You are on page 1of 15

เอกสารเผยแพร ภาคอุตสาหกรรม

หมวดที่ 6 : การอบแหงและลดความชื้นในอุตสาหกรรม (Dehumidification and Drying)

หมวดที่ 6 : การอบแหงและลดความชื้นในอุตสาหกรรม
(Dehumidification and Drying)

ชุดการจัดแสดงที่ 17
การลดความชื้นโดยปม ความรอน
(Heat Pump Dehumidification Drying)

1. หลักการของเทคโนโลยี

กระบวนการอบแหงในอุตสาหกรรมถือไดวาเปนกระบวนการที่ใชพลังงานมากระบบหนึ่ง ซึ่ง
กระบวนการอบแหงที่มีการใชงานในระดับอุตสาหกรรมโดยทั่วไปมีอยูหลายวิธีไดแกกระบวนการอบแหง
ดวยลมรอนซึ่งขึ้นอยูกับแหลงของความรอนที่ใหเชนไอน้ํา การเผาไหมของเชื้อเพลิง เปนตน โดย
กระบวนการอบแหงนี้จะใชกับชนิดของหองอบที่มีมากมายหลายชนิดขึ้นอยูกับประเภทของผลิตภัณฑ
และกรรมวิธีการอบแหงไดแก
• หองอบแบบอุโมงค (Tunnel dryer)
• หองอบแบบกั้นเปนหอง (Chamber dryer)
• หองอบ Rapid dryer (แนวนอน / แนวตั้งแบบใชกระเชา/ Roller dryer)
• การอบแบบผึง่ ลมธรรมชาติ (Open air dryer)
• หองอบแบบใชคลื่นไมโครเวฟ (Microwave dryer)
• หองอบแบบควบคุมความชืน้ (Humidity controlled dryer)
• หองอบแบบไมใชอากาศ (Airless dryer)

การอบแหงแบบดั้งเดิมคือการตากแดดใหแหงกลางแจงแตประสิทธิภาพขึ้นอยูกบั สภาพ
ภูมิอากาศ ณ. ขณะนั้น ทําใหประสิทธิภาพจากการอบไมแนนอน ดังนั้นกระบวนการอบไดมีการ
พัฒนาขึ้นใหมีการควบคุมใหดีขึ้น โดยควบคุมปจจัยตางๆ ในการอบคือ
• % ความชื้นสัมพัทธ
• ความเร็วของกระแสลม
• อุณหภูมิในหองอบ
• % ความชื้นในวัตถุดิบกอนและหลังอบ
• จุดวิกฤตของการอบแหง

ชุดการจัดแสดงที่ 17 : การลดความชื้นโดยปมความรอน (Heat Pump Dehumidification Drying) หนา 1 จาก 15


เอกสารเผยแพร ภาคอุตสาหกรรม
หมวดที่ 6 : การอบแหงและลดความชื้นในอุตสาหกรรม (Dehumidification and Drying)

สวนประกอบโดยทั่วไปของหองอบแหงจะประกอบไปดวยสวนตางๆ ดังตอไปนี้

• โครงสรางหลักของหองอบ
• พัดลมและสวนประกอบตางๆในการไหลเวียนของอากาศ
• ทอสําหรับสงลมรอนและดูดอากาศชื้น
• ระบบกําเนิดความรอน

ในปจจุบันการอบแหงหรือระบบลดความชื้นโดยใชปม ความรอน (Heat Pump) เปนระบบที่มี


ประสิทธิภาพสูงและประหยัดพลังงานโดยสามารถนํามาใชแทนระบบการอบแหงไลความชื้นโดยใชไอน้ํา
ไดซึ่งจะสิ้นเปลืองพลังงานมากกวา

หลักการทํางานของปมความรอน

ปมความรอนเปนระบบที่มีวฏั จักรการทํางานทางเทอรโมไดนามิกสที่รูจักกันวา Carnot Cycle


