใหเขาถึงสวรรคและพระนิพพาน
๕. โสภาลงฺการปสาธนํ เปนเครื่องประดับอันงดงาม
๖. ภยวิธมนํ เปนเครื่องกำจัดภัยอันตราย
๗. กิตฺติชนนํ เปนสิ่งที่ทำใหมีชื่อเสียง
๘. ปาโมชฺชํ เปนสิ่งที่ทำใหรื่นเริง
อนึง่ ผรู กั ษาศีลใหบริสทุ ธิอ์ ยเู สมอ ศีลยอมอำนวยผลใหอยางนีค้ อื
๑. โภคสมฺปทา เปนเหตุใหไดทรัพยสมบัติ ขาทาส บริวาร เปนตน
๒. กลฺยาณกิตฺตึ เปนเหตุใหมชี อื่ เสียงดีงาม
๓. สมุหวิสารทํ เปนเหตุใหเปนคนแกลวกลาอาจหาญเวลาเขาสังคม
๔. อสมฺมุฬฺหํ เปนเหตุใหมสี ติ ไมหลงในเวลาใกลตาย
๕. สุคติปรายนํ เปนเหตุใหเกิดในสุคติ
รวมความแลวผูรักษาศีลยอมจะไดรับทั้งคุณสมบัติที่มีอยูในตัวศีล เหมือนคนไขไดรับ
สรรพคุณของยาทีม่ อี ยใู นตัวยา และยอมไดรบั ผลจากการรักษาศีล เหมือนคนไขไดรบั ผลจาก
การบริโภคยาหายจากโรคภัยไขเจ็บเปนตน ฉะนัน้
อนึง่ โดยสรุป ผรู กั ษาศีลยอมไดรบั อานิสงสแหงการรักษา ๓ ประการ ซึง่ พระทานวาใหฟง
ในตอนทายใหศลี นัน้ เอง คือ
๑. สีเลน สุคตึ ยนฺติ คนจะไปสสู คุ ติภมู ไิ ด ก็เพราะศีล
๒. สีเลน โภคสมฺปทา คนจะพรัง่ พรอมดวยสมบัติ ก็เพราะศีล
๓. สีเลน นิพพฺ ตุ ึ ยนฺติ คนจะไปพระนิพพานได ก็เพราะศีล
ภาคผนวก 109
อานิสงสขอที่ ๑ ทานหมายเอาสวรรคสมบัติ คือสมบัติอันจะพึงไดรับหลังจากสิ้นชีพไป
แลวมีสมบัติทิพยอยูในหมูเทพชั้นใดชั้นหนึ่งเปนตน
อานิสงสขอที่ ๒ ทานหมายเอามนุษยสมบัติ คือสมบัติที่พึงไดรับในเวลาที่ยังมีชีวิตอยู
หรือทีจ่ ะพึงไดรบั เมือ่ กลับมาเกิดเปนมนุษยอกี เชน รูปสมบัติ ทรัพยสมบัติ บริวารสมบัติ เกียรติยศ
ชื่อเสียงเปนตน
อานิสงสขอ ที่ ๓ ทานหมายเอานิพพานสมบัติ คือสมบัตขิ นั้ สุดยอด ไมเจือดวยความสุข
หรือทุกขอกี เปนความหลุดพนแหงจิตไมตอ งมาเวียนวายตายเกิดในวัฏฏสงสารนีอ้ กี
ทัง้ นีม้ ไิ ดหมายความวา เพียงรักษาศีลอยางเดียวเทานัน้ แลวจะไดสมบัตทิ กุ ประการ ดังวา
มาก็หาไม เปนแตวา ศีลทีร่ กั ษาบริสทุ ธิด์ แี ลว เปนเบือ้ งตนเปนพืน้ ฐานแหงการทำความดีสงู ขึน้ ไป
เชน การบำเพ็ญสมาธิ การเจริญวิปสสนา เปนตน ซึ่งจะเปนเหตุใหไดรับสมบัติอันสูงสุด เชน
พระนิพพานได เพราะผมู ศี ลี ไมบริสทุ ธิห์ รือไมรกั ษาศีลเลย จะเจริญวิปส สนาทำสมาธิใหไดรบั ผลนัน้
เปนไปไมได เพราะจิตของเราจะฟงุ ซานรำคาญ ไมเปนสมาธิ ผมู ศี ลี หมดจดเทานัน้ จึงทำไดดแี ละเกิด
ผลดี ฉะนัน้ จึงวาศีลเปนพืน้ ฐานของคุณธรรมชัน้ สูงขึน้ ไปคือสมาธิ และสมาธิ เปนพืน้ ฐานของปญญา
อีกชั้นหนึ่ง เมื่อมีศีลบริสุทธิ์แลวจึงเปนเหตุใหไดมนุษยสมบัติ สวรรคสมบัติ และนิพพานสมบัติ
ดังกลาว
อนึง่ ศีลนีน้ อกจากจะมีคณ
ุ สมบัตดิ งั กลาว อันเปนประโยชนรวมแลว แตละขอยังมีประโยชน
ประจำอีก เหมือนยาแตละขนานก็มสี รรพคุณประจำตัว และเฉพาะตัวอยฉู ะนัน้ เชน
ศีลขอที่ ๑ เปนเหตุใหอายุยนื มีโรคนอย รางกายแข็งแรง เปนตน
ศีลขอที่ ๒ เปนเหตุใหมสี มบัตมิ าก รักษาสมบัตไิ วได สมบัตไิ มเปนอันตรายดวยภัยตางๆ เปนตน
ศีลขอที่ ๓ เปนเหตุใหไดคคู รองทีด่ ี มีความรักมัน่ คง ครอบครัวไมแตกแยกกัน เปนตน
ศีลขอที่ ๔ เปนเหตุใหมคี ำพูดเปนทีน่ า เชือ่ ถือ มีเสียงไพเราะ ไมมกี ลิน่ ปาก เปนตน
ศีลขอที่ ๕ เปนเหตุใหมสี ติมนั่ คง ไมหลงลืม มีปญ  ญาเฉลียวฉลาด เปนตน
สวนผมู กั ประพฤติลว งละเมิดศีลนัน้ ยอมไดรบั โทษหลายอยางตางประการ อันตรงกันขาม
กับประโยชนของศีลที่กลาวแลว
เพราะฉะนัน้ ผหู วังความสุข ความสงบ และสมบัตดิ งั กลาว พึงรักษาศีลของตนใหบริสทุ ธิ์
บริบรู ณดี ไมใหดา ง ไมใหพรอย ดวยประการทัง้ ปวง พึงรักษาใหดเี ทาชีวติ เหมือนนกตอยตีวดิ
รักษาไข เหมือนจามรีรักษาขนหาง เหมือนมารดารักษาบุตรนอย และเหมือนคนมีตาดี
ขางเดียวรักษาดวงตาของตนไว ฉะนัน้ เมือ่ เปนดังนีย้ อ มจะไดรบั ประโยชนสมปรารถนา.
110 ทำวัตร-สวดมนต

