You are on page 1of 114

ผาในวิถีชีวิตไทดำ

ผา​ใน​วิถี​ชีวิตไท​ดำ
ประทับใจ สิกขา
ขอมูล​ทาง​บรรณานุกรม​ของ​หอสมุด​แหงชาติ
ประทับใจ สิกขา
ผา​ใน​วิถชี​ ีวิตไท​ดำ – อุบลราชธานี : โรงพิมพ​มหาวิทยาลัยอ​ ุบลราชธานี, 2552 100 หนา.
1. ผา 2. ไท​ดำ จำนวน 200 เลม
ISBN : 978-974-523-197-9
จัดทำ​โดย
โครงการ​ศึกษา​ผา​เคียน​ใน​วิถี​ชีวิตข​ อง​กลุมช​ าติพันธุไท​ดำ
กอง​สงเสริม​การ​วิจัย บริการ​วิชาการ และ​ทำนุบำรุง​ศิลป​วัฒนธรรม
มหาวิทยาลัย​อุบลราชธานี ปงบประมาณ พ.ศ. 2551

พิมพ​ที่ โรงพิมพม​ หาวิทยาลัยอ​ ุบลราชธานี


เลข​ที่ 85 ถนนสถล​มารค ตำบล​เมือง​ศรี​ไค อำเภอ​วารินชำราบ จังหวัด​อุบลราชธานี 34190
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

คุณคา​ความรู และ​คุณ​ประโยชนใ​ด ๆ ที่​เปนก​ ุศล​อัน​เกิด​จาก​หนังสือ​ฉบับน​ ี้


ขอ​นอม​อุทิศแ​ ดร​ อง​ศาสตราจารย ดร. วิโรฒ ศรีส​ ุโร
คณบดีผ​ ูกอตั้ง​คณะ​ศิลป​ประยุกตแ​ ละ​การ​ออกแบบ มหาวิทยาลัยอ​ ุบลราชธานี
ซึ่ง​ถึงแกกรรม​ใน​ระหวางที่​ดำเนิน​โครงการ
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

กิตติ​กรรม​ประกาศ

โครงการศึกษาผาเคียนในวิถีชีวิตกลุมชาติพันธุไทดำนี​้สำเร็จ​ลุลวง​โดย​ความ​รวมมือ​เปน​อยาง​ดียิ่ง​
จาก ศูนยว​ ฒ ั นธรรม​ไทย​ทรง​ดำ​เขายอย​ตำบล​หนองปรง อำเภอ​เขายอย จังหวัดเ​พชรบุรี พิพธิ ภัณฑป​ าน​ถนอม
บาน​หนองจิก หมู​ท ่ี 1 ตำบล​หนองปรง อำเภอ​เขายอย จังหวัด​เพชรบุรี ศูนย​วฒ ั นธรรม​ไทย​ทรง​ดำ​บา น​หวั ​เขา​จนี
หมู 1 ตำบล​หวย​ยาง​โทน อำเภอ​ปากทอ จังหวัด​ราชบุรี ศูนย​อนุรักษ​ศิลป​วัฒนธรรม​ไทย​ทรง​ดำ​ดอน​คลัง
ตำบล​ดอน​คลัง อำเภอ​ดำเนินสะดวก จังหวัดร​ าชบุรี กลุม​ทอผาไ​ ทย​ทรง​ดำ บาน​ดอน​มะเกลือ หมูท​ ี่ 4 ตำบล​
ดอน​มะเกลือ อำเภอ​อูทอง จังหวัดส​ ุพรรณบุรี กลุมท​ อ​ผากี่กระตุกแ​ ละ​ผลิตภัณฑจ​ าก​ผาทอ บาน​หนอง​หมู
หมูท​ ี่ 5 ตำบล​สระ​พฒั นา อำเภอ​กำแพงแสน จังหวัดน​ คร​ปฐม สำนักศ​ ลิ ปะ​และ​วฒ ั นธรรม มหาวิทยาลัยร​ าชภัฏ​
เลย อำเภอ​เมือง จังหวัดเ​ลย ศูนยว​ ฒ ั นธรรม​ไทย​ทรง​ดำ​บ​ า นนา​ปา ห​ นาด หมู 4 ตำบล​เขา​แกว อำเภอ​เชียงคาน
จังหวัด​เลย ขอ​ขอบคุณ นาง​พานี แหงหน นางสาว​ศิริ​พร พูล​สวัสดิ์ นาง​จุฑา​ทิพ อิน​เนียร และ​เจาหนาที่​
สงเสริมก​ าร​ทองเที่ยว​ประจำ​ศูนยว​ ัฒนธรรม​ไทย​ทรง​ดำ เทศบาลตำบล​เขายอย อาจารย​ถนอม คง​ยิ้มล​ ะมัย
เจาของ​พพิ ธิ ภัณฑป​ าน​ถนอม อาจารยโ​ กศล แยมกาญ​จน​วฒ ั น อาจารยโ​ รงเรียน​เตรียม​อดุ มศึกษา​พฒ ั นาการ​
ดอน​คลัง นาย​วิชา​ญ สระ​ทองคุม ผูใหญบาน และ​นางสไว สระ​ทองคุม ชาว​ไทดำ​บาน​หนอง​หมู นาง​ออน
ทันห​ า นาง​หนูจร ไพ​ศนู ย ชาวไท​ดำ​บา นนา​ปา ห​ นาด ทีใ​่ หค​ วาม​อนุเคราะหข​ อ มูล และ​สาธิตก​ าร​ทอผา ขอบคุณ​
กอง​สงเสริม​การ​วิจัย บริการ​วิชาการ​และ​ทำนุบำรุง​ศิลป​วัฒนธรรม มหาวิทยาลัย​อุบลราชธานี ที่​จัดสรร​
งบประมาณ​ดำเนินโ​ ครงการ​ทำนุบำรุงศิลป​วัฒนธรรม ปงบประมาณ 2551 และ​ทายที่สุดโ​ ครงการ​นี้​จะ​สำเร็จ​
ไมได​ หาก​ขาด​ความ​รวมมือ​รวมใจ​จาก​เจาหนาที่​ที่​เกี่ยวของ​ทุกทาน ที่​ให​ความ​รวมมือ​จน​สำเร็จ​ลุลวง​ดวยดี​
ตาม​วัตถุ​ประสงคข​ อง​โครงการ
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
คำนำ
โครงการ​ศึกษา​ผา​เคียน​ใน​วิถี​ชีวิต​กลุม​ชาติพันธุไท​ดำ​น้ี ไดรับ​แรงบันดาลใจ​จาก​แนวคิด​ของ​
รอง​ศาสตราจารย ดร. วิโรฒ ศรีส​ โุ ร คณบดีผ​ กู อ ตัง้ ค​ ณะ​ศลิ ป​ประยุกตแ​ ละ​การ​ออกแบบ มหาวิทยาลัยอ​ บุ ลราชธานี
ผู​สืบสาน​งาน​ดาน​ศิลป​วัฒนธรรม​แถบ​ลุมน้ำโขง​และ​เสียชีวิต​ใน​ระหวาง​ดำเนิน​โครงการ​นี้ ทาน​ตระหนักถึง​
ความ​สำคัญข​ อง​ภูมิปญญา​การ​ทอผา มรดก​ทาง​วัฒนธรรม​จาก​รุน​สรู​ ุน สืบทอด​กันม​ า​อยาง​ยาวนาน ทั้งด​ าน​
คติ​ความ​เชื่อ ประเพณี การ​แสดง​ฐานะ การ​ตกแตงร​ างกาย​ให​สวยงาม หรือเ​พื่อ​ปกปอง​รางกาย ที่​บงบอกอัต​
ลักษณ​ของ​เผาพันธุ​ได​เปน​อยาง​ดี เปน​งานศิลปะ​ที่​ตอง​ใช​ความ​พยายาม ขยัน อดทน และ​ความ​ละเอียด​
ประณีต ใน​ชวง​การ​อพยพ​ยายถิ่น​นี้​วัฒนธรรม​เกี่ยวกับ​ผา​ของ​ชาวไท​ดำ​ได​ปรับ​เปลี่ยนไป​บาง​ดวย​เหตุผล​ที่​
แตกตางกัน จึง​เปนการ​เสาะหา​ตำนาน​ผา​ในอดีตท​ ี่​หลาย​สวน​ได​สูญ​หายไป​อันเ​นื่องจาก​ถูกม​ องขาม กอน​ที่​ผา​
ใน​วิถี​ชีวิตไท​ดำ​จะ​สูญหาย​ไปตาม​กาล​เวลา
การ​ลง​พื้นทีศ่​ ึกษา​ขอมูลเ​กี่ยวกับ​ผาเ​คียน​ใน​วิถชี​ ีวิตไท​ดำ​นั้น​พบ​วา “ผา​เคียน” ทีช่​ าวไท​ดำ​ใช ไมวาจ​ ะ​
เปนการ​พัน​รอบ​ศีรษะ การ​พัน​รอบเอว การ​พัน​ตาม​แขน​หรือ​ขา ซึ่ง​การ​พัน​ดังกลาว​ภาษาถิ่น​อีสาน​โดย​ทั่วไป​
เรียกวา “เคียน” ใน​ปจจุบันน​ ั้นพ​ บ​นอยมาก อาจ​มี​สาเหตุม​ าจาก​วิถี​ชีวิต​ของ​ชาวไท​ดำ​ในประเทศ​ไทย​ปจจุบัน​
ได​มี​การ​ปรับ​เปลี่ยน​ไปตาม​สภาพ​ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ที่​แตกตาง​ไปจาก​ทาง​ตอนเหนือ​ของ​เวียดนาม
และสปป.ลาว ผูเ ขียน​ใน​ฐานะ​หวั หนาโ​ครงการ​จงึ ไ​ดท​ ำการ​ปรับแ​ ผนการ​ดำเนินงาน​ใน​ชว ง​ระยะ​เริม่ ตนโ​ครงการ
จาก​การ​ศึกษา​ผา​เคียน​ใน​วิถี​ชีวิต​กลุม​ชาติพันธุไท​ดำ เปนการ​ศึกษา​ผา​ใน​วิถี​ชีวิตไท​ดำ ทำให​สามารถ​ขยาย​
ขอบขาย​การ​ดำเนินงาน​ได​มากขึ้น ใน​การ​ศึกษา​รวบรวม​ขอมูลพ​ บ​วา ไท​ดำ มีว​ ัฒนธรรม​ใน​เรื่อง​ผาท​ ี่​โดดเดน​
เปน​เอกลักษณ​เฉพาะตน บงบอก​กาลเทศะ สถานะ​ของ​ผู​สวมใส และ​มีความหมาย​ชัดเจน​ทั้ง​หญิง​และ​ชาย
การ​ใชผ​ า ใ​น​วถิ ช​ี วี ติ ไท​ดำ​แบงออก​เปน 2 กลุม ใ​หญๆ ไดแก 1) เครือ่ ง​แตงกาย ซึง่ แ​ ยกออก​เปน เครือ่ ง​แตงกาย​
ใน​ชีวิต​ประจำวัน​และ​เครื่อง​แตงกาย​ใน​พิธีกรรม และ 2) สิ่งของ​เครื่องใช ซึ่งท​ าน​ผูอาน​จะ​ไดส​ าระ​ความรู​ผาน​
ความ​เชื่อ​ที่​มี​ที่มา​ของ​ชาวไท​ดำ โดยเฉพาะ​อยางยิ่งผ​ าท​ ี่​ใช​ใน​พิธีกรรม

ประทับใจ สิกขา
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
สารบัญ
เรื่อง หนา

ประวัติ​ศาสตร​สิบสอง​จุไท 1
ไท​ดำ หรือ ลาว​โซง 5
การ​อพยพ​ของ​ชาวไท​ดำ​สปู​ ระเทศ​ไทย 6
ตัวอักษร 9
ลักษณะ​บานเรือน 11
ทรงผม 17
ประเพณี พิธีกรรม​และ​ความ​เชื่อ 19
ผา​ใน​วิถี​ชีวิตไท​ดำ 33
เครื่อง​แตงกาย 34
สิ่งของ​เครื่องใชท​ ี่​ทำ​ดวย​ผา 58
การ​ยอม​คราม 67
การ​ทอผา 71
ลวดลาย​ผาไท​ดำ 79
ลวดลาย​ที่​ใช​เย็บ 82
การ​ปก (แซว) ผาเ​ปยว 87
เอกสาร​อางอิง 97
ผาในวิถีชีวิตไทดำ






​ไท​ดำ ​
​ไท​ดำ ​เปนช​ นชาติ​ไทย ​ที่​เรียก​ตน​เอง​วา ​ไต ​(​ไท)​ ​หรือ ​T​A​I​
​มีชื่อเ​รียก​หลาย​ชื่อ เ​ชน ล​ าว​โซง ไ​ ทย​โซง ​ลาว​ซงดำ ​ผไู​ ทยดำ ​ไทย​ทรง​ดำ




ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ประวัติ​ศาสตรส​ ิบสอง​จุไท

ดิน​แดน​แควน​สิบสอง​จุไท ​หรือ​สิบสอง​เจาไต ​แผนดิน​บานเกิด​เมือง​นอน​ของ​ชน​เผาไต​หรือไท​ดำ​
แผนดิน​ของ​บรรพชนไท​ดำ​แต​ครั้ง​บรรพกาล ​จนกระทั่ง​ปจจุบัน ​นับ​ตั้ง​แต​ชน​เผาไท​ดำ​ได​อพยพ​เขามา​
ในประเทศ​ไทย​ใน​ยคุ ข​ อง​การ​ตก​เปนอ​ าณานิคม​ของ​อาณาจักร​ตา ง ๆ​ ​ย​ คุ น​ นั้ แ​ ผนดินไต​หรือแ​ ควนส​ บิ สอง​จไุ ท​
เคย​ตก​อยูใ​ น​อารักขาภาย​ใตก​ าร​ปกครอง​ของ​ราชอาณาจักร​สยาม ใ​ น​รชั สมัยข​ อง​พระเจา​กรุงธนบุรห​ี รือพ​ ระเจา​
ตาก ​ชน​เผา​ทอี่​ ยู​ใน​แควนส​ ิบสอง​จุไท​นั้น​มี​หลาย​เผาพันธุ ​เชน ​ไท​ดำ ​ไท​แดง ​ไท​ขาว ​ขา ​สาห​ รือ​มอญ ​เขมร​
เปนตน ​ไท​ดำ​นับวาเปน​ชน​เผา​ที่​มี​จำนวน​มากกวาไท​ขาว​หรือไท​แดง ​และ​เปน​ชนชั้น​ผูปกครอง​หรือ​เจาเมือง​
ปกครอง​ชน​หลาย​เผาม​ า​ทุก​ยุคท​ ุก​สมัย ​จวบ​จนกระทั่ง​เสียเ​มือง ​เสีย​แผนดินใ​ ห​แกฝ​ รัง่ เศส ​เมือ่ ​ป พ.​ศ.​ ​2​4​3​2​
ก็​ยังคง​เปนไท​ดำ​มาตลอด ​ไมวาไท​ดำ ​ไท​แดง ​ไท​ขาว ​พวกเขา​จะ​เรียกขาน​ตัวเอง​สั้น ​ๆ​ ​วา ​คนไต ​แผนดิน​
สิบสอง​จไุ ท​ในอดีตท​ ผี่ า นมา​นนั้ เ​หมือน​ถกู สาป เ​พราะ​ตลอด​เวลา​ทผี่ า นมา​นบั พ​ นั ป ส​ บิ สอง​จไุ ท ต​ อ ง​ตก​อยูภ าย​
ใต​มหาอำนาจ​ใน​ยุค​นั้น ​บางครั้ง​ตก​อยูภาย​ใต​การ​ปกครอง​ของ​จีน ​บางชวง​ก็​ตก​อยูภาย​ใต​การ​ปกครอง​ของ​
เวียดนาม แ​ ละ​อาณาจักร​หลวง​พระ​บาง ใ​ น​ชว ง​ทอ​ี่ าณาจักร​เหลาน​ นั้ เ​รืองอำนาจ​และ​ไดเ​ขามา​ครอบครอง​สบิ สอง​
จุไท​เปน​เมือง​ประเทศราช ​จึง​ตอง​ยอม​สงสวย​เครื่อง​บรรณาการ​ให​กับอ​ าณาจักร​เหลา​นั้นต​ ลอดมา ​จนกระทั่ง​
ตก​มา​ถงึ ย​ คุ ท​ ล​ี่ าว​หลวง​พระ​บาง​ตก​เปนเ​มือง​ประเทศราช​ของ​สยาม ส​ บิ สอง​จไุ ท​จงึ ต​ อ ง​ตก​มา​เปนเ​มือง​ใน​อารักขา​
ของ​สยาม​โดย​ปริยาย ​และ​นคี่​ ือส​ าเหตุ​ที่​บรรพบุรษุ ​ของไท​ดำ ​หรือไ​ ทย​ทรง​ดำ​ได​อพยพ​เขามา​เปน​พลเมือง​ของ​
ประเทศ​สยาม​นับแ​ ตร​ ัชสมัย​ของ​พระเจา​กรุงธนบุรี ​
ส​ บิ สอง​จไุ ท แ​ ผนดิน​บา นเกิดเ​มือง​นอน​ของ​ชน​เผาไต ห​ รือไท​ดำ (​ไ​ ทย​ทรง​ดำ)​ใ​ นอดีตน​ นั้ ถ​ กู เ​รียกขาน​
วา ​เปน​ดิน​แดน​แหงข​ ุนเขา​หมื่นย​ อด ​เพราะ​พื้น​ที่​ทั้งหมด​ของ​แควนส​ ิบสอง​จุไท​นั้น ​9​0​ ​%​ ​เปนภ​ ูเขา​นอย​ใหญ​
สลับซับซอน​สูงเสียดฟา ​ภูมิประเทศ​สิบสอง​จุไท​ทั้ง​แควน​มี​พื้น​ที่​ราบเรียบ​เปน​ทุงนา​ขนาด​ใหญ​ที่​พลเมือง​ใช​
ทำการ​เกษตร ​ทำไร ​ทำนา​ได​เต็ม ​1​0​0​ ​%​ ​มี​อยูเ​พียง ​4​ ​ทุงนา​เทา​นั้นค​ ือ ​1​)​ ​ทุง​เมืองลอ ​2​)​ ​ทุง​เมือง​ถนน ​3​)​ ​ทุง​
เมือง​เดิก ​4)​​ ​ทุง​เมือง​แถง ​ใน​บรรดา​ทุง​ทั้ง ​4​ ​นี้ ​ทุง​ที่​นับวา​ใหญท​ ี่สุด​คือ ​ทุง​เมือง​แถง ​นอกเหนือจ​ าก​ทุง​ทั้ง ​4​
นี้ ​ไม​นับวา​ใหญ​พอ​ที่​จะ​เรียกวา​ทุง ​เพราะ​เปนพื้น​ที่ราบ​ตาม​ชอง​หุบเขา​ที่​พอ​จะ​เพาะปลูก​ได​เทา​นั้น ​เพราะ​
ฉะ​นั้น​ที่ดิน​ทำนา​จึง​เปน​สิ่ง​ที่​มี​คา​มาก​ที่สุด​ของ​ชน​เผาไท​ดำ ​สิบสอง​จุไท ​มี​การ​ปกครอง​ดวย​ระบบ​มูลนาย​

1
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ปู​จาว​ทาว​นั่งเมือง​หรือก​ ษัตริย​ ผูปกครอง​ดิน​แดน​สิบสอง​จุไท​คน​แรก​คือ ​ทาวลอ ​เปน​ลูกชาย​ของ​ทาว​สรวง​ที่​
อพยพ​มาจาก​นา น​เจา ป​ จ จุบนั ค​ อื ม​ ณฑล​ยน​ู าน​ของ​จนี ท​ า ว​สรวง​อพยพ​มา​ถงึ เ​มืองลอ​และ​ไดใ​ หกำเนิดบ​ ตุ รชาย​
1​ ​คน ​จึงต​ ั้ง​ชื่อวา ​ทาวลอ ​ตาม​ชื่อ​เมือง​ที่​ปกครอง​อยู ​อาณาจักร​เมืองลอ​ใน​สมัยน​ ั้น​ถือวาเ​ปน​ศูนยกลาง​การ​
ปกครอง​ของไท​ดำ ​ทุก​เมือง​ที่​อยู​ใน​อารักขา​ตอง​ขึ้นกับเ​มืองลอ​ทั้งหมด ​ทาวลอ​มี​บุตรชาย ​7​ ​คน ​คือ ​1​)​ ​ปู​ตา​
ดุก ​2​)​ ​ปู​ตา​เหลา ​3​)​ ​ปูล​อบลี่ ​ ​4)​​ ​ปู​ลับลี่ ​5​)​ ​ปู​ลาง​งาง ​6​)​ ​ปู​ลาง​กวาง ​และ ​7​)​ ​ปู​ลาน​เจื้อง ​ลูกท​ ั้ง ​6​ ​คน​นั้น​มี​
เมือง​ที่​ทาวลอ​ได​จัด​แบง​ให​ปกครอง ​ยกเวน​ลาน​เจื้อง​คน​สุดทอง​ที่​ไมมี​บานเมือง​ให​ปกครอง ​ลาน​เจื้อง​จึง​
ขออนุญาต​ทา วลอ​ผเ​ู ปนพ​ อ ข​ อ​กำลังพ​ ล​และ​เสบียงอาหาร​พรอม​อาวุธอ​ อก​ตระเวน​ตต​ี าม​หวั เมือง​นอ ย​ใหญเ​พือ่ ​
ขยาย​อาณา​เขตเมืองลอ​ให​กวางขวาง​ขนึ้ ต​ ไ​ี ด​เมือง​ไหน​ถา ​ยงั ไ​ ม​ถกู ใ​ จ​หรือเ​ล็กไ​ ป ล​ า น​เจือ้ ง​กม​็ อบ​ให​ขนุ ท​ หาร​ท​ี่
ไว​วาง​ใจ​ปกครอง​แทน ​สวนตัว​กต็​ ี​หัวเมือง​ไปเรื่อย ​ๆ​ ​เพื่อ​หา​ที่ตั้ง​เมือง​ให​ได ​จนกระทั่ง​ยก​ไพรพล​มา​ถึงภ​ ู​ฟา​
ไดยิน​คน​พูด​กัน​ไป​ทั่ว​วา​ มีเ​มือง​หนึ่งเ​ปน​ทุงนา​กวางขวาง​สุด​ลูกห​ ู​ลูกตา​ท มี​แมน้ำไ​ หลผาน​กลาง​ทุงนา​จาก​เหนือ​
ไป​ใต ​ลาน​เจื้อง​ไดยินเ​ชนน​ ั้น​จึง​สั่ง​ใหท​ หาร​ลง​จาก​ภู​ฟาม​ า​ถึง​ทุงกวาง​แหง​นั้น ​ลาน​เจื้อง​เห็น​แลว​พึง​พอ​ใจ​มาก​
จึง​สั่ง​ให​ไพรพล​สรางบาน ​สรางเมือง ​ณ ​ทุงกวาง​แหงน​ ั้น ​เมื่อส​ รางเมือง​เสร็จ​ลาน​เจื้อง​ก็​ขึ้นป​ กครอง​เมือง​แหง​
นัน้ แ​ ละ​ตงั้ ชือ่ เ​มือง​นนั้ ว​ า เ​มือง​แถง แ​ ละ​ประกาศ​ยก​เมือง​แถง​เปนเ​มืองหลวง ท​ กุ เ​มือง​ทอ​ี่ ยูใ​ น​บริเวณ​อาณาจักร​
เมือง​แถง ต​ อ ง​ขนึ้ ต​ อ เ​มือง​แถง แ​ ละ​สง สวย ส​ ง บ​ รรณาการ​ใหเ​มือง​แถง น​ บั แ​ ตน​ นั้ ม​ า​เมือง​แถง​จงึ เ​ปนศ​ นู ยกลาง​
การ​ปกครอง​ของ​แควนส​ ิบสอง​จุไท ​เมือง​แถง​มี​ทาว​นั่งเมือง​ติดตอก​ ัน ​7​ ​คน ​จน​ถึง​ยุคสมัย​ของ​ทาว​เถิง ​คน​ที่​
8​ ​ชวง​นั้น​เมือง​แถง​ถูก​คุกคาม​จาก​อาณาจักร​ลาน​ชาง​หรือ​ลาว ​ทาว​เถิง​จึง​อพยพ​เมือง​ลึก​เขา​ไปทาง​ตะวันออก​
และ​ตั้ง​เมือง​มวย​เปน​เมืองหลวง​ขึ้น​แทน​เมือง​แถง ​นับ​แต​นั้น​มา​เมือง​มวย​จึง​เปน​ศูนยกลาง​การ​ปกครอง​และ​
เปน​เมืองหลวง​ของ​แควนส​ ิบสอง​จุไท ​มที​ าว​นั่งเมือง​สืบตอก​ ัน​มา​เรื่อย ​ๆ​ ​จนกระทั่ง​ถึง​ทาว​นั่งเมือง​คน​สุดทาย​
กอน​ที่​แควน​สิบสอง​จุไท​จะ​ถูก​ฝรั่งเศส​เขา​ยึดครอง​เปนอ​ าณานิคม ​ชื่อวา ​ทาว​คำฮัก ​เปนค​ น​ที่ ​3​2​​ของ​ราชวงศ
ลอ​คำ ท​ า ว​นงั่ เมือง​คน​สดุ ทาย​ของ​แควนส​ บิ สอง​จไุ ท​สมัยน​ นั้ เ​ปน​รชั สมัยข​ อง​พระบาท​สมเด็จพระ​จลุ จอมเกลา​
เจา​อยู​หัว ​รัชกาล​ที่ ​5​ ​ของ​ไทย ​เมื่อป​  ​พ.​ศ.​ ​2​4​2​7​ ​สิบสอง​จุไท​ถูก​พวกฮอเ​ขา​รุกราน​เผา​บาน​เผา​เมือง​ไป​ทั่ว​
ทาว​คำฮัก​กลัว​พวกฮอ ​จึง​อพยพ​พลเมือง​มา​พึ่ง​พระ​บรม​โพธิสมภาร​ของ​รัชกาล​ที่ ​5​ ​ลี้ภัย​อยู​ที่​กรุงเทพฯ ​ถึง​
3​ ​ป ​เมื่อ​ฝรั่งเศส​เขา​ยึด​สิบสอง​จุไท​จาก​ไทย​ไป​แลว ​ทาว​คำฮัก​จึง​ขอ​พระบรมราชานุญาต​จาก​รัชกาล​ที่ ​5​
ขอ​กลับคืน​สบู​ านเกิดเ​มือง​นอน​ของ​ตน ​หลังจาก​ทถี่​ ูก​ยึดครอง​จาก​ฝรั่งเศส ​สิบสอง​จุไท​จึง​ไร​ทาว​นั่งเมือง ​และ​
ฝรั่งเศส​ได​จัดตั้ง​สหพันธรัฐไต​ขึ้น ​เรียกวา ​สิบ​หก​เจาไต ​และ​แตงตั้งไท​ขาว ​เมืองไล ​ขึ้น​เปน​เจา​แผนดิน​ชื่อ​
2
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
แดว​วนั ล​ อง แ​ ละ​ใน​ป พ​ .​ศ.​2​ 4​ 9​ 7​ ​ข​ บวนการ​เวียด​มนิ ท น​ ำ​โดย​โฮจิม​ นิ ท เ​ขาโ​ จมตีค​ า ยทหาร​กองทัพข​ อง​ฝรัง่ เศส​
ทีเ​่ มือง​แถง​แตก​พา ย​แพย​ บั เยินจ​ น​ฝรัง่ เศส​แตก​กระเจิงเ​ขาฝ​ ง ล​ าว เ​พราะ​ตอน​นนั้ ล​ าว​ยงั ต​ ก​เปนของ​ฝรัง่ เศส​อยู​
คนไท​ดำ​ตอง​หนีภัย​สงคราม​อพยพ​เขา​ลาว ​สวนหนึ่ง​ที่รัก​อิสระ​และ​เกรงกลัว​ภัย​สงคราม​จึง​อพยพ​เขาสู​แขวง​
เชียง​ขวาง​ของ​ลาว​เปน​ครั้ง​แรก ​เมือง​แถง​ปราการ​ของ​ฝรั่งเศส​แตก​เพราะ​การ​แตก​แยก​ของไท​ดำ​เอง ​โดย​แบง​
เปน ​2​ ​ฝาย ​ฝาย​หนึ่ง​อยู​ฝาย​ฝรั่งเศส ​อีก​ฝาย​อยู​เวียดนาม ​ทาง​ฝรั่งเศส​ได​วาง​แผน​ตั้ง​สหพันธรัฐไต​หรือ​
สิบห​ ก​เจาไต​ขนึ้ เ​พือ่ จ​ งู ใ​ จ​ใหช​ าวไท​ดำ ไ​ ท​ขาว ช​ ว ย​กนั ต​ อ ตาน​ลทั ธิค​ อมมิวนิสต ซ​ งึ่ ช​ ว งเวลา​นนั้ ล​ ทั ธิค​ อมมิวนิสต​
เปน​ที่​หวาดกลัว​ของ​ทุก​ประเทศ​ใน​โลก ​โดยเฉพาะ​ใน​เอเชีย ​ซึ่ง​ลอ​แหลม​มาก​ตอ​การ​ถูก​คอมมิวนิสต​เขา​
ครอบครอง ​ผลลัพธ​ออกมา​คือ ​คนไท​ดำ​ถูก​หลอก​ใช​ให​รวมรบ​และ​ฆา​กันเอง ​ฝาย​ฝรั่งเศส​แพ​ตอ​โฮจิ​มินท​
เวียดนาม​เปน​ฝาย​ชนะ​และ​ขับไล​ฝรั่งเศส​ออกจาก​เวียดนาม ​แลว​ผนวก​เอา​แควน​สิบสอง​จุไท​ทั้งหมด​เขากับ​
แผนดิน​เวียดนาม​และ​ได​ปูนบำเหน็จ​แก​ขุนศึก​ที่​อยู​ฝาย​เวียดนาม​ให​ได​ทำงาน​กับ​รัฐบาล ​ตอมา​จน​ถึง​รุนลูก​
รุน หลาน​จน​ถงึ ​ปจ จุบนั ​กย็​ งั มี​อยู ​สว นไท​ดำ​ท​อี่ พยพ​ออกจาก​ดนิ ​แดน​ของ​ตน​ตา ง​ก​แ็ ตก​หนีเ​ขาสู​ลาว​ใน​ป ​พ.​ศ.​​
2​5​1​8​ ​ชน​เผาไท​ดำ​ก็​อพยพ​ลี้ภัย​อีกครั้ง ​เมื่อ​ลาว​ถูก​ขบวนการ​ประเทศ​ลาว​เขา​ยึดอำนาจ​การ​ปกครอง​เปลี่ยน​
การ​ปกครอง​เปนค​ อมมิวนิสต ไ​ ท​ดำ​จงึ ต​ อ ง​อพยพ​เขาสูป​ ระเทศ​ทส​ี่ าม เ​ชน ฝ​ รัง่ เศส แ​ คนาดา อ​ อสเตรเลีย แ​ ละ​
สหรัฐอเมริกา ​