ซึ่งดึงความรอนจากแหลงความรอนแลวนําไปถายเทในบริเวณทีต่ องการความรอน โดยการทํางานของ
ปมความรอนมีลักษณะเชนเดียวกับระบบการทําความเย็นแบบอัดไอตางกันเพียงแตปมความรอนจะ
เลือกใชประโยชนจากดานความรอนเปนหลัก และควบคุมอุณหภูมิดานความรอนแทนดานความเย็น
และไดความเย็นเปนผลพลอยไดของระบบ

ปมความรอนสามารถใชประโยชนจากความรอนจากแหลงความรอนที่มีอุณหภูมิต่ํา เชน ความ


รอนในอากาศหรือแหลงความรอนสูญเสียซึ่งไมสามารถนํากลับมาใชไดดวยกระบวนการแลกเปลี่ยน
ความรอนตามปกติ มาทําใหมีอุณหภูมิสูงขึ้นจนสามารถนํากลับมาใชได

วัฏจักรการทํางานของปมความรอน

ชุดการจัดแสดงที่ 17 : การลดความชื้นโดยปมความรอน (Heat Pump Dehumidification Drying) หนา 2 จาก 15


เอกสารเผยแพร ภาคอุตสาหกรรม
หมวดที่ 6 : การอบแหงและลดความชื้นในอุตสาหกรรม (Dehumidification and Drying)

วัฏจักรการทํางานดานความเย็นกับความรอนนั้นจะเชื่อมโยงกันดวยสารทํางาน (Working
Substance – HCFC R22 หรือ HFC 134a) โดยเริ่มจากการทํางานของเครื่องอัดไอ (Compressor) ซึ่ง
สารทํางานจะถูกอัดเพื่อเพิ่มอุณหภูมิและความดัน จากนั้นสารทํางานถูกนํามากลั่นในเครื่องควบแนน
(Condenser) (สารทํางานคายความรอนออกไปใหกับน้ํา ทําใหไดน้ํารอน) จนไดของเหลวความดันสูง
หลังจากนั้น จะถูกลดความดันในวาลวลดความดัน (Expansion Valve) จนสารทํางานบางสวนกลายเปน
ไอหรือพรอมที่จะระเหยเมือ่ ไดรับความรอนจากแหลงความรอนในเครื่องระเหย (Evaporator) ดังนั้นจะ
เห็นไดวา ระบบบปมความรอนมีการใชพลังงานเพื่อขับเครื่องอัดไอและพัดลมทีบ่ ริเวณเครื่องระเหยหรือ
เครื่องควบแนน และอาจมีการใชพลังงานที่ปมน้ําสําหรับระบบที่ถังน้ํา แยกเปนคนละสวนกับปมความ
รอนเทานั้น

การใชงานของปมความรอนนั้นสามารถนําปมความรอนมาทําน้ํารอนทดแทนการใชน้ํามันหรือ
กาซธรรมชาติในการผลิตน้ํารอนได และการนําปม ความรอนมาใชในกระบวนการอบไลความชื้นซึ่ง
สามารถลดปริมาณการใชไอน้ําหรือทดแทนการใชเชื้อเพลิงในการผลิตลมรอนได ซึ่งในระบบนีป้ ม ความ
รอนเปนระบบที่มีคาสัมประสิทธิ์การทํางาน (COP) สูง โดยทั่วไปมีคา มากกวา 3 (คิดเฉพาะการทําความ
รอน) ทําใหประหยัดพลังงานเมื่อเทียบกับการผลิตน้ํารอนโดยใชหมอตมน้ําที่ใชน้ํามันหรือกาซธรรมชาติ
ซึ่งมีคา COP ประมาณ 0.75 - 0.95 (ซึ่งหากนําลมเย็นที่ไดไปใชประโยชน คา COP รวมทัง้ การทํา
ความรอนและการทําความเย็นก็จะสูงขึ้นอีกเปนเทาตัว)