องคแหงศีล
องคแหงศีล คือ ขอที่ทานกำหนดไวประจำศีลแตละขอ เพื่อใหผูรักษาศีลไดกำหนดรูวา
ศีลที่ตนกำลังรักษาอยูนั้นจะขาดดวยลักษณะใดบาง จะดางจะพรอยไปดวยลักษณะใดบาง
เปนการปองกันศีลจากการขาดได เพราะผรู กั ษาศีลรตู วั กอนแลววา ถาไปทำอยางนีๆ้ ศีลจะขาด
และองคศลี นีย้ งั เปนเครือ่ งตัดสินไดอกี วา ถาไปทำอยางนีม้ า ศีลจะขาดหรือไม โดยนำการกระทำ
นัน้ มาเทียบกับองคศลี ทัง้ หมดในขอนัน้ ถาไดครบองคศลี ศีลขอนัน้ ก็เปนอันขาดแลว ถาไมครบ
ก็แสดงวายังไมขาด เปนเพียงดางหรือพรอยไปเทานัน้ แตนบั วาศีลมีมลทินไมบริสทุ ธิแ์ ลว ดังนี้
เปนตน ในศีลแตละสิกขาบทมีองคดงั นี้
สิกขาบทที่ ๑ : มีองค ๕ คือ
๑. ปาโณ สัตวทฆี่ า เปนสัตวมปี ราณ คือ มีลมหายใจ
๒. ปาณสฺญิตา ผูฆารูวาสัตวนั้นมีลมหายใจ
๓. วธกจิตฺตํ มีความตัง้ ใจจะฆาใหตาย
๔. อุปกฺกโม พยายามฆาสัตวนนั้ โดยทีส่ ดุ แมจะพยายามเพียง
เอือ้ มมือไปฆาเทานัน้ ก็จดั เปนพยายามเหมือนกัน
๕. เตน มรณํ สัตวนนั้ สิน้ ลมหายใจไปดวยความพยายามเพียงนัน้
สิกขาบทที่ ๒ : มีองค ๕ คือ
๑. ปรปริคฺคหิตํ ของที่ลักเปนของมีเจาของ
๒. ปรปริคฺคหิตสฺญิตา ผูลักก็รูวาของนั้นมีเจาของ
๓. เถยฺยจิตฺตํ มีความจงใจจะลัก
๔. อุปกฺกโม พยายามลักของนัน้ โดยทีส่ ดุ แมเพียงเอือ้ มมือ
ไปหยิบเอาเทานัน้
๕. เตน หรณํ นำของนัน้ มาได ดวยความพยายามนัน้
สิกขาบทที่ ๓ : มีองค ๔ คือ
๑. อคมนียวตฺถุ เปนบุคคลทีไ่ มควรไปลวงละเมิด ๒๐ จำพวก
มีชายหญิงทีม่ ภี รรยาสามีแลว เปนตน
๒. ตสฺมึ เสวนจิตตฺ ํ จงใจจะเสพในบุคคลนั้น
๓. เสวนปฺปโยโค มีความพยายามในการเสพ
๔. มคฺเคน มคฺคปฺปฏิปตฺตอิ ธิวาสนํ ใหอวัยวะเพศถึงกัน
ภาคผนวก 111
สิกขาบทนี้ ถาเปนสิกขาบทที่ ๓ ในศีล ๘ ก็มอี งค ๒ คือ
๑. เสวนจิตฺตํ จงใจจะเสพ
๒. มคฺเคน มคฺคปฺปฏิปาทนํ ใหอวัยวะเพศถึงกันเพียงชัว่ เมล็ดงาเดียว
สิกขาบทที่ ๔ : มีองค ๔ คือ
๑. อตถํ วตฺถุ เรือ่ งทีพ่ ดู เปนเรือ่ งไมจริง ไมมจี ริง
๒. วิสํวาทนจิตฺตํ จงใจจะพูดใหผิดไปจากความจริง
๓. ตชฺโช วายาโม พูดคำนั้นออกไป
๔. ปรสฺส ตทตฺถวิชานนํ ผฟู ง เขาใจความหมายเหมือนอยางทีพ่ ดู ออกไปนัน้
สิกขาบทที่ ๕ : มีองค ๔ คือ
๑. มทนียํ ของทีด่ มื่ เปนของทีท่ ำใหมนึ หรือเมาได เชน สุรา
เปนตน
๒. ปาตุกมฺยตาจิตฺตํ จงใจจะดื่ม
๓. ตชฺโช วายาโม ดื่มน้ำนั้นเขาไป
๔. ปตปฺปเวสนํ น้ำดื่มนั้นไหลลวงลำคอเขาไป
สิกขาบทที่ ๖ : มีองค ๔ คือ
๑. วิกาโล เวลานั้นเปนเวลาตั้งแตเที่ยงตรงไปจนถึงกอน
อรุณวันใหมขึ้นมา
๒. ยาวกาลิกํ ของทีก่ ลืนกินนัน้ เปนของนับเขาในจำพวกอาหาร
๓. อชฺโฌหรณปฺปโยโค พยายามกลืนกินของนั้น
๔. เตน อชฺโฌหรณํ กลืนกินของนั้นจนลวงลำคอลงไป
สิกขาบทที่ ๗ : ตอนทีว่ า ดวยการดูฟอ นรำ ขับรอง และประโคมดนตรี มีองค ๓ คือ
๑. นจฺจาทีนิ สิง่ ทีด่ หู รือฟง เปนการฟอนรำขับรอง เปนตน
๒. ทสฺสนตฺถาย คมนํ ไปเพื่อจะดูหรือฟงสิ่งนั้น
๓. ทสฺสนํ ดูหรือฟงสิ่งนั้น
ตอนทีว่ า ดวยการทัดทรงดอกไม ประดับตกแตงรางกาย เปนตน มีองค ๓ คือ
๑. มาลาทีนํ อฺญตรตา ของนัน้ เปนเครือ่ งประดับตกแตงรางกายมีดอกไม
และของหอม เปนตน
112 ทำวัตร-สวดมนต
๒. อนุฺญาตการณาภาโว ไมมีเหตุจำเปนที่ทรงอนุญาตไว เชน ทายาเพื่อ
บำบัดโรค เปนตน
๓. อลงฺกตภาโว ประดับ ทัดทรง ตกแตง ลูบไล ของเหลานัน้
ดวยตองการใหสวยงาม
สิกขาบทที่ ๘ : มีองค ๓ คือ
๑. อุจฺจาสยนมหาสยนํ ของนัน้ เปนทีน่ งั่ หรือทีน่ อนอันสูงหรือใหญ
๒. อุจฺจาสยนมหาสยนสฺญิตา ตัวเองก็รวู า เปนทีน่ งั่ หรือทีน่ อนอันสูงใหญ
๓. อภินสิ ที นํ วา อภินปิ ชฺชนํ วา นั่งหรือนอนบนที่นั่งหรือที่นอนนั้น
องคศีลเหลานี้ทานกำหนดไวเพื่อเปนเครื่องตัดสินวา สิกขาบทนั้นๆ จะขาดหรือไมในเมื่อ
มีการลวงละเมิดขึ้น เปนทางขจัดความแคลงใจสงสัยของผูรักษาไดเปนอยางดี เพราะวาบางครั้ง
แมแตตวั เองก็ไมทราบวา ทีท่ ำไปนัน้ เปนการลวงละเมิดศีลหรือไม เมือ่ ใชหลักคือองคศลี ขอนัน้ ๆ ไป
เทียบจึงจะทราบได คือ ถาทำไปครบทุกองคในศีลขอนัน้ เปนอันวาศีลขอนัน้ ขาดถาไมครบทุกองค
ก็ยังไมขาด เชน เผลอไปใชมือลูบตามตัวบังเอิญไปถูกยุงตายเขาอยางนี้ ศีลยังไมขาด เพราะไม
ครบองค ปาณาติบาต คือ ไมไดมเี จตนาจะทำใหตาย แตองคอนื่ ๆ มีอยู ศีลนัน้ จึงเปนเพียงดางพรอย
เทานัน้ ดังนีเ้ ปนตัวอยาง องคศลี นัน้ จึงเปนหลักสำคัญทีค่ วรจำใหไดแมนยำสำหรับปฏิบตั ไิ ดถกู ตอง
เพือ่ ตัดสินใจความสงสัยของตัว จะไดไมเกิดวิปฏิสาร เดือดรอน ไมสบายใจ ในเมือ่ ไปลวงละเมิดเขา
โดยไมไดตั้งใจ
ศีลขาด คือ ศีลของผสู มาทานศีลแลวแตไมรกั ษาศีลนัน้ ใหดี ลวงละเมิดเปนประจำทำใหขาด
ตนขาดปลาย หาทีบ่ ริสทุ ธิบ์ ริบรู ณจริงๆ ไดยาก เหมือนผาทีข่ าดตรงชายรอบผืน ฉะนัน้
ศีลทะลุ คือ ศีลของผชู อบลวงละเมิดสิกขาบทกลางๆ หรือลวงองคศลี กลางๆ เสมอแตสกิ ขาบท
ตนกับปลาย หรือองคตน กับปลายยังดีอยู เหมือนกับผาทีท่ ะลุเปนชองโหวตรงกลางแตชายรอบๆ
ยังใชไดอยู ฉะนัน้
ศีลดาง คือ ศีลของผชู อบลวงละเมิดสิกขาบททีเดียว ๒ หรือ ๓ ขอ หรือลวงองคศลี ครัง้
เดียว ๒ หรือ ๓ องคเลย เหมือนแมโคดางทีก่ ระดำกระดางไปทัว่ ทัง้ ตัวดวยลายขาวบาง ดำบาง
ตามหลัง ตามทอง ฉะนัน้
ศีลพรอย คือ ศีลของผชู อบลวงละเมิดศีลคราวละสิกขาบท หรือลวงองคศลี คราวละองค
สององค คือมีศีลบริสุทธิ์บาง ไมบริสุทธิ์บาง สลับกันไป เหมือนแมโคลายซึ่งมีตัวพรอยไปดวย
จุดดำๆ ขาวๆ ทีข่ นึ้ ทัง้ ตัว ฉะนัน้ .
ภาคผนวก 113

