You are on page 1of 12

วารสารนิติสังคมศาสตร์ 4 5 พลวัตรัฐธรรมนูญไทย

คำ�อธิบายพระราชบัญญัติ
ธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน
สยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475
ฉบับปฐมฤกษ์แห่งสยาม
ทินกฤต นุตวงษ์1

วินาทีทพี่ ระบาทสมเด็จพระปกเกล้าทรงลงพระปรมาภิไธยพระราชบัญญัติ
ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475 ฉบับที่คณะราษฎรได้
ทูลเกล้าฯ มาให้ ถือได้ว่าประเทศไทย (หรือสยามในขณะนั้น) ได้เปลี่ยนแปลง
การปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย
อย่างเป็นทางการ แม้ว่าพระองค์ท่านจะเพิ่มค�ำว่าชั่วคราวต่อท้ายก็ตาม
เนื้อหาของพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองฯ ฉบับดังกล่าว ได้รับ
การเผยแพร่ครั้งแรกใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 49 หน้า 166-179 วันที่ 27
มิถุนายน 2475 โดยเป็นวันเดียวกันกับที่ได้มกี ารประกาศใช้บงั คับ นอกจากนี้
ในเดือนถัดมา ยังได้เผยแพร่ลงหนังสือนิติสาส์น2 แผนกกฤษฎีกา ปีที่ 3 เล่ม
4 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2475
1
นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, นักวิจัยอิสระ.
2
หนังสือนิติสาส์น นอกจากแผนกกฤษฎีกาแล้วยังมีแผนกสามัญด้วย ซึ่งเนื้อหาส่วนใหญ่
ในหนังสือ จะเป็นการลงคำ�อธิบายหมายหรือบางทีก็เป็นการถอดคำ�บรรยายของอาจารย์
ที่สอนในโรงเรียนกฎหมาย ซึ่งผู้อ่านส่วนใหญ่น่าจะเป็นนักเรียนในโรงเรียนกฎหมาย และ
ผู้ที่อยู่ในวงการกฎหมายเป็นหลัก นอกจากนี้หนังสือนิติสาส์นยังพิมพ์ในโรงพิมพ์ชื่อ
เดียวกันกับหนังสือ คือ โรงพิมพ์นิติสาส์น ซึ่งมีนายปรีดี พนมยงค์เป็นเจ้าของ และมอบ
กิจการโรงพิมพ์ให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองในช่วงเวลาต่อมา
ภาพจาก http://kingprajadhipokstudy.blogspot.com/
วารสารนิติสังคมศาสตร์ 6 7 พลวัตรัฐธรรมนูญไทย