สวนประกอบของปมความรอน

ระบบปมความรอนตามความหมายของ ARI (Air Condition and Refriegeration Institute) จะ


ประกอบดวยอุปกรณหลักดังนี้
• เครื่องควบแนน (Condenser) มีหนาที่ระบายความรอนจากสารทํางานไปสูแหลงระบาย
ความรอน
• เครื่องระเหย (Evaporator) ทําหนาที่ดูดความรอนจากแหลงความรอน
• เครื่องอัดไอ (Compresser) ทําหนาที่อัดไอของสารทํางาน (Working Substance) ใหมี
อุณหภูมิสูงกวาอุณหภูมิรอบเครื่องควบแนน เพื่อจะถายเทความรอนออกจากสารทํางาน
• วาลวลดความดัน (Expansion Valve) หรืออาจเรียกวาวาลวขยายตัว ในกรณีที่ระบบมี
ขนาดเล็กจะใชทอขนาดเล็ก (Capillary Tube) แทน มีหนาที่ลดความดันของสารทํางาน

ชุดการจัดแสดงที่ 17 : การลดความชื้นโดยปมความรอน (Heat Pump Dehumidification Drying) หนา 3 จาก 15


เอกสารเผยแพร ภาคอุตสาหกรรม
หมวดที่ 6 : การอบแหงและลดความชื้นในอุตสาหกรรม (Dehumidification and Drying)

ประสิทธิภาพของปมความรอน
TH

TC

ประสิทธิภาพทางความรอนสูงสุดของปมความรอนทํางานในลักษณะวัฏจักรคารโนตแบบผัน
กลับนี้เรียกวาปมความรอนแบบคารโนต (Carnot Heat Pump)

ประสิทธิภาพ = QH = TH
W TH-TC
เมื่อ
QH = ความรอนทีถ่ ายเทไปยังแหลงอุณหภูมิสูง
Qc = ความรอนทีถ่ ายเทออกจากแหลงอุณหภูมิต่ํา
Wc = งานที่ปอนใหแกระบบ
TH = แหลงความรอนอุณหภูมิสูง
TC = แหลงความรอนอุณหภูมิต่ํา

ชุดการจัดแสดงที่ 17 : การลดความชื้นโดยปมความรอน (Heat Pump Dehumidification Drying) หนา 4 จาก 15


เอกสารเผยแพร ภาคอุตสาหกรรม
หมวดที่ 6 : การอบแหงและลดความชื้นในอุตสาหกรรม (Dehumidification and Drying)

แผนภาพ P-h Diagram ของสารทําความเย็น R134a ที่ใชกับปมความรอน

h4
QH h3

h1
h2

Qc Wc

ในกรณีที่ใชงานจริงประสิทธิภาพของปมความรอน
= QH = (h3-h4)
Wc (h3-h2)

เมื่อ
QH = ความรอนทีถ่ ายเทออกจากเครื่องควบแนน (Condenser)
Wc = งานที่ปอนใหกับเครื่องอัด (Compressor)
h = คาเอลธาลปหรือพลังงานในสารทําความเย็น (kJ/kg)

โดยทั่วไปกรณีการใชปมความรอนสําหรับกระบวนการอบแหงหรือลดความชื้นนัน้ ประสิทธิภาพ
ของกระบวนการอบแหงแบบใชปมความรอนจะบอกเปนอัตราการระเหยความชื้นออกจากผลิตภัณฑ
(Moisture Extraction Rate, MER) มีหนวยเปน กิโลกรัมน้ําที่ระเหย/ชั่วโมง และพลังงานที่ใชในการดึง
ความชื้นออก (Specific Moisture Extraction Rate, SMER) มีหนวยเปน กิโลกรัมน้ําที่ระเหย/พลังงาน
ไฟฟาที่ใช (kg of water/kWh) โดยทั่วไปจะอยูระหวาง 1-4 kg of water/kWh สําหรับอบแหงอาหาร

ชุดการจัดแสดงที่ 17 : การลดความชื้นโดยปมความรอน (Heat Pump Dehumidification Drying) หนา 5 จาก 15


เอกสารเผยแพร ภาคอุตสาหกรรม
หมวดที่ 6 : การอบแหงและลดความชื้นในอุตสาหกรรม (Dehumidification and Drying)