​เดียน​เบียน​ฟู
​ แควน​สิบสอง​จุไท ​หรือ​สิบสอง​ผูไทย ​ประกอบดวย ​เมือง​ผูไท​ขาว ​และ​เมือง​ผูไท​ดำ ผูไท​ขาว ​มี ​4​
เมือง ​คือ ​1​)​ ​เมืองไล ​2​)​ ​เมือง​เจียน ​3​)​ ​เมืองมุน ​และ ​4​)​ ​เมือง​บาง ​สวน​ผูไท​ดำ ​มี ​8​ ​เมือง ​คือ ​1​)​ ​เมือง​แถง​
2​)​ ​เมือง​ควาย ​3​)​ ​เมือง​ดุง ​4)​​ ​เมือง​มวย ​5)​​ ​เมือง​ลา ​6​)​ ​เมืองโมะ ​7​)​ ​เมือง​หวัด ​และ 8​)​ ​เมืองซาง ​รวม​เมือง​
ของ​ผูไท​ขาว​และ​ผูไท​ดำ ​มี ​12​ ​ ​เมือง ​จึง​เรียกวา ​สิบสอง​ผูไทย ​หรือ​สิบสอง​จุไท ​เมือง​แถง ​ปจจุบัน​คือ ​เมือง​
เดียน​เบียน​ฟู ​เปน​จังหวัด​หนึ่ง​ทาง​ทิศ​ตะวันตกเฉียงเหนือข​ อง​เวียดนาม ​หาง​จาก​กรุง​ฮานอย​ประมาณ ​2​0​0​
กิโลเมตร ​ทาง​ทิศตะวันตก​หาง​จาก​ชาย​แดน​ประเทศ​ลาว​เพียง ​3​5​ ​กิโลเมตร ​ซึ่งเ​ปน ​1​ ​ใน​สิบสอง​จุไท ​อยู​ใน​
เขตไล​เจา ​คำ​วา ​ไล​เจา ​เปนภ​ าษาไทย​แกว ​ไทย​ลานนา​เรียกวา ​เมือง​ไหล ​หรือ​หลาย​จาว ​เดิมป​ ระมุข​ของ​เขา​
เรียกวา ​จาว​แผน​คำ ​คำ​วา ​เจา​แผนค​ ำ ​หรือ ​​​จาว​แผน​คำ ​หรือ ​จาว​ฟา ​เปนภ​ าษาไทย​เดิม ​ซึ่ง​เดิมพ​ ุทธศาสนา​
ไป​ไม​ถึง ​ฝาย​ใต​มศี​ าสนา​พราหมณ​และ​ศาสนาพุทธ ​ไทย​ฝาย​ใต​นิยม​ยกยอง​บาลี​สันสกฤต​วาเ​ปน​คำ​ชั้นสูง ​จึง​
3
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ทิง้ ค​ ำ​วา จ​ า ว​แผนค​ ำ เ​จาฟา เ​จาแ​ ผนดิน เ​ปลีย่ น​มา​ใช “​ก​ ษัตริย” ​แ​ ทน เ​มือง​ไหล​หรือไล​เจา​นี้ บ​ างทาน​สนั นิษฐาน​
วา​มาจาก​คำ ​“​หลาย​เจา”​ ​คือ ​เมืองไล​อยู​ติดกับเ​ขต​จีน ​เขต​ญวน ​และ​เขต​ลาว ​สมัยกอน​ตอง​สงสวย​แก​ทั้งส​ าม​
ประเทศ ค​ อื เ​วลา​จนี เ​ขามา​กย​็ อม​เปนข​ า จ​ นี เ​มือ่ ญ ​ วน​ขนึ้ ม​ า​กย​็ อม​ขนึ้ แ​ กญ
​ วน เ​มือ่ ล​ าว​ยก​ไป​กอ​็ อ นนอม​ตอ ล​ าว​
เปน​เชนนี้​เรื่อย​มา ​จึง​เรียกวา ​เมือง​หลาย​เจา ​ตอมา​กเ็​รียก​เปน​เมืองไล​บาง ​เมืองไล​เจา​บาง ​บางทาน​วา ​เมือง​ไร​
จาว ​กลาย​มา​เปน​เมืองไล​ตาม​ภาษา​ญวน ​เดียน​เบียน​ฟู ​มี​ลักษณะ​เปน​ที่ราบ​ลอมรอบ​ดวย​ภูเขา​สูง ​และ​เปน​
สมรภูมิรบ​อัน​ลือล​ ั่น​ใน​ชวง​สงคราม​อินโดจีนค​ รั้ง​แรก ​(​พ.​ศ.​ ​2​4​8​9​ ​-​ ​2​4​9​7)​​ ​ซึ่งเ​ปนการ​สูรบ​ระหวาง​กองทัพ​
ฝรัง่ เศส​กบั ก​ องทัพฝ​ า ย​ตอ ตาน​การ​ครอบครอง​ของ​ชาว​เวียดนาม น​ ำ​โดย​โฮจิมนิ ห ท​ เ​ี่ รียกวา ก​ องทัพเ​วียด​มนิ ห​
การ​สูรบ​ครัง้ นีส้​ ิ้นสุดด​ วย​การ​พาย​แพอ​ ยาง​ไมน​ าเชื่อข​ อง​กองทัพฝ​ รั่งเศส​ทมี่​ ี​ทั้งก​ ำลังคน​และ​อาวุธ​ทันสมัยก​ วา​
และ​ไดรับ​การ​สนับสนุนจ​ าก​สหรัฐอเมริกา ​การรบ​ที่​เดียน​เบียน​ฟู ​เริ่มขึ้น​เมื่อ​เดือน​มีนาคม ​พ.​ศ.​ ​2​4​9​7​ ​เดิมที​
ฝรั่งเศส​ได​ยึด​ปอม​เดียน​เบียน​ฟู​ที่​อยู​กลาง​หุบเขา​ไว​ได ​ซึ่ง​นับเปน​จุด​ยุทธศาสตร ​เพราะ​มี​ชัยภูมิ​ที่​เปน​ภูเขา​
ลอมรอบ ​ทำ​ให​ยาก​แก​การ​เขา​โจมตี ​โดย​ฝรั่งเศส​ตั้งเปา​วา ​ตราบ​ใด​ที่​รักษา​เดียน​เบียน​ฟู​ไว ​เวียด​มินห​ก็​ไม​
สามารถ​รุกต​ อไ​ ปได ​และ​จะ​กลาย​เปนข​ วากหนาม​ทคี่​ อย​กันไ​ มใ​ หเ​วียด​มินหเ​คลื่อน​ทหาร​ไดต​ าม​ความ​ตองการ​
แต​ในขณะ​ที่​ฝรั่งเศส​มี​กำลัง​มั่น​ใจ​ใน​ความ​แข็ง​แกรง​ของ​ปอม​เดียน​เบียน​ฟู​อยู​นั้น ​โฮจิมินห​ได​อาศัย​ความ​
กลาหาญ​เด็ดเดี่ยว​ของ​ทหาร​ประชาชน ​ซึ่ง​ถอด​ปน​ใหญ​ออก​เปน​ชิ้นๆ​ ​แลว​ขน​ลำเลียง​ขึ้น​ไป​บน​ยอดเขา​รอบ​
เมือง​เดียน​เบียน​ฟอ​ู ยาง​ลำบาก​ยากเย็น ค​ รัน้ ป​ ระกอบ​ปน ใ​ หญเ​สร็จ ท​ หาร​เวียด​มนิ หท​ อ​ี่ ยูต​ าม​ยอดเขา​รอบ​ปอ ม​
เดียน​เบียน​ฟู ​ก็​ระดม​ยิงปน​ใหญ​เขาตี​ปอม​ของ​ฝรั่งเศส​อยาง​พรอมเพรียง​กัน ​จน​ปอม​เดียน​เบียน​ฟู​แตก​
ฝรัง่ เศส​ตอ ง​ยอม​พา ย​แพแ​ ละ​ถอนตัวไ​ ปจาก​เวียดนาม​ใน​ทสี่ ดุ ก​ ารรบ​ครัง้ นีถ​้ อื วา เ​ปนช​ ยั ชนะ​ครัง้ ย​ งิ่ ใ​ หญ​ทสี่ ดุ ​
ของ​ชาติ​เอเชีย​อาคเนย​เหนือ​ชาติ​มหาอำนาจ​ตะวันตก ​ขณะ​ที่​ขอตกลง​ใน​การ​ประชุม​เจนีวา​เมื่อ​วัน​ที่ ​2​1​
กรกฎาคม ​19​ 5​ 4​ ​​แบงเ​วียดนาม​ออก​เปนเ​วียดนาม​เหนือแ​ ละ​เวียดนาม​ใต ​ดวย​เสนขนาน​ที่ ​1​7​​กอน​ที่​สงคราม​
อินโดจีนค​ รัง้ ท​ ี่ 2​ ​ห​ รือส​ งคราม​เวียดนาม​จะ​เกิดต​ าม​มา​อกี ใ​ น 3​ ​ป​ ถ ดั ม​ า โ​ ดย​สหรัฐฯ​เขามา​มบ​ี ทบาท​ใน​การ​สรู บ​
และ​ก็​พาย​แพ​ไป​ใน​ที่สุด​เชนก​ ัน

4
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
​ไท​ดำ ​หรือ ล​ าว​โซง

​ ไท​ดำ ​เปน​ชนชาติ​ไทย ​ที่​เรียก​ตน​เอง​วา ​ไต ​(​ไท)​ ​หรือ ​T​A​I​ ​โดย​มี​คน​เรียกชื่อห​ ลาย​ชื่อ ​เชน ​ลาว​โซง​
ไทย​โซง ล​ าว​ซงดำ ผ​ ​ไู ทยดำ ไ​ ทย​ทรง​ดำ แ​ ตค​ ำ​วา ไ​ ท​ดำ จ​ ะ​เปน​ทร​ี่ จู กั ก​ นั ​อยาง​แพรหลาย ​เปนกลุม ช​ าวไท​กลุม ​
หนึ่ง​ที่​มี​ถิ่นฐาน​ดั้งเดิมอ​ ยู​ใน​เขต​สิบสอง​จุไท​เดิม ​หรือ​บริเวณ​ลุม​แมน้ำด​ ำ​และ​แมน้ำแ​ ดง​ใน​เวียดนาม​เหนือ ​ซึ่ง​
เปน​ถิ่น​ที่​อยูด​ ั้งเดิม​ของ ​ชาวไท​ดำ ​ชาวไท​แดง ​และ​ชาวไท​ขาว ​ใน​สมัยท​ ฝี่​ รั่งเศส​เขามา​ปกครอง​เวียดนาม ​และ​
ลาว ​พวกเขา​ไดเ​รียก​ชน​เผา​ที่​อยูบ​ ริเวณ​ลุม​แมน้ำด​ ำ​วา ​ไท​ดำ ​ที่​เรียกวาไท​ดำ ​เพราะวา​กลุมชน​เผาไท​ดังกลาว​
นิยม​สวมเสื้อผาส​ ีดำ​อันเปนเ​อกลักษณ ​ซึ่ง​ยอม​ดวย​ตน​ฮอม​หรือ​ตน​คราม ​แตไท​ดำ​มี​ผิวขาว​คลาย​คน​จีน ​คำ​
วา ​ซง ​หรือ ​สวง ​แปล​วา ​กางเกง ​จึง​เรียก​คน​เหลานีต้​ าม​เครื่อง​นุงหม​วา ​ลาวซงด​ ำ ​หรือ​ลาว​โซง นอกจากนี้​ใน​
หนังสือส​ ารานุกรม​ไทย (หนา 6787) ก​นอกจา ลาว​ถึง ​ลาว​โซง ​โดย​เติมค​ ำ​วา ​ลาว ​ไป​ขางหนาน​ ั้นส​ ันนิษฐาน​ไดส​ อง​ทาง​
คือ
​ 1​.​ค​ ง​เปนเ​พราะ​คน​ไทย​เหลานีไ​้ ดอ​ พยพ​มาจาก​
ดิน​แดน​สวนหนึ่ง​ติดตอ​กับ​อาณาเขต​ประเทศ​ลาว ​และ​
มีข​ นบ​ธรรมเนียม​ประเพณีส​ ว น​ใหญค​ ลายคลึงก​ บั ค​ น​ใน​
อาณาจักร​ลาว ​จึง​เรียกวา ​ลาว​โซง
​ 2​.​ค​ ง​เกิดจ​ าก​ความ​นยิ ม​เรียกชือ่ ค​ น​ใน​สมัยน​ นั้ ​
มัก​จะ​เรียก​ผู​ที่​จาก​ถิ่น​อื่น​อพยพ​เขามา​อยู​ใหม​วา ​ลาว​
ดังเชน ​ลาว​เวียง ​ลาวพวน ​เปนตน ​ไทย​โซง ​เมื่อ​ได​
อพยพ​เขามา​อยูท​ เ​ี่ พชรบุรี จ​ งึ พ​ ลอย​ไดรบั ก​ าร​เรียก​ชอื่ วา​
ลาว ​ไป​ดวย
ปจจุบัน​พบไท​ดำ​ใน​จังหวัด​เพชรบุรี ​ราชบุรี​
นครปฐม ส​ พุ รรณบุรี ล​ พบุรี ส​ ระบุรี ก​ าญจนบุรี ส​ โุ ขทัย​
พิจิตร ​พิษณุโลก เลย ชุมพร และสุราษฎร์ธานี
ที่มา : มูลนิธิ​ไทยทรง​ดำ ประเทศ​ไทย​, 2548

5
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
​ ชาว​ไทดำ เ​ชือ่ ก​ นั ว​ า ต​ น​สบื เชือ้ สาย​มาจาก​บรรพบุรษุ ด​ งั้ เดิม 2​ ​ต​ ระกูล ค​ อื ต​ ระกูลผ​ ผ​ี ท​ู า ว แ​ ละ​ตระกูล​
ผี​ผูนอย ​ตระกูล​ผี​ผู​ทาว ​สืบเชื้อสาย​มาจาก​ชนชั้น​เจานาย ​เปน​ชนชั้นป​ กครอง ​ใน​สาย​ตระกูล​มี​ซิงเ​ดียว ​(​คลาย​
แซ​ของ​ชาวจีน)​ ​คือ ​ซิงลอ ​ผู​ที่เกิด​ใน​ตระกูล​นี้​จะ​ถือผ​ ี​ผู​ทาว​เปน​ผี​ประจำ​ตระกูล ​ตระกูล​ผผี​ ูนอย ​สืบเชื้อสาย​
มาจาก​ชนชั้น​สามัญ ​หรือ​ชั้นเ​พี้ย ​ผู​ที่เกิดใ​ น​สาย​ตระกูล​นี้ ​จะ​ถือผ​ ี​ผูนอย​เปน​ผปี​ ระจำ​ตระกูล ​ชาว​ไทดำเชื่อ​วา​
ผี​ผู​ทาว​มี​ศักดิ์​สูงกวา​ผี​ผูนอย ​ผูนอย​จะ​ตอง​ให​ความ​เคารพ​ยำเกรง​แก​ผู​ทาว ​ความ​เชื่อ​นี้​จะ​ปรากฏ​ใน​การ​
ประกอบ​พิธีกรรม ​เชน ​พิธีเสน​เรือน ​ซึ่ง​ผูนอย​จะ​เขารวม​ใน​พิธีเสน​เรือน​ของ​ผู​ทาว​ไมได ​สวน​ใน​การ​ดำเนิน​
ชีวิต​นั้น​ทั้งสอง​ตระกูล​อยูรวม​กัน​ได​อยาง​เสมอภาค ​ไท​ดำ ​มี​การ​นับถือ​ผี ​มี​การ​บวงสรวง​ผี​เปนประจำ ​เชน​
ผีเรือน ​หรือ ​ผี​บรรพบุรุษ ​ที่​มุมห​ นึ่ง​ใน​บาน​จะ​ใช​เปน​ที่​บูชาผีบ​ รรพบุรุษ ​เรียกวา ​“​กะ​ลอห​ อง”​หาก​เปน​ตระกูล​
ผูนอย​จะ​มี​การ​เซนไหวห​ รือเ​ลี้ยงผี​ทุกๆ​ ​1​0​ ​วัน ​หาก​เปน​ตระกูล​ผี​ผทู​ าว​จะ​เลี้ยงผีท​ ุกๆ​ ​5​ ​วัน ​เรียก​การ​เลี้ยงผี​
ประจำ​ตระกูลน​ ว​ี้ า “​ ป​ า ดตง”​ใ​ น​หนึง่ ป​ ไ​ ทดำ​โซงจ​ ะ​มพ​ี ธิ เ​ี ลีย้ งผีค​ รัง้ ใ​ หญ เ​รียกวา พ​ ธิ เี สน​เรือน ซ​ งึ่ เ​ปนการ​แสดง​
ถึงค​ วาม​กตัญูต​ อ​บรรพบุรุษ​ที่​ได​ลวงลับ​ไป​แลว ​เชื่อ​กันว​ า ​เมื่อ​เลี้ยงผีแ​ ลว ​ผี​ก็​จะ​ปกปอง​คุมครอง​ตน​ให​อยู​
ดี ​มี​ความ​สุข ​มี​ความ​เจริญก​ าวหนา น​ อกจากนีย้​ ังมีก​ าร​นับถือ ​“แ​ ถน”​ ​คือ​ผใู​ หคุณ​และ​โทษ ​

​การ​อพยพ​ของ​ชาวไท​ดำ​สู​ประเทศ​ไทย ​
​ ใน​ป ​พ.​ศ.​ ​2​4​38​ ​ ​และ ​ป ​พ.​ศ.​ ​24​ ​3​9​ ​ได​เกิดก​ าร​อพยพ​ครั้ง​ใหญ​ของ​ชาว​ผูไท​ขึ้น ​สาเหตุม​ าจาก​ศึก​
สงคราม​แยงชิง​อำนาจ​กัน​ระหวาง​บรรดา​หัวหนา​ของไท​ดำ​กลุม​ตางๆ​ ​ใน​แควน​สิบสอง​จุไท ​พวกไท​ดำ​จึง​ได​
อพยพ​เขามา​ในประเทศ​ลาว​และ​ใน​ภาคอีสาน​ของ​ประเทศ​ไทย ​ในประเทศ​ลาว​นั้น ​ชาวไท​ดำ​สวนมาก​ได​ตั้ง​
ถิ่นฐาน​ใน ​แขวง​หลวง​น้ำ​ทา ​แขวง​บอ​แกว ​แขวง​อุดมไซ​​แขวง​หัวพัน ​และ ​แขวงซำ​เหนือ ​สวน​ในประเทศ​ไทย​
นั้น​ก็​อพยพ​เขามา​ดวย​เชน​กัน ​โดย​มา​ตั้ง​ถิ่นฐาน​ใน​ภาคอีสาน​ตอน​บน ​เชน ​จังหวัดเลย ​นครพนม ​กาฬสินธุ​
มุกดาหาร​​รอยเอ็ด ​และ ​สกลนคร ​ใน​ชวง​ระหวาง ​ป ​พ.​ศ.​​2​4​9​6​​จน​ถึง​ป ​พ.​ศ.​​2​4​9​7​​ได​เกิดส​ งคราม​ใน​เมือง​
เดียน​เบียน​ฟู ซ​ งึ่ เ​ปนหนึง่ ใ​ น​เมือง​ของ​แควนส​ บิ สอง​จไุ ท​เดิม ช​ าว​ผไู ท​จงึ ไ​ ดอ​ พยพ​หลบหนีก​ าร​เกณฑท​ หาร​ของ​
ฝรั่งเศส เ​ขามา​ในประเทศ​ลาว​และ​ในประเทศ​ไทย​อกี​ ระลอก ​

6
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ใ​ น​สมัยส​ มเด็จพ​ ระเจาต​ าก​สน​ิ ม​หา​ราช ค​ รัน้ พ​ ระองคท​ รง​ไป​ตก​ี รุงเ​วียงจันทน ใ​ น​ป พ​ .​ศ.​2​ 3​ 2​ 2​ ​พ​ ระองค​
ทรง​ได​กวาด​ตอน​ชาวไท​ดำ​ที่​อพยพ​มาจาก​สิบสอง​จุไท ​สงไป​ตั้งถ​ ิ่นฐาน​ที่​เมือง​เพชรบุรี ​ตอมา​ใน​ป ​พ.​ศ.​ ​2​3​35​ ​
สมัย​พระบาท​สมเด็จ​พระพุทธ​ยอด​ฟา ​จฬุ า​โลก ​และ​ใน​ป ​พ.​ศ.​ ​2​3​8​1​ ​สมัย​พระบาท​สมเด็จพระ​นง่ั ​เกลาเ​จา​อยูห​ วั ​
พระองคก​ ็​ทรง​ยกทัพ​ไป​ตี​เวียงจันทน ​และ​ก็ไดก​ วาด​ตอน​ชาวไท​ดำ​มา​อีก ​ซึ่ง​ใน​ปจจุบัน​ตั้ง​ถิ่นฐาน​กระจาย​กัน​
อยูใ​ น​พนื้ ท​ ห​ี่ ลาย​จงั หวัด เ​ชน ร​ าชบุรี น​ ครปฐม ส​ พุ รรณบุรี พ​ จิ ติ ร พ​ ษิ ณุโลก ก​ าญจนบุรี ล​ พบุรี ส​ ระบุรี ช​ มุ พร​
และสุร​ าษฎร​ธานี ​ปจจุบันเ​รียก​คน​เหลานีว้​ า ​ชาวไทย​โซง มี​หลักฐาน​ปรากฏ​ใน​หนังสือป​ ระวัติ​ผูไทย​หรือ​ชาว​
ผูไทย​ที่​ถูก​กวาด​ตอน​มาจาก​เมือง​แถน ​หรือ เ​มือง​แถง ดังนี้
​ครั้ง​ที่ ​1​ ​ใน​สมัย​กรุงธนบุรี ​สมเด็จพ​ ระเจา​ตาก​สิ​นม​หา​ราช ​ป ​พ.​ศ.​ ​2​3​2​2​ ​ดัง​ปรากฏ​หลักฐาน​ใน​พระ​
ราช​พงศาวดาร​รัชกาล​ที่ ​1​ ​(ห​ นา ​3​8-​ ​40​ ​)​ ​ความ​วา ​ใน​จุลศักราช ​1​1​4​1​ ​ปกุน ​เอกศก ​(​พ.​ศ.​ ​2​3​2​2​)​ ​พระยา​เดโช​
(​แทน)​พ​ ระยา​แสน​ทอ งฟาผ​ น​ู อ ง​อพยพ​ครอบครัวห​ นีไป​อยูเ​ มือง​ญวน ก​ องทัพส​ มเด็จพระม​หา​กษัตริยศ​ กึ แ​ ละ​
เจาพระยาสุร​สีห​พิษ​ณุวาธิ​ราช​ตีเมือง​ลาน​ชาง​ได​แลว ​ให​เก็บ​สิ่งของ​ปน​ใหญ​นอย​ครอบครัว​เขามา ​ณ ​เมือง ​
พันพ​ ราว แ​ ละ​ใหก​ องทัพห​ ลวง​พระ​บาง​ไป​ตเี มือง​ทนั ต ญ ​ วน​เรียกวา เ​มือง​ซอื หงี เ​มือง​มว ย ส​ อง​เมือง​นเ​ี้ ปน​ลาว​
ทรง​ดำ ​(ผ​ ูไท​ดำ)​ ​อยูร​ ิมเ​ขต​แดน​เมือง​ญวน ​ได​ครอบครัว​ลาว​ทรง​ดำ​ลงมา​เปนอันมาก ​พา​ครอบครัวล​ าว​เวียง​
ลาว​ทรง​ดำ​ลงมา​ถึง​กรุง​ใน​เดือนยี่ ​ปกุน ​เอกศก ​(​พ.​ศ.​ ​2​3​2​2​)​ ​นั้น ​ลาว​ทรง​ดำ​นั้น​โปรด​ให​ไป​ตั้ง​บานเมือง​อยู​
เพชรบุรี ​นับเปน​รุนแ​ รก​ที่มา​ตั้ง​ถิ่นฐาน​ในประเทศ​ไทย ​ลาว​เวียง ​ลาว​หัวเมือง​ฟากโขง​ตะวันออก​ก็​โปรด​ให​ไป​
ตั้ง​บานเมือง​อยู​สระบุรี ​เมือง​ราชบุรี​บาง ​ตาม​หัวเมือง​ตะวันตก​บาง ​อยู​เมือง​จันทบุรี​บาง​ก็​มี​เชื้อสาย​มา​จน​
ทุกวันนี้ ​
​ครั้ง​ที่ ​2​ ​สมัย​รัชกาล​ที่ ​1​ ​ใน​ป ​พ.​ศ.​ ​23​ ​3​5​ ​กองทัพเ​วียงจันทนต​ ี​หลวง​พระ​บาง​แตก ​และ​จับ​กษัตริย​
หลวง​พระ​บาง​สง​กรุงเทพฯ ​ใน​ป ​พ.​ศ.​2​3​35​ ​-​2​3​3​8​ ​กองทัพ​เวียงจันทนไ​ ดต​ ีเมือง​แถง ​และ​เมืองพวน ​ซึ่ง​แข็ง​
ขอตอเ​วียงจันทน ​กวาด​ตอน​ชาว​ผูไท​ดำ ​ลาวพวน​เปน​เชลย​สงม​ า​กรุง​เทพ ​ฯ ​รัชกาล​ที่ ​1​ ​ทรง​มี​รับสั่ง​ให​ชาว​
ผูไท​ดำ​ประมาณ 4​ ,​0​ 0​ 0​ ​ ​คน​ไป​ตั้ง​ถิ่นฐาน​ที่​เพชรบุรี​เชน​เดียว​กับช​ าว​ผูไท​ดำ​รุน​แรก
​ ครัง้ ท​ ี่ 3​ ​ใ​ น​สมัยพระบาท​สมเด็จพระ​นงั่ เ​กลาเ​จาอ​ ยูห​ วั ร​ ชั กาล​ที่ 3​ ​เ​มือ่ ป​  พ​ .​ศ.​2​ 3​ 7​ 9​ ​ม​ ห​ี ลักฐาน​ปรากฏ​
ใน​พงศาวดาร​เมืองหลวง​พระ​บาง ​(​หนา ​2​5​3​-​2​5​4​)​ ​ความ​วา ​ครัง้ ​ศกั ราช ​1​1​9​7​ ​ ปมะ​แม ​สปั ตศก ​(​พ.​ศ.​ ​2​3​7​8)​​
เจาพระยา​ธรรมาธิก​ รณ (​ส​ มบุญ)​เ​ปนแ​ มทพั ค​ มุ พ​ ลทหาร​ขนึ้ ไ​ ป​ตงั้ อ​ ยูเ​ มืองหลวง​พระ​บาง แ​ ลวแ​ ตงใ​ หเ​จาร​ าชไภย​
อุ ป ราช​ท  า วพระยา​คุ ม ​ก องทั พ ​ขึ้ น ​ไ ป​ตี เ มื อ งพวน ​แ ต ง ​ใ ห ​เ จ า ​อุ  น ​แ ก ว ​น  อ ง​เ จ า ​อุ ป ราช ​เ จ า สั ญ ​ไ ชย ​
7
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
บุตร​เจา​อุปราช​นาค​ที่ ​7​ ​เจาแ​ กนค​ ำ​บุตร​เจา​หอ​หนาอ​ ภัยท​ ี่ ​2​ ​เจา​คำ​ปาน​บุตร​เจามงท​ ี่ ​1​ ​ทาวพระยา​ยกกองทัพ​
ขึ้น​ตีเมือง​แถน​จับได ​ลาวพวน ​ลาว​ทรง​ดำ ​(​ผู​ไทยดำ)​ ​สง​ลงมา ​ณ ​กรุงเทพฯ ​เจาเมือง​ธาตุ​เจา​เมืองหลวง​พระ​
บาง​ครอง​เมือง​ได ​20​ ​ ​ป ​รวม​อายุ ​64​ ​ ​ป ​กถ็​ ึง​แกก​ รรม ​ ​ศักราช ​1​1​9​8​ ​ปวอก ​อัฐศก ​(​พ.​ศ.​ ​2​3​79​ ​)​ ​เจา​อุปราช​
เจา​ราชวงศ​มี​ศุภอักษร​แตง​ให​เจา​อุน​แกว​คุม​ดอกไม​เงิน​ดอกไม​ทอง​ลงมา​กรุงเทพฯ ​พระบาท​สมเด็จพระ​นั่ง​
เกลาเ​จาอ​ ยูห​ วั ท​ รง​เห็นวา เ​จาอ​ ปุ ราช​หรือเ​จาร​ าชวงศค​ ง​จะ​ตงั้ เ​ปนเ​จาเ​มืองหลวง​พระ​บางคน​หนึง่ จ​ งึ โ​ ปรด​ตงั้ เ​จา​
อุน​แกว​เจา​นครหลวง​พระ​บาง​อนุรุธท​ ี่ ​5​ ​เปนเ​จา​นอง​อุปราช​ราชไภย​เปน​ที่​ราชวงศ​ขึ้นไ​ ป​รักษา​บานเมือง ​ครั้น​
เจาอ​ ุปราช​ราชวงศป​ ลงศพ​เจาเ​มืองหลวง​พระ​บาง​เสร็จ​แลว ​พวก​เมือง​หึม ​เมือง​คอย ​เมือง​ควร ​ตั้งข​ ัด​แข็งต​ อ​
เมืองหลวง​พระ​บาง ​เจา​อุปราช​เจา​ราชวงศ​แตง​ให​ทาวพระยา​คุม​กองทัพ​ขึ้น​ไป​ตี​จับได​ลาว​ทรง​ดำ ​(​ผู​ไทยดำ)​​
แตง​ให​พระยา​ศรีม​ หา​นาม​คุมล​ งมา ​ณ ก​ รุงเทพฯ ​ครั้งหนึ่ง
​ ​ครั้ง​ที่ ​4​ ​ปพ.​ศ.​ ​2​3​8​1​ ​สมัยพระบาท​สมเด็จพระนั่งเกลา​เจาอยูหัว รัชกาล​ที่ ​3​ ​ยกทัพ​ไป​ปราบ ​
เจา​ราชวงศ
​ ​ครั้ง​ที่ ​5​ ​ปพ.​ศ.​ ​2​4​2​5​-2​ ​42​ ​8​ ​สมัยพระ​บาท​สมเด็จพระจุลจอมเกลา​เจาอยูหัว​ รัชกาล​ที่ ​5​ ​ยกทัพไ​ ป​
ปราบ​ศกึ ฮอ ไ​ ดโปรด​ใหพ​ ระยา​ภธู รา​ภยั ห​ รือ พ​ ระยา​ชม​ภู เ​ปนแ​ มทพั ไ​ ป​ปราบฮอ แ​ ละ​ไดอ​ พยพไท​ดำ​จาก​เมือง​
แถง ​และ​เมืองพวน​ใน​แควนส​ ิบสอง​จุไท ​มา​ใน​ปพ.​ศ.​ ​2​4​2​5​ ​ ​พัก​อยูท​ ี่​กรุงเทพฯ ​3​ ​วัน ​โดย​มี​ตัว​แทนไท​ดำ ​5​
คน ​ได​เขาเฝา​พระบาท​สมเด็จพระ​จุลจอมเกลา​เจา​อยู​หัว ​เพื่อ​ขอ​พระราชทาน​อาหาร​และ​เครื่อง​นุงหม ​คือ​
1​)​ ​พอ​ของ​หยอด ​สิงลอ​คำ ​(อ​ าย​เฒามน ​ไพ​ศูนย)​ ​2​)​ ​พอ​ของ​นาย​นาค ​สิงลอ (​อาย​เฒาแ​ ฝง ​ดี​แอ)​ ​3​)​ ​พอ​ของ​
นาย​โหย ​สิงลอ ​(​อาย​โหย ​ออยนอ)​ ​4)​​ ​พอ.​.​.​..​ ​5​)​ ​..​​..​​.​ ​ตอมา​เมื่อ​ป พ.​ศ.​ ​2​4​3​0​ ​ได​อพยพ​เขาไป​ในประเทศ​ลาว​
อีก​ครัง้ หนึง่ แ​ ลวจ​ งึ อ​ พยพ​กลับเ​ขามา​ตงั้ บ​ า นเรือน​อยูท​ บ​ี่ า นนา​ปา ห​ นาด ตำบล​เขาแกว อำเภอ​เชียง​คาน จังหวัด​
เลย ​เมื่อ​ป พ.​ศ.​ ​2​46​ ​0​ จ​ น​ถึง​ปจจุบัน
​ พระ​มหา​มนตรี ​ขน.​ติ​สาโร ​เขียน​จาวไต​ดำ ​หรือ​จาวไต​โซงใ​ น​ดิน​แดน​สยาม ​ไว​วา ​จาวไต​โซง ​นับไ​ ด​วา​
เปน​ชน​กลุม​นอย​ในประเทศ​ไทย​ที่​เขา​เรียก​กัน​ติดปาก​วา ​คน​ลาว ​หรือ ​ผู​ลาว ​ใน​ปจจุบัน​นี้​ไดก​ ระจาย​แยกยาย​
กัน​ไป​ทำ​มา​หากินต​ าม​ใจชอบ​ใน​ทองถิ่น​ตาง ​ๆ​ ​ทั่วประเทศ​ไทย ​
​ ใน​จงั หวัดเ​พชรบุรี ท​ อ​ี่ ำเภอ​เขายอย ต​ ำบล​หนองปรง ท​ บั ค​ าง ห​ ว ย​ทา ชาง ท​ อ​ี่ ำเภอ​เมือง ต​ ำบล​วงั ต​ ะโก​
ที่​อำเภอ​ชะอำ ​และ​ที่​อำเภอ​บาน​แหลม ​ตำบล​ทาชาง ​

8
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
​ ใน​จังหวัด​สุพรรณบุรี ​ที่​อำเภอ​อูทอง ​ตำบล​บาน​ดอน ​สระ​ยาย​โสม ​หนอง​โอง ​ดอน​มะเกลือ ​ที่​อำเภอ​
สองพี่นอง ​มี​หมูบาน​หนอง​งาน ​หมูบาน​ดอน​มะนาว ​หมู​บานลาด​มะขาม ​ตำบล​บาน​โขง ​ที่​อำเภอ​เมือง ​ตำบล​
บาง​กุง ​หมูบาน​บาง​หมัน แ​ ละ​ที่​อำเภอ​บางปลามา ​ ​ ​
​ ใน​จังหวัดร​ าชบุรี ​ที่​อำเภอ​จอมบึง ​ตำบล​จอมบึง ​หมูบาน​ตลาด​ควาย ​ที่​อำเภอ​ดำเนินสะดวก ​ตำบล​
ดอน​คลัง ​หมูบาน​บัว​งาม ​ที่​อำเภอ​บาง​แพ ​ตำบล​ดอนคา ​หมูบ​ านตาก​แดด ​และ​ที่​อำเภอ​ปากทอ
​ ใน​จังหวัด​นครปฐม ​ที่​อำเภอ​สามพราน ​ตำบล​ตลาด​จินดา ​ที่​อำเภอ​บางเลน ​หมูบาน​เกาะ​แรต​
บาน​ดอน​ขมิ้น ​บาน​หัว​ทราย ​บานไผห​ ูชาง ​บานไผ​คอก​เนื้อ ​ที่​อำเภอ​กำ​แพง​แสน ​หมูบาน​ดอน​เตาอิฐ ​บาน​สระ​
บาน​ยาง ​บาน​ดอน​ทอง ​บานไผ​คอย ​บานไผ​โทน ​บานไผ​แกะ ​ที่​อำเภอ​ดอนตูม ​หมูบาน​แหลม​กระเจา ​
บาน​หัวถนน ​และ​ที่​อำเภอ​เมือง ห​ มูบาน​ดอน​ขนาก ​
​ ใน​จังหวัดเ​ลย ​ที่​บานนา​ปา​หนาด ​ตำบล​เขา​แกว ​อำเภอ​เชียงคาน ​นอกจากนีเ้​ขา​ใจ​วา ​มี​อยู​ใน​จังหวัด​
อื่น ​ๆ​ ​อีก​หลาย​แหง ​เชน ​กาญจนบุรี ​สระบุรี ​ลพบุรี ​นครสวรรค ​พิจิตร ​พิษณุโลก ​สุโขทัย ​ชุมพร ​และ
สุ​ราษฎร​ธานี ​อยางไรก็ดี ​ไมวา​ชาว​โซงจ​ ะ​มาจาก​ถิ่นใ​ ด ​มี​ความ​เปนมา​อยางไร ​จะ​เปน​คน​ลาว​หรือ​เปน​คน​ไทย​
ก็ตาม ​แตจาว​โซงก​ ็​ยังมี​ภาษาพูด ตัวอักษร​ ​วัฒนธรรม​ประเพณี ​เครื่อง​แตงกาย ​ซึ่งจาว​โซง​ยังคง​รักษา​ไว​ให​
อยูค​ ู​แผนดินส​ ยาม ​สืบสาย​ภาพลักษณ​นับจาก​บรรพบุรุษ​มา​จน​ถึง​ทุกวันนี้