ธรรมของอุบาสก-อุบาสิกาแกว (อุบาสก-อุบาสิการตนะ)
คำวา อุบาสก หรือ อุบาสิกา นี้ แปลวา ผเู ขาไปนัง่ ใกล หรือ ผอู ยใู กลพระรัตนตรัย คือ
ผูยอมรับนับถือพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ เปนที่พึ่งที่ระลึกของตนตลอดเวลา ใฝใจสนใจ
อยแู ตในสามสิง่ นีเ้ ทานัน้ และผเู ปนอุบาสกอุบาสิกา พึงประกอบดวยธรรม ๕ ประการนี้ คือ
๑. มีศรัทธามัน่ คง คือ มีความเชือ่ ความเลือ่ มใสในพระรัตนตรัยไมจดื จาง ไมคลอนแคลน
ถึงจะมีเหตุใหคลายศรัทธาบางในบางขณะ ก็ไมหวั่นไหวคลอนแคลนไปตามเหตุนั้นๆ เชน มีคนตู
พระพุทธองคใหไดยนิ ก็ยงั มัน่ คงดวยศรัทธาในพระพุทธองคอยู ไมเกิดความสงสัยแคลงใจวา ทีเ่ ขา
พูดนัน้ เปนจริงหรือไม ดังนีเ้ ปนตัวอยาง
๒. มีศีลบริสุทธิ์ คือ พยายามรักษาศีลของตนที่รับสมาทานมาแลวใหหมดจด ไมใหขาด
ไมใหทะลุ ไมใหดาง ไมใหพรอย รักษาไวเทาชีวิตของตน ถึงจะมีเหตุใหตองละเมิดก็พยายาม
หลีกเลี่ยงเหตุอันนั้นไป
๓. ไมถือมงคลตื่นขาว คือ ไมเชื่อถือฤกษยาม เคราะห มงคลภายนอกตางๆ เปนตน
เพราะสิง่ เหลานีพ้ ระพุทธองคทรงตรัสวา หามีอทิ ธิพลทำใหเปนคนดีคนเลว ตกนรกหรือขึน้ สวรรค
ไดไม กลับทำใหงมงายยิง่ ขึน้ หางจากธรรมทีแ่ ทจริงมากขึน้ ไมใหเปนคนหูเบาเชือ่ อะไรงายๆ
โดยไมพจิ ารณาใหถอ งแท หรือถามทานผรู เู สียกอนทีจ่ ะเชือ่ หรือไมเชือ่ กรรมคือการกระทำของตัว
เทานั้นวา ตัวทำกรรมไวเชนไร ตองไดรับผลเชนนั้นแน ใหเชื่อวาคนเกิดมามีกรรมติดตัวมาทุกคน
ใหเชือ่ วาคำสอนของพระพุทธศาสนานีเ้ ปนทางใหพน ทุกขไดจริง เปนตน
๔. ไมแสวงบุญนอกเขตพระพุทธศาสนา คือ ไมคลอยตามพิธกี รรมซึง่ เปนของตางศาสนา
ไมทำตามลัทธิอนั ใดทีข่ ดั ตอความดีงามและศีลธรรมในพระพุทธศาสนา
๕. บำเพ็ญแตบญ ุ ในพระพุทธศาสนา คือ มงุ แสวงบุญตามหลักคำสอนของพระพุทธองค
เทานั้น เชน ใหทาน รักษาศีล เจริญภาวนา ประกอบดวยเมตตากรุณา มีความกตัญูกตเวที
ตอผมู พี ระคุณ เปนตน เพราะการทำการประพฤติเชนนี้ ถือวาเปนบุญในพระพุทธศาสนา
ทั้ง ๕ ประการนี้ จัดเปนธรรมของอุบาสกอุบาสิกา อันผูเปนอุบาสกอุบาสิกาพึงปฏิบัติ
ตามอยางเครงครัด เพือ่ ความเปนอุบาสกอุบาสิกาอยางสมบูรณ เพือ่ สำเร็จประโยชนตามทีต่ อ งการ
ถาขาดไปเสียขอใดขอหนึ่ง ก็จะทำใหขาดคุณสมบัติไป ทำใหเปนอุบาสกอุบาสิกาที่ไมสมบูรณ
อนึง่ ผปู ระกอบดวย วิบตั ิ ๕ ตอไปนี้ ไมจดั เปนอุบาสกอุบาสิกาในพระพุทธศาสนาเลย
คือ
114 ทำวัตร-สวดมนต
๑. มีศรัทธาในพระรัตนตรัยไมมั่นคง
๒. ศีลไมบริสุทธิ์
๓. ถือมงคลตืน่ ขาว เชน ลอดทองชางแลวเปนมงคล เปนตน ไมเชือ่ กรรม
๔. แสวงเขตบุญนอกพระพุทธศาสนา
๕. ไมทำบุญในพระศาสนา
นอกจากนี้ พระพุทธองคยงั ตรัสถึง คุณสมบัตขิ องอุบาสกอุบาสิกา อีก ๗ ประการ คือ
๑. ไมขาดการเยี่ยมเยียนพบพระภิกษุ
๒. ไมละเลยการฟงธรรม
๓. ศึกษาในอธิศลี
๔. มากดวยความเลือ่ มใสในภิกษุทงั้ หลาย ทัง้ ทีเ่ ปนเถระ ผใู หม และผปู านกลาง
๕. ไมฟง ธรรมดวยตัง้ ใจจะคอยเพงโทษติเตียน
๖. ไมแสวงหาเนื้อนาบุญนอกพระศาสนานี้ [แตถาสงเคราะหบุคคลในศาสนาอื่นดวยหลัก
มนุษยธรรม ไมหา ม]
๗. ทำการสนับสนุนในพระศาสนานี้เปนเบื้องตน [คือรูจักใหความสำคัญแกศาสนาที่ตน
นับถือกอน]

การคาตองหามสำหรับอุบาสกอุบาสิกา (มิจฉาวณิชชา)
๑. คาขายเครือ่ งประหาร คือ คาขายอาวุธอันเปนเครือ่ งมือสำหรับฆาสัตว เบียดเบียน
สัตว ทุกชนิด เชน ปน หอก ดาบ แห อวน ลอบ เปนตน สวนเครือ่ งมือ เชน มีด ขวาน สิว่ จอบ
เสียม และสิ่งอื่นๆ อันเปนเครื่องประกอบในการทำมาหากิน [ที่ไมเบียดเบียนสัตว] ตามปกติ
ก็ไมไดหา มคาขาย เพราะไมไดมงุ ขายใหใครนำไปใชเปนอาวุธประหารสัตว แตถา มงุ คาใหเปนเครือ่ ง
ประหาร ทานหาม
๒. คาขายมนุษย คือ การหลอกลวงมนุษยไปขาย การขายทาส การตัง้ สำนักบำเรอชาย
เปนตน จัดเปนคามนุษยทงั้ สิน้
๓. คาขายสัตวเปนๆ สำหรับฆาเปนอาหาร คือ การคาขายสัตวทมี่ เี นือ้ เปนอาหาร เชน
หมู เปด ไก โค กระบือ ปลา นก เปนตน แตถา คาสัตวเลีย้ งหรือสัตวใชงาน ถึงจะมีเนือ้ เปน
อาหารก็ตาม เขาเลีย้ งไวเพือ่ ทำงาน ขายไปเพือ่ ใหเลีย้ งใชงาน ไมนบั เปนคาขายในขอนี้
๔. คาขายน้ำเมา คือ คาขายเครือ่ งดองของเมา ยาเสพติด ซึง่ เปนเหตุใหเกิดความประมาทได
ทุกชนิด แตถาเปนจำพวกยาดองสุราอื่นใดที่มีของมึนเมาเจือปนอยู ซึ่งเปนยารักษาโรคเทานั้น
เปนตน ก็คา ขายได
๕. คาขายยาพิษ เปนไปเพือ่ เบียดเบียนสัตวอนื่ โดยตรง แสดงถึงความเหีย้ มโหด.
ภาคผนวก 115