ประเภทปมความรอนในอุตสาหกรรม

ปมความรอนในอุตสาหกรรมมีหลายประเภทสามารถแบงออกไดดังนี้

1. Mechanical Vapor Recompression System (MVRs) แบงไดเปนปมความรอนแบบเปด


และกึ่งเปดแบบเปดนั้นไอของสารทํางานจะถูกอัดจนความดันสูงและอุณหภูมิสูงแลวควบแนนเมื่อคาย
ความรอนออก โดยสารทํางานสัมผัสโดยตรงกับแหลงความรอนและแหลงปลอยความรอน แบบกึ่งเปด
นั้นความรอนจากไอจะถายเทใหกับกระบวนการผานอุปกรณแลกเปลี่ยนความรอนบริเวณแหลงความ
รอนหรือแหลงปลอยความรอน ปกติแลวสมรรถนะการทํางานของปมความรอนชนิดนี้จะคอนขางสูง ซึ่งดู
ไดจากคา COP: Coefficient of Performance (COPs) ที่มีคาระหวาง 10 - 30 สวนการทํางานของปม
ความรอนชนิดนี้จะไดความรอนมากจากแหลงความรอนอุณหภูมิ 70 - 80 oC และทําความรอนไดสูงถึง
110 -150 oC และบางกรณีอาจสูงถึง 200 oC น้ํามักจะถูกใชเปนสารทํางานซึ่งใชกันมากใน
อุตสาหกรรมปโตรเคมี

2. Closed Cycle Compression Heat Pumps ปมความรอนแบบปดคือการที่สารทํางานไหลวน


อยูในระบบปดกลาวคือแลกเปลี่ยนความรอนทั้งในเครื่องระเหย (Evaporator) และ เครื่องควบแนน
(Condenser) สารทํางานจํากัดอุณหภูมิความรอนที่ได 120 oC

3. Absorption Heat Pump (Type I) ปมความรอนแบบนี้ไมมีการใชงานในอุตสาหกรรมมากนัก


มักใชเพื่องาน Heat Recovery อุณหภูมิที่จะไดออกมาประมาณ 100 oC และทําอุณหภูมิสูงขึ้นมาได 65
o
C (Lift of) คา COP อยูระหวาง 1.2 ถึง 1.4 แตปมความรอนแบบใหม ๆ ใหอุณหภูมิที่ไดสูงถึง 260 oC
ในกรณีที่เปนปมความรอนรุนใหม

4. Heat Transformers (Type II) จะมีสวนประกอบเหมือนกับแบบ Absorption Heat Pump


สามารถนําความรอนทิ้งที่เหลือใชที่อุณหภูมิระดับกลาง (ระหวางระดับความรอนที่ตองการกับระดับ
ความรอนของ สภาพแวดลอม) มาใชกับระบบนี้ไดโดยไมตองใชพลังงานจากภายนอก ความรอน
ระดับกลางจะถูกสงใหกับ เครื่องระเหย (Evaporator) และเจนเนอเรเตอรความรอนสวนที่ใชประโยชนได
ก็จะสงตอไปยังตัวดูดกลืน (Absorber) ในปจจุบันใชนาํ้ และลิเทียมโบรไมด (LiBr) เปนสารทํางานคูกัน
อุณหภูมิที่ไดจากระบบนี้จะสูงถึง 150 oC และทําอุณหภูมิสูงขึ้นมาได 50 oC (Lift of) มีคา COP ระหวาง
0.45 - 0.48

ชุดการจัดแสดงที่ 17 : การลดความชื้นโดยปมความรอน (Heat Pump Dehumidification Drying) หนา 6 จาก 15


เอกสารเผยแพร ภาคอุตสาหกรรม
หมวดที่ 6 : การอบแหงและลดความชื้นในอุตสาหกรรม (Dehumidification and Drying)