​ตัวอักษร
​ ไทย​ทรง​ดำ ​ไท​ดำ ​หรือภ​ าษาถิ่น​เรียกวา ​“​ลาว​โซง”​ ​มี​ภาษาพูด​และ​ภาษาเขียน​เปนของ​ตน​เอง ​นับต​ ั้ง​
แต​ตั้ง​ถิ่นฐาน​อยู​ที่ดิน​แดน​สิบสอง​ปนนา ​ภาษาถิ่น​ของ​ลาว​โซง​นั้น​มี​เอกลักษณ​เฉพาะตน​เอง ​ซึ่ง​ยาก​ตอ​การ​
เลียน​แบบ

9
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

10
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
​ลักษณะ​บานเรือน
​ บานของ​ชาวไท​ดำหรือลาว​โซง ​เรียกวา ​เฮือน​ลาว​หรือ​เรือน​ลาว ในอดีต​เปน​เรือน​หลังใ​ หญ ​มี​ลักษณะ​
เปน​บาน​ชั้นเดียว​ใตถุน​สูง ​ทั้งนีเ้​พื่อใ​ ช​บริเวณ​ใตถุน​บาน​เปน​ที่​ประกอบ​กิจกรรม​ตางๆ​ ​ภาย​ใน​ครัวเรือน ​เชน​
การ​ทอผา ​ปนดาย ​ตำ​ขาว ​และ​เพื่อเ​ปน​ที่​อยูข​ อง​สัตวเลี้ยง ​สรางดวย​วัสดุท​ ี่​หาได​งาย​ใน​ทองถิ่น ​เชน ​ไมไผ​
หญา​แฝก ​และ​ไมเ​นื้อ​แข็งต​ างๆ​​สวน​ของ​พื้นบาน​ปู​ดวย​ฟาก​ไมไผ ​ใช​ลิ่ม​เปน​สลัก ​หรือ​ตัวย​ ึด ​และ​ใช​หวาย​ผูก​
แทน​การ​ตอก​ตะปู ​เสา​บาน​ทำ​ดวย​ไม​เนื้อ​แข็ง ​สวน​หองน้ำ​หองสวม​จะ​ปลูก​แยก​หาง​จาก​ตัวเรือน ​หลังคา​มุง​
ดวย​หญาคา​เปนร​ ูปโ​ คง​ลงมา​ปกคลุมท​ ั้ง​บาน​เกือบ​ครึ่ง​หลัง ​เปรียบ​เสมือน​ฝา​บาน​สวนหนึ่ง ​ใช​ปอง​กันล​ ม​และ​
ความ​หนาวเย็น ​บริเวณ​จวั่ ​บน​หลัง​คามี​ลกั ษณะ​ท​โี่ ดดเดน​ถอื เปน​เอกลักษณ​ของ​บา น​ลาว​โซง ​คอื ​การนำ​เอา​ไม​
มา​ประดิษฐเ​ปนร​ ูป​โคง ​2​​ชิ้น ​ประกบ​ไขว​กัน​คลาย​เขา​ควาย​อยู​บน​ยอดจั่ว ​ลาว​โซง ​เรียกวา ​“​ขอกุด”​​​​ซึ่งถ​ ือวา​
เปนส​ ัญลักษณแ​ หง​ความ​ดี​และ​ความ​สำเร็จ ​สวน​ระเบียง​บาน​ทั้งห​ นาบาน​และ​หลังบาน ​มี​บันได​ขึ้น-​ลง ​ทั้งห​ นา​
และ​หลัง ​ระเบียง​ดานหนาใ​ ช​เปนท​ ี่​รับ​แขก​ผูหญิง ​เรียกวา ​“​กก​ชาน”​ ​สวน​ระเบียง​ดานหลัง ​เรียกวา ​“​กวาน”​​
สำหรับ​แขก​ผูชาย ​สวน​ใน​ตัวบาน ​จัด​มุมใ​ ด​มุมห​ นึ่ง ​ให​เปนห​ อง​สำหรับ​เปน​ที่​อยูข​ อง​ผบี​ รรพบุรุษ ​ซึ่งเ​รียกวา​
“​กะ​ลอ​หอง”​ ​ใน​หอง​ผี​ตอง​เจาะ​ชอง​ฝา​บาน​ไว ​1​ ​ชอง ​เพื่อ​เวลา​ทำพิธีเสน​เรือน​จะ​ตอง​สง​อาหาร​ที่​ทำพิธี​ให​
บรรพบุรุษ​ทาง​ชอง​นี้ ​สวน​ตัวบาน​ใหจ​ ัด​เปนม​ ุม​นอน​มุม​หนึ่ง ​มุม​ครัว​มุม​หนึ่ง ​ ​ ​ที่​ครัว​จะ​มี​เตาไฟ​และ​อุปกรณ​
การ​หุงตม​ดวย​หมอดิน ​เหนือ​เตาไฟ​ขึ้น​ไป​จะ​มี​หิ้ง​เพื่อ​เก็บ​ของ​ใช​จำพวก​หวาย​และ​ไมไผ ​เพื่อ​รักษา​เนื้อ​ไมไผ​
และ​หวาย​ไม​ใหม​ อด​กิน ​เมื่อเ​วลา​หุงหาอาหาร​ควันไ​ ฟ​จะ​ขึ้นไ​ ปรม​ของ​ใชบน​หิ้ง ​ซึ่ง​ลาว​โซง​จะ​เรียก​หิ้งน​ ี้​วา ​“​สา”​​
สวน​ทาง​มุม​นอน ​จะ​เห็น​ที่นอน​และ​มุง ​ซึ่ง​ลวน​เปน​สีดำ​ทั้งสิ้น ​จะ​ไมมี​การ​เก็บ​ที่นอน​และ​จะ​กาง​มุงไวตลอด​
เพราะ​ถอื วา น​ นั่ เ​ปนท​ ส​ี่ ว นตัว ห​ รือเ​ปนห​ อ ง​อกี ห​ อ ง​หนึง่ เ​ชนก​ นั ถัดอ​ อกไป​อกี จ​ ะ​มห​ี งิ้ เ​ก็บสิง่ ของ​เกีย่ วกับเ​สือ้ ผา​
ของ​ใช​มี​คา​ใสไว​ใน​หีบ​ที่​ทำ​ดวย​ไมไผ ​ซึ่ง​ชาว​โซงใ​ ช​แทน​ตู​เสื้อผา ​เรียก​หีบ​ไมไผน​ ั้น​วา ​“​ขมุก”​ ​สวน​ของ​หลังคา​
บาน​มุง​ดวย​หญาคา ​ฝา​บาน​ขัด​แตะ​ดำ​ดวย​ไมไผ ​ไมมี​ชอง​หนาตาง ​ใน​ปจจุบัน​เปลี่ยน​มา​ปลูกบาน​สมัย​ใหม​
เกือบ​หมด​แลว ​แตป​ ระเพณีต​ างๆ​ ย​ ัง​รักษา​ไว​เหมือนเดิม​ทุกอยาง




11
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

เรือนไท​ดำ บาน​โซง จังหวัดส​ ุพรรณบุรี


วาด​จาก​ภาพถาย​ของ ​ศิริ​ชัย นฤมิตร​เวช​การ ใน กรม​ยุทธโยธา​ทหารบก. เรือน​ไทย. 2515

เรือน​ทรง​กระดองเตา เรือน​จั่ว​ทรง​จอม​แห และ​เรือน​ปนหยา ที่​บาน​พระ​ยาย​โสม อำเภอ​อูทอง จังหวัด​สุพรรณบุรี เมื่อ พ.ศ. 2513


(วาด​จาก​ภาพถาย​ของ อุทัย​ใจ​จงรัก)

เรือนไท​ดำ บาน​หนองชุม​พล อำเภอ​เขายอย ​จังหวัด​เพชรบุรี

12
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

เรือน​ทรง​กระดองเตา มีข​ อกุด​คลาย​เขา​ควาย​ประกอบ​ยอดจั่ว


เรือนไท​ดำ เมือง​โบราณ ​จังหวัด​สมุทรปราการ
วาด​จาก​ภาพถาย​ใน น. ณ ปากน้ำ, แบบแผน​เรือน​ใน​สยาม.
(พิมพ​ครั้งท​ ี่ 2) กรุงเทพฯ : เมือง​โบราณ, 2535

บานเรือนไท​ดำ จังหวัด​เพชรบุรี เมื่อ พ.ศ. 2410


(วาด​จาก​ภาพถาย​ของ ​ฟรัน​ซิส จิต ใน :
พิพัฒน พงศ​รพีพ​ ร. สมุดภาพ​รัชกาล​ที่ 4.กรุงเทพฯ : ​
เรือน​ทรง​กระดองเตา​แหงบ​ าน​แม​ประจันต ทายาง ​จังหวัด​เพชรบุรี พิพิทธ​ภัณฑ​ภาพ​มุม​กวาง กรุงเทพมหานคร, 2547)

13
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

ศูนย​วัฒนธรรม​ไทย​ทรง​ดำ​เขายอย​ตำบล​หนองปรง ​อำเภอ​เขายอย ​จังหวัดเ​พชรบุรี

ศูนย​วัฒนธรรม​ไทย​ทรง​ดำ​บาน​หัวเ​ขา​จีน ห​ มู ​1​ ​ตำบล​หวย​ยาง​โทน อ​ ำเภอ​ปากทอ ​จังหวัด​ราชบุรี

14
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

​บานนา​ปา​หนาด หมู 4 ​ตำบล​เขา​แกว อ​ ำเภอ​เชียงคาน ​จังหวัด​เลย

​การ​แบง​พื้น​ที่ภาย​ใน​บาน

15
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

​กะ​ลอ​หอง ห​ อง​สำหรับเ​ปน​ที่​อยู​ของ​ผี​บรรพบุรุษ ​มุม​นอน

​มุม​ครัว ระเบียง​ดานหนา ห​ รือ ​กก​ชาน

“​ ​ขึ้นได​เฮือน จ​ ะ​ผิดผี​บาน ข​ ึ้นได​กวาน ​จะ​ผิดผีเ​ฮือน”​


​จะ​ขึ้น​บันได​ตอง​ให​เจาบาน​เชิญ ​มฉิ​ ะ​นั้นผ​ ีเรือน​จะ​ติเตียน ​ทำ​ให​เจ็บไข
​หนาบาน​ใช​รับแ​ ขก​ผู​ใหญ​ที่​คุนเคย​นับถือ ​ ​หลังบาน​หนุมสาว​คุยก​ ัน ​ไม​ให​เขาบ​ าน

16
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ทรงผม
​ ทรงผม​ของ​ชาวไท​ดำ​หรือล​ าว​โซงม​ ล​ี กั ษณะ​แตกตาง​กวาช​ าติอ​ นื่ ๆ​ท​ เ​ี่ ปนเ​อกลักษณเ​ฉพาะกลุม เ​รียกวา​
ปน​เกลา ​โดย​ทรงผม​สามารถ​บงบอก​ถึง​สถานะ​ของ​ผูหญิง​ลาว​โซงไ​ ด​วา ​เปน​คนโสด ​แตงงาน​แลว ​หรือ​เปน​
หมาย ​เชน ​ทรงผม ​ผู​สาว​ปลอย​ผม/​ไว​ทายทอย ​แตงงาน​แลว​มวยผม​ไว​จอม​กะ​หมอม ​หาก​สามี​ตาย​เปน​
แมหมาย​เอา​ไว​ทายทอย ​(​ดอย​ลง)​ ​หรือห​ าก​แบงต​ าม​วัยต​ างๆ​ ​จะ​สามารถ​แบง​ไดด​ ังนี้ ​ใน​สมัยกอน​เด็กหญิง​
และ​ชาย​จะ​ถูกก​รอน​ผม ​พอ​เริ่มเ​ปน​หนุมสาว ​ผูชาย​จะ​ตัดผม​ทรง​ดอก​กระทุม ​หรือ​ทรง​สูง ​สวน​ผูหญิง​ไวผ​ ม​
ทรง​เอื้อม​ไหล​หรือเ​อื้อม​ไร ​เปนท​ รงผม​ของ​เด็กหญิงล​ าว​โซงท​ ี่​ผม​ยัง​สั้นอ​ ยู​ระหวาง​อายุ ​1​3​-​1​4​ ​ป ​

ทรง​สับ​ปลิ้น ทรง​จุกตบ ​
​เมื่อผ​ ม​เริ่ม​ยาว​จะ​พับ​ปลาย​ผม​มวน​ขึ้น ​ใช​หวีส​ ับ​ไว​ตรง​ทายทอย ​ ​ ​เปน​ผม​ที่​ขมวด​เปนกระ​บัง​อยู​ขางหลัง ​ถักเ​ปน​เปย ​
สำหรับห​ ญิงสาว​ชวงอายุ 1​ ​5​ ​ป ​สำหรับ​หญิงสาว​ชวงอายุ ​1​6​ ​ป

17
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

ท​ รง​ขอด​กระ​ตอก ท​ รง​ปน​เกลา​ซอย ห​ รือ​ขอด​ซอย


​เปนผ​ ม​ที่​ยาว​ผูกเปนปม ​ปลอย​ชาย​ลง​ขางหนา ​ ​ ​เปนการ​เกลาผม​ที่​ผูก​เปน​เงื่อนตาย ​เอา​ชาย​ไว​ขางซาย​เปน​โบว​คลาย​
​สำหรับห​ ญิงสาว​ชวงอายุ 1​ ​7​ ​ป , หูกระตาย ​ปลอย​ชาย​ผม​ขาง​ขวา ​สำหรับ​หญิงสาว​ชวงอายุ ​1​8-​ ​19​ ​ ​ป​
เปน​ทรง​สุดทาย​ของ​สาวรุน

ท​ รง​ปนเ​ กลาตว​ ง ​ ทรง​ปน​เกลาตก ​หรือ​ทรง​แมหมาย


​เกลา​ตลบ​ไวก​ ลาง​ศีรษะ ​มวน​ชาย​ขด​เขาขาง​ใน ​ใช​ไมกลัด​ขัด​ไว​ ​เมื่อ​สามี​เสียชีวิต ​จะ​ปลอย​ผม​สยาย​ใน​ระหวาง​ไวทุกข ​
ไมใ​ ห​หลุด ด​ านหนา​โยก​เปน​ลอน​ใหส​ วยงาม ส​ ำหรับห​ ญิงสาว​ จะ​ปน​เกลาตก​อยู​กลาง​ศีรษะ​คอน​ไปทาง​ทายทอย ​
ชวงอายุ 2​ ​0​ ป​  ​ทรง​นี้​สามารถ​แตงงาน​ได ​และ​เกลาต​ ลอด​อายุ ​ มี​กลุม​ผม​อยู​ขางหลัง
ยกเวน​เปน​หมาย​หรือ​ชวง​ไวทุกข ​

18
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ประเพณี พิธีกรรม​และ​ความ​เชื่อ
ชาวไท​ดำ​หรือ​ลาว​โซง​มี​ลักษณะ​ทาง​วัฒนธรรม​ที่​เปน​เอกลักษณ​ของ​ตน​เอง เชน ภาษาพูด​และ​
ภาษาเขียน การ​แตงกาย ขนบ​ธรรมเนียม ประเพณี พิธีกรรม และ​ความ​เชื่อด​ ั้งเดิม​อยูเ​ปนอันมาก ลักษณะ​
ทางสังคม​ของ​ลาว​โซงย​ ังคง​รักษา​ขนบ​ธรรมเนียม​จารีต​ประเพณี​และ​พิธีกรรม​ไว​อยาง​เครงครัด ซึ่งเ​ปน​ปจจัย​
สำคัญ​ใน​ความ​เปนป​ กแผนแ​ ละ​การ​ดำรง​เอกลักษณข​ อง​กลุมช​ าติพันธุ พิธีกรรม​หลัก เชน พิธีเสน พิธี​งานศพ
พิธี​ขึ้น​บาน​ใหม ฯลฯ
ประเพณี​ขึ้น​เฮือน​ใหม
เมื่อ​ปลูกเรือน​ใหม การ​ทำพิธี​ขึ้น​บาน​ใหม มัก​ทำ​ใน​ชวงเวลา​บาย หลังจาก 15.00 น. ลวง​ไปแลว
ถือเปน​พิธี​ชั้น​กลาง หมอ​พิธี​จะ​มา​ขมข​วง คือ ขม​สิ่งเ​ลวราย ผีราย​ออกจาก​ไม​ไป​อยู​ที่อื่น จากนั้นข​ น​อุปกรณ​
ที่​จำเปน​ใน​การ​ดำรงชีวิตข​ ึ้นบ​ าน ของใช​ใน​พิธี​มี ​ขมุก ไห​เอือด (ไห​พริก) ไห​เกลือ ไห​นึ่ง​ขาว ที่นอน หมอน มุง
เสื่อ สาด ฯลฯ แลวจึง “เลา​ผี​เฮือน” คือ การ​บอกเลา หรือ เชิญ​ผีเรือน​มา​อยู​บน​บาน​ใหม ​ทำพิธี “จี่​ไฟ​ไห​ขาว”
(นึง่ ข​ า ว​กอ ไ​ ฟ​บน​เตา​ทใ​ี่ ชก​ อ น​หนิ 3 กอน เรียกวา กอนเสา) เลีย้ ง​อาหารค่ำแ​ ลวเสร็จพ​ ธิ ี คน​บา นใกลเ​รือน​เคียง​
ไมมี​การ​ให​ของขวัญ มีแ​ ตค​ ำ​อวยพร​ให​อยูด​ ี​มี​สุข อายุ​มั่นข​ วัญ​ยืน

พิธี​ขึ้น​เฮือน​ใหม
ที่มา : พิพิธภัณฑป​ าน​ถนอม บาน​หนอง​จิก หมู 1 ตำบล​หนอง​ปรง อำเภอ​เขายอย จังหวัด​เพชรบุรี

19
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ประเพณี​เกี่ยวกับค​ วาม​รัก
การ​ลงข​วง เปน​ประเพณี​ท​่เี ปดโอกาส​ให​ชายหนุม ​และ​หญิงสาว​ได​พบปะสนทนา​เพือ่ ​เรียนรู​นสิ ยั ใจคอ
เปรียบ​เสมือน​เปน​ประเพณี​การ​หาคู​น น่ั เอง โดย​ฝา ย​หญิงป​ ระมาณ 4-5 คน จะ​รวมกลุม กัน​ทำงานบาน งาน​ฝม อื ​
อยู​กับ​บาน เชน ปนดาย เย็บ​ปกถ​ ัก​รอย จักสาน ตำ​ขาว เปนตน ที่ข​วง​หรือ​ลานข​วง (เปน​ลาน​ใน​บริเวณ​บาน​
หรือ​ของ​หมูบ า น) ใน​ตอนกลางคืน ประมาณ​ทมุ ห​ รือส​ อง​ทมุ การ​มา​ทำงาน​เชนนีเ​้ รียกวา “อยูข ว​ ง” ความ​หมาย​
ก็ค​ อื มา​ทำงาน​ใน​บริเวณ​ลานบาน​ใน​ตอนกลางคืนน​ นั่ เอง โดย​ปกติก​ น​็ งั่ ก​ นั เ​ปนกลุม ว​ งกลม จุดไ​ ฟ​ไวต​ รงกลาง​
ให​สวาง​พอ​เห็น
ความ​สำคัญ​ของ​การ​อยูข​วง​คือ การ​เปดโอกาส​ให​ชายหนุมไ​ ด​มา​เที่ยวหา​พูดคุย เรียกวา “​แอปส​ าว”
(รูจ กั ​คนุ เคย​กับ​หญิงสาว) เพือ่ ​ได​รจู กั ​สนทนา​กัน บางครัง้ ​หมูบ า น​หนึ่งๆ มีห​ ลายข​วง ชายหนุม ก​ เ็​ลือก​เทีย่ ว​ชม​
ได​สบาย เรื่อง​ที่​สนทนา​กันก​ ็​จะ​ถาม​ชื่อ​ที่อยูก​ าร​ทำมาหากิน ถา​คุนเคย​ก็​กลาว​หยอกลอก​ ันไ​ ป แต​ผลสุดทาย​ก็​
ไม​พน​เรื่อง​รักๆ ใครๆ ศึกษา​อุปนิสัยใ​ จคอ​ซึ่ง​กันและกัน หาก​พึงพอใจ​ตอกันก​ ็​จะสาน​สัมพันธต​ อไป การ​อยู
ข​วง​ทำงานบาน​เชนนี้​ทำไดต​ ลอดป ไม​เลือก​ฤดูกาล​อยาง​การอิ้​นกอน กติกา​ใน​การ​เที่ยวข​วง คือ ความ​เปน​
ประชาธิปไตย​และ​น้ำใจ​นักกีฬา หนุม​คน​ใด​หรือ​กลุม​ใด​คุย​อยู​กับ​สาว หาก​มี​หนุม​กลุม​อื่น ใหโอกาส​กลุม​
มาทีหลัง ตอจากนัน้ ก​ จ​็ ะ​กลับเ​ขาไป​อกี แสดง​ใหร​ วู า เ​ขา​สนใจ​อยูก​ อ น​แลวอ​ ยาง​จริงจัง กลุม อ​ นื่ ไ​ มค​ วร​มา​สนใจ
แต​ทั้งนี้​กลุม​หนุมจ​ ะ​มไี​ มตรี​ตอกัน​ไมผ​ ิดใจกัน จึง​เปนความ​งดงาม​ทาง​วัฒนธรรม​ที่​ควร​ประกาศ​คุณคา

การ​ทำ​หนา​หมอน​และก​รอ​ดาย
เป น ​ลั ก ษณะ​ข อง​ส าว​ที่ ​ล งข​ว ง เพื่ อ ​ร อ​
ชายหนุม​มา​พูดคุย
ทีม่ า : ศูนยว​ ฒ
ั นธรรม​ไทย​ทรง​ดำ​
เขายอย ตำบล​หนองปรง อำเภอ​เขายอย
จังหวัด​เพชรบุรี

20
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
การ​ลวง​สาว การ​ที่​สาว​ไมได​นั่งลงข​วง หาก​หนุม​ใด​อยากจะ​คุยต​ องหา​วิธี​ที่จะ​ให​สาว​รูตัว นั่น​คือ พิธี​
ลวง​สาว หรือจก​สาว โดย​หนุม​ตอง​มี​ไม​ลวง ซึ่งม​ ี​ลักษณะ​คลาย​ไมตะพด​ขนาด​ยาว​หนึ่งศ​ อก​เศษ และ​ใช​สวน​
ที่​แหลม​ของ​ไม​ลวง​สาว​แทง​ไป​บน​ที่นอน​ใหส​ าว​รูตัว สาว​ก็​จะ​ขยับ​ตัว ซึ่ง​หนุมม​ ักจะ​รู​ได เพราะ​สมัยกอน​นอน​
บน​ฟาก หาก​นอน​กระดาน​กไ​็ มต​ อ ง​ตอก​ตะปู หาก​ใคร​ไมมไ​ี มล​ ว ง​สาว​ประจำ​กาย​กจ​็ ะ​ใชด​ นิ เหนียว​ผกู ต​ ดิ ป​ ลาย​
เชือกกลวย และ​นำ​เชือก​ผูกป​ ลาย​ไม​ชิ้น​เล็กๆ พอที่จะ​ลอดชอง​ได และ​สง​กอน​ดินเหนียว​ไว​ให​ถูกต​ ัว​สาว สาว​
รูตัว​ก็​จะ​ดึง​ดินเหนียว​หรือ​เอา​เล็บ​จิก​ดินเหนียว​ไว​เปนการ​บอก​ให​หนุม​รูตัว​วา​ตน​เอง​รูตัว​แลว สาว​ก็​จะ​จุด​
ตะเกียง​งอย​เพียง​งอย​เดียว (ขณะ​ทต​ี่ ะเกียง​งอย​มี 3 ไส) เพียง​เพือ่ ใหเ​กิดแ​ สงสวาง​และ​แจงใ​ หผ​ ปู กครอง​ทราบ​
วา ตน​ไป​คุย​กับ​หนุม ไมไดเ​ปนการ​ลักลอบ และ​เปน​เครื่อง​เตือนใจ​ไมใ​ ห​ผิดป​ ระเพณี

การ​ลวง​สาว เปนการ​เรียก​สาว​ลงมา​พูดคุย
ที่มา : พิพิธภัณฑป​ าน​ถนอม บาน​หนอง​จิก หมูท​ ี่ 1 ตำบล​หนอง​ปรง อำเภอ​เขายอย จังหวัด​เพชรบุรี

21
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
การ​เลน​คอน หรือ อิน้​ กอน เปน​ประเพณี​ที่​จัด​ใน​เดือน 5 หรือ​เดือน 6 เพื่อส​มาน​สามัคคี เปดโอกาส​
ให​ชาย​หญิง​ได​พบปะ ฟอนรำ รองเพลง​เกี้ยว​กัน รู​นิสัยใจคอ และ​มี​การ​เลน​โยน​ลูกชวง หรือ​เรียก​อีก​อยาง​
หนึ่ง​วา “ทอด​มะกอน” มีห​ ญิง-ชาย ชาว​ไทดำ​​หลาย​คู​ได​พบ​รัก​และ​แตงงาน​กันเ​พราะ​การ​เลน​คอน
“​อนิ้ ” แปล​วา เลน กอน คือ “ลูกชวง” เปนผ​ า ส​ เี่ หลีย่ ม​ยดั ด​ ว ย​เมล็ดฝ​ า ย ดีทสี่ ดุ ค​ อื เ​มล็ดน​ นุ รอง​ลงมา​
เมล็ด​มะขาม เอา​ไว​โยน​แกลง​ให​เจ็บ มี​พหู​ อย 5 มุม มี​สาย​สำหรับ​จับ​โยน ยาว​ประมาณ 1 ชวง​แขน หนุมท​ ี่จะ​
เลนล​ ูกชวง ตอง​มีอายุต​ ั้งแต 15 ป​ขึ้น​ไป มีห​ ัวหนาฝูงกอน คือ คน​ที่​มี​ครอบครัว​แลว หรือ​หนุมส​ ูงอายุท​ ี่​คอย​
ควบคุมด​ แู ล​พฤติกรรม​ตา งๆ ใน​กลุม ซึง่ เ​รียกวา ฝูง​ กอน มีจ​ ำนวน 15-20 คน​ขนึ้ ไ​ ป ใน​จำนวน​นจ​ี้ ะ​มห​ี มอแคน
เปน​คน​ที่​ได​รับมอบ​ความ​เคารพ​นับถือ ไมจ​ ำเปนต​ อง​เปน​หัวหนาฝูงกอน

ลูกชวง ชายหนุม​จะ​ขอ​เลน​ลูกชวง การ​เลน​ลูกชวง​สมัยกอน​จะ​มี​ทั้ง​ป ทั้งแคน


​กับ​หญิงสาว ปจจุบัน มีแคน และ​มี​กลอง​เขามา​เสริม
ตอง​ใช​เสื้อฮีพ​ ันแคน​เขามา​เจรจา จิตใจ​จะ​หาว​กวา​มี​แต​เสียงแคน

ที่มา : ศูนย​วัฒนธรรม​ไทย​ทรง​ดำ​เขายอย ตำบล​หนองปรง อำเภอ​เขายอย จังหวัด​เพชรบุรี

22
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
วิธีการอิ้​นกอน จะ​มี 3 แบบ คือ
1. อิ้​นกอน​คาง หนุม​จะ​ไป​ตั้งแต​ตอนสาย ปรบมือให​สาว​ใน​หมูบาน​รูจัก​วา​มีฝู​งกอน​จะ​มา​ขอ​เลน​
ลูกชวง​แลว​มา​รวม​ที่ข​วง รับ​หนุมไ​ ป​คาง​บาน​ตน​หรือ​ไป​ชวยงาน​ใน​บาน​ตน​หรือ​บาน​ที่​เปน​หัวหนาข​วง หนุม​จะ​
ไป​ชวย​ตักน้ำ ตำ​ขาว แลวแต​สาว​บาน​ใด​มี​งาน ตกเย็น​ทำอาหาร​เลี้ยง​กัน หนุม​ก็​จะ​เขาไป​ชวย​สาว​ทำอาหาร
ศึกษา​และ​สังเกต​พฤติกรรม​ของ​สาว หัวค่ำ​สาว​จะ​ใสเสื้อฮี​ลงมาตอ​ ดกอน (โยน​ลูกชวง) หนุมนอย​ก็​ใสเสื้อฮี
เสร็จแ​ ลว​กินแลง (รับประทาน​อาหารเย็น) ตอจากนั้นจ​ ึง​จะ​มี​การ​ฟอนรำ ฟอนรำ​เสร็จ วาน​สาว คือ การ​จอง​
เปน​คูคุย​กัน​ใน​คืน​นั้น หลังจากนั้นห​ นุม​จะ​คาง​ที่​บาน​สาว หรือ​นอน​ที่ข​วง​แลวแตค​ วาม​สมัครใจ
2. อิ้​นกอน​สูแลง หนุมม​ า​ตอน​หัวค่ำ มา​กินแลง (รับประทาน​อาหารเย็น) ดวยกัน และ​รอง​รำ​วาน​สาว​
แลว​กลับ​บาน โดย​ไมได​คางคืน วิธีการ​เลน​ลูกชวง​เหมือนกับอิ้​นกอน​คาง ตางกัน​ตรงฝู​งกอน​ไมได​คางคืน​
เทานั้น
3. อิ้​นกอน​เตียว (กลับ) หนุมม​ า​ตอน​มืด ประมาณ 20.00 น. คือก​ ินแลง (รับประทาน​อาหารเย็น)
มา​กอน​แลว จึง​มา​ปรบมือข​ อ​เลนล​ ูกชวง ปรบมือ เปาแคน เริ่ม​รอง​รำ หลังจากนั้นจ​ ึงต​อดกอน (โยน​ลูกชวง)
และ​วาน​สาว เสร็จ​แลว​กลับ​บาน​ตน​เอง

ประเพณี​การ​แตงงาน
การ​แตงงาน หรือ​เรียกวา “งาน​กิน​ดอง” หรือ “งาน​กินห​ลอง” หมายความวา งานเลี้ยง​เพื่อ​ความ​
​ าติก​ นั ชายหนุม หญิงสาว เมือ่ ม​ ค​ี วาม​รกั ใครช​ อบ​พอกันถ​ งึ ขัน้ แ​ ตงงาน​กนั ฝาย​ชาย​จะ​สง ผ​ ใู หญ​
เกีย่ วดอง​เปนญ
มา​สูขอ​หญิงสาว​จาก​พอแมฝ​ าย​หญิง เรียกวา “ไป​โอโลม”
สิ่งของ​ที่​เตรียม​ไป​มี​หอ​หมาก พลู บุหรี่ 4 ชุด เหลา 1 เท (32 ขวด) ขนม 8 ถาด หมู ไก พรอม​
หญิงสาว 2 คน มักห​ า​หญิงสาว​จาก​ครอบครัวท​ ี่​ดี คือ มี​พรอมทั้ง​บิดามารดา และ​มปี​ ระวัติการ​แตงงาน มิใช​
หนี​ตามกัน สำหรับถ​ ือห​ มาก พลู อัน​เปนมงคล ทั้ง​เถาแกแ​ ละ​หญิงสาว ตอง​สวม “เสื้อฮี” ให​เรียบรอย​ถูกตอง​
ตาม​ประเพณี ถา​เจรจา​ตกลง​กันไ​ ด​ก็​จะ​นัดหมาย​ทำการ​หมั้น หรือ​จะ​นัดหมาย​แตงงาน​กัน​เลย​ก็ได

23
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ขั้นตอน​ใน​พิธี​แตงงาน แบงออก​เปน 4 ขั้น คือ
1. สอง หรือ การ​หมัน้ เมือ่ ​ทำพิธ​เี สร็จ​แลว ฝาย​ชาย​จะ​ไปเยีย่ ม​หญิง​เปน​ครัง้ แรก หรือ​จะ​ไปๆ มาๆ ก็ได
เรียกวา “ไป​หยาม​หอ มะ​ป”ู คือ ไปเยีย่ ม​เยือน​หอ ​หมาก​พลู​ของ​หมัน้ ​ของฝาก​ท​บ่ี า น​หญิง คือ วิธกี าร​ไปพบ​คน​รกั
2. สู คือ การ​ที่​ฝาย​ชาย​ไปมาหาสู
3. สา คือ ฝาย​ชาย​ไป​ทำงาน​รบั ใชอ​ ยูบ​ า น​ฝา ย​หญิง เปนเวลา 1-5 ป กรณีทพ​ี่ อ แมฝ​ า ย​หญิงจ​ ะ​ไมเ​รียก​
สินสอด​ทองหมั้น ฝาย​ชาย​จึง​ตอง​อาสา​ทำงาน​เพื่อร​ ับใช​พอแม​ฝาย​หญิง​เปนการ​ทดแทน
4. สง คือ พิธสี​ งตัว​เจาสาว​ให​แกเ​จาบาว​ใน​วัน​แตงงาน

ชุด​เจาบาว ขบวน​เจาบาว
ใสเสื้อฮี สวมหมวก​งอบ สะพาย​ยาม​และ​มีด ตอง​มี​ที่นอน 1 คู เหลา 1 หาบ

พิธีเสน​เรือน หรือเสน​เฮือน
พิธีเสน​เรือน คือ พิธี​เซนไหว ผีเรือน​ที่​รักษา​บานเรือน​ของ​แตละ​ตระกูล ไทดำ นับถือ​ผี​บรรพบุรุษ​
อยาง​เครงครัดแ​ ละ​ถือป​ ฏิบัติ​สืบต​ อกันม​ า โดยเฉพาะ​พอ แม ปู ยา ตา ยาย ผูแ​ ตงงาน​ไป​เขาผีต​ าม​คูสมรส​
ของ​ตน ซึ่ง​เปน​บรรพบุรุษ​ที่​เสียชีวิต​ไปแลว บานไทดำทุกบ​ าน​จะ​มี​ผี​เฮือน (ผีเรือน) ลูกๆ จะ​จด​ชื่อ​ใสไวใ​ น​บัญชีผ​ ี​
ประจำ​บาน เรียกวา “ปบ​ผีเรือน” ลูกหลาน​จะ​มี​การ​อัญเชิญด​ วงวิญญาณ​ขึ้นม​ า​เปน​ผปี​ ระจำ​บาน ซึ่งต​ อง​เปน​ผี​
ดี​ที่​ตาย​ใน​บาน​นั้นห​ รือ​เจ็บปวย​หรือแ​ กชรา​ตาย แต​ผี​ที่​ตาย​จาก​การ​เกิดอ​ ุบัติเหตุ หรือ​ผีตายโหง เรียกวา เปน​
ผี​ไมดี วิญญาณ​จะ​ไม​ถูก​เชิญ​ให​ขึ้น​เรือน เพราะ​ถือวาต​ าย​ไมดี โดย​จัดให​อยู ณ มุม​หองๆ หนึ่ง ใน​หอง​ที่​จัด​