ในเวลาต่อมา ช่วงเดือนสิงหาคม ปีเดียวกัน หนังสือนิตสิ าส์น แผนกสามัญ ในหมวดข้อความทัว่ ไป ผูเ้ ขียนได้ให้ความส�ำคัญในการอธิบาย 2 เรือ่ ง คือ
ได้น�ำค�ำอธิบายรายมาตราของพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน อ�ำนาจสูงสุด กับเรื่องผู้ใช้อ�ำนาจสูงสุด โดยผู้เขียนเน้นย�้ำว่าปัจจุบันนี้อ�ำนาจ
สยามชัว่ คราว พ.ศ. 2475 มาลงไว้โดยไม่ได้ระบุชอื่ ผูเ้ ขียน ซึง่ ในเวปไซท์ของนิติ สูงสุดเป็นของราษฎร โดยแบ่งแยกอ�ำนาจออกเป็น 3 ประเภท คือ อ�ำนาจ
ราษฎร์3 ได้น�ำค�ำอธิบายดังกล่าวมาเผยแพร่ด้วย และตัง้ ข้อสมมุตฐิ านว่า นาย นิติบัญญัติ อ�ำนาจบริหารบัญญัติ อ�ำนาจตุลาการ ส่วนผู้ใช้อ�ำนาจสูงสุดของ
เดือน บุนนาค หรือนายไพโรจน์ ชัยนาม เป็นผูเ้ ขียน โดยดูจากส�ำนวนการเขียน ประเทศนั้น ผู้เขียนได้ยกตัวอย่าง 4 ตัวอย่าง คือ ราษฎรได้ใช้อ�ำนาจสูงสุดเอง
แต่หากดูจากเวปไซท์ของห้องสมุดเนติบณ ั ฑิตยสภา4 ระบุวา่ ปรีดี พนมยงค์เป็น โดยตรง ราษฎรได้ใช้อ�ำนาจสูงสุดโดยผู้แทนอันจะเพิกถอนไม่ได้จนกว่าจะพ้น
ผูเ้ ขียน (Author) อย่างไรก็ตาม สังเกตได้วา่ ข้อความบางส่วนทีใ่ ช้อธิบายตรงกัน ระยะเวลาที่ได้แต่งตั้งไว้ ราษฎรได้ใช้อ�ำนาจสูงสุดโดยผู้แทนอันจะเพิกถอนได้
กับค�ำอธิบายกฎหมายปกครองที่ที่แสดง ณ โรงเรียนกฎหมายในช่วงปี 24745 ตามความพอใจของราษฎร กษัตริยท์ รงอ�ำนาจเต็มทีใ่ นการทีจ่ ะใช้อ�ำนาจสูงสุด
อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นใครที่เป็นคนเขียน แต่ค�ำอธิบายดังกล่าวมี ในหมวด 2 ว่าด้วยกษัตริย์ อันเป็นประมุขของประเทศ ผู้เขียนได้ให้ความ
คุณูปการต่อการศึกษากฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นอันมาก เพราะเป็นค�ำอธิบาย ส�ำคัญในการอธิบาย 3 เรื่อง คือ การสืบมฤดก การท�ำหน้าที่แทนกษัตริย์ การ
กฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่ปรากฏขึ้นในสังคมไทย ในอีกด้านหนึ่งก็ ฟ้องร้องกษัตริย์ในคดีอาชญา ซึ่งการสืบมฤดก ผู้เขียนได้อธิบายว่าจะต้องได้
เป็นการอธิบายถึงความหมายของระบอบประชาธิปไตยที่มีกษัตริย์ภายใต้ รับความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎร และยกรายละเอียดของล�ำดับการสืบ
กฎหมายเป็นครั้งแรกอีกด้วย ราชสันตติวงศ์ 5 ล�ำดับ ในกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พ.ศ.
2467 อีกด้วย ส่วนการท�ำหน้าทีแ่ ทนกษัตริยเ์ มือ่ กษัตริยม์ เี หตุจ�ำเป็นชัว่ คราว ผู้
โดยผูเ้ ขียนบทความค�ำอธิบายรายมาตราของพระราชบัญญัตธิ รรมนูญการ
เขียนได้อธิบายว่าให้คณะกรรมการราษฎรเป็นผูใ้ ช้สทิ ธิแทน ไม่จ�ำเป็นทีก่ ษัตริย์
ปกครองฯ ได้เริม่ ต้นอธิบายถึงความแตกต่างของกฎหมายธรรมนูญการปกครอง
ต้องตั้งผู้ส�ำเร็จราชการแผ่นดินต่างพระองค์
กับกฎหมายปกครอง ว่ากฎหมายธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน เป็นการวาง
หลักทัว่ ไปแห่งอ�ำนาจสูงสุดในประเทศ ส่วนกฎหมายปกครองเป็นระเบียบแห่ง ในหมวดที่ 3 ว่าด้วย สภาผู้แทนราษฎร ผู้ใช้อ�ำนาจนิติบัญญัติ ผู้เขียนได้
อ�ำนาจบริหารหรืออ�ำนาจธุรการ และว่าด้วยการใช้อ�ำนาจนั้น อธิบายถึงอ�ำนาจหน้าที่ ที่มาของผู้แทนราษฎรใน 3 ช่วง โดยผู้เขียนเรียกช่วง
แรกว่าเป็นสมัยหัวต่อ ช่วงที่สอง เป็นสมัยที่การจัดประเทศเป็นปกติเรียบร้อย
ทัง้ นีผ้ ้เู ขียนได้อธิบายเป็นหมวด โดยมีทงั้ หมด 5 หมวด คือ ข้อความทัว่ ไป
แล้ว ช่วงที่สามเป็นสมัยที่ราษฎรทั่วพระราชอาณาเขตต์ได้สอบไล่วิชชาปถม
กษัตริย์ สภาผู้แทนราษฎร คณะกรรมการราษฎร ศาล
ศึกษาได้เป็นจ�ำนวนเกินกว่ากึ่งหนึ่งแล้วและไม่เกิน 10 ปี นับแต่วนั ประกาศใช้
3
ธรรมนูญ นอกจากนี้ยังอธิบายหลักการฟ้องร้องสมาชิกของสภาผู้แทนราษฎร
คำ�อธิบายพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ.๒๔๗๕ (เรียง
มาตรา). [ออนไลน์].http://www.enlightened-jurists.com/directory/181. เป็นคดีอาชญายังโรงศาลไม่ได้ต้องขออนุญาตจากสภาก่อน
4
รายงานทรัพยากรหนังสือกฎหมายหายาก (งานถ่ายภาพลักษณ์)ห้องสมุดเนติบัณฑิตย
สภาฯ. [ออนไลน์].http://www.gmwebsite.com/upload/thethaibar.org/file/Rarebooks-Scan. ในหมวดที่ 4 คณะกรรมการราษฎร ผู้ใช้อ�ำนาจบริหาร ผู้เขียนได้อธิบาย
5
htm อ�ำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการราษฎรในการบริหาร และยังมีอ�ำนาจ
โปรดดู คำ�อธิบายกฎหมายปกครอง,(พระนคร: โรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรม,
2475), หน้า 3, 4, 29, 30, 56, 57 นิติบัญญัตใิ นบางกรณี นอกจากนี้ยังมีอ�ำนาจให้อภัยโทษ ซึ่งเดิมเป็นพระราช
วารสารนิติสังคมศาสตร์ 8 9 พลวัตรัฐธรรมนูญไทย