5. Reversed Brayton-cycled Heat Pumps ใชหลักการในการ recover ของ solvents จากแก็ส


ในกระบวนการผลิต อากาศที่มี solvent จะถูกอัด แลวขยายตัว อากาศเย็น (จากการขยายตัว) แลว
Solvent ก็จะควบแนนและวนในกระบวนการนี้ซํ้าอีกครั้ง การขยายตัวและการวนกลับที่กลาวมาจะเกิด
ในกังหันซึ่งขับคอมเพรสเซอร

สําหรับในที่นจี้ ะกลาวถึงระบบปมความรอนแบบปด (Closed Cycle Compression Heat Pumps)


เทานั้น

การลดความชื้นโดยปมความรอน

การลดความชื้นโดยปมความรอนคลายคลึงกับการใชงานปมความรอนทั่วไปคือปมความรอน
สามารถใหความรอน ความเย็นและลดความชื้น เพียงแตการลดความชื้นโดยปมความรอนถูกออกแบบ
มาโดยเฉพาะ โดยปกติการใชงานปมความรอนในการลดความชื้นมีชวงการทํางานกวางคือต่ําสุดตั้งแต
20-30% RH ขึ้นอยูกับสารทําความเย็น จนถึง 100% RH โดยการควบคุมการทํางานของปมความรอน
จะใชชุดควบคุมความชื้น (Humidistats) ซึ่งติดตั้งอยูในหอง หรือหนาชุดเครื่องควบคุมความชืน้

ชุดการจัดแสดงที่ 17 : การลดความชื้นโดยปมความรอน (Heat Pump Dehumidification Drying) หนา 7 จาก 15


เอกสารเผยแพร ภาคอุตสาหกรรม
หมวดที่ 6 : การอบแหงและลดความชื้นในอุตสาหกรรม (Dehumidification and Drying)

2. การประยุกตใชงานเทคโนโลยี

การลดความชื้นโดยการใชปมความรอนเปนวิธที ี่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ (โดยเฉพาะอาหาร) ที่


ไวตอความรอนเนื่องจากใชอุณหภูมิต่ําในการลดความชื้นในชวงอุณหภูมิ 30-45 OC เทานัน้ โดย
สามารถควบคุมระดับความชื้นสัมพัทธไดที่ประมาณ 45%

การลดความชื้นโดยปมความรอนประกอบดวยหองอบผลิตภัณฑ ระบบควบคุมหมุนเวียนของ
อากาศและปม ความรอนซึ่งมีสวนประกอบ เชนเดียวกับระบบปรับอากาศและระบบทําความเย็นทั่วไป
การทํางานจะใหอากาศไหลผานผลิตภัณฑเพื่อดูดซับความชื้น และไหลผานเครื่องระเหย (Evaporator)
ของระบบทําความเย็นซึ่งจะลดอุณหภูมิของอากาศและดึงความชื้นออกไป หลังจากนั้นอากาศเย็นจะ
ผานเครื่องควบแนน (Condenser) ทําใหอากาศรอนขึ้นจนถึงอุณหภูมิที่ตั้งไว และหมุนเวียนอากาศ
กลับไปยังหองอบเพื่อรักษาระดับความชืน้ จากผลิตภัณฑตอไป

การลดความชื้นโดยปมความรอนเหมาะสมกับกระบวนการอบแหงที่ตองการควบคุมความชื้น
สัมพัทธในระดับที่สูงกวา 45% ตัวอยางผลิตภัณฑที่มกี ารนําปมความรอนไปใชในการลดความชื้นไดแก

• ผลิตผลทางการเกษตรเชน ถั่วดิบ หัวหอม กระเทียม และเมล็ดขาว


• สิ่งทอ
• หนังสัตว
• เซรามิค (การอบเบื้องตนกอนเผา)
• แบบหลอยิปซั่ม
• ผลิตภัณฑอาหาร
• หองเก็บอุปกรณไฟฟา อุปกรณเครื่องจักร เอกสาร แปง และขนมหวาน
• อากาศอัดกอนเขาระบบสงจาย
• อื่นๆ