24
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ไว​เฉพาะ เรียกวา “กะ​ลอ​หอง” พิธี​นี้​จะ​ทำ​เปนประจำ​ทุกปห​ รือ 2-4 ป ครั้ง​ก็ได แลวแตฐ​ านะ แลวแตค​ วาม​
พรอมที่จะ​ทำบุญ​ให​กับ​ญาติ​ที่​เสียชีวิต การเสน​จะ​ยกเวนค​ ือ เดือนเกา​และ​เดือน​สิบ เพราะ​การเสน 2 เดือน​นี้
เชื่อ​กัน​วา ผี​ไป​เฝาแถน ​ไท​ดำเชื่อ​กันว​ า เมื่อเ​ซนไหวผ​ ีเรือน​แลว ผี​จะ​คุมครอง​รักษา​ตน​และ​ครอบครัว​ให​อยู​
เย็นเ​ปนสุขม​ ค​ี วาม​เจริญก​ า วหนา คนใน​ตระกูเ​ดียวกัน นามสกุลเ​ดียวกัน จะ​มผ​ี เี รือน​เดียวกันเ​ปนผ​ ข​ี อง​ตระกูล​
นัน้ เรียกวา “ซิง หมายถึง แซ หรือน​ ามสกุล” ของ​ตระกูลน​ นั้ ๆ ลักษณะ​ของ​พธิ เี สน​เรือน เปนพ​ ธิ ข​ี อง​ครอบครัว
หัวหนาค​ รอบครัวม​ ห​ี นาทีร​่ บั ผิดชอบ​ทจี่ ะ​ทำเสน​เรือน​เปนประจำ ซึง่ ก​ าร​เซนไ​ มมก​ี ฎเกณฑต​ ายตัวว​ า ทำ​เมือ่ ไหร
หาก​บาน​ใด​ไม​จัด​ทำพิธีเสน​เรือน มี​ความ​เชื่อ​วา จะ​เกิด​สิ่งอ​ ัปมงคล​แก​ครอบครัว เกิดก​ าร​เจ็บปวย หรือ​ตาย​
ดวย​เหตุ​อัน​ไม​ควร และ​จะ​ถูก​สังคม​ตราหนา​วา​เปน​คน​ไมรูจัก​บุญค​ุณ วันเสน​ตอง​ไมตรง​กับ​วัน​เวนตง
วัน​เวนตง​ของ​แตละ​บาน​จะ​นับเ​อา​วันทีเ่​ชิญ​วิญญาณ​ผี​ตนตระกูล​ขึ้น​บาน​โดย​มี​หมอผี หรือ​ที่​เรียกวา หมอเสน
เปนผ​ ด​ู ำเนินพ​ ธิ กี รรม โดย​การ​ทอ ง​บท​กลาว​เชือ้ เชิญว​ ญ
ิ ญาณ​ผท​ู ล​ี่ ว งลับไ​ ปแลวม​ า​รบั เ​ครือ่ งเซนใ​ น​“กะ​ลอ ห​ อ ง”
ซึง่ เ​ปนส​ ถานทีเ​่ คารพ​ยำเกรง ใคร​เขากะ​ลอ ห​ อ ง​โดย​ไมมเ​ี หตุผล​อนั ค​ วร​ไมได แขก​แปลกหนาม​ า​ขนึ้ บ​ า น​ตอ ง​นำ​
หมาก​พลูไ​ ป​บอก​ผี​บาน​ผีเรือน​ใน​กะ​ลอ​หอง หาก​ดื่มเหลาต​ อง​นำ​เหลาไ​ ปบาก​ขวด (เหลาท​ ี่​ริน​ครั้งแรก) ไป​เซน​
กอน มิฉะนัน้ ผ​ เี รือน​จะ​ทำราย​ดว ย​การ​บดิ ไส (ทำใหป​ วดทอง) เครือ่ งเซนต​ า งๆ จะ​ถกู จ​ ดั เ​ตรียม​ใส “ปาน​เผือน”
(ภาชนะ​สำหรับ​ใส​อาหาร ทำ​ดวย​ไมไผ)
ใน​ความ​เชื่อ​ของ​ไทดำ เชื่อ​วา ผีเรือน มี​ความ​สำคัญมาก จึง​มกี​ าร​สืบสกุลข​ อง​ตระกูล​ดวย​การ​สืบ​ผี
โดย​ยึด​เพศชาย​เปนหลัก เริ่มน​ ับจาก​พอบาน​เปน​ผูสืบสกุลจ​ าก​บรรพบุรุษ หาก​ตองหา​ผูสืบสกุลค​ น​ตอไป​ตอง​
เลือก​จาก​ลูกชาย​หรือ​เพศชาย​คน​ใด​คน​หนึ่ง​เทานั้น หาม​เปนเ​พศหญิงโ​ ดย​เด็ดขาด หาก​ไมมี​ลูกชาย​จะ​เลือก​
หลานชาย หรือ​ผู​ที่​อาศัยอยู​ใน​บาน​ที่​เปน​เพศชาย​แทน​ก็ได​เปน​ผูสืบทอด​ทำพิธี​ตอไป พิธีเสน​เรือน เชน
เสน​เรียกขวัญ (​เสนโต) เปนพ​ ิธีกรรม​ที่​ทำ​เพื่อ​เรียกขวัญ เปนการ​ตออายุ ตอ​เงา​หัว เรียกขวัญก​ ลับค​ ืนให​แก​
เจา​ของขวัญ​ที่เกิด​ไมสบาย เสน​ตั่ง​บั้ง (เสน​กิน​ปาง) เปน​พิธีกรรม​เซนไหว​ผีเรือน​ที่​เปน​ผี​พอ ปู ตา หรือ​
บรรพบุรุษ​ที่​มี​วิชาอาคม เวท​มนตค​ าถา ใน​การ​รักษาโรค​ไข​เจ็บปวย ถอนพิษ​แมลง​สัตว​กัด​ตอย​ได หรือ​แก​
ไสยศาสตร​ได เรียกวา เปน​หมอ​มนต​มา​กอน ลูกหลาน​จะ​อัญเชิญ​ให​อยู​บน​หิ้ง​ตางหาก​อีก 1 หิ้ง ใน​หอง ​
กะ​ลอห​ อง นอกจากนี้​ยังมี เสน​รับ​มด (เสน​ฮับ​มด) เสน​ฆาเกื​อด เสน​เต็ง (เสน​นอย​จอย) เสน​สะเดาะ​เคราะห
เสน​แผว​เฮือน เส​นก​วั๊ดก​วาย เสน​แก​เคราะหเ​ฮือน เสน​เอา​ผขี​ ึ้น​เรือน

25
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

ประเพณี​การเสน​เรือน​แบงออก​
เปน 2 ประเภท ขึน้ อยูก​ บั ก​ าร​สบื ทอด​สาย​
ตระกูล คือ ผูนอย และ​ผตู​ าว (ทาว)
เสน​ผูนอย สำหรับ​ตระกูล​ที่​เปน​
สามัญชน จะเสน​หมู เสน​ไก เพื่อน​ ำมาใช​
ใน​พิธี​และ​นำมา​ปรุงอาหาร​เลี้ยงแขก
เสน​ผต​ู า ว สำหรับช​ นชัน้ ป​ กครอง
หรือต​ ระกูลท​ ม​ี่ ช​ี าติกำเนิดส​ งู เปนผ​ ม​ู ส​ี กุล​
สูง จะเสน​สัตว​ใหญ 1 ครั้ง ใน 1 ชวง​ชีวิต
ซึ่ง​ใช​ควาย​เปน​เครื่องเซน ปาน​เผือน (พาน) ภาชนะ​สำหรับ​ใส​เครื่องเซน​ใน​พิธีเสน​เรือน​ที่ไท​ดำ​ตอง​ปฏิบัติ
ที่มา : พิพิธภัณฑ​ปาน​ถนอม บานหนอง​จิก หมู 1 ตำบล​หนอง​ปรง
อำเภอ​เขายอย จังหวัด​เพชรบุรี

หมอเสน​ผนู อ ย คลอง​เสือ้ ฮี ถือพ​ ดั ​ขนนก เปนผ​ ท​ู ำพิธเี สน​เรือน​ใน​หอ ง​ทจ​่ี ดั ​ไวโ​ดยเฉพาะ เรียกวา “กะ​ลอ ​หอ ง”

26
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

ปาน​เผือน​ผูนอย มี​ตะเกียบ 7 คู ปกร​ อบๆ

คน​ยก​ปาน​เผือน คือ กลุม​ผีเรือน​เดียวกัน คน​เปน​สะใภ​ตอง​ใสเสื้อฮี


ครั้งแรก​ยก​เสมอ​เขา ครั้งส​ อง​ยก​เสมอ​บา ครั้งสามยก​สูง​เ​หนือ​ศีรษะ แลว​มอบให​หมอ​ผีเรือน

27
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ประเพณี​ปาดตง
พิธี​ปาดตง คือ การ​เซนไหวบ​ รรพบุรุษ​ของ​ชาว​ไทดำ วัน​ปาดตง​จะ​ถูกก​ ำหนด​ขึ้นม​ า​โดยเฉพาะ​แตละ​
ครอบครัว ซึง่ ​จะ​ตรง​กบั ​วนั ที​เ่ รียก​ผ​ตี น ตระกูล​ขน้ึ ​เฮือน (เรือน) การ​ปาดตง​สำหรับ​ผนู อ ย​จะ​ทำ​ทกุ 10 วัน สวน​ผี​
ผู​ตาว (ทาว) ทำ​ทุก 5 วัน เครื่อง​เซนไหว​จะ​นำไป​วางไวท​ ี่​กะ​ลอ​หอง ปาดตง​จะ​ทำ​ตลอดป แตค​ รั้ง​สำคัญที่สุด​
คือ ปาดตง​ขาว​ใหม มีก​ าร​เรียก​เพื่อน​มา​กินงายตง ซึ่ง​เปน​อาหาร​มื้อ​เชา มื้อเย็นไ​ ม​นิยม​เชิญ​มา​กินกัน เปนการ​
แจง​ตอ​ผีเรือน​วา ลูกหลาน​อุดมสมบูรณด​ วย​ขาว​ปลา​อาหาร ซึ่ง​เครื่องเซนจ​ ะ​มี​ลักษณะ​เฉพาะ คือ
ขาวเมา คือ การนำ​ขาวเปลือก​ขาวเหนียว​ที่​ยัง​ไม​แกจัดม​ า​คั่ว และ​นำมา​ตำ หลังจากนั้นน​ ำ​ขาวเมา​มา​
คลุก​กับ​มะพราว​ออน โรย​ดวย​น้ำตาล​และ​เกลือ
ขาวฮาง ขาว​ที่​นึ่ง​ทั้ง​เปลือก​และ​นำไป​ผึ่งแดด​ให​แหง นำมา​ตำ​หรือ​สี​เอา​เปลือก​ออก แลวจึง​นำไป​นึ่ง​
อีกครั้ง บาง​บาน​ปลูกขาว​พิเศษ​ไว​เพื่อป​ าดตง คือ ขาวเหนียว​ดำ เรียกวา “ขาว​เหล็กห​ลำ”
ขาวตะ​หลาย คือ ขาวเหนียว​ใหม
ปลา​ปง​งบ คือ ปลา​ที่​นำมา​ผสม​กับเ​ครื่องแกง หอด​ วย​ใบตอง​และ​นำไป​นึ่ง
กบฝอ หรือก​ บ​โอ คือ กบ​ยัดไส​ดวย​เครื่อง​ผสม​พริก​แกง​นำไป​นึ่ง แลวน​ ำไป​ปงห​ รือ​ยาง​อีก​ครั้งหนึ่ง
นอกจากนั้น​ยังมี​ปลา​ยาง กุง หอย ปู รวมทั้งข​ องหวาน​และ​ผลไมช​ นิด​ตางๆ

ขับ​มด
เปน​จารีต​ใน​การ​รักษา​โรคภัยไ​ ข​เจ็บข​ องไทดำ กลาว​คือ เมื่อม​ ี​คน​เจ็บปวย​เรื้อรัง​ใน​ครอบครัว รักษา​
ดวย​หมอ​พื้นเมือง​แลว​ไม​หาย สามีภรรยา​หรือ​ญาติผ​ ูปวย​จะ​ไปหา “หมอ​เหยา” มา​เสกเปา​เยียวยา​แกไข ถา​ยัง​
ไมห​ าย​ก็​จะ​ไป​เชิญ​หมอ​มด​มา​ทำพิธรี​ ักษา หมอ​มด​จะ​รักษา​ดวย​การ​ขับ​มด และ​เสี่ยงทาย เพื่อให​ทราบ​สาเหตุ​
ของ​การ​เจ็บปวย ถาหาก​ถูก​ผี​ทำ​ก็​จะ​ทำพิธี​เลี้ยงผี​แกไข​อาการ​เจ็บปวย เดิม​การ​รักษา​ของ​หมอ​มด​มี​คา​คาย
(ขึ้นครู) 2 บี้ แต​ปจจุบัน​ใช​เงิน 1,000 กีบ เทียน 8 คู ไข 2 ฟอง กระเทียม 2-3 หัว ฝาย 1 มัด เกลือ 1 หอ
ขาวสาร​ใสก​ ะละมัง หวี และ​ปอยผม 1 ปอย เพื่อ​ถวาย​ให​ผมี​ ด การ​รักษา​เริ่ม​ดวย​การ​ให​ผูชวย​หมอ​มด 2 คน
ชวยกันเ​ปาป หมอ​มด​จะ​ทำการ​ขบั ม​ ด​เพือ่ เ​ชิญผ​ ม​ี ด​ใหม​ า​ชว ย​ใน​การ​วนิ ฉิ ยั ส​ าเหตุข​ อง​การ​เจ็บปวย โดย​สมุ ถ​ าม​
ผีม​ ด​วา ถูก​ผอี​ ะไร​ทำ เชน ถาม​วา​ถูก​ผีเรือน​ทำ​ใชไหม แลวเ​สี่ยงทาย​หา​คำ​ตอบ​ดวย​การ​สาด​ขาวสาร​ลง​บน​พื้น
3 ครั้ง ให​ได​จำนวน​คู-คี่ สลับกัน กลาว​คือ ถา​ครั้งแรก​ได​จำนวน​คู ครั้ง​ที่สอง​ตอง​ได​จำนวน​คี่ และ​ครั้ง​ที่​สาม​
28
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ตอง​ได​จำนวน​คู แสดงวา​ผดิ ​ผเี รือน ถา​เสีย่ งทาย​ไมได​จำนวน​ดงั กลาว​ก​จ็ ะ​เปาป​ข บั ​มด​ตอ ไป​อกี ​จนจบ​คำ​ขบั ​มด
แลวเ​สีย่ งทาย​อกี เชนนี้ จนกระทัง่ ไ​ ดจ​ ำนวน​คส​ู ลับค​ ต​ี่ ามทีต​่ อ งการ ดังนัน้ ก​ าร​ขบั ม​ ด​จงึ ใ​ ชเวลา​นาน อาจ​ใชเวลา​
ตัง้ แตต​ อนบาย​จน​กระทัง่ ถึงก​ ลางคืน เมือ่ ท​ ราบ​สาเหตุข​ อง​การ​เจ็บปวย​วา ถ​ กู ผ​ ใ​ี ด​ทำ หมด​มด​กจ​็ ะ​ใหญ ​ าติผ​ ปู ว ย​
จัด​เตรียม​เหลา อาหาร และ​สิ่งของ​สำหรับ​เซน​เลี้ยง เพื่อให​เลิก​ทำ​แก​ผู​เจ็บปวย การ​รักษา​ของ​หมอ​มด​ไมมี​
ขอหาม​ใน​การ​รักษา​รวมกับแ​ พทยแ​ ผน​ปจจุบัน แมวา​คน​ปวย​จะ​นอน​อยู​โรงพยาบาล หมอ​มด​ก็​ทำพิธรี​ ักษา​ที่​
บาน​ไป​ดวย​ได ผู​รวม​พิธี​ขับ​มด​ไดแก ญาติ​พี่นอง​ใกล​ชิด เพื่อนบาน​ใกลเคียง รวมทั้งค​ นใน​หมูบาน​จะ​มา​รวม​
โดย​ไม​ตอง​บอกกลาว
ขับ​มด เปนการ​รักษา​ทาง​ดาน​จิตใจ การ​เชิญ​หมอ​มด​มา​รักษา แสดงวา ลูกผ​ ัวฮักแ​ พง รวมทั้ง​มี​ญาติ​
และ​เพื่อนบาน​มาเยี่ยม​เยือน ทำใหผ​ ูปวย​มี​ขวัญ​และ​กำลังใจ​ดีขึ้น ซึ่ง​อาจ​ทำใหห​ าย​จาก​การ​เจ็บปวย

ประเพณีแปง​ขวัญ
ไท​ดำ​มี​ความ​เชื่อ​ใน​เรื่อง “ขวัญ” ซึ่ง​ขวัญ เปน​สิ่งท​ ี่​ไมมี​ตัวตน เปนเงา​หรือ​แวว​ของ​ชีวิต ​เปน​สิ่ง​ติดตัว​
มา​แตกำเนิด และ​เชื่อว​ า คน​เรา​จะ​ไดดมี​ ี​สุข มี​ทุกขโศก​เคราะห​ราย​หรือ​เจ็บ​ปวยไข ก็​เพราะ “ขวัญ” ที่อยู​ใน​ตัว​
ของ​ตน​เปนสาเหตุ ถา​ขวัญอ​ ยู​กับต​ ัว​กเ็​ปน​ศิริ​มงคล อยูเ​ย็นเ​ปนสุข จิต​ใจมั่นคง เมื่อใด​ตกใจ เสียขวัญ ขวัญ​
ออกจาก​ตัว​ไป หรือม​ ัวไ​ ป​หลงทาง​อยู​ที่ใด ซึ่งเ​รียกวา ขวัญหาย ขวัญหนี ฯลฯ ก็​อาจจะ​ทำใหเกิดเ​จ็บ​ปวยไข​
หรือ​เคราะห​ราย​ได การแปง​ขวัญ หรือ การ​เรียกขวัญ หรือ การ​สอน​ขวัญ คือ การ​เรียกขวัญใ​ ห​กลับคืนม​ า
โดย​การ​จัด​ทำพิธอี​ อนวอน ซึ่ง​จะ​มี​เทพ​ประจำ​ขวัญ ภาษาถิ่นเ​รียกวา “ผี​ขวัญ” คือ ผูดูแล​ขวัญ​ทั้ง 32 เทพ​
ประจำ​ขวัญ​มี 12 เทพ เปน​เพศชาย เพียง​หนึ่ง ไดแก พอ แม น้ำ ไฟ ไก ปลา กลวย หูกท​ อผา เปล ผาห​ลา
(ผา​สะพาย​ลูก) แถน​ผู​กำหนด​ชะตา​ชีวิต เทพ​ทั้ง 12 มี​หนาที่​ดูแล​อวัยวะ​ตางๆ เวลา​รางกาย​เจ็บปวย​ก็​ตอง​
ออนวอน​เทพ​ประจำ​ขวัญต​ างๆ การแปง​ขวัญ แบงออก​เปน 3 ประเภท คือ 1) การแปง​ขวัญ​เด็ก 2) การแปง​
ขวัญผ​ ใู หญ และ 3) การแปง​ขวัญผ​ สู งู อายุ สาเหตุท​ ต​ี่ อ ง​มก​ี ารแปง​ขวัญ อาจ​มส​ี าเหตุม​ าจาก การ​หาย​จาก​เจ็บไข
หรือ​คลุกคลี​กับ​สิ่ง​ที่​ไม​เปนมงคล เชน แปง​ขวัญใ​ ห​เขย​ผูจัดงาน​ศพ ให​ขวัญ​เขย​อยู​กับ​ตัวอ​ ยาต​ าม​คน​ตาย​ไป
หรือ แปง​ขวัญ​เพื่อเ​สริม​กำลังใจ​สำหรับ​ผูสูงอายุ เปนตน

29
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

พิธี​เรียกขวัญ
สำหรับค​ น​ไมสบาย​ใหห​ าย​ดี หรือ​คน​สบายดี​แต​ตองการ​เสริม​ขวัญ​ให​เปน​สิริมงคล​กจ็​ ัด​ได
ที่มา : ศูนย​วัฒนธรรม​ไทย​ทรง​ดำ​เขายอย ตำบล​หนองปรง อำเภอ​เขายอย จังหวัด​เพชรบุรี

ประเพณี​การ​ทำศพ​
ชาวไทดำ ถือวา การ​ตาย​เปนเรื่อง​สำคัญมาก เมื่อ​มี​การ​ตาย ญาติ​พี่นอง​ผี​เดียวกัน​จะ​หยุด​ทำงาน​
ทุกอยาง เพือ่ เ​ปนการ​ไวทกุ ข และ​ชว ยกันจ​ ดั การ​เกีย่ วกับป​ ระเพณี งานศพ​นนั้ เรียกวา “กำ​บา น กำ​เมือง” และ​
ถือเ​ปนความ​โศกเศรา​จนกวา​จะ​นำ​ศพ​ไป​เผา​แลว จึงจ​ ะ​มก​ี าร​ทำงาน​ตามปกติไ​ ด พิธศี พ​เปนพ​ ธิ ท​ี ยี่ ดึ ถือก​ นั จ​ น​
เปน​ธรรมเนียม​ปฏิบัติ​อยาง​เปน​ขั้นตอน​หลายอยาง และ​จำเปน​ตอง​มี​ผูรู​คอย​แนะนำ​ปฏิบัติ ซึ่ง​เปนผ​ ูสูงอายุ
ใน​พิธีศพ​ที่​ยัง​ถือป​ ฏิบัตกิ​ ัน​อยูใ​ น​ปจจุบัน​นั้น เมื่อม​ ี​ผเู​สียชีวิตจ​ ะ​เริ่มจาก​การ “หรอย”
“หรอย” เปนการ​จัดต​ กแตง​ศพ​กอน​ที่จะ​บรรจุ​ลง​หีบศพ โดย​เริ่มจาก​การ​อาบน้ำศพ พรอมทั้ง​แตงตัว​
ใสเสื้อผา​ให​เรียบรอย

30
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
“เอ็ดแฮว” เปนการ​เตรียมการ​เครื่องใช​ใน​การ​ประกอบ​พิธีศพ สิ่ง​ที่​ตอง​เตรียม​ไดแก การ​ทำ​เสา​หลวง
ป​รี เซียน นก​หงส ใบไม หอ​แกว ลำ​ธง​กาว และ​เครื่องใช​ประกอบ​เล็กๆ นอยๆ ที่​เปน​ขาวของ​เครื่องใช​สำหรับ​
สงม​ อบให​กับ​ผูตาย
“หอ​แกว” เปน​เรือน​จำลอง สรางดวย​ไม​ลักษณะ​คลาย​ศาลา​การเปรียญ​ขนาดเล็ก ลอมรอบ​ดวย​เสา
เรียกวา เสา​หลักเมือง ประดับด​ วยปุย ทำจาก​ดาย​สีแดง เหลือง รอบ​เสา​หลักเมือง และ​เรือนหอ​แกว หอ​แกว​
นี้​สราง​เปน​เกียรติส​ ำหรับผ​ ูตาย​อายุ 80 ปข​ ึ้น​ไป
“เซียน” เปนเสมือน​รมกันแดด​เปน​แกนกลาง​ประดับ​โดย​รอบ​ดวย​ลาย​ผาเหลือง ดำ แดง ประกบกัน
แลวต​ ัด​ควาน​ตรงกลาง​ผา​ให​หอย​ลงมา เซียน​จะ​อยูบ​ นป​รี หรือ​นก​หงส บน​ยอด​เสา​หลวง
“ป​ร”ี เชือ่ ก​ นั ว​ า เ​ปนพ​ าหนะ​ทจี่ ะ​นำ​ดวงวิญญาณ​ของ​ผตู าย​กลับไ​ ปยังเ​มืองแถน ทำจาก​ไมเ​นือ้ ออน เหลา​
กลึง​ให​กลม สวนบน​มี​ปก ขาง​ละ 3 อัน เพื่อ​ใช​ใน​การ​บิน ป​รี​จะ​อยูส​ วนบน​ยอด​เสา​หลวง ใช​เฉพาะ​ผูตาย​ที่​
เปน​หญิง
“นก​หงส” เชื่อ​กัน​วา​เปน​พาหนะ​ที่จะ​นำ​ดวงวิญญาณ​ของ​ผูตาย​ที่​เปน​ชาย บิน​กลับ​ไปยัง​เมืองแถน
ทำจาก​ไม​เนื้อออน​เปน​รูปน​ ก มี​ปกข​ าง​ละ 3 อัน นก​หงสจ​ ะ​อยู​บน​ยอด​เสา​หลวง
“เสา​หลวง” เปรียบ​เสมือน​ตน​ไมใหญ ทำจาก​ไม​ทั้งต​ น ยาว​ประมาณ 3 เมตร ประดับ​โดย​รอบ​ดวย​
ใบไม​ที่​ทำจาก​ผาข​ าว​และ​ผาแดง ขนาด 30x30 เซนติเมตร ติด​ไว​กับ​ปลาย​ไม ถาผ​ ูตาย​เปน​ชาย จะ​ใชใบ​ไม
ประดับเ​ปนแ​ ผง​ติดกับเ​สา​หลวง ถาผ​ ูตาย​เปนห​ ญิง จะ​ใชใบ​ไมประดับเ​ปนว​ งกลม​รอบ​เสา​หลวง สวนยอด​ของ​
เสา​หลวง​มน​ี ก​หงส หรือป​รี ประดับอ​ ยู โดย​มเ​ี ซียน​เปน​รม เ​สียบ​อยูส​ ว น​บนสุด จำนวน​ใบไม​ทงั้ 2 สี จะ​ใชอ​ ยาง​
ละ 20 หรือ 40 ผืน แลวแตฐ​ านะ​ของ​ผูตาย
“ลำ​ธง​กาว” เปนธ​ ง​ทบ​ี่ ง บอกถึงผ​ ตู าย​วา เ​ปนพ​ อ บาน​พอ เรือน หรือผ​ นู ำ​ครอบครัว ธง​กาว​นย​ี้ งิ่ ย​ าว​เทาใด
ยิ่ง​บงบอก​ฐานะ​ของ​ผูตาย บอก​ถึง​ความ​มั่งมี​ร่ำรวย​ของ​ผูตาย
การ​กำหนด​วันเ​ผาศพ​คน​ไทดำ ตอง​ไมตรง​กับ​มื้อเ​วนตง (วัน​เลี้ยงผีป​ ระจำ​ตระกูล) ซึ่งแ​ ตละ​ตระกูล​
จะ​มี​มื้อ​เวนตง​แตกตางกันอ​ อกไป ไทดำ​ถือก​ ำหนด​ใน 1 สัปดาห มี 10 วัน คือ
1) มื้อ​กัด 2) มื้อข​ ด 3) มื้อฮ​วง 4) มื้อ​เตา 5) มื้อกา
6) มื้อกาบ 7) มื้อฮ​ ับ 8) มื้อ​ฮาย 9) มื้อ​เมิง 10) มื้อ​เปก

31
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
เมื่อ​กำหนด​วัน​เผา​ได​แลว พิธี​ใน​วัน​นั้น​จะ​เริ่มจาก​การ​กินข​ าว​ปานตก (การ​รับประทาน​อาหาร​รวมกัน​
ของ​ญาติพ​ นี่ อ ง) แลวจึงเ​ริม่ พ​ ธิ กี าร​บอกทาง​ใหด​ วงวิญญาณ​ของ​ผตู าย​เดินทาง​ตาม​เสนทาง​จาก​บา น​ไปยังป​ า ชา
โดย​มี “เขย” (บุตรเขย​ของ​ผูตาย) เปน​ผู​ทำพิธี หลังจาก​พิธีการ​บอกทาง​แลวจะ​เปนการ “ซอน​ขวัญ” เปน​พิธี​
เรียกเอา​ขวัญข​ อง​ญาติ​พี่นอง​ให​ยังอยู​กับบ​ าน​กับเ​รือน ไม​ให​หลง​ไปกับ​ดวงวิญญาณ​ของ​ผูตาย โดย​มี​หมอ​พิธี​
เปน​ผู​ทำการ​ซอน​ขวัญ ถา​หมอ​พิธี​เปน​หญิงจ​ ะ​เรียกวา “แมมด” ถา​หมอ​พิธี​เปน​ชาย​จะ​เรียกวา “เขย” แลวจึง​
นำ​ศพ​ไปยัง​ปาชา เมื่อ​ขบวน​เคลื่อน​ศพ​ออกจาก​บาน​จะ​มี “ธง​เจ​าอวน” ซึ่ง​ถือ​โดย​บุตรชาย​ของ​ผูตาย​ถือ​เดิน​
นำหนา​ขบวน เพื่อเ​ปนการ​เบิกทาง​ให​กับด​ วงวิญญาณ เมื่อถ​ ึง​กองฟอน นำ​ศพ​วนรอบ​กองฟอน 3 รอบ วาง​
ศพ​ลง​บน​กองฟอน เปด​หบี ศพ​ลา งหนา​ศพ​ดว ย​นำ้ ม​ ะพราว นำ​หอ เ​สือ้ ผาแ​ ละ​เครือ่ งใชม​ า​โยน​ขา ม​หบี ศพ 3 ครัง้
เรียกวา “โยน​ผา​หนาไฟ” เพื่อส​ ง​สิ่งของ​เหลานั้นใ​ ห​กับ​ผูตาย แลวท​ ำการ​เผาศพ
​ าติ​พี่นอง​จะ​รวมกัน​เก็บก​ ระดูก​ใส​ลง​ใน​ไห​กระดูก​ที่​เตรียมไว จากนั้น​ทำพิธี “ตั้ง​เฮือน​ปา”
วันรุงขึ้นญ
เพือ่ ส​ ง ส​ งิ่ ของ​เครือ่ งใชใ​ หก​ บั ผ​ ตู าย ขัน้ ต​ อนนีเ​้ ขย​จะ​ทำพิธบ​ี อกทาง​อกี ครัง้ เปนการ​บอก​เสนทาง​ใหด​ วงวิญญาณ​
เดินทาง​ไป​เมืองแถน และ​บอก​ดวงวิญญาณ​ของ​ผูตาย​กลับมา​อีกครั้งเ​มื่อ​ถึง​วัน “มื้อ​เวนตง” ของ​ตระกูล เพื่อ​
มา​รับ​เครื่องเซน​ที่​ญาติ​พี่นอง​นำมา​เซนไหว เสร็จ​พิธี​เขย​จะ​ใช​ปลาย​มีด​ขีด​ที่​พื้นดิน เพื่อ​เปนการ​ตัดขาด​ซึ่ง​
กันและกัน ทุกคน​เดิน​หนั หลัง​ไม​เหลียว​กลับมา​มอง​เฮือน​ปา ​อกี เพือ่ ​ท​ด่ี วงวิญญาณ​จะ​ได​ไม​หว ง​ผ​ทู ​ย่ี งั มี​ชวี ติ ​อยู
บุตร​ของ​ผูตาย​จะ​ตอง​นำ​หอข​ าว ปลา​อาหาร ซึ่งห​ อ​ดวย​ใบตอง​มา​สงท​ ี่​เฮือน​ปา​อีก 3 วัน เฉพาะ​ตอนเชา สง​
เสร็จแ​ ลวใ​ ช​มีด​ขีด​ที่​พื้นดิน แลว​หันหลังก​ ลับ ใน​การ​สงห​ อ​ขาว 3 วันนี้ ผู​ที่​สงอ​ าหาร​จะ​ตอง​สวม “เสื้อตกป​ ก​
หัวข​ าว” ไป​ดวย
การ​เอา​ผข​ี นึ้ เ​รือน จะ​กำหนด​วนั โ​ ดย​ผต​ู า ว​เอา​ผข​ี นึ้ เ​รือน​ตรง​กบั ว​ นั “มือ้ เ​วนตง” ของ​ตระกูล สวน​ผนู อ ย​
นัน้ จ​ ะ​เอา​ผข​ี นึ้ เ​รือน​ไมตรง​กบั “มือ้ เ​วนตง” ของ​ตระกูล โดย​มห​ี มอ​พธิ ี เรียกวา หมอเสน เปนผ​ ท​ู ำพิธี เมือ่ เ​สร็จ​
พิธี​นแี้​ ลวจะ​ทำการ​ไล​หมอ​พิธี​ให​ลง​ไปจาก​บาน ลาง​ทำความ​สะอาด​บาน​เพื่อ​ไม​ให​งาน​เชนนี้​เกิดขึ้นใ​ น​บาน​หลัง​
นี้​อีก​ตอไป เปนที่​นาสังเกต​วา พิธีกรรม​ของ​ไทดำ​กับ​คน​เชื้อสาย​จีน​จะ​มี​พิธี​หลัก​โดย​รวม​ที่​คลายคลึง​กัน
แตกตาง​กนั ทีข​่ นั้ ตอน​ใน​การ​ปฏิบตั ิ เชน การเสน​เรือน​กบั ก​ าร​ไหวต​ รุษจีน พิธบ​ี อกทาง​กบั พ​ ธิ ก​ี งเตก การ​นงุ ช​ ดุ ​
เสื้อผาไ​ วทุกข​ที่​คลาย​กัน คงจะ​เนื่อง​มาจาก​ถิ่นฐาน​เดิม​ของไทดำ​นั้น​อยูท​ าง​ตอนใตข​ อง​ประเทศ​จีน จึง​มี​ความ​
คลายคลึงก​ ัน