คำถวายสังฆทาน
คำถวายภัตตาหาร
อิมานิ มะยัง ภันเต ภัตตานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสังฆัสสะ โอโณชะยามะ.
สาธุ โน ภันเต ภิกขุสงั โฆ อิมานิ ภัตตานิ สะปะริวารานิ ปะฏิคคัณห๎ าตุ อัมห๎ ากัญเจวะ
ญาตะกานัญจะ ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ นิพพานายะ จะ.
ขาแตพระสงฆผเู จริญ ขาพเจาทัง้ หลาย ขอนอมถวายภัตตาหาร กับทัง้ บริวารเหลานี้
แดพระภิกษุสงฆ. ขอพระภิกษุสงฆ จงรับภัตตาหาร กับทัง้ บริวารเหลานี้ ของขาพเจาทัง้ หลาย
เพือ่ ประโยชน เพือ่ ความสุข และเพือ่ มรรคผลนิพพาน แกขา พเจาทัง้ หลาย และญาติของขาพเจา
ทัง้ หลาย ตลอดกาลนาน เทอญ.
หมายเหตุ : ถาไมมเี ครือ่ งบริวารถวายพวงดวย ก็ตดั คำบาลีวา “สะปะริวารานิ” หรือ
“สะปะริวารัง” และคำทีแ่ ปลวา “กับทัง้ บริวาร” ออกเสียทุกแหง.

คำถวายขาวสาร
อิมานิ มะยัง ภันเต ตัณฑุลานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสังฆัสสะ โอโณชะยามะ.
สาธุ โน ภันเต. ภิกขุสงั โฆ อิมานิ ตัณฑุลานิ สะปะริวารานิ ปะฏิคคัณห๎ าตุ อัมห๎ ากัญเจวะ
ญาตะกานัญจะ ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ นิพพานายะ จะ.
ขาแตพระสงฆผูเจริญ ขาพเจาทั้งหลาย ขอนอมถวายขาวสาร กับทั้งบริวารเหลานี้
แดพระภิกษุสงฆ. ขอพระภิกษุสงฆ จงรับขาวสาร กับทัง้ บริวารเหลานี้ ของขาพเจาทัง้ หลาย
เพือ่ ประโยชน เพือ่ ความสุข และเพือ่ มรรคผลนิพพาน แกขา พเจาทัง้ หลาย และญาติของขาพเจา
ทัง้ หลาย ตลอดกาลนาน เทอญ.

คำถวายพระพุทธรูป
อิมงั มะยัง ภันเต พุทธะปะฏิมงั ภิกขุสงั ฆัสสะ โอโณชะยามะ. สาธุ โน ภันเต
ภิกขุสงั โฆ อิมงั พุทธะปะฏิมงั ปะฏิคคัณห๎ าตุ อัมห๎ ากัญเจวะ ญาตะกานัญจะ ทีฆะรัตตัง
หิตายะ สุขายะ นิพพานายะ จะ.
ขาแตพระสงฆผเู จริญ ขาพเจาทัง้ หลาย ขอนอมถวายพระพุทธปฏิมานี้ แดพระภิกษุสงฆ.
ขอพระภิกษุสงฆ จงรับพระพุทธปฏิมานี้ เพือ่ ประโยชน เพือ่ ความสุข และเพือ่ มรรคผลนิพพาน
แกขา พเจาทัง้ หลาย และญาติของขาพเจาทัง้ หลาย ตลอดกาลนาน เทอญ.
116 ทำวัตร-สวดมนต
คำถวายผาปา (ผาบังสุกลู )
อิมานิ มะยัง ภันเต ปงสุกลู ะจีวะรานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสงั ฆัสสะ โอโณชะยามะ.
สาธุ โน ภันเต ภิกขุสังโฆ อิมานิ ปงสุกูละจีวะรานิ สะปะริวารานิ ปะฏิคคัณ๎หาตุ
อัมห๎ ากัญเจวะ ญาตะกานัญจะ ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ นิพพานายะ จะ.
ขาแตพระสงฆผูเจริญ ขาพเจาทั้งหลาย ขอนอมถวายผาปา กับทั้งบริวารเหลานี้
แดพระภิกษุสงฆ ขอพระภิกษุสงฆ จงรับ ผาปา กับทั้งบริวารเหลานี้ ของขาพเจาทั้งหลาย
เพือ่ ประโยชน เพือ่ ความสุข และเพือ่ มรรคผลนิพพาน แกขา พเจาทัง้ หลาย และญาติของขาพเจา
ทัง้ หลาย ตลอดกาลนาน เทอญ.

คำถวายผาอาบน้ำฝน (ผาวัสสิกสาฎก)
อิมานิ มะยัง ภันเต วัสสิกะสาฏิกานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสงั ฆัสสะ โอโณชะยามะ.
สาธุ โน ภันเต ภิกขุสังโฆ อิมานิ วัสสิกะสาฏิกานิ สะปะริวารานิ ปะฏิคคัณ๎หาตุ
อัมห๎ ากัญเจวะ ญาตะกานัญจะ ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ นิพพานายะ จะ.
ขาแตพระสงฆผเู จริญ ขาพเจาทัง้ หลาย ขอนอมถวายผาอาบน้ำฝน กับทัง้ บริวารเหลานี้
แดพระภิกษุสงฆ. ขอพระภิกษุสงฆจงรับ ผาอาบน้ำฝน กับทัง้ บริวารเหลานี้ ของขาพเจา
ทัง้ หลาย เพือ่ ประโยชน เพือ่ ความสุข และเพือ่ มรรคผลนิพพาน แกขา พเจาทัง้ หลาย และญาติ
ของขาพเจาทัง้ หลาย ตลอดกาลนาน เทอญ.

คำถวายผากฐิน
อิมัง ภันเต สะปะริวารัง กะฐินะจีวะระทุสสัง สังฆัสสะ โอโณชะยามะ. สาธุ
โน ภันเต สังโฆ อิมงั สะปะริวารัง กะฐินะทุสสัง ปะฏิคคัณห๎ าตุ. ปะฏิคคะเหต๎วา จะ
อิมนิ า ทุสเสนะ กะฐินงั อัตถะระตุ อัมห๎ ากัญเจวะ ญาตะกานัญจะ ทีฆะรัตตัง หิตายะ
สุขายะ นิพพานายะ จะ.
ขาแตพระสงฆผูเจริญ ขาพเจาทั้งหลาย ขอนอมถวายผากฐินจีวร กับทั้งบริวารนี้
แดพระภิกษุสงฆ. ขอพระภิกษุสงฆ จงรับผากฐิน กับทั้งบริวารนี้ ของขาพเจาทั้งหลาย
ครัน้ รับแลว ขอจงกรานกฐินดวยผานี้ เพือ่ ประโยชน เพือ่ ความสุข และเพือ่ มรรคผลนิพพาน
แกขา พเจาทัง้ หลาย และญาติของขาพเจาทัง้ หลาย ตลอดกาลนาน เทอญ.
ภาคผนวก 117
คำถวายเสนาสนะ กุฏิ วิหาร
อิมานิ มะยัง ภันเต เสนาสะนานิ อาคะตานาคะตัสสะ จาตุททิสสั สะ ภิกขุสงั ฆัสสะ
โอโณชะยามะ. สาธุ โน ภันเต ภิกขุสังโฆ อิมานิ เสนาสะนานิ ปะฏิคคัณห๎ าตุ
อัมห๎ ากัญเจวะ ญาตะกานัญจะ ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ นิพพานายะ จะ.
ขาแตพระสงฆผเู จริญ ขาพเจาทัง้ หลาย ขอนอมถวายเสนาสนะเหลานี้ แดพระภิกษุสงฆ
ผมู ใี นทิศทัง้ ๔ ทีม่ าแลวก็ดี ยังไมมาก็ด.ี ขอภิกษุสงฆจงรับ เสนาสนะเหลานี้ ของขาพเจา
ทัง้ หลาย เพือ่ ประโยชน เพือ่ ความสุข และเพือ่ มรรคผลนิพพาน แกขา พเจาทัง้ หลาย และญาติ
ของขาพเจาทัง้ หลาย ตลอดกาลนาน เทอญ.