ประโยชนของการลดความชื้นโดยปมความรอน

การลดความชื้นโดยปมความรอนสามารถประยุกตใชกับกระบวนการอบแหงในอุตสาหกรรม
หลายประเภทโดยเฉพาะงานที่ตองการควบคุมอุณหภูมิและไมตองการปนเปอนของผลิตภัณฑ โดยมี
ขอดีตางๆดังนี้

ชุดการจัดแสดงที่ 17 : การลดความชื้นโดยปมความรอน (Heat Pump Dehumidification Drying) หนา 8 จาก 15


เอกสารเผยแพร ภาคอุตสาหกรรม
หมวดที่ 6 : การอบแหงและลดความชื้นในอุตสาหกรรม (Dehumidification and Drying)

• คาใชจายในการทํางานต่ําสามารถลดการใชพลังงานได 60-70% เมื่อเปรียบเทียบกับระบบ


ที่ใชเชื้อเพลิงหรือไอน้ํา
• ไมกระทบตอคุณภาพของผลิตภัณฑเนือ่ งจากอุณหภูมิอบแหงต่ํา
• เวลาการทํางานที่ลดลงทําใหไดผลผลิตสูงขขึ้น
• ไดผลิตภัณฑและอากาศทิ้งที่สะอาด ไมมีการปนเปนซึง่ เกิดจากการเผาไหมของเชื้อเพลิง
• สามารถควบคุมอุณหภูมิและความชื้นไดอยางแมนยําทําใหผลิตภัณฑที่ไดมีคุณภาพสูง
• ลดคาใชจายดานบุคลากรในการควบคุมกระบวนการผลิตเนื่องจากการลดความชื้นไมมี
โอกาสที่จะทําใหผลิตภัณฑไหมจากความรอน

¾ ศักยภาพการประหยัดพลังงาน

การประหยัดพลังงานสําหรับกระบวนการอบแหงหรอลดความชื้นนัน้ โดยทั่วไปตองพิจารณาถึง

• การลดความชื้นในวัตถุดิบกอนอบแหง
ในการอบแหงไลความชื้นนัน้ สามารถลดภาระไดโดยการนําวัตถุดบิ หรือผลิตภัณฑที่ตองการ
อบมาลดความชื้นกอนเขาเครื่องอบเชนการผึ่งไวภายนอกแทนที่จะนําวัตถุดบิ ที่มีความชื้น
สูงเขาเครื่องอบโดยทันที หรือการนําลมรอนเหลือจากกระบวนการผลิตมาทําการลด
ความชื้นสวนหนึ่งกอน (Pre-dry)
• ปองกันการอบแหงมากเกินไป
ในการกระบวนการอบแหงนั้นตองไมอบแหงจนเกินไปซึ่งทําใหสูญเสียพลังงานโดยเปลา
ประโยชนโดยทั่วไปวัสดุแตละประเภทจะมีความสามารถในการดูดซับความชื้นแตกตางกัน
ไปขึ้นอยูกับอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธในอากาศดังแสดงไวในตารางตอไปนี้

วัสดุ ความชื้นอากาศ [%]


20 40 60 80 อุณหภูมิ
กระดาษหนังสือพิมพ 3.3 4.7 6.2 8.9 25
ขนแกะ 7.5 10.6 14.7 19.6 25
สิ่งทอผาฝาย 3.6 5.8 8 11.3 25
หนังสัตว 12.2 15.2 17.5 22.5 25
ขาวสาลี 8.8 11.2 14 17.8 10
” 8.5 10.8 13.4 16.8 20
” 7.8 10.4 12.7 16.2 30

ชุดการจัดแสดงที่ 17 : การลดความชื้นโดยปมความรอน (Heat Pump Dehumidification Drying) หนา 9 จาก 15


เอกสารเผยแพร ภาคอุตสาหกรรม
หมวดที่ 6 : การอบแหงและลดความชื้นในอุตสาหกรรม (Dehumidification and Drying)

วัสดุ ความชื้นอากาศ [%]


20 40 60 80 อุณหภูมิ
ไม 5 7.4 10.2 14.2 20
” 4.2 6.7 9.8 13.6 40
” 3.2 6 8.9 13 60
” 2.4 4.8 7.1 11 80