32
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

ผา​ใน​วิถี​ชีวิตไท​ดำ

​ ไท​ดำ ​หรือล​ าว​โซง​เปนเ​ผาพันธุ​เดียว​ใน​โลก​ที่​มี​ลักษณะ​การ​แตงกาย​บงบอก​สถานะ​และ​มีความหมาย​
ชัดเจน​ทั้ง​ชาย​และ​หญิง ​แบงออก​เปน ​2​ ​ประเภท ​คือ ​เสื้อผาส​ ำหรับ​ใช​ใน​ชีวิต​ประจำวัน ​และ​เสื้อผา​สำหรับ​ใส​
ใน​พิธีกรรม ​งาน​ประเพณี ​หรือง​ าน​รื่นเริง​ตางๆ​​ซึ่ง​สวน​ใหญ​มักน​ ิยม​ตัดเย็บเ​สื้อผา​ใสเ​อง ​โดย​ใช​ผาฝายทอ​มือ​
ยอมสี​ที่​ได​จาก​ธรรมชาติ ​สี​ของ​เสื้อผา​ที่​สวม​ใส​มัก​เปน​สีดำ ​สีคราม ​ปจจุบัน​หันมา​นิยม​ใช​ดาย​โทเร​แทน​
เนื่องจาก​เห็นวา ​เสนเ​รียบ​และ​สะดวก​ใน​การ​นำไปทอ ​สี​ที่​ใช​เปนหลัก ​มี ​5​ ​สี ​คือ ​ดำ ​ขาว ​เขียว ​แดง​เลือด​หมู​
และ​แสด ​
การใชผาในวิถีชีวิตไทดำ

เครื่องแตงกาย สิ่งของเครื่องใช
- สาย​เอว (ช-ญ)
ในชีวิตประจำวัน ในพิธีกรรม - ผาห​ลา หรือ​ผาอ​ ุม​เด็ก
- เสื้อไต (ช) - เสื้อฮี (ช-ญ) - มู (เด็ก-พอมด-แมมด)
- เสื้อหงเหง (ช) - สวงฮี (ช) - หลวม (ช)
- สวงกอม (ช-ญ) - เสื้อจาง (หมอพิธี) - ถุง​ยาม (ช-ญ-หมอ​พิธี)
- เสื้อกอม (ญ) - เสื้อตก (ช-ญ) - เสื่อ​ฟูก
- ผาซิ่นลายแตงโม (ญ) - ผาซิ่นตาหมี่ (ญ) - หมอน
- ผาเปยว (ญ) - ผาซิ่นนางหาญ (ญ) - หมอน​ตาว​เสื่อ​นั่ง
- ผาสไบ (ญ) - ผาเปยว (ญ) - ห​ยั่น
- ผาซีโปว (ช) - ผาซีโปว (ช) - ลูกชวง
- ผาขันลาว (ญ) - ผาขันลาว - พัด
- เสื้อนอย (ญ)
- เสื้อกระโปรง (ญ)
- สวงซอน (ญ)

33
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
เครื่อง​แตงกาย
​คน​โซง​เชื่อ​วา ​ ห​ าก​ไม​แตงตัว​แบบ​โซง เมื่อตาย​ไป ​เจอ​พอ​แม​แลว ​พอ​แม​จำ​ไมได

ซิ่น​ตา​หมี่ ​ซิ่น​ลาย​แตงโม

​ชุด​ปกติ​ทั่วไป ​ใส​อยูบ​ าน ​ใสได​ทุก​โอกาส

34
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

ชุด​พอมด-​แมมด

ช​ ุด​เสื้อฮี ​ใส​ใน​งาน​พิธีกรรม ​
​ที่มา ​:​ ​ศูนย​วัฒนธรรม​ไทย​ทรง​ดำ​เขายอย ​ตำบล​หนองปรง ​อำเภอ​เขายอย ​จังหวัด​เพชรบุรี

35
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

เครื่อง​แตงกาย​ใน​ชีวิต​ประจำวัน
เครื่อง​แตงกาย​ใน​ชีวิตป​ ระจำวัน​ของ​ชาวไท​ดำ หรือ​ลาว​โซง ไดแก เสื้อไต เสื้อ​หงเหง สวง​กอม ผาซิ่น​
ลาย​แตงโม ผา​เปยว ผาสไบ ผา​ชี​โปว ผา​ขัน​ลาว เสื้อน​ อย เสื้อก​ ระโปรง สวง​ซอน เปนตน
​เสื้อไต​หรือ​เสื้อไท ​หมาย​ถึง ​เปนของ​ผูชาย​สวม​ใส​เมื่อ​ไปงาน​ตางๆ​ ​ใส​ไปเ​ที่ยว ​เกี้ยว​สาว​หรือไปหา​
ญาติ​พี่นอง ​เมื่อต​ องการ​ความ​สุภาพ​เรียบรอย​ใน​โอกาส​ที่​คอนขาง​เปนทางการ ​หรือ​สวม​เมื่อ​อากาศ​หนาวเย็น​
ตัดเย็บด​ ว ย​ผา ฝ​ า ยทอ​มอื ย​ อ ม​สดี ำ​หรือ ส​ คี ราม​เขม ล​ กั ษณะ​เปนเ​สือ้ ค​ อตัง้ แ​ ขน​ยาว​ทรงกระบอก ผ​ า ห​ นาต​ ลอด​
ติดกระดุม​เงิน​ทรง​ดอก​บัวตูม ​เรียง​กันป​ ระมาณ ​1​1 ​–​ ​1​9​ ​เม็ด ​แลว​แตฐ​ านะ​ของ​ผู​สวม​ใส ​ตัวเ​สื้อ​สั้น​ต่ำกวา​
เอว​ลง​ไป​เล็กนอย ​มี​กระเปา​ทั้งสอง​ขาง​บริเวณ​ดานลาง​ของ​ตัว​เสื้อ ​
​เสื่อ​หงเหง ​ออก​สำเนียง​ไทย​วา ​“​เสื้อฮง​เฮง”​ ​เปนเ​สื้อ​แขน​ยาว​คอตั้ง ​ติดกระดุม ​5​ ​เม็ด ​ชาย​เสื้อ​ดาน​
ขาง​แหวก​ไว​ทั้งสอง​ชาย ​มี​สาบเสื้อ ​กระเปาด​ าน​ขาง​ทั้งสอง​ดาน ​หรือ​ดานเดียว​แลวแ​ ต​แมบาน​จะ​เย็บ​ให ​ใชใ​ ส​
ทำงาน ​ไม​ตอง​ติดกระดุมเ​พื่อ​ความ​สะดวก​รวดเร็ว ​ใช​ใส​ไป​ไร ​ไป​นา ​เกี่ยว​หญา ​ตัด​ฟน ​เย็บ​ดวย​ผาฝาย​สีดำ​
หาก​เย็บ​ดวย​ผาไหม​สี​แดง ​หรือแ​ พร​สี​แดง​จะ​เปน​เสื้อข​ อง​หมอ​พิธี​ผู​ตาว ​เรียกวา ​“​เสื้อ​จาง”​ ​ ​ใช​ใส​ประกอบพิธี​
งานเสน ​หรือ ​พิธีศพ ​หาก​ใช​ใน​พิธีศพ ​จะ​โพกศีรษะ​ดวย​แพร​สี​แดง ​ใน​ปจจุบัน​หาก​ใช​ผาเ​ย็บเ​ปนเ​สน​แลวผ​ ูก​
แทน​ติดกระดุม​จะ​เรียกวา ​เสื้อ​หนวด​ปลาหมึก

เสื้อไตหรือเสื้อไท เสื้อหงเหง

36
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
สวง​กอม ​(​กางเกง​ขา​สั้น)​ ​เปน​กางเกง​ที่​มี​ความ​ยาว​เสมอ​หัวเขา ​บริเวณ​เอว​เปน​สวน​ที่​กวาง​ที่สุด ​เวลา​
นุง​ตอง​ทบ​ผา​ไว​ดานหนา ​แลว​คาด​ทับด​ วย​สาย​กด​เอว ​(​เข็มขัด)​ ​ลักษณะ​คลาย​กับ​กางเกง​ขากวย ​แตต​ าง​กัน​
ตรง​ทก​ี่ าร​ตอ ป​ ระกอบ​ผา แ​ ตละ​ชนิ้ โ​ ดยเฉพาะ​บริเวณ​เปาก​ างเกง​ดา นหนาแ​ ละ​ดา นหลังต​ อ ง​ใชผ​ า แ​ ทรก แ​ ลวน​ ำ​
ผา​ที่​ทบ​กัน​มา​เย็บ​พัน​เปน​ตะเข็บ​กลม​ทั้งหมด ​ตัดเย็บ​ดวย​ผาฝาย​สีดำ​หรือ​สีคราม​เขม ​ ​ใช​สำหรับ​นุง​ทำงาน​
ทั่วไป ​หรือ​ทำงานหนัก เ​ชน ก​ าร​ทำนา เ​ปนตน ​
​เสื้อ​กอม ​เปนเ​สื้อผ​ าฝายทอ​มือ​ยอม​คราม ​ตัวส​ ั้น​ตัดเย็บด​ วยมือเ​ขารูป​พอ​งาม ​ลักษณะ​เปน​เสื้อ​สีดำ​
หรือ​สีคราม​เขม ​คอตั้งแ​ บบ​จีน​ไมมปี​ ก ​ผา​หนาต​ ลอด ​ติดกระดุม​เงินถ​ ี่มาก ​ประมาณ ​9​ ​,​ ​1​1​ ​,​ ​1​3​ ​,​ ​1​5​ ​เม็ด​
ทรง​ดอก​บัวตูม ​กระดุม​รูป​ผีเสื้อ​หรือ​แมง​กะ​บี้​ชิด​ติด​กัน​ตั้ง​แต​คอ​ถึง​เอว ​แขน​ยาว​จรด​ขอมือ​ทรงกระบอก​
เสือ้ ​กอ ม​เปน​เสือ้ ​ท​ใี่ ช​ค​กู บั ​ผา ซิน่ ​เปน​ชดุ ลำลอง​หรือ​ชดุ ​ประจำ​เผา​ของไทดำหญิง ​ใช​สวม​ไป​ทกุ ​แหง ​ใส​ไป​ไร ​ไป​
นา ​กินเสน ​หรือ​ไป​งานพิธี ​ถา​ไป​วัด​ก็​พาด​ผา​เปยว ​หรือ​ผาสไบ​อีก ​1​​ผืน ​ถาไ​ ป​ตลาด​ก็​สะพาย​กะ​เหล็บ ​ซึ่งสาน​
ดวย​ไมไผ​ละเอียดยิบ ใ​ ช​แทน​กระเปา ห​ รือถ​ า​เขา​ปา​ก็​สะพาย​ยาม ใ​ ช​ผา​เปยว​โพกศีรษะ​แทน​หมวก ​ ​

เสื้อ​กอม

37
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

​กระดุม​เงิน​ทรง​ดอก​บัวตูม กระดุมเ​งิน​ธรรมดา
​สำหรับ​ผูนอย/​บุคคล​ทั่วไป

เ​สื้อ​กอม ​บานนา​ปาห​ นาด ​หมู 4 ตำบล​เขา​แกว ​อำเภอ​เชียงคาน ​จังหวัด​เลย


กระดุมเ​งินร​ ูปผ​ ีเสื้อ​หรือ​แมง​กะ​บี้ ​(​สำหรับผ​ ู​ตาว/​ผู​มี​ฐานะ)​ ​ ​ผีเสื้อ ​แทน​ผูชาย ​ตามหา​หญิง​ที่รัก​กัน ​เมื่อ​ลม​หาย​ตาย​จาก​จะ​กลาย​เปน​ผีเสื้อ ​
บินม​ า​เกาะ​ที่​หนาอก ​เสื้อท​ ุก​ตัว​จะ​ใสก​ ระดุม​เปน​เลขคี่ ​เชน ​9​ ​หรือ ​1​1​ ​เม็ด ​ขึ้น​อยู​กับค​ วาม​สูง​ต่ำ​ของ​ผใู​ส ​(​คี่​อยู ​คู​หนี)​

38
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
การ​แตงกาย​ของ​ชาวไท​ดำ​บานนา​ปา​หนาด ​ผูชาย​สวมเสื้อ​ที่ทอ​ดวย​ผา​สีดำ​หรือ​สีคราม​เขม ​แขน​
กระบอก ​ผา​หนาอก ​ติดกระดุมเ​งิน ​1​1​ ​เม็ด ​ลักษณะ​กระดุม​เปน​รูป​ผักบุง ​ตาม​ความ​เชื่อ​ของ​ผูหญิงไท​ดำ​ที่​
เปรียบ​ผูชาย​เปน​เม็ดแ​ กนผ​ ักบุง ​เพราะ​ผูชาย​เจาชู ​ผูหญิงไ​ ม​เชื่อ​ใจ​อยูแ​ ลว ​เปน​แกน​ผักบุงห​ วาน​ไป​ทั่ว ​ตก​อยู​
ที่​ใด​ก็​เด็ด​มา​ทำ​กินใ​ ห​หมด ​ตัว​เสื้อผ​ ูชาย​ยาว​กวาเ​สื้อ​ผูหญิง ​มี​กระเปา​ตรง​ชาย​ลาง​ดานหนา​ทั้งสอง​ขาง ​กางเกง​
ขา​ยาว ​คลาย​กางเกง​จีน ​ใช​ผาส​ ีดำ​เขม ​ผูหญิงจ​ ะ​ใสเสื้อส​ ีดำ​คอกลม ​ผา​หนา ​แขน​กระบอก ​ติดกระดุมเ​ปน​รูป​
ผีเสือ้ น​ งุ ​ผา ซิน่ ล​ าย​แตงโม น​ ยิ ม​โพกศีรษะ​ดว ย​ผา ท​ ที่ อ​ดว ย​ฝา ย​ยอ ม​มส​ี ดี ำ ก​ วาง​ประมาณ 4​ 0​ ​เ​ซนติเมตร ย​ าว​
ประมาณ ​12​ 0​ ​​เซนติเมตร ​ชายผาป​ กด​ วย​ดาย​สเี​ปนล​ วดลาย​ตาง ​ๆ​​เรียกวา ​ผาเ​ปยว ​รองเทา ​ทั้ง​ชาย​และ​หญิง​
ใช​รองเทาไม​ยกพื้น​สูง ​แบบ​คีบ ​ปจจุบัน​ชาวไท​ดำ​บานนา​ปา​หนาด​จะ​แตงกาย​ตาม​สมัยนิยม​ซึ่ง​แพรหลาย​ใน​
ปจจุบัน ​เพราะ​หาไดง​ าย​มี​ขาย​ทั่วไป ​โดยเฉพาะ​การ​แตงกาย​ของ​วัยรุนผ​ ูหญิงจ​ ะ​ไม​นิยม​นุง​ผาซิ่น​เพราะ​เห็นวา​
ลาสมัย​และ​ไม​ชิน​กับ​การ​นุง​ผาซิ่น ​ชาวไท​ดำ​จะ​แตงกาย​ตาม​ประเพณี​เฉพาะ​ใน​เทศกาล​สำคัญ​ประจำ​หมูบาน​
เทา​นั้น ​ใน​วัน​ปกติ​จะ​ไมพ​ ิถีพิถัน​การ​แตงกาย​ให​สวยงาม​แต​อยาง​ใด ​เปนตนวา ​ผูชาย​สวม​กางเกง​ขา​ยาว ​หรือ​
ขา​สั้น ​หรือ​นุง​ผาขาวมา​โดย​ไมส​ วมเสื้อ ​แต​จะ​เอา​ใจ​ใสพ​ ิเศษ​ใน​งาน​ประเพณี​และ​พิธีกรรม​เทา​นั้น
​ ชาวไท​ดำ​บานนา​ปาห​ นาด ต​ ำบล​เขา​แกว อ​ ำเภอ​เชียงคาน จ​ ังหวัดเ​ลย ​มี​การ​แตงกาย 2​ ​ ​ลักษณะ​คือ ​
​1​.​ ​การ​แตงกาย​แบบ​ดั้งเดิม เ​ปนการ​แตงกาย​ที่​มเี​อกลักษณเ​ฉพาะ​ทั้ง​ชาย​และ​หญิง ​
การ​แตงกาย​ของ​ผูชาย​ชาวไท​ดำ​แบบ​ดั้งเดิม​นั้น​จะ​สวมหมวก ​ซึ่ง​จะ​สวม​ใน​งาน​พิธีกรรม​บางอยาง ​
ไม​สวม​ใน​วัน​ปกติ ​ลักษณะ​คลาย​หมวก​ของ​ชาว​มุสลิมแ​ ต​ทรง​สูงกวา ​กระชับ​ศรีษะ ​มี​สีดำ​หรือ​สีเขม​สเี​ดียว​ทั้ง​
ใบ ไ​ ม​ตก​แตง​ลวดลาย​ใด ๆ​ ​ส​ ว น​เสือ้ จ​ ะ​สวมเสือ้ ว​ า ด ซ​ งึ่ เ​ปนเ​สือ้ ส​ ดี ำ​หรือส​ คี ราม​เขมท​ บึ ​ทงั้ ตัว ค​ อเสือ้ เ​ปนแ​ บบ​
จีนไ​ มมป​ี ก ผ​ า ห​ นาต​ ลอด​ตงั้ แ​ ตค​ อ​ถงึ ช​ าย​เสือ้ ห​ รือผ​ า เ​ยือ้ ง​ไปทาง​ดา นซาย ต​ ดิ กระดุมเ​งินเ​รียง​ชดิ ต​ ดิ ก​ นั ต​ งั้ แ​ ต​
คอ​ลง​ไป​จน​ถึง​เอว ​ปลอย​ชาย​เสื้อ​ไว​นอก​กางเกง ​ชาย​เสื้อ​ดาน​หลังยาว​กวา​ดานหนา ​ที่​เอว​มี​ผา​คาด​เรียกวา​
“​กะเห​ลบ”​ ​จะ​ใช​หรือ​ไม​ใช​ก็ได ​กางเกง​ที่​นุง​จะ​เปน​กางเกง​ขา​ยาว​จรด​ขอเทา​ปลาย​ขา​แคบ​มี​สีดำ​เรียกวา​
“​ซง ห​ วั โ​ ลง”​ร​ องเทาท​ ส​ี่ วม​จะ​เปนร​ องเทาท​ ท​ี่ ำจาก​หนังค​ วาย​หรือไ​ ม ล​ กั ษณะ​คลาย​รองเทาแ​ ตะ​ฟองน้ำแ​ บบ​สอด​
สาย​ไวท​ ี่​งาม​นิ้ว​เทา ​(พ​ ัน ​ไพ​ศูนย.​ ​ ​25​ ​4​0​ ​:​ ​สัมภาษณ.​ ​ ​อางอิงจ​ าก​ทวี ​พรม​มา.​ ​ ​2​5​4​1​)​ ​สวน​การ​แตงกาย​ของ​
ผูหญิง​ชาวไท​ดำ ​จะ​ไวผ​ ม​ยาว​เกลา​ผมมวย ​ถาย​ ังเปนส​ าว​หรือยังไ​ มมี​สามี ​เกลาผ​ มมวย​ต่ำลง​ไปทาง​ทายทอย​
หรือ​เอียง​ไปทาง​ดาน​ขาง​ก็ได​เรียกวา ​“​ขอด​ผม”​ ​ถา​มี​สามี​แลว​เกลา​มวย​สูง​บน​ศรีษะ​และ​มี​ผาคลุมผม​หรือ​ผา​
โพก​ศรีษะ ​เรียกวา ​“​ผา ​เปยว​เบาะ”​​เสือ้ ​ท​ใี่ ช​จะ​ม​เี สือ้ ​แลงเอิก๊ ​และ​เสือ้ ฮี​หรือ​เสือ้ ​ขบั ​อานนี ​การ​นงุ ​ซนิ่ ​ใช​วธิ ​พี บั ​ทบ​
39
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ดานหนา​ทั้ง​ซาย​และ​ขวา​เขาหา​กัน ​ให​ตีน​ซิ่น​สูง​ประมาณ​ครึ่ง​นอง ​รองเทา​ที่​สวม​จะ​เปน​รองเทา​ที่​ทำจาก​หนัง​
ควาย​หรือไ​ ม ม​ ล​ี กั ษณะ​คลาย​รองเทาแ​ ตะ​ฟองน้ำแ​ บบ​สอด​สาย​ไวท​ ง​ี่ า ม​นวิ้ เ​ทา ส​ ว น​เครือ่ ง​ประดับ​ประกอบดวย​
ปนปกผม ​ตาง​พวง ​(ต​ ุมหู)​ ​เปาะกอ ​(ป​ ลอกคอ)​ ​เปาะ​แขน ​(​กำไล​ขอมือ)​ ​และ​เปาะ​แกง ​(​กำไล​ขอเทา)​ ​เปน​
เครื่อง​ประดับ​ที่​ทำ​ดวย​เงินท​ ั้งสิ้น (​​ผิน ท​ ันห​ า.​ ​ ​2​5​4​0​ ​:​ ​สัมภาษณ.​ ​ ​อางอิง​จาก​ทวี ​พรม​มา.​ ​ ​2​5​41​ ​)​
​ 2​.​ ​การ​แตงกาย​แบบ​ปจจุบัน ม​ ี​รูปแ​ บบ​การ​แตงกาย​ใน ​3​ ​ลักษณะ ​ดังนี้
​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ชุด​ทำงาน ​ผูชาย​นิยม​นุงก​ างเกง​ขา​สั้น​หรือ​ขา​ยาว​สีเขม ​สวน​เสื้อจ​ ะ​เปน​เสื้อ​แขน​สั้นห​ รือ​แขน​ยาว​สีเขม​
เชน ​ดำ ​น้ำเงิน ​น้ำตาล ​ซึ่งเ​ปน​ผาฝาย​หรือผ​ า​โทเร ​มี​ผาขาวมาไ​ ว​สำหรับ​โพก​ศรีษะ ​หรือ​คาด​เอว​เมื่อ​ออกไป​
ทำงาน​นอกบาน ​ผหู ญิง​นยิ ม​นงุ ​ผา ถุง​สดี ำ​หรือ​สเี ขม ​เสือ้ ​แขน​ยาว​สเี ขม ​มี​ผา ขาวมา​หรือ​ผา ​ขนาด​ผา ขาวมา​คลุม​
ศรีษะ​และ​ใบหนา ​เพื่อไ​ ม​ให​แดด​เลีย​ผิว​ในขณะ​ทำงาน​กลาง​ทุง
​ ช​ ดุ อ​ ยูก​ บั บ​ า น ผ​ ชู าย​จะ​นงุ ผ​ า ขาวมา​หรือน​ งุ ก​ างเกง ส​ วมเสือ้ เ​หมือน​ชดุ ท​ ำงาน บ​ างครัง้ ก​ จ​็ ะ​ไม​สวมเสือ้ ​
สวน​ผา ขาวมาจ​ ะ​ใชพ​ าดบาห​ รือค​ าด​เอว แ​ ละ​จะ​นยิ ม​ใชเ​ปนช​ ดุ นอน​ประจำวันไ​ ป​ใน​ตวั ด​ ว ย ผ​ หู ญิงจ​ ะ​นยิ ม​ใสเสือ้ ​
หมาก​กะ​แลง​และ​เสื้อ​แขน​สั้น ​สวน​ผาถุง​จะ​เปน​สี​หรือ​ลวดลาย​ใด​ก็ได ​จะ​เปน​ผา​กลาง​เกา​กลาง​ใหม​แลว​แต​
ฐานะ ​
​ ​ชุดท​ ี่​ใช​ใน​งาน​ประเพณี​และ​พิธีกรรม ​ผูชาย​จะ​สวมเสื้อม​ ด ​ซึ่ง​เปนเ​สื้อ​สำหรับ​หมอ​มด ​เปน​เสื้อส​ ีขาว​
แถบ​แดง​และ​มี​หมวก​สี​แดง ​เมื่อ​ผู​เปน​หมอ​มด​สิ้นชีวิต​ลง​ญาติ​จะ​เอา​เสื้อ​มด​นี้​ไป​ฝง​ดวย ​ปจจุบัน​นี้​ชาวไท​ดำ​
บานนา​ปา ห​ นาด​ไมมห​ี มอ​มด เ​สือ้ ม​ ด​จงึ ไ​ มไดน​ ำมา​สวม​ใสอ​ กี แ​ ละ​ไดเ​ลือนหาย​ไปจาก​ความทรงจำ​ของ​ลกู หลาน​
ชาวไท​ดำ​รุน​ใหม​แลว ​(​หลา ​ไพ​ศูนย.​​​2​5​40​ ​​:​​สัมภาษณ.​​​อางอิงจ​ าก​ทวี ​พรม​มา.​​​2​5​4​1​)​​ผูหญิงจ​ ะ​สวมเสื้อฮี​
หรือ​เสื้อ​ขับ​อานนี ​ซึ่งเ​ปน​เสื้อส​ ีดำ​ทั้งตัว ​คอเสื้อเ​ปน​แบบ​ตัวว​ ี ​ยาว​เกือบ​ถึงข​ อเทา ​แขน​ทรงกระบอก​ยาว​เกือบ​
จรด​ขอมือ ​ตก​แตง​ดวย​แถบ​ผา​สี​ที่​ปลาย​แขน ​ชาย​เสื้อ​ดานลาง​และ​ที่อก​ทั้งสอง​ขาง​จาก​ไหล​ลงมา​ถึง​ระดับ​
ปลายนิ้ว​ของ​ผู​สวม​ใส ​ปจจุบัน​เมื่อ​ชาวไท​ดำ​บานนา​ปา​หนาด​ได​ฟนฟู​พิธี​แซ​ปาง​ขึ้น ​เสื้อฮี​จึง​ถูก​นำมา​ใชงาน​
อีกครั้ง ซ​ ึ่ง​แตเดิมน​ ั้นเ​มื่อเ​จาของ​เสื้อ​เสียชีวิต​ลง ญ ​ าติ​จะ​นำ​เสื้อฮีน​ ี้​ไป​ฝง​ใน​หลุมศพ​ดวย


40
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
​ ผาซิน่ ​(​ผา ถุง)​ ​ลาย​แตงโม ​(​ลาย​ชะโด)​ ​เนือ่ งจาก​เปน​ชน​กลุม ​นอ ย​ท​ถ่ี กู ก​ วาด​ตอ น​เขามา​ในประเทศ​ไทย​
ดวย​เหตุผล​เกี่ยวกับ​สงคราม​ผาน​ลง​บน​ลาย​ผาซิ่น​ลาย​แตงโม ​ถือไดวา ​เปน​ลาย​ผา​เอกลักษณ​ของไท​ดำ ​
นาง​พาณี ​แหงหน ​ไท​ดำ​เขายอย ​จังหวัดเพชรบุรี ​เลา​วา ​เสนค​ ู​ติด ​หมายความวา ​อพยพ​มา​พรอม​กัน ​ ​เสน​คู​
แยกจาก​กนั ​ ​เสนเล็ก ​กลุม ชน​กลุม เ​ล็กท​ ย​ี่ งั ร​ กั ใ​ครไ​ปมาหาสูก​ นั ต​ ลอด ​นอกจากนีย​้ งั ห​ มาย​ถงึ ​ความ​พลัดพราก​
ระหวาง​พี่นองไท​ดำ​ใน​เวียดนาม ​และ​ลาว ​กับไ​ทย​ทรง​ดำ​ในประเทศ​ไทย ​หรือ​หมาย​ถึง ​ความ​เปน​พี่นอง​ของ​
ไทย ​ลาว ​และ​เวียดนาม ​เสนเล็กเ​สนเ​ดียว ​เรียกวา ​ตา​เดีย่ ว ​เปนล​ าย​ทส​ี่ ะทอน​ใหเ​ห็นถ​ งึ ก​ าร​ถกู แ​ ยก​หรือต​ ดั ขาด​
จาก​สว นหนึง่ ส​ ว น​ใด ​ซงึ่ เ​ปรียบ​เสมือน​กบั ค​ วาม​เดียวดาย​ของ​ชาวไท​ดำ​ทต​ี่ อ ง​พลัดพราก​จาก​บา นเกิดเ​มือง​นอน ​
สวน​เสน​หนา​หาง​กัน ​2​ ​เสน ​เรียกวา ​ตา​หมู ​หรือ ​ตา​คู ​ชาวไท​ดำ​เชื่อ​วา ​เปน​ลาย​ที่​สะทอน​ให​เห็น​ถึง​การ​ถูกแ​ ยก​
หรือ​ทำ​ให​เกิด​คูขนาน ​ซึ่งไ​มมี​โอกาส​จะ​มา​บรรจบ​กัน​ได ​(​ดำ ​มั่นเหมาะ,​ ​2​5​4​4​)​ นอก​จาก​นี้ นางออน ทันห​ า
และ​นางหนู​จร ไพศูนย ชาว​ไท​ดำ บานนาปาห​ นาด เลา​วา ​แตเดิม​มา​ไมมี​อะไร​มา ​(​มี​แต​ซิ่น​นาง​หาญ ​และ ​
ผา​เปียว​เบาะ)​ ​มา​ทำไร​ขาว ​ไร​แตงโม ​เห็นล​ าย​แตงโม ​เลย​นำมา​คั่น ​(​ลาย​แทรก)​ ​จึง​เรียกวา ​ซิ่น​ลาย​แตงโม ​:​
ผาซิ่น ​ตอง​ตอ​หัวตอ​ตีน ​ถา​ไมมี​เขา​วา ​เปน​คน​หัวกุด​หัวขาด ​มี​องคประกอบ​เชน​เดียว​กับ​ผาซิ่น​ของ​กลุม​
ชาติพันธุไท​กลุม​อื่น ​นั่นก​ ็​คือ ​ประกอบดวย ​3​ ​สวน ​คือ ​1​)​ ​หัวซ​ ิ่น ​จะ​เปน​สีคราม​ไมมี​ลวดลาย​กวาง​ประมาณ​
1​2​ ​นิ้ว ​2​)​ ​ตัว​ซิ่น ​จะ​เปน​ลาย​โดย​ใช​เทคนิคก​ ารทอ​ขัด ​แตพ​ ิเศษ​ที่วา​เปน​ฝาย​แกม​ไหม ​คือ ​ใช​ไหม​สแี​ ดง​เปน​
เสนย​ ืน ​ทอ​เสนพ​ ุง​ดวย​ฝาย​สีคราม​สลับสีผ​ า​ออน​เปน​ทาง​เล็ก ​ๆ​ ​คลาย​ลาย​บน​ผล​แตงโม ​เวลาทอ​เสร็จ​จะ​มอง​
ไมเห็น​ไหม​สี​แดง​เลย ​และ ​3​)​ ​ตีน​ซิ่น ​มี​ลวดลาย​สีขาว​สอง​สาม​ริ้ว ​เย็บ​ติด​เปน​ตีน​ซิ่น ​ถา​สามี​ตาย​ตอง​เลาะ ​
ตีน​ซิ่น​นี้​ออก ​เพื่อไ​ วทุกข ​