คำบูชาขาวพระ
อุกาสะ สูปะพย๎ ญั ชะนะสัมปนนัง สาลีนงั โภชะนัญจะ (โอทะนัญจะ) อุทะกัง วะรัง
พุทธัสสะ ธัมมัสสะ สังฆัสสะ ปูเชมิ.
ขาพเจาขอโอกาส บูชาซึ่งโภชนะ (และขาวสุก) แหงขาวสาลี อันสมบูรณดวยแกง
และกับ และน้ำบริสทุ ธิ์ แดพระพุทธเจา พระธรรม และพระสงฆ.

คำลาขาวพระ
เสสัง มังคะลัง ยาจามิ. ขาพเจาขอสิง่ ทีเ่ หลืออันเปนมงคล.

คำกรวดน้ำแบบสั้น
อิทงั เม ญาตีนงั โหตุ.
ขอบุญนีจ้ งสำเร็จแกญาติทงั้ หลายของขาพเจา. (คำอุทศิ ของพระเจาพิมพิสาร)
สุขติ า โหนตุ ญาตะโย.
ขอญาติทงั้ หลายจงเปนสุขเถิด. (พระพุทธภาษิต).
118 ทำวัตร-สวดมนต
ภาคผนวก 119

วิธปี ฏิบตั ภิ าวนาเบือ้ งตน

นั่งคูบัลลังกขัดสมาธิ เทาขวาทับเทาซาย มือขวาทับมือซาย ปลายนิ้วชี้มือขวาจรด


หัวแมมอื ซาย อุชํ ุ กายํ ปณิธาย ตัง้ กายใหตรง คือวัดตัง้ แตปลายนิว้ ชีข้ องเทาขวา ถึงกลาง
ลูกสะบาของหัวเขาขวา เทากับระยะจากบนตาตมุ ขาขวาจรดใตลกู คาง
ปริมขุ ํ สตึ อุปฏฐเปตฺวา เขาไปตัง้ สติไวใหมหี นารอบ มีสติทกุ เมือ่ เหลือบตาขึน้ นิดๆ
บริกรรมภาวนาวา “สัมมาอะระหัง” พรอมกำหนดบริกรรมนิมติ ตรงศูนยกลางกายเหนือสะดือ
สองนิว้ มือ เปนดวงแกวกลมใส เหมือนเพชรลูกที่เจียระไนแลว ไมมีขนแมว โตเทาแกวตา
ประมาณเทาวงของตาดำ ใสขาวเหมือนกระจกทีส่ อ งเงาหนา สัณฐานกลมรอบตัว ไมมตี ำหนิ
เรียบรอบตัว เหมือนดวงแกวกายสิทธิ์ สติไมเผลอจากบริกรรมภาวนาและบริกรรมนิมิต
บริกรรม ทัง้ สองนีพ้ รากจากกันไมได ตองใหตดิ กันอยเู สมอในอิรยิ าบถทัง้ ๔ คือ ยืน เดิน นัง่
นอน ไมเผลอ ใหมสี ติอยเู สมอมิไดขาด
บริกรรมภาวนารอยครัง้ พันครัง้ จนกระทัง่ ใจคอยๆ รวมหยุดอยทู เี่ ดียว เห็นดวงนิมติ
เกิดเปนดวงใสขึน้ แลว ก็ใหหยุดบริกรรมภาวนา เพงอยทู กี่ ลางดวงนัน้ แลวทำใจใหหยุดในหยุด
ที่จุดเล็กใสกลางดวงนั้น ใหใสหนักขึ้นทุกทีจนเปนรัศมีคือแสงสวาง ดวงใสนี้เรียกวา
“ดวงปฐมมรรค” กลางดวงนีเ้ ปนทางไปของพระพุทธเจาพระอรหันตทงั้ หลาย
ทำใจใหหยุดในหยุดทีก่ ลางดวงปฐมมรรคนัน้ เขาทุกทีไมมถี อย ก็จะเห็นดวงในดวงและ
กายในกาย ใสละเอียดโตใหญหนักเขาทุกที ก็ใหเดินดวงเดินกาย คือเห็นดวงก็เอาใจจรดเขา
ทีศ่ นู ยกลางดวง เห็นกายก็เอาใจจรดเขาทีศ่ นู ยกลางกาย ไมมถี อยออก

เมื่อทำไดเชนนี้แลว ก็ใหรีบมาตอวิชชาธรรมกายกับ พระเดชพระคุณหลวงพอ พระราชพรหมเถร


(วีระ คณุตฺตโม) วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กรุงเทพฯ หรือ พระราชญาณวิสิฐ (เสริมชัย ชยมงฺคโล)
เพือ่ วิชชาจะไดพฒั นาไปอยางถูกตองตอไป
120 ทำวัตร-สวดมนต
คำบูชาพระกัมมัฏฐาน
(บูชากอนนั่งเจริญภาวนาทุกครั้ง)

ยะมะหัง สัมมาสัมพุทธัง, ภะคะวันตัง สะระณัง คะโต (ชาย), คะตา (หญิง),


อิมนิ า สักกาเรนะ, ตัง ภะคะวันตัง อะภิปชู ะยามิ.
ขาพเจาบูชาบัดนี,้ ซึง่ พระผมู พี ระภาคเจา, ผตู รัสรแู ลวเองโดยชอบ, ซึง่ ขาพเจาถึง,
วาเปนทีพ่ งึ่ , กำจัดทุกขไดจริง, ดวยสักการะนี.้
ยะมะหัง ส๎วากขาตัง, ภะคะวะตา ธัมมัง สะระณัง คะโต (ชาย), คะตา (หญิง),
อิมนิ า สักกาเรนะ, ตัง ธัมมัง อะภิปชู ะยามิ.
ขาพเจาบูชาบัดนี,้ ซึง่ พระธรรม, อันพระผมู พี ระภาคเจา, ตรัสดีแลว, ซึง่ ขาพเจาถึง,
วาเปนทีพ่ งึ่ , กำจัดภัยไดจริง, ดวยสักการะนี.้
ยะมะหัง สุปะฏิปน นัง, สังฆัง สะระณัง คะโต (ชาย), คะตา (หญิง),
อิมนิ า สักกาเรนะ, ตัง สังฆัง อะภิปชู ะยามิ.
ขาพเจาบูชาบัดนี,้ ซึง่ พระสงฆผปู ฏิบตั ดิ ,ี ซึง่ ขาพเจาถึง, วาเปนทีพ่ งึ่ ,
กำจัดโรคไดจริง, ดวยสักการะนี.้
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
สุปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ (กราบ)
(นำ) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส.
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ)
อุ ก าสะ, อั จ จะโย โน ภั น เต, อั จ จั ค คะมา, ยะถาพาเล, ยะถามุ ฬ เห,
ยะถาอะกุสะเล, เย มะยัง กะรัมหา. เอวัง ภันเต มะยัง, อัจจะโย โน, ปะฏิคคัณหะถะ,
อายะติง สังวะเรยยามิ.
ขาพระพุทธเจาขอวโรกาส, ไดพลัง้ พลาดดวยกาย วาจา ใจ, ในพระพุทธ พระธรรม
พระสงฆ, เพียงไรแตขา พระพุทธเจา, เปนคนพาลคนหลง, อกุศลเขาสิงจิต, ใหกระทำความ
ผิด, ตอพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ. ขอพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ, จงงดความผิด
ทั้งหลายเหลานั้น, แกขาพระพุทธเจา. จำเดิมแตวันนี้เปนตนไป, ขาพระพุทธเจา,
จักขอสำรวมระวัง, ซึง่ กาย วาจา ใจ, สืบตอไปในเบือ้ งหนา. (กราบ ๓ หน)
ภาคผนวก 121
รูปดานขางผาซีก
แสดงทีต่ งั้ ของดวงนิมติ จากฐานที่ ๑ ถึง ฐานที่ ๗