อ�ำนาจของกษัตริย์ และยังให้เสนาบดีรับผิดชอบต่อคณะกรรมการราษฎร
ในหมวดสุดท้ายว่าด้วย ศาล ผู้ใช้อ�ำนาจตุลาการ ผู้เขียนได้อธิบายว่า
ธรรมนูญการปกครองนีไ้ ม่กระทบกระทัง่ ถึงศาลเลย โดยให้เป็นไปตามกฎหมาย
ที่ใช้อยู่
อนึง่ การน�ำบทความดังกล่าวมาตีพมิ พ์ซำ�้ อีกครัง้ ณ ทีน่ เี้ ป็นการถ่ายส�ำเนา
จากต้นฉบับโดยที่มิได้มีการแก้ไขปรับปรุงแต่อย่างใด เพื่อรักษาถ้อยค�ำและ
ความหมายเฉกเช่นเดียวกับที่ได้เคยปรากฏขึ้นในครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2475
วารสารนิติสังคมศาสตร์ 10 11 พลวัตรัฐธรรมนูญไทย
วารสารนิติสังคมศาสตร์ 12 13 พลวัตรัฐธรรมนูญไทย
วารสารนิติสังคมศาสตร์ 14 15 พลวัตรัฐธรรมนูญไทย
วารสารนิติสังคมศาสตร์ 16 17 พลวัตรัฐธรรมนูญไทย
วารสารนิติสังคมศาสตร์ 18 19 พลวัตรัฐธรรมนูญไทย
วารสารนิติสังคมศาสตร์ 20 21 พลวัตรัฐธรรมนูญไทย
วารสารนิติสังคมศาสตร์ 22 23 พลวัตรัฐธรรมนูญไทย
วารสารนิติสังคมศาสตร์ 24 25 พลวัตรัฐธรรมนูญไทย
วารสารนิติสังคมศาสตร์ 26 27 พลวัตรัฐธรรมนูญไทย

You might also like