ผาซิ่น​ลาย​แตงโม

41
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
​หัว​ซิ่น ใ​ ช​ผาพื้นทอ​ดวย​ฝาย​ปน​มือ​สีดำ​หรือ​สีกรมทา
​ตัว​ซิ่น ​มี​ลวด​ลายทาง​ตั้ง​สีฟา​ขนาดเล็ก ​เกิดขึ้นเ​ปนระยะ​บน​พื้น​สีดำ​หรือ​กรมทา​เหลือบ​แดง ​ซึ่งเ​กิด​
จาก​การทอ​ดวย​เสน​ยืน​สี​แดง ​(​พบ​ทั้ง​ฝาย​และ​ไหม)​ ​เสน​พุง​ใช​ฝาย​สีดำ​หรือ​สีกรมทา​ที่​ตองการ​ให​เปน​ริ้ว​
ขนาดเล็ก​จะ​เปลี่ยน​มา​ใช​เสน​พุง​สีฟา
​ ต​ นี ซ​ นิ่ ท​ อ​เปนแ​ ถบ​กวาง​ประมาณ 1​ ​น​ วิ้ เ​ศษ ส​ ดี ำ​หรือส​ กี รมทาแ​ ซม​ดว ย​สฟี า ​ซ​ นิ่ ล​ าย​แตงโม ท​ อ​ดว ย​
ผาฝายหรือ​ไหม​สี​แดง ​ยอม​สีคราม​เขม ​มลี​ าย​สีฟา​ขาว​สลับ​เปนท​ าง​เล็ก ​ๆ​​คลาย​ลาย​บน​ผล​แตงโม ​ใน​ซิ่น​หนึ่ง​
ผืน​จะ​ประกอบดวย​ลายเสน​หนา ​2​​เสน ​อยูแ​ นบชิดก​ ัน ​หมาย​ถึง ​ความ​เปน​พี่นอง​ของ​ไทย ​ลาว ​และ​เวียดนาม​
ลายเสนเ​ดี่ยว ​​มขี​ นาดเล็ก ​หมาย​ถึง ​ความ​เดียวดาย​ที่​ตอง​จาก​บานเกิดเ​มือง​นอน ​และ​ลายเสนห​ นา ​2​​เสน ​มี​
ระยะหาง​กัน ​หมาย​ถึง ​ความ​พลัดพราก​จาก​กัน ​
​ การ​นงุ ซ​ นิ่ ล​ าย​แตงโม จ​ ะ​ตอ ง​จบั ข​ อบ​บน​ของ​ผา นุง ท​ งั้ ซ​ า ย​และ​ขวา​มา​ทบ​เกย​กนั ต​ รงกลาง แ​ ละ​พบั ข​ อบ​
ผา​ลงมา​โดย​ไม​ตอง​คาด​เข็มขัดห​ รือผ​ ูกเชือก ​ผา​กไ็​ ม​หลุด ​ใช​นุง​ทั้งใ​ น​ชีวิต​ประจำวัน​และ​ใน​โอกาส​พิเศษ ​หรือ​
พิธีการ​ตาง ๆ​ ​ ​
​ ตำนาน​ผา ซิน่ ล​ าย​แตงโม เ​ปน​คำ​บอกเลา​สบื ตอก​ นั ​มา ก​ าร​ทผ​ี่ า ซิน่ ล​ าย​แตงโม​ใช​เสน​ยนื ส​ แ​ี ดง​เปนหลัก​
เสนพ​ ุงเ​ปน​สีดำ​หรือค​ ราม​เขมเ​กือบ​ดำ​นั้น ​เรื่องราว​กม็​ ี​อยู​วา ​เปน​ธรรมเนียม​มา​ตั้งแ​ ต​โบราณกาล ​ผูชาย​ที่​เปน​
สามีเ​ปน​ผูนำ​ของ​ครอบครัวม​ ีหนาท​ อี่​ อกจาก​บาน​ไป​เขา​ปา​หักราง​ถางพง ​เปนแ​ หลง​ทำ​มา​หากิน​ทำไร ​ไถนา ​หา​
เผือก ห​ า​มนั ป​ ลอย​ใหภ​ รรยา​อยูก​ บั เ​หยา​เฝา​เรือน จ​ นกวา​สามีจ​ ะ​กลับบ​ า น ส​ าว​เจา​จะ​นงั่ ท​ อผาไ​ ป ใ​ จ​กป​็ ระหวัด​
นึก​ถึง​สามีท​ ี่​เขา​ปา​หลาย​วัน ​อัน​ความ​รัก​ความคิด​ถึงย​ อม​จะ​มี​อยูใ​ น​ตัว​ของ​ทุกคน ​มัน​วิ่งแ​ ลนอ​ ยู​ทุกล​ ม​หาย​ใจ​
ยิง่ กวาก​ ระสวย​ทพ​ี่ งุ ผาน​เปนเ​สนข​ ดั ใ​ หเ​ปนผ​ นื ผ​ า ใ​ น​กท​ี่ อผาท​ ก​ี่ ำลังทออ​ยส​ู าว​เจาจ​ งึ ใ​ ชส​ แ​ี ดง​ยอ ม​เสนย​ นื ซ​ งึ่ เ​ปน​
สีท​ ใ​ี่ ชแ​ ทน​หวั ใ​ จ​ทโ​ี่ หยหา​อาวรณใ​ น​คน​รกั ท​ จ​ี่ าก​กนั ส​ ว น​เสนพ​ งุ ใ​ ชส​ คี ราม​เขมเ​กือบ​ดำ​แทน​ตวั เอง ใ​ ชทอ​ทบั เ​ปน​
เสน​ขัด​ให​เกิด​เปน​เนื้อผา ​โดย​ซอน​เสน​ยืน​สี​แดง​เอา​ไว ​เมื่อ​เวลา​นุง​ผาซิ่น​ลาย​แตงโม​คอย​สามี ​ตอง​แสง​แดด​
แวววับ​ของ​เหลือบ​สี​แดง​สะทอน​ออกมา ​เสมือนหนึ่ง​เปนส​ ื่อส​ ัญญาณ​แหงค​ วาม​รัก​ที่​มี​ตอ​กัน ​แมจ​ ะ​เห็น​เพียง​
ราง ​ๆ​ ​ก็ตาม ​ที่​เปนเ​ชนนีก้​ ็​เพื่อป​ ก​ปดความ​อาย​ที่​เปนค​ ุณสมบัตขิ​ อง​หญิงสาว​ชาวไโทดำ​ ดย​แท ​

42
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

ผาซิ่น​ลาย​แตงโม ​บาน​เขา​หัว​จีน หมู 1 ตำบลหวยยางโทน อำเภอปากทอ จังหวัด​ราชบุรี

​ผาเ​ ปยว ​เปนผ​ าฝายทอ​มือส​ ีดำ​หรือส​ ีกรมทา ​มกี​ าร​ปกลวดลาย​ดวย​ไหม​บริเวณ​ชายผาท​ เี่​ปนล​ ักษณะ​
เฉพาะ​ของ​ชาวไทดำ ล​ าย​มาตรฐาน​ทำเปน​ขด เ​รียกวา ข​ อกุด ล​ าย​ดอก​ผกั แ​ วน (​ต​ รงกลาง​เปน​ดอก​แปด ร​ อบๆ​​
เปน​ขอกุด ​รวม​กัน​เรียกวา ​ดอก​ผักแ​ วน)​ ช​ าย​ละ ​2​ ​ดอก ​โดย​ทั่วไป​มักใ​ ช​ดาย 4​ ​ ​สี ค​ ือ ​สแี​ ดง ​สีสม (​​เหลือง)​​
สีเขียว แ​ ละ​สขี าว ม​ ข​ี นาด​ความ​กวาง​ประมาณ 4​ 5​ ​เ​ซนติเมตร ท​ อ​ดว ยฟมข​ นาดเล็กห​ รือฟมห​ นาแ​ คบ ป​ ระมาณ​
1​ ​ศอก​เศษ ​เรียกวา ​ฟม ​7​ ​ความ​ยาว ​2​ ​เมตร ​ ​ใช​โพกศีรษะ ​หรือพั​นอก ​(​คา​ดอก ​หรือ ​เคียน ​ไทย​ทรง​ดำ​
เพชรบุรี ​เรียกวา ​ฮาง​นม)​​เปน​ผา​แถบ​ใน​ชีวิต​ประจำวัน​สำหรับ​ผูหญิงใ​ ส​อยู​กับบ​ าน ​บางครั้งใ​ ช​กะเตง​ลูกไ​ ป​นา​
หรือเ​ปนผ​ า สไบ ค​ ลอง​คอ​เพือ่ ค​ วาม​สวยงาม ​แ​ มแ​ ตต​ อน​เสียชีวติ ก​ ต​็ อ ง​มผ​ี า เ​ปยว​หม โ​ ดย​มค​ี วาม​เชือ่ ว​ า ล​ วดลาย​
ผา​เปยว​เปน​สัญลักษณ​ประจำ​ตระกูล ​เมื่อ​เสียชีวิตล​ ง​ญาติ​ที่​ลวงลับไ​ ปกอน​แลวจ​ ะ​เดินทาง​มา​รับ​เพื่อ​ไป​อยู​ใน​
ดิน​แดน​เดียว​กัน

43
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

ผา​เปยว ​บาน​หนอง​หมู หมู 5 ​ตำบล​สระ​พัฒนา ​อำเภอ​กำ​แพง​แสน ​จังหวัด​นครปฐม

ผา​เปยว บาน​หนอง​จิก หมู 1 ตำบลหนองปรง อำเภอเขายอย จังหวัด​เพชรบุรี

44
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

ผา​เปยว ​​บานนา​ปาห​ นาด หมู 4 ​ตำบล​เขา​แกว ​อำเภอ​เชียงคาน ​จังหวัด​เลย

ผา​เปยว ​บาน​หัว​เขา​จีน หมู 1 ​ตำบล​หวย​ยาง​โทน อำเภอ​ปากทอ ​จังหวัด​ราชบุรี

45
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

​ลักษณะ​ผา​เปยว ​เปน​ผา​ที่ทอ​จากฟม​ขนาดเล็ก​เรียกวา ​“​ฟม​เจ็ด”​ ​มี​ลักษณะ​เปน​รูป​สี่เหลี่ยม​ผืน​ผา ​


ความ​ยาว​ของ​ผา​เปยว​ขึ้น​อยูก​ ับ​สัดสวน​ของ​แตละบุคคล ​ผา​เปยว​มี​วิธีการ​เคียน​ผา ​3​ ​แบบ ​คือ ​
​แบบ​ที่ ​1​ ​ นำ​กลาง​เปยว​มา​ใส​หนาผาก​แลวเ​คียน​ไว​ที่​ขางหลัง ​
​แบบ​ที่ ​2​ ​ พันไ​ว​หลาย​รอบ​บน​ศีรษะ ​โดย​เอา​ปลาย​ดาน​หนึ่งเ​หน็บไ​ว​ที่​ฝง​ขวา ​
​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ปลาย​ดาน​หนึ่ง​ทาบ​ลง​ไป​ปก​ดานหลังเ​พื่อ​ให​เห็น​ลาย ​
​ แบบ​ที่ ​3​ ​พันไ​ว​ขางบน​แลว​ให​ปลาย​ปกลงมา​ขางหนา ​

​แบบ​ที่ ​1 ​แบบ​ที่ ​2 ​แบบ​ที่ ​3

46
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
​ผาโพกหัว ​(​ผา​เตียว​เบาะ)​ ​ใช​ลาย​ขอ​นอย ​โพก​เวลา​ทำ​กิน ​เพราะวา ​เวลา​ทำ​กิน​เกรง​วา​เสนผม​จะ​
รวงหลนใ​ ส​อาหาร ​โพก​เวลา​ไป​ไร ​ทำนา ​กัน​แดด ​ผม​จะ​ได​ดำ​ไม​แหงแ​ ดง​แตก​ปลาย ​ใช​พัน​ขา ​กันห​ นาว ​เปน​
ผาฝาย​ธรรมดา​สีดำ
​ ผาสไบ ​หมาย​ถึง ​ผาหม​ของ​ผูหญิง ​ซึ่ง​นิยม​หม​สะพาย​เฉียง​เพื่อ​ไป​ทำบุญ​ที่วัด ​จึง​เปน​ผาท​ ี่​ผูสูงอายุ​
ชาวไทดำ​บันทึก​เรื่องราว​การ​อพยพ ​ชีวิต​ความ​เปนอ​ ยู ​สภาพ​แวดลอม ​ตลอดจน​เรื่องเลา​ตางๆ​ ​ผาน​ผืนผ​ าน​ ี้​
เปน​ผา​หนา​แคบ​โดย​มี​ดาน​ยาว​ตั้งแ​ ต ​1​ ​–​ ​3​ ​เมตร ​ตัดเย็บด​ วย​ผาฝาย ​ตก​แตงล​ วดลาย​ดวย​วิธีขิด ​บริเวณ​หัว​
และ​ทาย​ผา ​ลาย​ผาสไบ​ได​แก ​ลาย​แมงมุม ​มี​ความ​เชื่อ​ถึง​การ​ระลึก​ถึง​บุญคุณ ​ลาย​ผีเสื้อ ​มี​ความ​เชื่อ​ถึง​
บรรพบุรุษ​ที่​คอย​ชวยเหลือ​เมื่อ​ประสบ​ภัยพิบัติ ​ลาย​มา ​มี​ความ​เชื่อ​ถึงค​ วาม​อุตสาหะ​พยายาม ​ลาย​แมงปอง ​
มี​ความ​เชื่อ​ถึง​การ​ขมขวัญศ​ ัตรู ​ลาย​ชาง ​มี​ความ​เชื่อถ​ ึง​ความ​ผูกพัน​กับ​พุทธศาสนา ​ลาย​สิงโต ​มี​ความ​เชื่อ​ถึง​
ความ​กลาหาญ​และ​ความ​แข็ง​แกรง ​ลาย​งเู หลือม ​มี​ความ​เชือ่ ถ​ งึ ​ความ​พรอม​ท​จี่ ะ​แตงงาน​ได ​ลาย​ปู ​มคี​ วาม​เชือ่ ​
ถึง​การ​เตือนสติ​ให​คิด​รอบคอบ ​ลาย​ขาวหลามตัด ​มี​ความ​เชื่อ​ถึง​การ​เซนไหว ​ลาย​โบสถ ​และ​ลาย​ธรรมาสน​
มี​ความ​เชื่อ​ถึง​บุญกุศล ​
​ ผา​ซี​โปว ​หรือ​ผาขาวมา ​หมาย​ถึง ​ผา​ที่​ใช​สำหรับ​ผลัดอ​ าบน้ำห​ รือ​พัน​รอบ​พุง ​แตช​ าวไทดำ​สวนมาก​ใช​
ผา​ซี​โปวใ​ น​พิธีกรรม​ตางๆ​ ​เชน ​พิธี​เกี่ยวกับ​ผี ​โดย​การ​มัดไวท​ ี่​เอว​ของ​ผูชาย​เพื่อ​เปนการ​รั้ง​ขวัญไ​ ม​ให​ติดตาม​
ผูตาย​ไป ​ถา​เปน​พิธี​เกี่ยวกับ​การ​เรียกขวัญ​จะ​ใช​รวมกับ​เครื่องเซน​ตางๆ​ ​โดย​เปน​เครื่องหมาย​แสดงตัว​เจา​
ของขวัญ ​สำหรับใ​ น​พิธี​แตงงาน​จะ​ใช​เปนข​ องกำนัลแ​ กญ ​ าติ​ผใู​ หญ ​(​ชม ​บุญแ​ กว,​2​5​4​4​)​ ​ผา​ซี​โปวต​ ัดเย็บด​ วย​
ผาไหม​หรือ​ผาฝาย ​เปน​รูปเ​หลี่ยม​ผืน​ผาโ​ ดย​การ​มัด​ยอม ​หรือ ​ขิด ​มี​ลวดลาย​ที่เกิดจ​ าก​การ​มัด​ยอม ​ได​แก​
ลายงา ​มี​ความ​เชื่อ​ถึง​ความ​สามัคคีแ​ ละ​ความ​เจริญ​กาวหนา ​ลาย​ตัว​ลิง ​มี​ความ​เชื่อถ​ ึง​การ​ระลึก​ถึง ​ลาย​กบ ​มี​
ความ​เชื่อ​ถึงก​ าร​เกิด ​หรือ​การ​เริ่มตน ​การขิด ​ได​แก ​ลาย​แมงมุม ​มี​ความ​เชื่อ​ถึงบ​ ุญคุณแ​ ละ​คุณ​งาม​ความ​ดี​
ลาย​ผเี สือ้ ม​ ค​ี วาม​เชือ่ ถ​ งึ ก​ าร​ไดรบั ค​ วาม​ดแ​ู ล​จาก​บรรพบุรษุ ล​ าย​มา ม​ ค​ี วาม​เชือ่ ถ​ งึ ค​ วามเร็วแ​ ละ​ความ​อตุ สาหะ​
ลาย​ปลา ม​ ี​ความ​เชื่อ​ถึง​ความ​มานะพยายาม ​และ​ลาย​ชาง ​มี​ความ​เชื่อ​ถึง​ความ​ผูกพันก​ ับพ​ ระพุทธศาสนา
​ ผา​ขัน​ลาว ​หรือ​ผา​เช็ดหนา ​หมาย​ถึง ​ผา​ที่​มี​ไว​สำหรับ​เช็ดหนา ​หอ​เครื่อง​ประดับ ​และ​หอ​เสนไหม​
ผาข​ นั ล​ าว​มก​ี าร​ใชท​ แ​ี่ ตกตาง​กนั ค​ อื ผ​ า ข​ นั ล​ าว​ของ​หญิงสาว​จะ​มพ​ี ห​ู อ ย​ไวห​ วั ท​ า ย ถ​ า เ​ปนของ​ผสู งู อายุจ​ ะ​มพ​ี ผ​ู กู ​
ทีม​่ มุ ผ​ า เ​พือ่ ไ​ วส​ ำหรับห​ อ เ​สนไหม​ใน​การ​รกั ษา​สใ​ี หค​ งทน แ​ ตถ​ า เ​ปนของ​คน​ตาย​จะ​มส​ี ขี าว โ​ ดย​นำไป​คลุมส​ ำรับ​
กับขาว​เพื่อ​แสดงวา​เปนอ​ าหาร​ของ​ผูตาย ​(​ทองยอย ​มี​นอย,​ ​2​5​4​4​)​ ​ผา​ขัน​ลาว​ตัดเย็บด​ วย​ผาฝาย​รูป​สี่เหลี่ยม​
47
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
จัตุรัส​โดย​มี​ชอง​กลาง​เปน​รูป​สี่เหลี่ยม​จัตุรัส​ขนาดเล็ก​วาง​อยู​ดาน​ใน ​ลวดลาย​เกิด​จาก​การปะ ​การ​ปก ​หรือ​
การขิด ​ ​เชน ​ลาย​ดอกจัน ​มี​ความ​เชื่อถ​ ึง ​ความ​มั่นคง ​ลาย​ดอก​ผัก​แวน ​มี​ความ​เชื่อ​ถึง ​ความ​เจริญ​งอกงาม​
ลายตา​นก​แกว ​มี​ความ​เชื่อ​ถึง ​ความ​ซื่อสัตยแ​ ละ​ความ​สามัคคี ​ลาย​แมงมุม ​มี​ความ​เชื่อ​ถึงบ​ ุญคุณ ​ลาย​ผีเสื้อ​
มี​ความ​เชื่อ​ถึง ​การ​ไดรับ​ความ​ดู​แล​จาก​แถน ​ลาย​งูเหลือม ​มี​ความ​เชื่อ​ถึง​ความ​พรอม​ที่​จะ​แตงงาน​ได ​ลาย​
ขาวหลามตัด ​มี​ความ​เชื่อ​ถึง ​เครื่อง​เซนไหว ​ลาย​ใบเสมา ​มี​ความ​เชื่อ​ถึง ​บุญกุศล ​สวน​การ​ใช​สี ​มี​การ​ใช​สเี​ชน​
เดียว​กับ​เสื้อฮีผ​ ูชาย ​แตถ​ า​ใช​ใน​พิธีศพ ​จะ​ใช​ผา​ขัน​ลาว​สีขาว ​โดย​มลี​ วดลาย​แบบห​ยาบๆ​ ​ซึ่งม​ ี​ความ​เชื่อ​วา ​ผา​
ขัน​ลาว​สีขาว​หมาย​ถึง ​วิญญาณ​ของ​ผูตาย ​(​ชม ​บุญ​แกว,​ ​2​5​4​4​)​ ​นอกจากนีย้​ ังมีเ​สื้อ​นอย ​เสื้อ​กระโปรง ​(​เสื้อ​
ชั้น​ใน​ของ​ผูหญิง)​ ​และ​สวง​ซอน (​ก​ างเกง​ใน)​

ผาขันลาว

เครื่อง​แตงกาย​ใน​พิธีกรรม ​ ​
​ ชุด​สำหรับ​งาน​พิธีกรรม​สำคัญ ​คือ ​สวมเสื้อฮี ​จะ​จัด​ทำขึ้น​เปนพิเศษ​และ​ประณีต​สีดำ​ตก​แตง​ดวย​
ผาไหม​ชนิ้ เ​ล็ก ๆ​ ​ส​ ว น​ใหญม​ เ​ี ครือ่ ง​ประดับ​เปนเ​งิน ผ​ หู ญิงม​ ี “​ ผ​ า เ​ปยว”​ค​ ลอง​คอ ส​ ว น​เด็ก ๆ​ ​จ​ ะ​มห​ี มวก​คลาย​
ถุง​ผา​ปก​ไหม​หรือด​ าย​สวยงาม ​เรียกวา ​“​มู”​ ​สวงฮี ​(​กางเกง​ขา​ยาว)​ ​ซิ่น​ตา​หมี่ ​ซิ่น​นาง​หาญ ​เสื้อ​จาง ​(​เสื้อ​ผูทำ​
หนา​ที่​แนะนำ​พิธีกรรม)​
​เสื้อฮี ​เปนเ​สื้อ​ที่​ใช​สวม​ใสใ​ น​ใน​พิธีกรรม ​ชาวไท​ดำ​ทุกคน​ตอง​มี​เสื้อฮีป​ ระจำตัว ​ฮี ​แปล​วา ​ยาว ​เปน​
เสื้อท​ ี่​ใช​สวม​ใส​ทั้ง​ที่​เปนงาน​มงคล​และ​อวมงคล ​เชน ​แตงงาน ​เซน​ผีเรือน ​ทำขวัญ​งานศพ ​และ​งาน​รื่นเริง ​หาก​
เปนงาน​มงคล ล​ าย​จะ​อยูด​ า น​ใน เ​ปนความ​เชือ่ ท​ ม​ี่ ม​ี า​แต​โบราณ​วา ค​ น​อนื่ เ​ห็นล​ าย​จะ​นำไป​ทำ​เลียน​แบบ​จงึ เ​ก็บ​
ลาย​ไวด​ าน​ใน ​หาก​เปนงาน​อวมงคล ​จะ​กลับดาน​ใหล​ าย​อยูด​ านนอก ​เมื่อ​เจาของ​เสื้อ​เสียชีวิต ​ญาติจ​ ะ​นำ​เสื้อฮี​
48
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
สวม​ใส​ให ​เพื่อเ​ปนเ​ครื่อง​แสดง​ถึง​เอกลักษณ​ของ​เผาพันธุ ​ดวย​มี​ความ​เชื่อ​วา ​เมื่อ​วิญญาณ​บรรพบุรุษ​แลเห็น​
ผู​ใด​สวมเสื้อด​ ังกลาว​ก็​จะ​จำไดว​ า​เปน​ลูกหลาน​ของ​ตน ​และ​ตกลง​รับ​ให​เขามา​อยู​รวม​กันไ​ ด ​(​มี​ลาย ​–​ ​ตาย ​,​
ไมมี​ลาย ​–​​แตง)​​เสื้อฮี​ของ​ผูชาย​และ​เสื้อฮีข​ อง​ผูหญิงม​ ี​ลักษณะ​แตกตาง​กัน ​ตัดเย็บต​ ก​แตงอ​ ยาง​สวยงาม ​ใน​
งาน​มงคลสมรส​เจาบาว​เจาสาว​ตอง​สวมเสื้อฮี​ใน​พิธี​ไหว​ผีเรือน ​ผี​บรรพบุรุษ ​และ​ใน​งานศพ ​คน​ที่​ใสเสื้อฮี​จะ​
บงบอก​ฐานะ​ของ​ผู​สวม​ใส​วา​เปนเ​ขย​หรือสะ​ใภ
เ​สือ้ ฮีผ​ ชู าย ต​ ดั เย็บด​ ว ย​ผา ฝาย​ยอ ม​คราม เ​ปนเ​สือ้ ต​ วั ย​ าว​คลุมส​ ะโพก ค​ อกลม ก​ นุ ร​ อบ​คอ​ดว ย​ผา ไหม​
สี​แดง ​แลว​เดิน​ดวย​เสน​ทับ​ดวย​ผาไหม​สี​อื่น ​ตรง​คอ​ดาน​ขาง​ติดกระดุม​แบบ​คลอง ​1​ ​เม็ด ​ผา​ตลอด​ตั้ง​แต​
กระดุม​ปาย​ทบ​มา​ทาง​ดาน​ขาง ​(ป​ าย​ขาง)​​จุดท​ ี่​สวยงาม​ที่สุด​คือ ​ดาน​ขาง ​(​ใต​รัก​แร)​​นิยม​ใช​ผาไหมปะ​เปน​ลาย​
ดอก​แปด ห​ รือล​ าย​ขา​บวั ด​ า น​ขา ง​ของ​ตวั เ​สือ้ ท​ งั้ สอง​ดา นปะ​ดว ย​ลาย​ดอกมะลิ ล​ าย​ดอก​พรม โ​ ดย​มล​ี าย​ผกั กูด​
อยู​ดานลาง ​และ​ที่​ตีนเ​สื้อ​ดานลาง​มกี​ ารปะ​ดวย​ลาย​ดอก​แปด ​มี​ความ​เชื่อ​ถึง ​การ​ทด​แทน​บุญคุณ ​การ​ขอขมา​
การ​ไดรบั ก​ าร​ดแ​ู ล​จาก​แถน แ​ ขน​เสือ้ เ​ปน​แขน​กระบอก​ยาว​ปลาย​แคบ ช​ าย​เสือ้ จ​ ะ​ปก ด​ ว ย​ผา ไหม​สต​ี า งๆ​พ​ รอม​
ติดก​ ระจก​ชิ้นเ​ล็ก ​ๆ​​ดาน​ขาง​ผาต​ ั้ง​แตป​ ลาย​เสื้อจ​ น​ถึง​เอว ​ปกต​ ก​แตง​อยาง​งดงาม ​มี ​2​​ดาน ​ลวดลาย​ดาน​หนึ่ง​
ตก​แตง​เต็ม​ที่ ​อีก​ดาน​หนึ่ง​ตก​แตง​ลวดลาย​ประดับ​เพียง​แต​นอย ​ดาน​ที่​ตก​แตงล​ วดลาย​เพียง​แต​นอย​ใช​สวม​
ใน​พิธี​มงคล​ทั้งหลาย ​สวน​ดาน​ที่​ตก​แตง​ลวด​ลายอยาง​เต็ม​ที่​ใช​สวม​ใน​พิธี​อวมงคล ห​ รือ​สวม​ให​แก​คน​ตาย​

เสื้อฮี ​(​ผูชาย)​ ​บาน​หนอง​หมู ​หมู 5 ตำบล​สระ​พัฒนา ​อำเภอ​กำ​แพง​แสน ​จังหวัด​นครปฐม

49
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

เสื้อฮี ​(​ผูชาย)​ ​ดาน​ขางลาย​ขอกุด ​ลาย​ดอก​แปด


​ศูนย​วัฒนธรรม​​เขายอย ​หมู 5 อำเภอ​เขายอย ​จังหวัด​เพชรบุรี

​ เสือ้ ฮีผ​ หู ญิง เ​สือ้ ส​ ำหรับใ​ ชใ​ น​พธิ กี รรม เ​ย็บด​ ว ย​ผา ดำ​หลวมๆ​ไ​ มร​ ดั รูป ป​ ลาย​แขน​ตก​แตงด​ ว ย​ผา ไหม​
สีต​ า งๆ​บ​ า ห​ นาท​ งั้ สอง​ตก​แตงด​ ว ย​ลาย​ดอก​แปด เ​ปนเ​สือ้ ต​ วั ย​ าว​ตดั เย็บด​ ว ย​ผา ฝายทอ​มอื ส​ ดี ำ​หรือส​ คี ราม​เขม​
ตก​แตงส​ ว น​คอ ช​ าย​เสือ้ ห​ รือแ​ ขน ด​ ว ย​การ​ปก ลวดลาย​และ​เย็บช​ นิ้ ผ​ า ส​ แ​ี ดง ส​ ม ข​ าว แ​ ละ​เขียว ร​ ปู ส​ ามเหลีย่ มปะ​
ติด​เขาไป​ประกอบ​เปน​ลวดลาย ​บางครั้ง​ตก​แตงเ​พิ่มเติม​ดวย​การ​ประดับ​กระจก ​ตัวเ​สื้อ​เย็บต​ ิด​กันใ​ ช​วิธี​สวม​
เขาท​ างศีรษะ ล​ วดลาย​ดา น​หนึง่ ต​ ก​แตง​เต็มท​ ี่ อ​ กี ด​ า น​หนึง่ ต​ ก​แตง​ประดับล​ วดลาย​เพียง​แต​นอ ย ด​ า น​ทต​ี่ ก​แตง​
ลวดลาย​เพียง​แต​นอย​ใช​สวม​ใน​พิธี​มงคล ​สวน​ดาน​ที่​ตก​แตง​ลวด​ลายอยาง​เต็ม​ที่​ใช​สวม​ใน​พิธี​อวมงคล​หรือ​
สวม​ให​แก​คน​ตาย ​ลาย​ที่​นิยม​นำมา​ปก​ได​แก ​ลาย​ดอก​แกว ​ลาย​ดอก​ผัก​แวน ​ลาย​ดอกพิกุล ​ลายตา​นก​แกว​
ลายห​มา​ย่ำ ​ลาย​ผีเสื้อ ​และ​ลาย​หนาเ​สื้อ ​ซึ่ง​มคี​ วาม​เชื่อ​ถึงค​ วาม​อดทน ​ความ​เอื้อเฟอ ​ความ​กลมเกลียว ​ความ​
ซือ่ สัตย ค​ วาม​ผกู พันแ​ ละ​ความ​จงรักภักดี อ​ ายุยนื ค​ วาม​มน​ี ำ้ ใ​ จ​และ​ความ​ดี ล​ ายปะ ไ​ ดแ​ ก ล​ าย​ดอก​พรม ล​ าย​

50
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ขา​บัว ​ลาย​ดอก​แปด ​และ​ลาย​ดอกมะลิ ​ซึ่งม​ ี​ความ​เชื่อ​เกี่ยวกับ ​คุณคา​ของ​ความ​เปน​ลูกผูหญิง ​การ​ขอขมา​
และ​การ​ไดรับ​การ​ดแู​ ล​จาก​แถน

ใสใน​งาน​มงคล ใสใน​งาน​อวมงคล​หรือ​สวมให​แกค​ น​ตาย

เสื้อฮี ​(​ผูหญิง)​ ​​บาน​หนอง​หมู ​หมู​ที่ 5 ตำบล​สระ​พัฒนา ​อำเภอ​กำ​แพง​แสน ​จังหวัด​นครปฐม

51
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

เสื้อฮี ​(​ผูหญิง)​ ​ลาย​ขอ​แปด ​ลาย​ปก​แซว ​ขวาง​นาบ


​เจาของ ​:​ ​นาง​พาณี ​แหงหน ​อายุ ​7​0​ ​ป
​บาน​เลข​ที่ ​46​ ​ ​หมู​ที่ ​5​ ​ตำบล​เขายอย ​อำเภอ​เขายอย ​จังหวัด​เพชรบุรี

เสื้อฮี ​(​ผูหญิง)​ ​บาน​เขา​หัว​จีน หมู 1 ​ตำบล​หวย​ยาง​โทน ​อำเภอ​ปากทอ ​จังหวัด​ราชบุรี

52
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

เสื้อฮี ​(​ผูหญิง)​ ​บานนา​ปา​หนาด ​หมู 4


ตำบล​เขา​แกว ​อำเภอ​เชียงคาน ​จังหวัด​เลย

เมื่อเ​จาของ​เสื้อเ​สียชีวิตล​ ง ​ญาติ​จะ​นำ​เสื้อ​ฮี​คลุม​บน​โลงศพ

ส​ ว งฮี ห​ มาย​ถงึ ก​ างเกง​ขา​ยาว​ทต​่ี ดั เย็บ​ดว ย​ผา ฝาย​สดี ำ​หรือส​ คี ราม​เขม ใ​ ชส​ วม​ใสใ​ น​งาน​ทเ​่ี ปน​พธิ กี าร เ​ชน​
พิธส​ี บื ผ​ ห​ี รือ​ผสู บื สกุล​ของ​ผชู าย​ทเ​่ี ปนพ​ อ บาน พ​ ธิ แ​ี ตงงาน ช​ ายหนุม ต​ อ ง​สวม​ใสส​ ว งฮี​เพือ่ เ​ขารวม​พธิ ี ใ​ น​กรณีท​ ต​่ี อ ง​
ไป​รว ม​งานศพ​ญาติ​พน่ี อ ง​ของ​ตน ​ซง่ึ ​เปน​ญาติ​จาก​ตระกูล​เดียว​กนั ​เรียกวา ​“​ผ​เี ดียว​กนั ”​ ​จะ​ตอ ง​นงุ ​สว งฮี ​และ​
สวมเสือ้ ฮี​ดว ย ​สว งฮีม​ ​ลี กั ษณะ​คลาย​กางเกง​ชาวประมง ​บริเวณ​เอว​ตดั เย็บ​ดว ย​ผา ​ยาว​ทอ น​เดียว​ไมม​กี าร​ตอ ข​ อบ​
เอว ​ม​คี วาม​ยาว​ของ​กางเกง​เสมอ​ขอ เทา ​แต​ปลาย​ขา​กางเกง​แคบ​เล็กนอย​ (​ชม ​บญ ุ ​แกว,​2​5​4​4​)​ ​