๓. จอมประสาท ๒. เพลาตา (หญิงซาย-ชายขวา)


๔. ชองเพดานปาก ๑. ปากชองจมูก (หญิงซาย-ชายขวา)

๕. ปากชองลำคอ

๗. ยกจากฐานที่ ๖ สูงขึน้ ๒ นิว้


๖. ศูนยกลางกาย ตรงระดับสะดือ

ฐานที่ ๑ ปากชองจมูก หญิงซาย ชายขวา ตรงกลางพอดี ไมล้ำเขาไป ไมเหลือ่ มออกมา


ฐานที่ ๒ เพลาตา หญิงซาย ชายขวา ตรงหัวตาพอดี ตามชองลมเขาออกขางใน
ฐานที่ ๓ จอมประสาท กลางกัก๊ ศีรษะ ใหไดระดับกับเพลาตา อยภู ายในตรงศูนยกลาง
ของศีรษะ
ฐานที่ ๔ ปากชองเพดาน ไมใหล้ำเหลือ่ ม ตรงชองทีร่ บั ประทานอาหารสำลัก
ฐานที่ ๕ ปากชองคอ เหนือลูกกระเดือก อยตู รงกลางทีเ่ ดียว
ฐานที่ ๖ ทีส่ ดุ ลมหายใจเขาออก คือกลางตัว ตรงระดับสะดือ แตอยภู ายใน
ฐานที่ ๗ ถอยหลังกลับมาเหนือระดับสะดือประมาณ ๒ นิว้ มือ ในกลางตัว
122 ทำวัตร-สวดมนต
คำอธิษฐาน
ขอกุศลผลบุญที่ขาพเจาไดประกอบบำเพ็ญไวดวยดีแลว มีทานกุศล ศีลกุศล ภาวนากุศล
และการอุทศิ แผสว นกุศลนัน้ แกสรรพสัตวโลกทัง้ หลายเปนตนนี้ ตัง้ แตอดีตจนตราบเทาถึงปจจุบนั
จงเปนตบะ เดชะ พลวปจจัยใหขาพเจาเปนผูปราศจากกิเลสนิวรณ และวิปสสนูปกิเลสทั้งหลาย
ใหขาพเจาเปนผูมีปญญาอันเห็นชอบในพระอริยสัจทั้ง ๔ และใหไดดวงตาเห็นธรรม ขอใหสิ้น
อาสวะ กิเลส ตัณหา อุปาทาน และไดบรรลุมรรคผลนิพพานฝายสัมมาทิฏฐิแตสว นเดียว และขอจง
เปนพลวปจจัยเกื้อหนุนขาพเจา
๑. ใหแตกฉานในพระไตรปฎก มีพระวินยั ปฎก พระสุตตันตปฎก และพระอภิธรรมปฎก
๒. ใหถึงพรอมดวยจรณะ ๑๕ ธรรมเครื่องยังใหเกิดและเจริญโพธิปกขิยธรรมองคธรรม
เครือ่ งตรัสรู ๓๗ ประการ อันประกอบดวยทิพพจักขุ ทิพพโสต สมันตจักขุ ปญญาจักขุ ธรรมจักขุ
และพุทธจักขุ อันบริสทุ ธิ์ พรอมดวยวิชชา ๓ วิชชา ๘ อภิญญา ๖ และปฏิสมั ภิทา ๔
(สำหรับผูปรารถนาพุทธภูมิ พึงอธิษฐานเพิ่มวา ใหเจริญดวยอาสยานุสยญาณ และ
อินทริยปโรปริยตั ตญาณ๑ ธรรมเครือ่ งชวยในการโปรดสัตว)
๓. ใหไดเขาถึง ไดร-ู เห็น และเปนพระธรรมกายมรรค ผล และพระนิพพาน คือธรรมกาย
ที่บรรลุพระอรหัตตผลแลว ทำใหแจงทั้งพระนิพพานถอดกาย และทั้งพระนิพพานเปน โดยพลัน
ใหไดตรัสรใู นธรรมทีค่ วรรู ทัง้ สังขตธาตุ-สังขตธรรม และอสังขตธาตุ-อสังขตธรรมทัง้ หลาย ตามที่
เปนจริง ใหสามารถละธรรมที่ควรละ ใหสามารถเจริญในธรรมที่ควรเจริญ มุงตรงตอมรรค
ผลนิพพาน ทีส่ นิ้ สุดแหงทุกขทงั้ ปวง
๔. ขอใหไดบุญศักดิ์สิทธิ์ บารมี รัศมี กำลัง ฤทธิ์ อำนาจ สิทธิ เฉียบขาด เปนทับทวี
ตามศักดิแ์ หงบารมี และหนาทีท่ นายแหงพระพุทธศาสนา
๕. ขอใหขา พเจาไดชนะศัตรู คือ กิเลสมาร ขันธมาร มัจจุมาร และอุปาทานในอภิสงั ขารมาร
ดวยตัณหาและทิฏฐิคอื ความหลงผิด และขอใหพญามารทัง้ หลายและบริวาร จงอยาไดชอ งเขา
ครอบงำขัดขวางและทำลายการบำเพ็ญบารมีแหงขาพเจา ตลอดทัง้ เพือ่ นผรู ว มบำเพ็ญบารมีทงั้ หลาย
ของขาพเจาได


อินทริยปโรปริยตั ตญาณ อานวา อิน-ทฺร-ิ ยะ...
123
๖. ใหไดรูถูกเห็นถูก ในธรรมที่ควรรูและควรเห็น ใหเปนผูคิดถูก พูดถูก กระทำถูก
นำผอู นื่ ถูก และทรงไวซึ่งพระพุทธศาสนาของพระบรมศาสดาตลอดไปในกาลทุกเมื่อ
๗. ขอใหขาพเจาเปนผูฉลาดในอุบายแหงความเจริญและความเสื่อม เปนผูเฉียบแหลม
ในอรรถและในธรรม
๘. ขอใหสขุ สมบูรณบริบรู ณดว ยปจจัย ๔ สิง่ อำนวยความสะดวกทัง้ หลาย มียวดยาน
พาหนะและเครือ่ งใชสอยตางๆ เปนตน ขึน้ ชือ่ วาความขาดแคลนในสิง่ เหลานี้ อยาไดมี
๙. แมวา ขาพเจาจะยังอาภัพอยู ยังจะตองทองเทีย่ วไปในวัฏฏสงสาร ก็ขอใหไดเกิดในฤกษ
สรางบารมี บริบรู ณดว ยสมบัติ ๖ ประการ คือ กาลสมบัติ ชาติสมบัติ ตระกูลสมบัติ ประเทศสมบัติ
ทิฏฐิสมบัติ และอุปธิสมบัติ ใหไดมีโอกาสศึกษาและปฏิบัติธรรมเพื่อความพนทุกขตามแนวทาง
พระพุทธศาสนา และขอใหขาพเจาเปนเหมือนพระโพธิสัตวผูเที่ยงแท ไดรับการพยากรณจาก
พระพุทธเจาแลว ไมกระทำอกุศลกรรมอันจะนำไปสอู บายภูมอิ กี และถาหากยังมีเศษกรรมเหลืออยู
ก็ขออยาไดถึงฐานะแหงความอาภัพตางๆ
๑๐. เมือ่ เกิดเปนมนุษยกข็ อใหไดเพศบริสทุ ธิ์ เปนชาย ใหไดบรรพชาอุปสมบท เปนผมู อี ายุ
ยืนกวาอายุขยั ของมนุษยในกาลนัน้ ตามปรารถนา และแมวา จะผานวัยกลางคน ก็ขอใหมพี ลานามัย
แข็งแรง อายตนะภายในดีเลิศ และสุขภาพจิตใจดีเลิศ
ั ฑิต ในกาลทุกเมือ่ และขอใหขา พเจาเปน
๑๑. ขอใหขา พเจาไมพงึ คบมิตรชัว่ พึงคบแตบณ
บอเกิดแหงคุณความดี คือเปนผมู ศี รัทธา สติ หิริ โอตตัปปะ ประกอบดวยความเพียรและขันติ
พึงเวนจากเวรทัง้ ๕ ไมเกาะเกีย่ วในกามคุณทัง้ ๕ พึงเวนจากเปอกตมคือกาม พึงยินดีในการ
รักษาศีล เจริญสมาธิ ปญญา วิมตุ ติ วิมตุ ติญาณทัสสนะ โดยสัมมาทิฏฐิแตสว นเดียว.