จากตารางเปนความชื้นสัมพัทธและอุณหภูมิอากาศที่วัสดุประเภทตางๆ สามารถดูดซับ
ความชื้นไวดังนั้นหากทําการอบแหงใหมีความชื้นต่ํากวาความชื้นสมดุลที่ระบุในตาราง จะทําใหความชื้น
ในอากาศถูกดูดกลับไปยังวัสดุ ทําใหการอบแหงไมเปนผลหรือสูญเสียพลังงานในสวนนี้ไป

ตัวอยางการอบแหงไมโดยใชระบบทําความรอนอากาศโดยใชไอน้ําและระบบใชปมความรอน

ระบบเดิมกอนปรับปรุง

ระบบเดิมติดตั้งคอลยไอน้าํ (Steam Coil) เพื่อเพิ่มอุณหภูมิของอากาศใหมีความชื้นสัมพัทธต่ําเหมาะ


สําหรับการนําไปอบไลความชื้นออกจากไม ในระบบนีต้ องมีการระบายอากาศบางสวนออกจากหองอบ
ไมเพื่อลดความชื้น และนําอากาศภายนอกที่มีความชื้นต่ํากวามาผานคอลยไอน้ํา

ระบบหลังปรับปรุง

ติดตั้งชุดปมความรอนแทนระบบการใหความรอนโดยใชไอน้ําเดิม อากาศชื้นที่กลับมาจากหองอบไมจะ
ถูกทําใหเย็นลงจนถึงจุดน้ําคาง (Dew Point) ที่เครื่องระเหย (Evaporator) ทําใหความชื้นในอากาศเกิด
การควบแนนและถูกระบายทิ้ง อากาศที่แหงและเย็นจะไหลผานไปยังเครื่องควบแนน (Condenser) ทํา
ใหอุณหภูมิสูงขึ้น

ชุดการจัดแสดงที่ 17 : การลดความชื้นโดยปมความรอน (Heat Pump Dehumidification Drying) หนา 10 จาก 15


เอกสารเผยแพร ภาคอุตสาหกรรม
หมวดที่ 6 : การอบแหงและลดความชื้นในอุตสาหกรรม (Dehumidification and Drying)

¾ กลุมเปาหมายการประยุกตใชเทคโนโลยี

ผูออกแบบ ผูประกอบการที่มีกระบวนการอบแหงใชงาน สถาบันการศึกษา และประชาชนทัว่ ไป

¾ ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

ไมมีผลกระทบสิ่งแวดลอมเนื่องจากใชสารทําความเย็นประเภท Non-CFC ซึ่งไมทําลายโอโซน


ในชั้นบรรยากาศ และเปนเทคโนโลยีที่มปี ระสิทธิภาพมาชวยใหการออกแบบทําใหลดการใช
พลังงานและลดการปลอยกาซเรือนกระจกได

ชุดการจัดแสดงที่ 17 : การลดความชื้นโดยปมความรอน (Heat Pump Dehumidification Drying) หนา 11 จาก 15


เอกสารเผยแพร ภาคอุตสาหกรรม
หมวดที่ 6 : การอบแหงและลดความชื้นในอุตสาหกรรม (Dehumidification and Drying)

3. ตัวอยางขอมูลดานเทคนิคของปม ความรอนรุน HPA2018 ยี่หอ TRANE

ชุดการจัดแสดงที่ 17 : การลดความชื้นโดยปมความรอน (Heat Pump Dehumidification Drying) หนา 12 จาก 15


เอกสารเผยแพร ภาคอุตสาหกรรม
หมวดที่ 6 : การอบแหงและลดความชื้นในอุตสาหกรรม (Dehumidification and Drying)