53
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
​เสื้อ​จาง ​(​เสื้อ​ผูทำ​หนา​ที่​แนะนำ​พิธีกรรม)​ ​เปน​เสื้อ​
ผาไหม​สี​แดง ​หรือ​แพร​สี​แดง ​แขน​ยาว​คอตั้ง ​ติดกระดุม ​5​
เสื้อ​จาง ​:​ ​
พิพิธภัณฑ​ปาน​ถนอม ​
เม็ด ​ชาย​เสื้อ​ดาน​ขาง​แหวก​ไว​ทั้งสอง​ชาย ​​เย็บ​ดวย​ผาไหม​สี​
บาน​หนองจิก ​ แดง ​หรือ​แพร​สี​แดง ​เปน​เสื้อ​ของ​หมอ​พิธี​ผู​ตาว ​เย็บ​ดวย​
หมู​ที่ ​1​ ​ ผาไหม​สแ​ี ดง ห​ รือแ​ พร​สแ​ี ดง ใ​ ชใ​ สป​ ระกอบพิธง​ี านเสน ห​ รือ​
ตำบล​หนองปรง ​ พิธีศพ ​หาก​ใช​ใน​พิธีศพ ​จะ​โพกศีรษะ​ดวย​แพร​สแี​ ดง ​เปน​
อำเภอ​เขายอย ​
จังหวัด​เพชรบุรี เสือ้ แ​ ขน​ยาว​คอตัง้ ต​ ดิ กระดุม 5​ ​เ​ม็ด ช​ าย​เสือ้ ด​ า น​ขา ง​แหวก​
ไว​ทั้งสอง​ชาย ​มี​สาบเสื้อ ​กระเปา​ดาน​ขาง​ทั้งสอง​ดาน ​หรือ​
ดานเดียว​แลว​แต​แมบาน​จะ​เย็บใ​ ห ​ใช​ใสท​ ำงาน ​ไม​ตอง​ติดกระดุม​เพื่อ​ความ​สะดวก​รวดเร็ว ​
เสื้อตก ​คือ ​เสื้อ​ที่​ใส​ไวทุกข ​สำหรับ​ลูกหลาน​หรือ​ญาติ​ที่​ใกล​ชิด ​ใส​เมื่อ​พอ​แม​หรือ​ญาติ​ผู​ใหญ​ตาย​
เปน​เสือ้ ​ท​ตี่ ดั เย็บ​อยาง​ไม​ประณีต​จาก​ผา ฝาย​ดบิ ​สขี าว ​เนือ่ งจาก​ใช​ใน​งานศพ​ชวั่ คราว ​แสดง​สญ ั ลักษณ​ถงึ ​บา น​
ที่​มี​คน​เสียชีวิต ​คำ​วา ​“​ตก”​ ​หมาย​ถึง ​ตก​ใจ ​หรือ​ใจหาย ​เสื้อตก ​จึง​เปน​เสื้อ​ที่​ใช​สวม​ใส​เฉพาะ​งานศพ ​ ​ผทู​ ี่​จะ​
สวมเสือ้ ตกไ​ ดค​ อื ญ ​ าติท​ าง​สายโลหิตเ​ดียว​กนั ล​ กั ษณะ​ของ​เสือ้ ตก เ​ปนเ​สือ้ ค​ อวี ไ​ มมแ​ี ขน ท​ งั้ ผ​ ชู าย​และ​ผหู ญิง​
ตัดเย็บ​แบบเดียว​กัน
​ซิ่น​ตา​หมี่ ​ซิ่น​นาง​หาญ ​สัมภาษณน​ าง​ออน ​ทัน​หา ​อายุ ​7​2​​ป ​บาน​เลข​ที่ ​26​ ​/​3​​หมู ​4​​บานนา​ปา​หนาด​
ผาซิน่ น​ าง​หาญ (​ไ​ ท​ดำ)​เ​อามา ถ​ า อ​ พยพ​ไป​ทใ​ี่ ด ไ​ มมน​ี าง​หาญ​ไมได เ​พราะ​ใชใ​ น​พธิ กี รรม น​ าง​หาญ ห​ มายความวา​
ผูใ​ ด​จะทอ​ลาย​ผา ลาย​อะไร จ​ ะ​ตอ ง​มชี อื่ ม​ า เ​ชน​
ลาย​หมี่​ผสาท ​(​ปราสาท)​,​ ​ลาย​หมี่​นาค​นอย,​​
ลาย​มั ด ​ตุ  ม ,​ ​มั ด ​จั บ ​ห มี่ ​น าค​น  อ ย+​ห มี่ ​
ปลองออย,​ ​มะจั๊บ ​(ห​ มาก​จับ)​,​ มะ​ตุม ​5​ ​ลำ ​3​
ลำ (​ต​ มุ โ​ ฮม)​,​ห​ มีต​่ น ป​ ราสาท ก​ ลาหาญ​ทำ ก​ ลา​
ตอบ ต​ อ ง​ตอบ​ได (​ก​ อ น​จะ​เปนผ​ า น​ าง​หาญ)​ใ​ ช​
ถวาย​เจาแ​ ผนไท​ดำ ผ​ า น​ าง​หาญ​สด​ี งั้ เดิมเ​ปนส​ ​ี
แดง ล​ าย​นาค​คู (​ผ​ วั -​เมีย)​ต​ วั เมียข​ า​ยาว ก​ วาง​
ตัวผู​ขา​สั้น ​แคบ ​
54
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ลาย​นาค ​ชาวไท​ดำ​มคี​ วาม​เชื่อว​ า น​ าค​เปนเ​จาแ​ หง​ง​ทู งั้ หลาย ​ท​นี่ ำ​ความ​อุดมสมบูรณม​ า​ให​ชาวโลก ​คือ​
นาค​เปนผ​ ก​ู ำหนด​ฝน​ใหต​ ก​ตอ ง​ตามฤดูกาล ​ฉะ​นนั้ ถ​ า ใ​คร​จะ​สามารถ​ทำ​ลวดลาย​เปนร​ ปู พ​ ญานาค​ได ​คน​นนั้ จ​ ะ​
ไดรับ​การ​ยกยอง​วา​เปนตัว​แทน​ของ​ความ​อุดมสมบูรณ ​และ​จาก​การ​สังเกต​พบ​วา ​มี​แต​คน​ที่​สูงอายุ​เทา​นั้น​ที่​
สามารถ​ทำลาย​นี้​ได ​เพราะวา​คน​ที่​สูงอายุ​เปนตัว​แทน​ของ​ชาวบาน​และ​เปน​ที่​ไดรับ​การ​ยกยอง​เคารพ​ยำเกรง​
ของ​คน​ทั่วไป​ซึ่ง​เปรียบ​เสมือน​พญานาค ​(ย​ ศ ​สอย​อยู,​ ​2​5​4​4​)​

ลาย​นาค

ผาซิ่น​มัดหมี่​ลาย​เกี่ยง​เอี้ยะ​วง ​มี​ลักษณะ​คลาย​ฟน​หวี ​(​ไท​ดำ)​ ชางทอ ​:​ ​นาง​หนูจร ​ไพ​ศูนย ​(​ชัย​ปญญา)​ ​อายุ ​62​ ​ ​ป ​(พ​ .​ศ.​ ​2​48​ ​9​)​
​ขนาด​สูง ​93​ ​ ​เซนติเมตร ​กวาง ​89​ ​ ​เซนติเมตร ​บาน​เลข​ที่ ​2​6​/​2​ ​หมู​ที่ ​4​ ​บานนา​ปา​หนาด ​
​ผลิต​จาก​เสนใ​ยฝาย ​ยอมสีเ​คมี ตำบล​เขา​แกว ​อำเภอ​เชียงคาน ​จังหวัด​เลย
​เรียนรูก​ าร​ทอผาจ​ าก​พี่สาว ​คือ ​นาง​ออน ​ทัน​หา ​เปนผ​ ูสอน​ให ​
สวน​ใหญ​จะ​ทอผา​สำหรับใ​ช​ใน​ครัวเรือน ​เชน ​ผาซิ่น ​ผาพื้นส​ ำหรับ​ตัด​เสื้อ
​เมื่อ​มคี​ วาม​ชำนาญ​มากขึ้น ​จึง​เริ่ม​มัดหมีเ่​ปน​ลวดลาย​ตาง ​ๆ​ ​เชน ​
ลาย​ตุม ​ลาย​นาค​นอย ​และ​ลาย​หมาก​จับ ​เปนตน
​แต​ลาย​ที่​ผูหญิงไท​ดำ​อยาก​ทำ​ให​เปนเ​พื่อ​แสดง​ถึง​ฝมือ​ใน​การ​ทอผา​คือ ​
“​ผาน​ าง​หาญ”​ ​ซึ่งท​ ำ​ยาก ​กวา​จะ​ได ​ตอง​ใชเวลา

55
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

ผาซิ่น​มัดหมี่​ลาย​ขอ และ​ลาย​กุญแจ (ไท​ดำ) ผ​ าซิ่น​มัดหมี่​ผา ​(​สอด​พลอง)​


ขนาด​สูง 94 เซนติเมตร กวาง 83 เซนติเมตร ​ลาย​นาค​หัวส​ รอย+​ลายกาบ​ขอ ​โดย​การนำ​เอา ​2​ ​ลาย​มา​ซอน​กัน
ผลิต​จาก​เสนใย​สังเคราะห ยอมสีเ​คมี ​(​ไท​ดำ)​ ​ขนาด​สูง ​9​4​ ​เซนติเมตร ​กวาง ​9​2​ ​เซนติเมตร ​
ชางทอ : นาง​เหวย ทัน​หา อายุ 86 ป (พ.ศ. 2465) ​ผลิต​จาก​เสน​ใยฝาย ​ยอมสี​เคมี
บาน​เลข​ที่ 24 หมูท​ ี่ 4 บานนา​ปาห​ นาด ​ชางทอ ​:​ ​นาง​ออน ​ทัน​หา ​อายุ ​7​1​ ​ป ​(​พ.​ศ.​ ​2​4​8​0​)​ ​
ตำบล​เขา​แกว อำเภอ​เชียงคาน จังหวัด​เลย ​บาน​เลข​ที่ ​2​6​/​3​ ​หมู​ที่ ​4​ ​บานนา​ปา​หนาด ​
​ตำบล​เขา​แกว ​อำเภอ​เชียงคาน ​จังหวัด​เลย

56
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
การ​มัดหมีเ่​ปน​ลวดลาย​ตางๆ​ ​เชน ​ลาย​ตุม ​ลาย​นาค​นอย ​ลาย​นาค​คู ​ลาย​หมาก​จับ ​ลาย​ปราสาท ​ลาย​
ปลองออย ​ลาย​ตมุ โ​ฮม ​แตล​ าย​ทผ​ี่ หู ญิงช​ าวไท​ดำ​ทกุ คน​อยาก​จะ​ทำ​ใหเ​ปน ​เพราะ​ถอื เ​ปนการ​แสดง​ฝม อื ท​ างการ​
ทอผา ​นั่น​ก็​คือ ​“​ผา​นาง​หาญ”​ ​ซึ่ง​ทำ​ยาก ​กวา​จะ​ได ​ตอง​ใชเวลา ​ผาซิ่น​นาง​หาญ​มี ​2​ ​ลาย​คือ ​ลาย​นาค​คู ​และ​
ลาย​เกาะ​ขาง ​(​เลี้ยงลูก​ออน)​ ​มตี​ ำนาน​ผาน​ าง​หาญ​เลา​กัน​วา ​ใน​สมัยกอน​นั้น​ไมมี​ผใู​ด​จะ​สามารถ​ทอผา​ผืนน​ ี้​ได​
สำเร็จ ​ตอง​มีอันเปนไ​ปกอน​ทุกราย ​ทำ​ให​ผูเฒาผ​ ู​แก​ใน​หมูบาน​เตือน​ให​เลิกทอ ​กระทั่ง​มี​ผูหญิง​คน​หนึ่งอ​ าสา​
ทอผา​ผืน​นี้ ​โดย​กอนทอ​ไดบ​ นบาน​ตอ​ผบี​ าน​ผีเรือน​วา ​หาก​ทอผาผ​ ืน​นี้​สำเร็จ​จะ​นำ​ผาผ​ ืน​ดังกลาว​มา​เซนไหวผี​
บาน​ผีเรือน ​แลวก็​สามารถทอ​ได​สำเร็จ ​จึง​เรียก​ผา​ผืนน​ ี้​วา ​“​ผาซิ่น​นาง​หาญ”​ ​ ​

​ผาซิ่น​มัดหมี่​คั่น​นาง​หาญ ​(​เปน​ผา​ที่​ใช​ใน​พิธีกรรม​ของ​
ชาวไทดำ)​ ​ ​ลาย​สรอย ​ลาย​ปราสาท​นอย ​ลาย​นาค​คู ​และ​ลาย​นาค​
เดี่ยว ​ ​ขนาด​สูง ​9​9​ ​เซนติเมตร ​กวาง ​7​7​ ​เซนติเมตร ​ผลิต​จาก​เสน​
ใยฝาย ​ยอมสี​เคมี ​
ชางทอ ​:​ ​นาง​สำลาน ​กรม​ทอง ​อายุ ​5​0​ ​ป (​พ.​ศ.​ ​2​5​0​1​)​ ​
บาน​เลข​ที่ ​5​7​/​2​ ​หมู​ที่ ​4​ ​บานนา​ปา​หนาด ​ตำบล​เขา​แกว ​
อำเภอ​เชียงคาน ​จังหวัด​เลย

57
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
สิ่งของ​เครื่อง​ใช​ที่​ทำ​ดวย​ผา
​เชน ​สาย​แอว ​(เ​ชือก​ผูก​เอว)​ ​ผาห​ลา ​(​ผา​อุม​เด็ก)​ ​มู ​(​หมวก)​ ​หลวม ​(​กระเปา​คาด​เอว)​ ​ถุงยาม ​เสื่อ​
ฟูก ​(​ที่นอน)​ ​หมอน​และ​หมอน​ตาว​เสื่อ​นั่ง ห​ ​ยั่น ​(​มุง)​ ​เปนตน
ส​ าย​แอว (​เ​ ชือก​ผกู เ​ อว)​ช​ าวไทดำมี​ความ​เชือ่ ว​ า ส​ าย​แอว ห​ มาย​ถงึ ค​ วาม​ผกู พันแ​ ละ​ความ​กลมเกลียว​
ที่​เกิดขึ้นภาย​ใน​กลุมชน ​ทำจาก​เชือก​ฝาย​ถัก​เปน​ลาย​คลาย​ขอเกี่ยว ​ใชได​ทั้งผ​ ูชาย​และ​ผูหญิง ​โดย​ผูกไว​กับ​
ผาซิ่น ​สวง​กอม ​และ​สวงฮี ​กรณี​เปน​ผูชาย​ซึ่ง​มีหนาท​ ี่​ทำ​พิธีกรรม​ตางๆ​ ​มักห​ อย​เครื่องราง​ของขลังไ​ ว​กับส​ าย​
แอว ​เชน ​เขากวาง ​เขี้ยว​หมู​ตัน ​รูป​ปลัดขิก ​นิยม​ผูกไวท​ ี่​ดานขวา​ของ​เอว​เพื่อป​ อง​กันไ​ ม​ให​ผแี​ ละ​สิ่ง​ไมดี​เขามา​
ขัดขวาง​การ​ทำพิธี ​
​ ​ ​ ผาห​ลา ​หรือผ​ าอ​ ุมเ​ ด็ก ​เปนผ​ าท​ ใี่​ ชส​ ะพาย​ลูก ​เพื่ออ​ ำนวย​ความ​สะดวก​ใหแ​ กแ​ มท​ จี่​ ะ​ตอง​ทำงาน​ตางๆ​
ได​อยาง​ถนัด​โดย​ไม​ตอง​อุม ​เด็ก​อาจ​จะ​หลับ​หรือ​นั่ง​อยู​ใน​นั้น​ได​อยาง​สบาย ​เปน​ภู​มิ​ปญญา​ที่​ชวย​ให​เด็ก​ได​
ผูกพัน​และ​ใกล​ชิดกับแ​ มต​ ลอด​เวลา ​ผาห​ลา​เปนผ​ าฝาย​สีคราม​เขม ​บริเวณ​ชายผาป​ กลวดลาย​ดวย​เสนไหม​สี​
ตางๆ​ ​แลว​จึง​เย็บ​หรือ​ผูกท​ ั้ง ​2​ ​ดาน​ให​ติดก​ ัน​ดวย​ดาย​สี​ตางๆ​ ​เปนระยะๆ​ ​ริมผา​ดาน​ยาว​ตก​แตงด​ วย​ตุม​ไหม​
สี​ตางๆ​แลวร​ วบ​ชายผา​ให​เปนก​ ลีบ​ไว​พอ​งาม ​ตก​แตงท​ ี่​ปม​ผูกด​ วย ​“​มะหงันห​ งอ”​ ​ซึ่งท​ ำ​ดวย​ฝกห​ มามุย​ไมเ​กิน​
5​​ตัว ​มี​ลักษณะ​คลาย​พญานาค​หอย​หัว​อยู ​มี​ความ​เชื่อว​ า ​นาค​ทั้ง ​5​​ตัว ​คือ​แถน​เบา ​ซึ่งม​ ีหนา​ที่​ดแู​ ล​เด็กท​ ี่เกิด​
ใหมท​ กุ คน​ใหม​ ส​ี ขุ ภาพ​แข็งแ​ รง น​ อกจาก​นนั้ ผ​ เ​ู ปนแ​ มย​ งั ท​ ำ​ถงุ ยาม​เล็กๆ​แ​ ขวน​ไวด​ ว ย ใ​ น​ถงุ ยาม​นนั้ ม​ ส​ี ายสะดือ​
ของ​เด็ก ​เงิน ​1​​สลึง ​ดินจ​ อมปลวก ​เปลือก​ใบ​เพกา ​หรือ​ลิ้นฟ​ า ​โดย​มคี​ วาม​เชื่อว​ า ​เงิน​เปนค​ าตัวเ​ด็ก ​เพื่อป​ อง​
กัน​ไม​ให​แม​เดิมน​ ำ​ตัวก​ ลับ​ไป ​สวน​หมามุยจ​ ะ​ชวย​ปอง​กันไ​ ม​ให​ผีราย​เขามา​รังแ​ ก​เด็ก ​เพราะ​ขนของ​หมามุย​จะ​
มี​อาการ​คัน​อยางรุน​แรง ​นอกจากนีย้​ ังมี​ความ​เชื่อเ​กี่ยวกับด​ ิน​จอมปลวก​และ​ใบ​เพกา​วา ​มี​สรรพคุณ​เมื่อ​นำมา​
ผสม​กับ​น้ำ​ปูน​แดง​สามารถ​ใช​ทา​แก​ปวดทอง​ให​กับเ​ด็ก​ได ​(​ชม ​บุญแ​ กว,​ ​2​5​4​4​)​
​ มู ​หมาย​ถึง ​หมวก​ที่​สวม​ใหเ​ด็ก​ปอง​กัน​แดด ​หรือ​ให​แมมด​สวม ​เพื่อ​ปอง​กัน​ขวัญ​ออกจาก​รางกาย​
ในขณะ​ทำ​พิธีกรรม ​ตัดเย็บ​ดวย​ผาฝาย​สีคราม​เขม ​รูป​สี่เหลี่ยม​คางหมู​ตก​แตง​ดวย​วิธีปะ ​หรือ​ปก ​บริเวณ​
หนามู​ด า นบน​มพี​ ​มู ัดต​ ดิ ไ​ ว ​ลักษณะมู​ของ​เด็กผ​ ชู าย​จะ​มผี​ า คลุมส​ ั้นก​ วา​ผหู ญิง ​นอกจากนีย้​ ังมีม​สู ำหรับ​แมมด​
ซึ่ง​เปน​ผูทำ​พิธีกรรม​ตางๆ​ ​ลักษณะ​ของมูจ​ ะ​แตก​ตางกับมูข​ อง​เด็ก ​คือ ​เปนร​ ูป​สี่เหลี่ยม​ผืนผ​ า ​ดานบน​ไมมี​ผา​
ปด ​ดาน​ขางซาย​และ​ขวา​ใช​เศษ​ผาไหม​หลาก​สี​ประดับ​ดวย​วิธีปะ​ผา​มากกวาก​ าร​ปก (​ทองยอย ​มี​นอย,​ ​2​5​4​4)​​
ลวดลาย​ที่​นิยมปะ​หรือ​ปกมู​สวนมาก​จะ​เปน​ลาย​พันธุ​พฤกษา​ได​แก ​ลาย​ดอกทม ​และ​ลาย​ดอกมะลิ ​มี​ความ​
58
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
เชื่อ​ถึง​คุณคา​ของ​ความ​เปนล​ ูกผูหญิง ​ลาย​ขา​บัว ​มี​ความ​เชื่อถ​ ึง​ความ​สำนึกผิด ​ลาย​ดอกพิกุล ​มี​ความ​เชื่อ​ถึง​
ความ​อดทน ​และ​ลาย​ดาว​ลอย ม​ ี​ความ​เชื่อ​ถึง​ความ​อุดมสมบูรณ

มู ​(​หมวก​เด็กผูหญิง) ​มู ​(ห​ มวก​เด็ก​ผูชาย)​

บาน​ดอน​มะเกลือ หมู 4 ตำบล​ดอน​มะเกลือ ​อำเภอ​อูทอง ​จังหวัด​สุพรรณบุรี

มู ​(​หมวก​เด็กผูหญิง)​ ​บาน​หนอง​หมู ​หมู 5 ตำบล​สระ​พัฒนา ​อำเภอ​กำ​แพง​แสน ​จังหวัด​นครปฐม

59
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
​ ​หลวม ​ทำเปน​กระเปา​มี​สาย​สำหรับ​คาด​เอว ​ตัดเย็บ​ดวย​ผาฝาย​สีดำ​หรือ​สีคราม​เขม ​ตก​แตง​ดวย​
วิธกี ารปะ​และ​ปก ลวดลาย เ​ย็บช​ นิ้ ผ​ า ส​ แ​ี ดง ส​ ม ข​ าว แ​ ละ​เขียว ร​ ปู ส​ ามเหลีย่ มปะ​ตดิ เ​ขาไป​ประกอบ​เปนล​ วดลาย​
บริเวณ​ฝา​เปดป​ ด ท​ เ​ี่ นนใ​ หเ​ห็นถ​ งึ ศ​ ลิ ปะ​ใน​การ​ประดิษฐใ​ หม​ ร​ี ปู ล​ กั ษณะ​ทแ​ี่ ปลกตา แ​ สดง​ถงึ ก​ าร​ใชจ​ นิ ตนาการ​
จาก​ธรรมชาติ​ใกล​ตัว​นำมา​ประดิษฐ​ของ​ใช​ที่​จำเปนส​ ำหรับ​ผูชาย ​ใช​สำหรับใ​ ส​สิ่ง​ของจำเปนพ​ กพา​ติดตัว ​เชน​
เงิน ​หมาก ​พลู ​และ​ยาสูบ ​มี​ลักษณะ​คลาย​รังผึ้งห​ รือ​ครึ่งว​ งกลม ​ภาย​ใน​เย็บเ​ปน​ชอง ​2​ ​ชั้น ​มี​ฝา​เปด​ปด​ได​
ชาย​ทั้งสอง​ขาง​มวน​กลม​ปลาย​เรียว ​เย็บพ​ ับด​ วย​ผาไหม​หลาก​สี​โดย​มัดร​ วม​กันเ​ปน​พู ​สวน​ที่​อยู​ปลายสุดข​ อง​
ชาย​ทั้ง ​2​ ​ขาง ​มลี​ ักษณะ​คลาย​หาง​หมู ​มี​หู​ขางซาย​และ​ขวา​ผูกก​ รอบ​เอา​ไว ​ซึ่งม​ ี​ความ​เชื่อ​วา ​หาง​หมูม​ ี​ลักษณะ​
คลาย​หางเสือเรือ​ที่​คอย​ชวย​ประคับ​ประคอง​ให​ผสู​ วม​ใส​ไม​ประพฤติ​ปฏิบัติ​ผิดศ​ ีลธรรม ​(​หัน ​คง​สนิท,​ ​2​5​4​4)​​

หลวม ​หรือ ​กระเปา​คาด​เอว ​(ผ​ ูชาย)​


​​บาน​หนอง​หมู ​หมู 5 ตำบล​สระ​พัฒนา ​อำเภอ​กำ​แพง​แสน ​จังหวัด​นครปฐม

60
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

หลวม ​หรือ ​กระเปา​คาด​เอว ​


​เจาของ ​:​ ​นาง​พาณี ​แหงหน ​อายุ ​7​0​ ​ป ​
บาน​เลข​ที่ ​4​6​ ​หมู​ที่ ​5​ ​ตำบล​เขายอย ​อำเภอ​เขายอย ​จังหวัด​เพชรบุรี

ถุงยาม ​หมาย​ถึง ​ถุง​ผาฝาย​มสี​ ายสะพาย​ใน​ตัวไ​ ว​ใสส​ ิ่งของ​เล็กๆ​นอยๆ​ ​เชน ​มีด ​หมาก ​พลู ​เมื่อ​ไป​
ทำนา ท​ ำสวน แ​ ละ​ทำไร ส​ ว น​หมอ​ผท​ู ำพิธจ​ี ะ​ไวใ​ สต​ ำรา ข​ องขลังแ​ ละ​อปุ กรณท​ จ​ี่ ำเปนใ​ น​การ​ประกอบ​พธิ กี รรม​
เปน​ถุง​ตัดเย็บ​ดวย​ผาฝาย​สีขาว​และ​สี​แดง ​มี​ขนาด​แตกตาง​กัน​แลว​แต​การ​นำไป​ใช​ประโยชน ​ชาวไท​ดำ​มี​วิธี​
รักษา​สี​ของ​ถุงยาม ​โดย​การดน​ใน​ซึ่ง​ไมมี​ลวดลาย​กลับดาน​แลวพ​ ับ​เก็บไ​ ว ​จะ​ทำ​ให​สขี​ อง​ถุงยาม​มี​สี​สด​ตลอด​
เวลา ​(​แปง ​เพชร​พลาย,​​25​ ​4​4)​​​สำหรับ​ลวดลาย​ของ​ถุงยาม ​นิยม​วาง​ลวดลาย​เปน​แนวตั้ง ​โดย​ใช​สแี​ ดง ​สีเขียว​
สี​เหลือง ​และ​สีขาว ​มีความหมาย​เชน​เดียว​กับ​ผาซิ่น​ลาย​แตงโม
61
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
​ เสื่อ​ฟูก ​(​ที่นอน)​ ​ใช​สำหรับ​ใช​ปู​นอน ​และ​สามารถ​พับ​เก็บไ​ ด ​ผาฝาย​สีดำ​หรือ​สีคราม​เขม ​ยัดน​ ุนเ​ย็บ​
เปน​ลูกฟูก​ให​เปนแ​ นวขวาง ​สามารถ​มวน​เก็บ​ได ​ตก​แตงล​ วดลาย​ดาน​ขาง​ทั้ง ​4​​ดาน ​ดวย​การปะ​ตอก​ ัน​โดย​ใช​
ผา​สแี​ ดง ​สี​เหลือง ​สีขาว ​และ​สีเขียว ​ใน​พิธี​แตงงาน ​เสื่อ​ฟูก ​ตอง​มวน​ให​กลม​แลวใ​ สสา​แห​รก​หาบ​ไป​ใน​ขบวน​
เจาบาว​ดวย

​ หมอน เ​ปนห​ มอน​รปู ส​ เี่ หลีย่ ม​ผนื ผ​ า ม​ ล​ี กั ษณะ​คลาย​ทอ นไม ม​ ชี อื่ เ​รียกวา “​ ห​ มอน​หนาอิฐ”​เ​ย็บแ​ ตละ​
ทอน​ตอ​กัน​เปน​ทรงกระบอก ​ทั้งนี้​ขึ้น​อยู​กับ​ผูผลิต​วา​ตองการ​จะ​เย็บ​ตอ​กัน​กี่​ทอน ​โดย​มีชื่อ​เรียก​แตกตาง​กัน​
คือ ​เย็บ​ตอ​กัน ​2​ ​ทอน ​เรียกวา ​“​หมอน​หนาไ​ ข”​ ​เย็บต​ อ​กันต​ ั้ง​แต ​3​ ​ทอน​ขึ้นไ​ ป​เรียกวา ​“​หมอน​หนา ​3​ ​หนา ​4​
หรือ​หนา ​5​”​ ​เปนตน ​แลว​จึง​ยัด​ดวย​นุน ​ตัว​หมอน​ตัดเย็บ​ดวย​ผาฝายทอ​มือ​สีดำ​หรือ​สีคราม​เขม ​สวนหนา​
หมอน​ตก​แตง​ดวย​การปะ ​การ​ปก ​ลวดลาย ​โดย​การ​ตัด​ชิ้น​ผา​สี​แดง ​สม ​ขาว ​และ​เขียว ​เปน​ทรง​เรขาคณิต​
เชน ​รูป​สามเหลี่ยม ​สี่เหลี่ยม​จัตุรัส ​สี่เหลี่ยม​ผืน​ผา ​เย็บ​ติดป​ ระกอบ​กัน​เปน​ลวดลาย ​ลาย​ที่​ทำเปนพ​ ื้นฐาน​คือ​
ลาย​ดอก​พรม ​นอกจาก​นั้น​ยังมี ​ลาย​ดอก​ขา​แกว ​ลาย​ดอกงา ​ลาย​หัวแ​ มงดา ​ลาย​ดอก​แปด ​ลาย​กลีบม​ ะเฟอง​
ลาย​มะลิซ​ อน ​บางครั้ง​ตก​แตง​ลวดลาย​ดวย​การ​ประดับ​กระจก ​

ลวดลายหน้าหมอน

62
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
​ หมอน​ตาว​เสื่อ​นั่ง ​เปน​หมอน​สามเหลี่ยม​แบบ​หมอน​หนาอิฐ ​หรือ​หมอน​หก ​ตัว​หมอน​ตัดเย็บ​ดวย​
ผาฝายทอ​มือ​สีขาว ​สีดำ ​หรือส​ ีคราม​เขม ​สวนหนาห​ มอน​ตก​แตงด​ วย​การ​ปกลวดลาย ​และ​เย็บ​ชิ้นผ​ า​สแี​ ดง​
สม ​ขาว ​และ​เขียว ​รปู ​สามเหลี่ยมปะ​ตดิ ​เขาไป​ประกอบ​เปน​ลวดลาย ​บางครัง้ ​ตก​แตง​ลวดลาย​ดว ย​การ​ประดับ​
กระจก ​มี ​2​ ​แบบ ค​ ือ​แบบ​ตอเ​บาะ ​(ม​ ี​ฟูก​เย็บ​ติดกับต​ ัวห​ มอน)​ ​และ​แบบ​ไมต​ อ​เบาะ

หมอน​ตาว​เสื่อ​นั่ง

​ ​ห​ยั่น ​(​มุง)​ ​ทำจาก​ผาฝาย​ชนิด​หนา​สีคราม​เขม​ใช​แทน​ฝา​ผนังกั้นห​ อง​และ​กันยุง ​มี​สีดำ​เพื่อ​ความ​เปน​


สวนตัว​ยาม​ค่ำคืน ​เนื่องจากภาย​ใน​บาน​ของ​ชาวไท​ดำ​ไม​นิยม​กั้นห​ อง ​การ​นอน​ของ​ทุกคน​จึง​ตอง​กางห​ยั่นเ​พื่อ​
เปนการ​แบงใ​ ห​เปน​สัดสวน ​ห​ยั่นม​ ี​ลักษณะ​เปนร​ ูปทรง​สี่เหลี่ยม​ผืนผ​ า ​ขอบห​ยั่นด​ านบน​ทั้ง ​4​ ​ดาน ​ตก​แตง​
ลวดลาย​โดย​วิธีการปะ​หรือป​ กด​ วย​ผา​ชิ้น​หลาก​สี ​เชน ​สี​แดง ​สม ​ขาว ​และ​เขียว ​รูป​สามเหลี่ยมปะ​ติดเ​ขาไป​
ประกอบ​เปน​ลวดลาย ​เชน ​ลาย​ดอก​พรม ​และ​ลาย​ดอกมะลิ ​มี​ความ​เชื่อ​ถึง ​คุณคาข​ อง​ความ​เปน​ลูกผูหญิง​
ลาย​ขา​บัว ​มี​ความ​เชื่อ​ถึง ​ความ​สำนึกผิด ​ลาย​ดอก​แปด ​ ​มี​ความ​เชื่อ​ถึง​การ​ไดรับ​การ​ดู​แล​จาก​แถน ​ลาย​
ดอกพิกุล ​มคี​ วาม​เชื่อถ​ ึง ​ความ​อดทน ​และ​ลาย​ดาว​ลอย ​มคี​ วาม​เชื่อ​ถึงค​ วาม​อุดมสมบูรณ ​กอน​เย็บ​หูห​ยั่น​
ชาวไทดำ​จะ​นำ​เงิน ​และ​ขาวเปลือก ​ใสไว​ทั้ง ​4​ ​ดาน ​โดย​มี​ความ​เชื่อ​วา ​จะ​ทำ​ให​ผใู​ ชหย​ ั่น​มี​ความ​เจริญ​รุงเรือง​
เหมือนกับ​การ​งอกเงย​ของ​ตน​ขาว ​พรอมกับม​ ี​เงินทอง​มากมาย​เหมือน​รวงขาว​สีทอง​เต็ม​ผืนน​ า ​(​ผล ​มี​มาก,​ ​2​
5​4​4​)​ ​บริเวณ​หูห​ยั่น​มี​เชือก​ดายดิบ​หลาก​สี​ผูก​เปนหวง​ยื่น​ออก​มาจาก​มุม​แตละ​ดาน ​เพื่อ​ใช​หวง​หรือ​เชือก​ตอ​
ออกไป​ใหย​ าว ห​ รือใ​ ชต​ ะขอ​เกีย่ ว​ไวก​ บั ต​ น เ​สา ห​ รือฝ​ า​บา น​ได ก​ าร​ตดั เย็บห​ยนั่ ข​ อง​ชาวไท​ดำ​นนั้ แ​ ตก​ตา งกับม​ งุ ​
ทั่วไป ​บริเวณ​ตีนห​ยั่น​จะ​ไม​เสมอ​เปนแ​ นว​เดียว​กัน ​โดย​มี​ลักษณะ​คลาย​ยังต​ ัดไ​ ม​เสร็จ ​แต​ความ​จริง​เปนเ​คล็ด​
ของ​ชาวไท​ดำ​ทเ​ี่ ชือ่ ว​ า ถ​ า ​ตดั เย็บใ​ หต​ นี ห​ยนั่ เ​สมอ​กนั ​แลว จ​ ะ​เหมือนกับก​ าร​ครอบ​ศพ ซ​ งึ่ เ​รียกวา “​ เ​รือน​แส”​จ​ งึ ​
ไมน​ ิยม​ทำ​กัน ​(ธ​ ิดา ช​ มพูนิช,​ ​25​ 3​ ​9)​​ ​
63
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

ห​ยั่น ​(ม​ ุง)​ ​เสื่อฟ​ ูก ​(​ที่นอน)​ ​และ​หมอน ​มุง​ลาย​ดอก​แปด ​มี​แปด​แฉก ​เปนงาน​ประดิษฐ​หนา​หมอน

พัดพ​ อมด พัด​หมอเสน​ผูนอย

64
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

​ดอกไมไท​ดำ ​ไท​ดำ​นับถือผ​ ี​บรรพบุรุษ ​ผี​มด ​ตัดเ​ปน​ตัด​ตาย​ได ​เสี่ยงทาย​ได ​ไท​ดำ​บานนา​ปา​หนาด​


จึง​มี​พิธี​แซ​ปาว​ของ​พอ​หมอ​มด ​เรียกวา ​ดอกไมไท​ดำ ​(​เปน​สัญลักษณไท​ดำ​บานนา​ปา​หนาด จ.​ ​เลย ​ท​ี่
จ.​ ​เพชรบุรี ​ไมมี)​

ดอกไมไท​ดำ

-​ ​ ​รม​โพธิ์​รมไ​ ทร ​มีความหมาย​วา อ​ ยูเ​ย็นเ​ปนสุข


​ ​-​ ​ตุม​หนู ม​ ีความหมาย​วา ส​ อด​แนม​ผูราย ​ถา​ผูราย​จะ​มา​ทำลาย​สิ่งของ ​หนูจ​ ะ​ไป​ทำลาย​เขา​กอน
​ ​-​ ​ตา​แหลว ​มีความหมาย​วา เ​งินทอง​ไมมี​ออก
​ ​-​ ​ตุม​นก ​มีความหมาย​วา ส​ ืบข​ าว ส​ ื่อสาร ​คาบขาว ท​ ั้ง​ดี-​ราย
​ ​-​ ​เรือ​แพ ม​ ีความหมาย​วา ข​ าม​น้ำ
​ ​-​ เ​ครื่องบิน (​​ยนต​หงส)​ ​มีความหมาย​วา ​ไป​ทางไกล