พระราชญาณวิสฐิ (เสริมชัย ชยมงฺคโล)


เจาอาวาสวัดหลวงพอสดธรรมกายาราม
อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี
124 ทำวัตร-สวดมนต

ขอเชิญรวมปฏิบตั ภิ าวนาธรรม ตามแนวสติปฏ ฐาน ๔


   ⌫ ⌫  
125

๑. เปนประจำทุกวันอาทิตย และทุกวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เวลา ๐๙.๓๐-๑๕.๐๐ น.
มีรถรับสงฟรี จอดรับอยูที่ปากทางเขา วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร (วัดภูเขาทอง)
รถออกจากวัด เวลา ๐๗.๐๐ น. และกลับถึงกรุงเทพฯ เวลาประมาณ ๑๖.๐๐ น.
๒. อบรมพระกัมมัฏฐานประจำป ระหวางวันที่ ๑-๑๔ พฤษภาคม และ ๑-๑๔ ธันวาคม (จะเขา-
รับการอบรมกีว่ นั ก็ได ไมจำเปนตองอยตู ลอดการอบรม)
๓. บรรพชาสามเณรภาคฤดูรอน ตั้งแตวันอาทิตยแรกของเดือนเมษายน ระยะเวลาอบรม
๓ สัปดาห.
๔. อบรมธรรมปฏิบตั ริ ะยะสัน้ (๓-๔ วัน) แกคณะบุคคลจากองคกรตางๆ ผมู าขอเขารับการอบรม
เดือนละ ๒-๓ รนุ

⌫ 
๑. รายการโทรทัศน “บานของเรา” ออกอากาศทางสถานีโทรทัศนแหงประเทศไทย ชอง ๙ อสมท.
ทุกวันอาทิตยสปั ดาหที่ ๑ และที่ ๓ ของเดือน เวลา ๐๕.๓๐ น.
๒. รายการปาฐกถาธรรม โดย หลวงพอ พระราชญาณวิสฐิ เจาอาวาสวัดหลวงพอสดธรรมกายาราม
ทุกเชาวันอาทิตยสัปดาหที่ ๓ ของเดือน ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย
กรมประชาสัมพันธ เวลา ๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ น. ทัว่ ประเทศ
๓. ถ า ยทอดเสี ย งการปฏิ บั ติ ธ รรมและธรรมบรรยาย จากวั ด หลวงพ อ สดธรรมกายาราม
ทุกวันอาทิตย เวลา ๐๙.๓๐-๑๐.๐๐ น. ทางสถานีวทิ ยุกรมอุตนุ ยิ มวิทยา AM stereo 1287 KHz.
๔. รายการวิทยุ “ธรรมสสู นั ติ” ออกอากาศในเครือขายสถานีวทิ ยุแหงประเทศไทยกรมประชาสัมพันธ
และทางสถานีวทิ ยุอนื่ ๆ ในทุกภูมภิ าคของประเทศไทย (ดูในตารางการออกอากาศหนาถัดไป)
๕. สถานีวทิ ยุพระพุทธศาสนา วัดหลวงพอสดธรรมกายาราม คลืน่ ความถี่ FM 104.75 MHz. ทุกวัน.


http://www.dhammakaya.org/
126 ทำวัตร-สวดมนต
รายการวิทยุ “ธรรมสสู นั ติ” ออกอากาศในเครือขายสถานีวทิ ยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย
กรมประชาสัมพันธ และสถานีวทิ ยุอนื่ ๆ ในทัว่ ทุกภูมภิ าค ดังตอไปนี้
ภาคกลาง
ส.ว.ท. กาญจนบุรี AM 558 KHz จันทร-ศุกร 05.00 น.
ส.ว.ท. เพชรบุรี FM 95.75 MHz จันทร 05.00 น.
ส.ว.ท. สังขละบุรี FM 94.25 MHz จันทร-ศุกร 20.30 น.
ส.ว.ท. ราชบุรี AM 1593 KHz จันทร 22.00 น.
ส.ว.ท. ราชบุรี AM 99.25 KHz จันทร 23.00 น.
ภาคตะวันออก
ส.ว.ท. ชลบุรี FM 99.75 MHz อังคาร 05.00 น.
ส.ว.ท. ตราด FM 92.75 MHz เสาร 20.30 น.
ส.ว.ท. จันทบุรี AM 1125 KHz จันทร 21.30 น.
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ก.ว.ส.3 สกลนคร AM 1188 KHz อาทิตย 05.15 น.
ส.ว.ท. หนองคาย AM 810 KHz อาทิตย 20.30 น.
ส.ว.ท. นครพนม AM 981 KHz ศุกร 20.30 น.
ส.ว.ท. เพชรบูรณ AM 846 KHz เสาร 21.30 น.
ภาคเหนือ
ส.ว.ท. ตาก AM 864 KHz อาทิตย 20.30 น.
ส.ว.ท. ชัยนาท FM 91.75 MHz อาทิตย 20.30 น.
ส.ว.ท. เชียงราย FM 95.75 MHz อาทิตย 20.30 น.
ส.ว.ท. แมฮอ งสอน AM 981 KHz อังคาร 21.00 น.
ส.ว.ท. ลำปาง AM 1134 KHz เสาร 21.00 น.
ภาคใต
ว.ป.ถ.17 ตรัง AM 1350 KHz อาทิตย 05.30 น.
ว.ป.ถ.15 ชุมพร AM 585 KHz เสาร 08.00 น.
ส.ว.ท. ชุมพร AM 1368 KHz เสาร 09.30 น.
ส.ว.ท. ภูเก็ต AM 639 KHz เสาร 14.30 น.
ส.ว.ท. สข.สงขลา AM 1098 KHz เสาร 17.30 น.
ส.ว.ท. ระนอง AM 1593 KHz เสาร 18.30 น.
ส.ว.ท. ตรัง AM 810 KHz อาทิตย 19.00 น.
ทอ. 001 สงขลา AM 1323 KHz อาทิตย 19.30 น.
ส.ว.ท. พัทลุง AM 756 KHz เสาร 19.30 น.
ส.ว.ท. สงขลา AM 1404 KHz เสาร 20.00 น.
ส.ว.ท. ยะลา AM 981 KHz อาทิตย 21.30 น.
ส.ว.ท. พังงา AM 1341 KHz ศุกร 21.30 น.
ส.ว.ท. อ.ตะกัว่ ปา AM 1134 KHz อาทิตย 22.00 น.
ส.ว.ท. สุราษฏรธานี AM 1215 KHz เสาร 22.30 น.
127
คติของสัตว สวนนอย-สวนมาก
“ภิกษุทงั้ หลาย
สัตวทเี่ กิดบนบกมีเปนสวนนอย
สัตวทเี่ กิดในน้ำมากกวาโดยแท
สัตวทกี่ ลับมาเกิดในมนุษยมเี ปนสวนนอย
สัตวทกี่ ลับมาเกิดในกำเนิดอืน่ จากมนุษยมากกวาโดยแท
สัตวทเี่ กิดในมัชฌิมชนบทมีเปนสวนนอย
สัตวทเี่ กิดในปจจันตชนบท ในพวกชาวมิลกั ขะทีโ่ งเขลา มากกวาโดยแท
สัตวทมี่ ปี ญ  ญา ไมโงเงา ไมเงอะงะ สามารถทีจ่ ะรอู รรถแหงคำเปนสุภาษิตและคำเปนทุพภาษิตได มีเปน
สวนนอย
สัตวทเี่ ขลา โงเงา เงอะงะ ไมสามารถทีจ่ ะรอู รรถแหงคำเปนสุภาษิตและคำเปนทุพภาษิตได มากกวา
โดยแท
สัตวทปี่ ระกอบดวยปญญาจักษุอยางประเสริฐ มีเปนสวนนอย
สัตวทตี่ กอยใู นอวิชชา หลงใหลมากกวาโดยแท
สัตวทไี่ ดเห็นพระตถาคต มีเปนสวนนอย
สัตวทไี่ มไดเห็นพระตถาคตมากกวาโดยแท
สัตวทไี่ ดฟง ธรรมวินยั ทีพ่ ระตถาคตประกาศไว มีเปนสวนนอย
สัตวทไี่ มไดฟง ธรรมวินยั ทีพ่ ระตถาคตประกาศไว มากกวาโดยแท
สัตวทไี่ ดฟง ธรรมแลวทรงจำไวได มีเปนสวนนอย
สัตวทไี่ ดฟง ธรรมแลวทรงจำไวไมได มากกวาโดยแท
สัตวทไี่ ตรตรองอรรถแหงธรรมทีต่ นทรงจำไวได มีเปนสวนนอย
สัตวทไี่ มไตรตรองอรรถแหงธรรมทีต่ นทรงจำไวได มากกวาโดยแท
สัตวทรี่ ทู วั่ ถึงอรรถ รทู วั่ ถึงธรรมแลว ปฏิบตั ธิ รรมสมควรแกธรรม มีเปนสวนนอย
สัตวทรี่ ทู วั่ ถึงอรรถ รทู วั่ ถึงธรรม แลวไมปฏิบตั ธิ รรมสมควรแกธรรม มากกวาโดยแท
สัตวทสี่ ลดใจในฐานะเปนทีต่ งั้ แหงความสลดใจ มีเปนสวนนอย
สัตวทไี่ มสลดใจในฐานะเปนทีต่ งั้ แหงความสลดใจ มากกวาโดยแท
สัตวทสี่ ลดใจ เริม่ ตัง้ ความเพียรโดยแยบคาย มีเปนสวนนอย
สัตวทสี่ ลดใจไมเริม่ ตัง้ ความเพียรโดยแยบคาย มากกวาโดยแท
สัตวทกี่ ระทำนิพพานใหเปนอารมณแลวไดสมาธิไดเอกัคคตาจิต มีเปนสวนนอย
สัตวทกี่ ระทำนิพพานใหเปนอารมณแลว ไมไดสมาธิ ไมไดเอกัคคตาจิตมากกวาโดยแท
สัตวทไี่ ดขา วอันเลิศและรสอันเลิศ มีเปนสวนนอย
สัตวที่ไมไดขาวอันเลิศและรสอันเลิศ ยังอัตภาพใหเปนไปดวยการแสวงหา ดวยภัตที่นำมาดวย
กระเบือ้ ง มากกวาโดยแท
128 ทำวัตร-สวดมนต
สัตวทไี่ ดอรรถรสธรรมรส วิมตุ ริ ส มีเปนสวนนอย
สัตวทไี่ มไดอรรถรส ธรรมรส วิมตุ ริ ส มากกวาโดยแท
เปรียบเหมือนในชมพูทวีปนี้ มีสว นทีน่ า รืน่ รมย มีปา ทีน่ า รืน่ รมย มีภมู ปิ ระเทศทีน่ า รืน่ รมย มีสระโบกขรณี
ทีน่ า รืน่ รมย เพียงเล็กนอย มีทดี่ อน ทีล่ มุ เปนลำน้ำ เปนทีต่ งั้ แหงตอและหนาม มีภเู ขาระเกะระกะเปน
สวนมาก ฉะนัน้ เพราะฉะนัน้ แหละ เธอทัง้ หลายพึงศึกษาอยางนีว้ า เราจักเปนผไู ดอรรถรส ธรรมรส
วิมตุ ริ ส ภิกษุทงั้ หลาย เธอทัง้ หลายพึงศึกษาอยางนีแ้ ล.”