4. กรณีศึกษา

กรณีศึกษาการอบแหงเมล็ดพันธุพืชโดยใชปมความรอนแทนระบบลมรอนที่ใชฮีตเตอรไฟฟา

ขอมูลทั่วไป
• ถังเก็บเมล็ดพันธุพืชขนาดความจุ 120 ลบ.เมตร
• ขนาดฮีตเตอรไฟฟาที่ติดตั้งเดิม 24 กิโลวัตต
• ความชื้นในเมล็ดพันธุพืช 22.4% ลดลงเหลือ 14%

จากการทดสอบเปรียบเทียบพบวาการอบไลความชื้นที่ 14% ระบบปมความรอนจะใชเวลานานกวาการ


อบไลความชืน้ ดวยระบบลมรอนที่ใชฮีตเตอรไฟฟา 3 วัน แตหากอบไลความชื้นที่ 15% ระบบปมความ
รอนจะใชเวลานานกวาการอบไลความชืน้ ดวยระบบลมรอนที่ใชฮีตเตอรไฟฟาเพียง 1 วัน

สําหรับกําลังไฟฟาที่ใชนั้นระบบปมความรอนจะใชกําลังไฟฟาทั้งหมด 14.6 กิโลวัตต ในขณะทีร่ ะบบลม


รอนที่ใชฮีตเตอรไฟฟาจะใชกําลังไฟฟาถึง 30.7 กิโลวัตต ดังนั้นความตองการไฟฟาของระบบปมความ
รอนจะต่ํากวาระบบลมรอนที่ใชฮีตเตอรไฟฟา 52%

สําหรับตารางเปรียบเทียบการใชพลังงานและประสิทธิภาพของระบบปมความรอนและระบบลมรอนที่ใช
ฮีตเตอรไฟฟาแสดงไวดังตอไปนี้

ชุดการจัดแสดงที่ 17 : การลดความชื้นโดยปมความรอน (Heat Pump Dehumidification Drying) หนา 13 จาก 15


เอกสารเผยแพร ภาคอุตสาหกรรม
หมวดที่ 6 : การอบแหงและลดความชื้นในอุตสาหกรรม (Dehumidification and Drying)

ปมความรอน ฮีตเตอรไฟฟา
รายการ (กิโลวัตต-ชั่วโมง) (กิโลวัตต-ชั่วโมง)
พลังงานที่ใช
พัดลม 3,813 3,024
อุปกรณใหความรอน 2,289 7,091
ใบกวน 171 136
รวม 6,273 10,251
พลังงานที่ใช
ตอกิโลกรัมน้ําที่ระเหย 0.557 0.905
ตอปริมาณพันธุพืช 30 ลิตรตอเปอรเซ็นตของ
ความชื้น 0.181 0.293

ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ ปมความรอน ฮีตเตอรไฟฟา


คา COP ของอุปกรณใหความรอน 4.83 1
คา COP ของระบบ 2 1
อุปกรณใหความรอน 2,289 7,091
ความรอนที่ใหออก (กิโลวัตต) 25.2 21.6
ความรอนที่รับเขา (กิโลวัตต) 5.2 21.6
พัดลม (กิโลวัตต) 9.4 9.1
กําลังไฟฟาของระบบ (กิโลวัตต) 14.6 30.7
อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น (oC) 7.2 5.2
อัตราการไหลของอากาศ (ลบ.ฟุต/
นาที) 8,420 9,940

ชุดการจัดแสดงที่ 17 : การลดความชื้นโดยปมความรอน (Heat Pump Dehumidification Drying) หนา 14 จาก 15


เอกสารเผยแพร ภาคอุตสาหกรรม
หมวดที่ 6 : การอบแหงและลดความชื้นในอุตสาหกรรม (Dehumidification and Drying)

แหลงขอมูลอางอิง

[1] กรณีศึกษา การประหยัดพลังงานโดยใชปมความรอน (Heat Pump); http://www.warrantech.co.th


[2] มูลนิธิสถาบันประสิทธิภาพพลังงาน (ประเทศไทย)
[3] Crop Drying with Heat Pump; National Food & Energy Council, Inc.

ชุดการจัดแสดงที่ 17 : การลดความชื้นโดยปมความรอน (Heat Pump Dehumidification Drying) หนา 15 จาก 15

You might also like