“ภิกษุทงั้ หลาย
สัตวทจี่ ตุ จิ ากมนุษยกลับมาเกิดในมนุษย มีเปนสวนนอย
สัตวทจี่ ตุ จิ ากมนุษยไปเกิดในนรก เกิดในกำเนิดสัตวดริ จั ฉาน เกิดในปตติวสิ ยั มากกวาโดยแท
สัตวทจี่ ตุ จิ ากมนุษยไปเกิดในเทพยดา มีเปนสวนนอย
สัตวทจี่ ตุ จิ ากมนุษยไปเกิดในนรก เกิดในกำเนิดสัตวดริ จั ฉาน เกิดในปตติวสิ ยั มากกวาโดยแท
สัตวทจี่ ตุ จิ ากเทพยดากลับมาเกิดในเทพยดา มีเปนสวนนอย
สัตวทจี่ ตุ จิ ากเทพยดาไปเกิดในนรก เกิดในกำเนิดสัตวดริ จั ฉาน เกิดในปตติวสิ ยั มากกวาโดยแท
สัตวทจี่ ตุ จิ ากเทพยดากลับมาเกิดในมนุษยมเี ปนสวนนอย
สัตวทจี่ ตุ จิ ากเทพยดาไปเกิดในนรก เกิดในกำเนิดสัตวดริ จั ฉาน เกิดในปตติวสิ ยั มากกวาโดยแท
สัตวทจี่ ตุ จิ ากนรกกลับมาเกิดในมนุษย มีเปนสวนนอย
สัตวทจี่ ตุ จิ ากนรกไปเกิดในนรก เกิดในกำเนิดสัตวดริ จั ฉาน เกิดในปตติวสิ ยั มากกวาโดยแท
สัตวทจ่ี ตุ จิ ากนรกไปเกิดในเทพยดา มีเปนสวนนอย
สัตวทจี่ ตุ จิ ากนรกไปเกิดในนรก เกิดในกำเนิดสัตวดริ จั ฉาน เกิดในปตติวสิ ยั มากกวาโดยแท
สัตวทจี่ ตุ จิ ากกำเนิดสัตวดริ จั ฉานกลับมาเกิดในมนุษย มีเปนสวนนอย
สัตวทจี่ ตุ จิ ากกำเนิดสัตวดริ จั ฉานไปเกิดในนรก เกิดในกำเนิดสัตวดริ จั ฉาน เกิดในปตติวสิ ยั มากกวา
โดยแท
สัตวทจี่ ตุ จิ ากกำเนิดสัตวดริ จั ฉานไปเกิดในเทพยดา มีเปนสวนนอย
สัตวทจี่ ตุ จิ ากกำเนิดสัตวดริ จั ฉานไปเกิดในนรก เกิดในกำเนิดสัตวดริ จั ฉานเกิดในปตติวสิ ยั มากกวา
โดยแท
สัตวทจี่ ตุ จิ ากปตติวสิ ยั กลับมาเกิดในมนุษย มีเปนสวนนอย
สัตวทจี่ ตุ จิ ากปตติวสิ ยั ไปเกิดในนรก เกิดในกำเนิดสัตวดริ จั ฉาน เกิดในปตติวสิ ยั มากกวาโดยแท
สัตวทจี่ ตุ จิ ากปตติวสิ ยั ไปเกิดในเทพยดา มีเปนสวนนอย
สัตวทจี่ ตุ จิ ากปตติวสิ ยั ไปเกิดในนรก เกิดในกำเนิดสัตวดริ จั ฉาน เกิดในปตติวสิ ยั มากกวาโดยแท
เปรียบเหมือนในชมพูทวีปนี้ มีสว นทีน่ า รืน่ รมย มีปา ทีน่ า รืน่ รมย มีภมู ปิ ระเทศทีน่ า รืน่ รมย มีสระโบกขรณี
ทีน่ า รืน่ รมย เพียงเล็กนอย มีทดี่ อน ทีล่ มุ เปนลำน้ำ เปนทีต่ งั้ แหงตอและหนาม มีภเู ขาระเกะระกะ เปน
สวนมากโดยแท ฉะนัน้ .”
พระไตรปฎกภาษาไทย เลมที่ ๒๐ อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต ขอ ๒๐๕ หนา ๔๔.

You might also like