65
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

66
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

​การ​ยอม​คราม

​ นำ​ตนค​ ราม ​(​ใบ​สด)​ ​ไป​แชน้ำพ​ อ​ทวม​ใบ​ประมาณ ​1​ ​คืน ​เพื่อ​ให​เนา ​การ​แช​ใบ​คราม​สด​ใน​น้ำไ​ ม​ใช​
แช​ให​สีคราม​ละ​ลายน้ำ​ดังเชน​การ​ตม​เปลือกไม ​แต​แช​ให​สาร​ใน​ใบ​คราม​สด​ทำ​ปฏิกิริยา​กัน​เกิด​เปน​สีคราม​ที่​
ละ​ลายน้ำ​ได ​
​ ​ใช​ปูนแ​ ดง​ผสม​กับ​น้ำ​แช​ตน​คราม ​แกวง​ให​ฟอง​แตก ​นำมา​กรอง ​​เนื้อ​คราม​ที่กรอง​แลว ​จะ​เปน​เชื้อ​
กอ​หมอ​คราม​ตาม​สูตร ​เอา​แม​นิลม​ า​ใส ​เอา​ดาง ​แปงข​ าวหมาก​มา​ผสม ​จะ​ได​น้ำ​คราม​ที่​พรอม​สำหรับ​ยอม
​ นำ​ฝาย​ที่​เข็น​มา​ยอม​กับ​น้ำ​คราม ​แลว​ยอม ​หรือ​นำ​ผา​ขาว​มา​แชน้ำ​ให​เปยก​บิด-​ขยำ​ดวย​น้ำ​คราม ​
(​ประมาณ ​4​​ครั้ง)​​ซัก​น้ำสะอาด​ให​ใส ​ตาก​ให​แหง ​เรียกวา ​แดด​หนึ่ง ​ทำ​เชน​เดียว​กันแ​ บบนี้​ไปเรื่อยๆ​​โดย​การ​
บิด-​ขยำ ​ดว ย​น้ำ​คราม ​แลว​ซัก​น้ำ ​บดิ ใ​ ห​แหง ​ตาก​ยอ ม​ไปเรือ่ ยๆ​​จนกวา​จะ​ดำ ​โดย​ทวั่ ไป​แลว​จะ​ยอ ม​ประมาณ​
4​ ​แดด ​(1​ ​6​ ​ครั้ง)​ ​นิยม​ตาก​ฝาย/​ผา​ที่​ยอม​คราม​แลวใ​ น​ที่​รม

​ วิธีการ​ปอง​กัน​ไมใ​ห​สีตก ​
​ โดย​การนำ​เปลือก​ประดูม​ า​ตม​กับน​ ้ำดาง พอ​เดือด ​(​น้ำ​ขี้เ​ถา ​ซึ่ง​ได​จาก​ขี้เ​ถาเ​ตาไฟ ​นำมา​ใสตะ​แกรง​
รอน​ให​ละเอียด ​ผสม​น้ำ ก​ รอง​เอา​น้ำ​ใส)​ ​ ​
​ จาก​นั้นเ​อา​น้ำ​เปลือก​ประดูเ​ท​ใส​กาละมัง ​รอ​ให​เย็น​กอน​จึง​เอา​ผา​ที่​ยอม​คราม​แลวล​ ง​แช ​(​ไมนาน)​ ​บิด​
ให​แหง ​นำไป​ตาก ​พอ​แหงแ​ ลว​นำมา​ซักใ​ หสะอาด ​ใช​ไม​ตี​จนกวา​น้ำ​จะ​ใส ​เพื่อป​ อง​กันส​ ีตก ​ ​

67
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

ตน​คราม

​แชน้ำ​พอ​ทวม​ใบ​ประมาณ ​1​ ​คืน

68
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

ใช​ปูน​แดง​ผสม​กับ​น้ำ​แชต​ น​คราม ​แกวง​ใหฟ​ อง​แตก ​นำมา​กรอง

69
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

เนื้อ​คราม​ที่กรอง​แลว ​จะ​เปน​เชื้อ

​กอ​หมอ​คราม​ตาม​สูตร ​จะ​ได​น้ำ​คราม​ที่​พรอม​สำหรับ​ยอม

70
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

การ​ทอผา

แตเดิม​ชาวไท​ดำ​จะ​ผลิต​ผาฝาย​และ​ผาไหม​เพื่อ​ใช​เอง​ใน​ครอบครัว ​เปนการ​ผลิต​แบบ​ครบ​วงจร​ซึ่ง​
ผลิต​ควบคู​กับ​การ​ประกอบ​อาชีพห​ ลัก ​คือ ​การ​ทำนา ​ชาวไท​ดำ​มีความรูเ​รื่อง​การ​ผลิต​ผาฝาย​และ​ผาไหม​จาก​
การ​ถายทอด​สืบตอ​กัน​มา​ตั้ง​แต​บรรพบุรุษ​จนกระทั่ง​ปจจุบัน ​ ​ ​เมื่อ​สภาพ​เศรษฐกิจ​และ​สังคม​เปลี่ยน​แปลง​
ไปจาก​เดิม ​ซึ่ง​เคย​เปนส​ ังคม​แบบ​พึ่งพา​ตน​เอง​เปลี่ยน​เปนส​ ังคม​แบบ​ซื้อขาย ​การ​แสวงหา​และ​การ​ผลิต​เสื้อผา​
เครือ่ ง​แตงกาย แ​ ละ​เครือ่ ง​นงุ หมก​ เ​็ ปลีย่ น​แปลง​ไป​ดว ย ว​ ตั ถุดบิ ท​ ใ​ี่ ชใ​ น​การ​ทอผาก​ ซ​็ อื้ ห​ าไดจ​ าก​ตลาด ป​ จ จุบนั ​
จึง​ไม​นิยม​ผลิต​เสน​ใย​เอง ​แต​จะ​ใช​เสน​ใย​สังเคราะห​ที่​เรียกวา ​“​ดาย​โทเร”​ ​มาทอ​เปน​ผา​แทน ​ทั้งนี้​อาจ​เนื่อง​
มาจากการนำ​เสน​ใยไหม​หรือเ​สน​ใยฝาย​มา​ทอผา​นนั้ ม​ ก​ี ระบวนการ​ทย​ี่ งุ ยาก​ซบั ซอน​ไมเ​หมาะกับ​การ​ดำรงชีวติ ​
ใน​ปจจุบัน ​ซึ่ง​ตอง​ทุมเท​เวลา​ใน​แตละวันก​ ับ​การ​ทำ​ไรนา​ของ​ตน​เอง ​หาก​จำเปน​ตอง​ใช​ผาไหม ​ชาวไท​ดำ​จะ​ซื้อ​
จาก​แหลง​อื่น ​เชน ต​ ลาด ​หรือผ​ าไหม​ที่​ขาย​ตาม​เทศกาล​งานตางๆ ​
​ชาวไท​ดำ​​เมื่อ​วาง​จาก​การ​ทำ​ไรนา​และ​เริ่ม​จะ​เขาสู​ฤดูหนาว​จะ​นิยม​ทอผาห​ ม​ดวย​ผาฝาย ​โดย​ซื้อ​ฝาย​
สำเร็จรูป​จาก​ตลาด​เพื่อ​นำมาทอ​เปน​ผาหม​และ​จะ​นิยมทอ​ดวย​ฝาย​สีเขม​ดวย​เห็นวา ​สีเขม​เก็บความ​รอน​ได​
ดีกวาผ​ า หมส​ อ​ี นื่ ๆ​เ​มือ่ ทอ​เสร็จจ​ ะ​นำมา​เย็บเ​ปนผ​ นื ห​ นา​ใหญใ​ สน​ วม​หนา​บาง​ตาม​ตอ งการ น​ อกจาก​นนั้ จ​ ะ​ทอผา​
ซิ่น ​ผา​เปยว​เบาะ​ไว​ใช​ใน​ครอบครัว ​ลวดลาย​ที่​ใช​ใน​การ​ทอผา ​เชน ​ลาย​ดอก​ผักแ​ วน ​ลาย​นาค ​ลาย​แตงโม​
เปนตน

71
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

การ​ทอผา​ของ​ชาวไท​ดำ
​ผูทอ ​:​ ​นาง​หนูจร ​ไพ​ศูนย ​อายุ ​6​2​ ​ป
​บาน​เลข​ที่ ​26​ ​/​2​ ​หมู ​4​ ​บานนา​ปา​หนาด ​ตำบล​เขา​แกว ​อำเภอ​เชียงคาน ​จังหวัด​เลย

​ ขั้นตอน​การทอ
​ 1​.​เ​สนฝ​ า ย เ​อามา​ลง​แปงก​ อ น ส​ มัยกอน​ลง​ดว ย​นำ้ ข​ า วเจา ไ​ มได​ลง​แปงข​ าว (​แ​ ปง​มนั สำปะหลัง)​​น​ วด​
พอประมาณ ​แลว​นำไป​ตาก เ​สน​ฝาย​ได​จาก​การ​ปลูกฝ​ าย​เอง ​ปลูกท​ ั้งฝ​ าย ท​ ั้ง​คราม
​ 2​.​ ​ ​เอา​เสนฝ​ าย​ที่​ยอม​ดวย​หมอ​ฮอม ห​ มอ​นิล ​มา​ใสกง ​ไท​ดำ​เรียกวา ก​ ​งก​วาง
​ 3​.​ ​เผี่ยน (​​แกวง)​ ใ​ ส​หลอด
​4​.​ ​จวง​เข็น​หูก ค​ นหูก
​ 5​.​ ​สืบหูก ต​ อ​ใสฟม
​6​.​ ​นำไป​ต่ำ ​(​ทอ)​ เ​ปน​ผืน

72
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

เสนไหม ใย​ฝาย ดาย​โทเร

ก​งก​วาง

เอา​เสนไหม​​ใยฝายหรือ​ดาย​โท​เร​มา​ใสกง ไทดำ​เรียกวา ก​งก​วาง​


นำ​มา​ปน​ดวยจ​วง​เผี่ยน ​(อ​ ุปกรณ​ปนดาย​เขา​หลอด)​

​จ​วง​เผี่ยน
73
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

​การจูง​ดาย เพื่อใ​ห​ไดความ​ยาว​ของดาย​ตาม​ตองการ เอา​หลอด​ดาย​ไป​เข็น​ดวยจ​วง​เข็น


โดยเอาหลอด​ดาย​ใสจำนวน ​8​ ​หลอด ​แลว​เอา​ไม​มา​ผูก​ใส​เสา ​
​เอา​ปลาย​เสนดาย​รวม​กัน ​8​ ​เสน ​คลอง​ใส​เสา​ขาง​ละ ​5​ ​วา ​มหี​ ลัก ​2​ ​หลัก​สำหรับ​ไว​ไขว

74
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

นำ​ดาย​มา​ผูก​ใสก​ ี่ ​ใสแ​ ปรง​กี่​รู​ละ ​8​ ​เสน ​ ​1​ ​หลบ ​มี ​1​0​ ​รู ​ๆ​ ​ละ ​8​ ​เสน ​มที​ ั้งหมด ​1​0​ ​หลบ ​(1​ ​0​0​ ​รู)

แช​เสนดาย​เพื่อ​ไม​ให​เสนดาย​แข็ง ​หาก​เสนดาย​แข็งจ​ ะทอ​ไม​แนน ​ ​


จาก​นั้น​ขอด​หัวห​ ูก ​เพื่อ​ให​เสนดาย​ตึง

75
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

แหยด​ าย​อีก​ดาน​หนึ่ง​ใสเ​ขา​หูก​ทั้ง ​2​ ​เขา ​(​เขา​บน-​เขา​ลาง)​ ​สลับ​กัน ​(​บน-​ลาง)​


​เหยียบ​โดย​ใช​ตีน​ยัน ​แปรง​หูก ​เขา​บน-​เขา​ลาง ​ฟม ​กระสวย ​ตีน​ยัน

76
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

สืบหูก ​ตอ​ใสฟม

ทอ​ดวย​กี่กระตุก ทอ​ดวย​กี่​พื้นเมือง

77
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

78
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ลวดลาย​ผาไท​ดำ

​ลวดลาย​ผาของชาว​ไท​ดำ​มี​การ​ประดิษฐ​ดวย​วิธีการทอ ​เย็บ ​ปก ​(​แซว)​ ​และขิด ​มีชื่อ​และ​ลักษณะ​
รูปราง​ที่​สื่อ​ความ​หมาย​สัมพันธกับ​วิถชี​ ีวิตแ​ ละ​ความ​เชื่อ​ อาทิ ​ลาย​พันธุไม ​ลาย​สัตว ​ลาย​เครื่องมือเ​ครื่อง​ใช ​
ลาย​สิ่งของ​สถาน​ที่ ​และ​ลาย​เบ็ดเตล็ด ​ลวดลาย​ตาง ​ๆ​ ​บน​ผืน​ผา​เปน​เอกลักษณ​ที่​สะทอน​ให​เห็น​ถึง​วิถี​ชีวิต ​
ขนบ​ธรรมเนียม​ประเพณี ​ความ​เชื่อแ​ ตละ​กลุมชน ​การ​จัด​รูป​แบบ​เปน​ลาย​เรขาคณิต​ลวนๆ​ ​โดย​มี​ลาย​ขอกุด ​
ซึง่ ถ​ อื วาเ​ปนล​ าย​ทน​ี่ ยิ ม​ใชม​ าก​ทสี่ ดุ ข​ อง​ชาว​ไท​ดำ ​ปก ด​ ว ย​ไหม​เสนเล็ก ​ๆ​ ​บน​ผนื ผ​ า ​โดย​ทำ​ลวดลาย​เปนว​ งกลม​
คลาย​ลาย​ดอกไม ​ดานหนา​และ​ดานหลัง​ของ​ผา​จะ​มี​ลาย​เหมือน​กัน ​โดย​ไม​สามารถ​หา​จุด​เริ่มตน​หรือ​จุดจบ​
ของ​ลาย​ได ​จึง​ทำ​ให​ลาย​นี้​ถือเปนจ​ ุดเดนข​ อง​ไท​ดำ ​นอก​นั้นเ​ปน​ลาย​ที่​ใช​ปก​เสื้อฮี ​ที่​นิยม​ปก​กันม​ าก​คือ ​ลาย​
แปด​ขอ ​ลาย​เอื้อข​ อ ​ลาย​ขอกุด ​และ​ลาย​ดอกบัว













79
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

80
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

การ​เย็บ

81
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
​ ลวดลาย​ที่​ใช​เย็บ
​ ลาย​ขา​บวั ​(ด​ อกบัว)​ ​บวั เ​ปนพ​ นั ธุไ มน​ ำ้ ช​ นิดห​ นึง่ ​มเ​ี หงาห​ รือห​ วั อ​ ยูใ​ น​เลนตม ​ใบ​และ​ดอก​บางชนิดล​ อย​
อยู​เสมอ​น้ำ ​บางชนิดช​ ู​ใบ​และ​ดอก​สูงกวา​น้ำ ​ดอกบัวช​ ู​ดอก​และ​ออก​ใบ​ใน​ยาม​น้ำ​เปยม​ฝง ​กลีบเ​ริ่ม​บาน​แยม​
ใน​ยามฟาสาง ​และ​หุบ​กลีบ​ใน​ยามค่ำ ​การ​แยมบาน​และ​หุบ​กลับ​ของ​บัว​เกิดขึ้น​พรอมกับ​เวลา​ขึ้น​และ​ตก​ของ​
ดวงอาทิตย ​ดว ย​เหตุนช​ี้ าวไท​ดำ​เชือ่ ว​ า ​ดอกบัวเ​ปนส​ ญ ั ลักษณเ​วลา​เชาเ​ย็น ​นอกจากนีด​้ อกบัวย​ งั ต​ รง​กบั ค​ วาม​
เชื่อ​อีก​ดาน​หนึ่ง​ที่​เปรียบ​ดอกบัว​ไว​วา ​เกิด​จากตม​อัน​สกปรก​และ​ตะกอน​ใน​ทองน้ำ ​แต​บัว​ก็​พยายาม​ยื่น​กาน​
ใหย​ าว​ออก ​จนกระทัง่ ส​ ามารถ​โผลใ​บ​และ​ดอก​ขนึ้ ม​ า​เหนือผ​ วิ น้ำ ​กำเนิดข​ อง​บวั จ​ งึ เ​ปนส​ งิ่ เ​ปรียบเทียบ​เรือ่ ง​การ​
ประพฤติผ​ ดิ พลาด​แมจ​ ะ​ประพฤติผ​ ดิ เ​พียง​ใด ​แตก​ ย​็ งั มีโ​อกาส​ทจ​ี่ ะ​เปนค​ นดีไ​ดท​ กุ คน ​ถา ผ​ น​ู นั้ ม​ ค​ี วาม​ตงั้ ใ​จจริง ​
จึง​นำ​ลาย​ขา​บัว​หรือ​ดอกบัวต​ าม​จินตนาการ​นี้ ​มา​เปนการ​ขอขมา ​หรือ​ถวาย​พระ ​เพื่อ​เปนการ​แสดง​ถึง​ความ​
สำนึก​ใน​ความ​ผิดเ​พื่อเ​ริ่มตนก​ ลับเปน​คนดี ​(​สุก ​พูน​นาม,​ ​2​5​4​4​)​

ลาย​ดอกบัว

ลาย​ดอกบัวข​ าเขียด ​หรือ​ลาย​ขา​บัว

82
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ลาย​ดอก​พรม ​ตน พ​ รม​เปนไ​มพมุ ​มห​ี นาม​ทก​ี่ งิ่ ก​ า น ​ดอก​ชอ อ​ อก​ทป​ี่ ลาย​กงิ่ ​กลีบด​ อก​เชือ่ ม​ตดิ ก​ นั เ​ปน​
หลอด​สขี าว​มก​ี ลิน่ ห​ อม ​การปะ​ผา ข​ อง​ชาวไท​ดำ​นยิ ม​ใชว​ ธิ ป​ี ระดิษฐล​ าย​ดอก​พรม​เปนส​ ว นมาก ​เนือ่ งจาก​ผหู ญิง​
ชาวไท​ดำ​เมือ่ ไ​ป​ทำนา ​เลีย้ ง​ววั เ​ลีย้ ง​ควาย ​จะ​พบเห็นด​ อก​พรม​อยูเ​ คียงคูก​ บั ท​ งุ นา​เสมอ ​เมื่อว​ า ง​จาก​การ​ทำงาน​
ก็​มัก​จะ​นำ​ผา​ขึ้น​มา​ประดิษฐ ​โดย​ใช​ลาย​ดอก​พรม​เปนตน​แบบ​เนื่องจาก​เปน​ลาย​ที่​งาย​และ​ไมซับซอน ​โดย​มี​
ความ​เชือ่ เ​กีย่ วกับด​ อก​พรม​วา ​“ถ​ งึ แ​ มจ​ ะ​มก​ี ลิน่ ห​ อม ​แตก​ ห​็ นาม​แหลมคม​รอบตัว”​ ​คน​สมัยกอน​จงึ ส​ อน​หญิงสาว​
โดย​เปรียบ​เทียบกับด​ อก​พรม​ไวว​ า ​ความ​สวย​ความ​งาม​นั้น​ไม​คงทน ​แต​การ​เปน​แมบาน​แมเรือน​จะ​ทำ​ให​ชีวิต​
การ​ครอง​คู​มี​ความ​สุข​และ​ยั่งยืน​ได ​(ช​ ม ​บุญ​แกว,​ ​2​5​4​4​)​ ​

ลาย​ดอก​พรม

​ ​ลาย​ดอกมะลิ ​มะลิม​ ลี​ ักษณะ​ตนเ​ปน​ไมพุม ​ไมเลื้อย ​และ​ไม​รอ​เลื้อย ​ดอก​มี​สีขาว ​มี​ทั้งช​ ั้นเดียว​และ​


หลายชั้น ​กลีบ​ดอก​มี ​4​ ​–​ ​9​ ​กลีบ ​โดย​ปกติ​จะ​เริ่ม​บาน​ใน​เวลา​บาย​และ​รวง​ใน​วันรุงขึ้น ​ชาวไท​ดำ​เชื่อ​วา ​ดวย​
ลักษณะ​ของ​ดอกมะลิ ​เปรียบ​เหมือน​ผูหญิง ​4​ ​วัย ​คือ ​วัยเด็ก ​วัยรุน ​วัยผ​ ใู​หญ ​และ​วัยชรา ​ดอก​ตูม​ของ​มะลิ​
เปรียบ​เหมือน​วยั เด็กท​ ย​ี่ งั อ​ ยูใ​ น​กรอบ​ของ​ครอบครัว ​ดอก​แรก​แยม ​เปรียบ​เหมือน​วยั รุน ​ซงึ่ เ​ปนว​ ยั ท​ เ​ี่ ริม่ มีก​ าร​
เปลี่ยน​แปลง​สิ่ง​ตาง ​ๆ​ ​ใน​รางกาย ​เมื่อ​ดอกมะลิบ​ าน​เต็มท​ ี่​จะ​เริ่ม​สงกลิ่นห​ อม​เปรียบได​กับ​วัยผ​ ใู​หญ​ที่​พรอม​
จะ​แตงงาน​มี​ครอบครัว ​เมื่อด​ อก​เริ่ม​รวง ​เปรียบได​กับว​ ัยชรา ​ซึ่งจ​ ะ​ไมเห็นร​ องรอย​ของ​ดอก​ตูมแ​ ละ​กลิ่น​หอม ​
แต​จะ​เห็น​เพียง​ดอกมะลิท​ ี่​แหง​รวง​ลงสูพื้น​ดินเ​ทา​นั้น ​ดอกมะลิจ​ ึง​เปน​เครื่อง​เตือน​ใจ​ชาวไท​ดำ​ให​ตระหนัก​ถึง​
คุณคา​ของ​ความ​เปนล​ ูกผูหญิง ​ที่​จะ​ไม​ประพฤติ​ปฏิบัตนิ​ อก​ลู​นอกทาง ​เพราะ​เมื่อ​วัย​รวง​เลยไป ​ทุกสิ่งก​ ็​ยอม​
โรย​ลา​ตาม​กาล​เวลา​ดวย ​(​ชม ​บุญแ​ กว,​ ​2​54​ 4​ ​)​
​ ​ ​
83
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

​ลาย​ดอกมะลิ

ลาย​ดอกจัน ​ตนจันเ​ปนไ​มยืนตนส​ ูง​ได​ถึง ​2​0​ ​เมตร ​ดอก​ตัวผูเ​ปน​ชอ​กลีบเ​ชื่อม​ติดก​ ันเ​ปน​รูป​คนโท​สี​


ขาวนวล ​ดอก​ตัวเมียเ​ปนด​ อก​เดี่ยว​ลักษณะ​คลาย​ดอก​ตัวผูแ​ ต​มขี​ นาด​ใหญ​กวา ​ชาวไท​ดำ​เชื่อ​วา ​ดอกจัน​เปน​
ตำนาน​รกั อ​ มตะ​ของ​ชาว​ไท​ดำ​ใน​เวียดนาม ​เนือ่ งจาก​เกิดจ​ าก​ความ​รกั ข​ อง​หนุม สาว ​คห​ู นึง่ ซ​ งึ่ ร​ กั ก​ นั ม​ าก ​แตแ​ ม​
ของ​ผหู ญิงไ​มชอบ​ใจ​ชายหนุม ​จงึ บ​ งั คับใ​หล​ กู สาว​แตงงาน​กบั เ​ศรษฐี ​หนุม สาว​คน​ู จ​ี้ งึ พ​ า​กนั ฆ​ า ตัวตาย​ใน​ปา แ​ หง​
หนึ่ง​ใน​คืน​วัน​พระจันทรเ​ต็มดวง ​เมื่อ​หนุมสาว​ตาย​ลง​ก็​กลาย​เปน​ดอกจัน​บานสะพรั่ง​อยู ​ณ ​ที่​นั้น ​เมื่อ​ถึง​วัน​
พระจันทรเ​ต็มดวง​กลิน่ ห​ อม​ของ​ดอกจันจ​ ะ​สง กลิน่ ไ​ป​ทวั่ บ​ ริเวณ​ปา ​ทำ​ใหช​ าวไท​ดำ​สงสัยว​ า เ​ปนด​ อก​อะไร ​เมือ่ ​
เขาป​ า จ​ งึ พ​ บ​วา เ​ปนด​ อกจัน ​จงึ ย​ กยอง​ใหส​ ขี าว​ของ​ดอกจันน​ แ​ี้ ทน​ความ​รกั อ​ นั บ​ ริสทุ ธิม​์ นั่ คง ​ชาวไท​ดำ​ในประเทศ​
ไทย​จึง​นิยม​ประดิษฐ​ลาย​นเี้​พื่อ​มอบ​ให​แกเ​จาบาว​และ​เจาสาว ​หรือ​ผูอาวุโส​ใน​หมูบาน ​(​ชม ​บุญแ​ กว,​ ​25​ ​4​4​)​

​ลาย​ดอกจัน

84
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
​ ​ลาย​ดอก​แกว ​ตน​แกว​เปน​ไมพุมข​ นาดเล็ก ​ดอก​มกี​ ลิ่นห​ อม ​ผูหญิงช​ าวไท​ดำ​ที่​เริ่ม​เรียนรู​การขิด ​และ​
ปก ​ตอง​ผาน​ลาย​นเี้​ปนลำดับแ​ รก ​เนื่องจาก​มี​ความ​เชื่อ​วา ​ดอก​แกวเ​ปน​ดอกไมท​ ี่​มี​กลิ่นห​ อม​เยือกเย็น​ใน​ยาม​
ค่ำคืน ​ผ​ใู ด​จะขิด​หรือ​ปก ​จะ​ตอ ง​ม​คี วาม​อดทน​และ​เยือกเย็น​จงึ ​จะ​สามารถ​ทำลาย​น​ไ้ี ด​สำเร็จ ​(​กำ ​รา เริง,​ ​2​5​4​4​)​

​ลาย​ดอก​แกว

ลาย​ดอก​แปด ​เปน​ลาย​ที่เกิดจ​ าก​จินตนาการ​ของ​ชาวไท​ดำ​โดย​อัญเชิญแ​ ถน​ทั้ง ​8​ ​องค ​มา​ประดิษฐ​


เปน​ลาย​ผา ​ซึ่ง​ประกอบดวย ​แถน​หลวง ​เปน​หัวหนาข​ อง​แถน​ทั้งปวง ​มีหนาท​ ี่​ตัดสินข​ อ​พิพาท​ตาง ​ๆ​ ​ให​เกิด​
ความ​ยุติธรรม ​แถน​สิง ​เปน​แถน​ประจำ​ตระกูล ​มีหนา​ที่​รักษา​สมาชิกท​ ุกคน​ที่​อยู​ใน​วงศวาน​ให​อยู​เย็นเ​ปนสุข ​
แถน​แนน ​มีหนา​ที่​ควบคุมไ​ม​ให​ขวัญข​ อง​คน​หลุด​หายไป ​แถน​ชาต ​มีหนา​ที่​กำหนด​ชะตา​ชีวิต​และ​สง​มนุษย​มา​
เกิดใ​น​โลก ​แถน​แมนาง ​มหี นาท​ บ​ี่ นั ดาล​ใหแ​ มม​ น​ี ำ้ นม​ไวเ​ลีย้ ง​ทารก ​แถนปวกาล​ า​ว ​ี มหี นาท​ ด​ี่ แ​ู ล​ทกุ ขสขุ ​ความ​
อุดมสมบูรณข​ อง​มนุษย ​และ​ควบคุมด​ ินฟ​ า​อากาศ​ทำ​ให​ฝนตก​ตอง​ตามฤดูกาล ​แถน​นุง​ขาว ​มีหนาท​ ี่​บันดาล​
ให​คน​มี​ความ​สวยงาม ​และ​แถน​บุญ ​มีหนา​ที่​บันดาล​ความ​มั่งคั่ง​และ​ความ​อุดมสมบูรณ​ให​เกิด​แก​มนุษย ​
(​นิพนธ ​เสนา​พิทักษ ​2​5​21​ ​,2​ ​1​)​ ​แถน​ทั้ง ​8​ ​องคน​ ี้ ​ชาวไท​ดำ​เชื่อ​วา ​ถาผ​ ู​ใด​ใช​เสื้อผา​และ​เครื่อง​นุงหมล​ าย​นี้ ​จะ​
ไดรับ​การ​ดู​แล​จาก​แถน ​เมื่อ​เสียชีวิต​ลง​วิญญาณ​ของ​ผูตาย​จะ​ไดรับ​ความ​คุมครอง​จาก​แถน​ชาด ​เพราะ​สวม​
เครื่อง​แตงกาย​ที่​เปน​ลาย​นี้ ​โดยเฉพาะ​เสื้อฮี​ที่​สวม​และ​คลุม​โลงศพ​สวนมาก​จะ​ใช​ลาย​นี้ทอ ​ทำ​ให​ชาวไท​ดำ ​
นิยม ​ปะ​ผาลาย​ดอก​แปด​บน​ผา​และ​เครื่อง​นุงหม ​เพื่อ​ไว​ใช​ใน​งาน​พิธีกรรม​เปน​สวน​ใหญ ​(​ดำ ​มั่นเหมาะ,​ ​
2​5​4​4​)​
85
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

​ลาย​ดอก​แปด

​ลาย​บาน​จาย

​ลาย​บาน​สุม

86
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
การ​ปก ​(​แซว)​ ​ผา​เปยว ​
​การ​ทำ​ลวดลาย​ผา​เปยว​ หญิงสาว​ชาวไท​ดำ​ทุกคน​ตอง​หัด​ทำ​
ลวดลาย​พนื้ ฐาน​ของ​ผา เ​ปยว ​ซงึ่ เ​ริม่ จาก​การ​ปก บ​ ริเวณ​ชายผาเ​รียกวา ​“ส​ อย​
ฝก​แค”​ ​ให​เกิด​ความ​ชำนาญ​เสีย​กอน ​จึง​จะ​เริ่มทำ​ลวดลาย​ตางๆ​ ​ได ​
ผาเ​ปยว​ลวดลาย​ดั้งเดิม ​มี​อยู ​4​ ​แบบ ​คือ
​ 1​.​ ​ลาย​ขอกูด​หวาย
ผา​เปยว​ลาย​ขอกูด​หวาย​เปนการ​ปก​บริเวณ​มุม​ผา​ทั้ง​สี่​ดาน​ให​เปน​
รูป​สี่เหลี่ยม​แลว​ใช​ไหม​สีขาว​หรือ​สี​แดง​ปกท​แยง​เพื่อ​แบง​รูป​สี่เหลี่ยม​ออก​
ให​เปน​รูป​สามเหลี่ยม​สอง​รูป ​ภาย​ใน​และ​ภายนอก​ปก​ลาย​ผา​เปน​รูป​ขอกูด​
หวาย​ใหแ​ ตกกิง่ ก​ า น​ออกไป​ดว ย​การ​ใชไ​หม​สลับสีใ​หแ​ ตกตาง​กนั ​แลวเ​ย็บพ​ ไ​ู หม​หลาก​สห​ี อ ย​บริเวณ​รมิ ผาต​ ลอด​
ผืน ​มี​ความ​เชื่อถ​ ึง ​การ​รำลึก​ถึง​บุญคุณ
​2​.​ ​ลาย​ดอก​เตา ​(​เบาะ​เตา)​ ​
​ ​ ​ ​ ​ ลาย​ดอก​เตา​ใช​วิธี​ปก​เปน​แนว​เสนตรง​ให​เกิด​เปน​รูป​สี่เหลี่ยม​คางหมู ​แลว​ใช​ไหม​สีขาว​และ​สี​แดง​ปก​
ตาม​แนวตั้ง​และ​แนวนอน ​เพื่อ​กำหนด​ขอบเขต​ของ​ลาย​ดอก​เตา​ให​ยาว​ติดตอ​กัน​ตลอด​ผืน ​แลว​เย็บ​พู​ไหม​สี​
แดง​หอย​บริเวณ​ริมผา​ตลอด​ผืน ​มี​ความ​เชื่อ​ถึง ​การ​ใหกำเนิดเ​พื่อ​ขยาย​เผาพันธุ ​
​3​.​ ​ลาย​ขา​บัว ​หรือข​ าปว
​คำ​วา ​“​ปว”​ ​หมาย​ถึง ​พยุง​หรือร​ ับใ​ช ​วิธี​ปกบ​ ริเวณ​ชายผาโ​ดย​เริ่ม​ที่​มุมผ​ า​ให​เปน​สวนๆ​ ​แลวจ​ ึง​ทำเปน​
ดอก​เลื่อนชั้น​ขึ้น​ไป​เปน​รูปส​ ามเหลี่ยม​จน​เกิด​ลวดลาย​ตางๆ​ ​โดย​ใช​ดาย​ไหม​สแี​ ดง ​สีเขียว ​สเี​หลือง ​และ​สีขาว ​
มี​ความ​เชื่อ​ถึง ​ความ​สำนึก​ใน​ความ​ผิด
​4​.​ ​ลาย​สายรุง
​ ​ ​ ​ ​ ลาย​สายรุง​ใช​วิธี​ปกช​ ี้​ขึ้น​ดานบน​ชายผา​ให​เปนสาย​ตรงๆ​ ​หลายๆ​ ​เสน ​โดย​ปก​แบบ​จัด​คู​ตรงขาม​ให​มี​
ขนาด​เทาก​ นั ​แลวจ​ งึ น​ ำ​เม็ดผ​ า ซ​ งึ่ เ​กิดจ​ าก​การ​ปก ค​ ลาย​ลาย​ดอก​แปด​เย็บต​ ดิ ห​ วั ท​ า ย​ดา น​ละ ​8​ ​ลกู ​ดา น​ขา ง​ดา น​
ละ ​4​ ​ลูก ​การ​ใส​เม็ด​ผา​ไว​เพื่อถ​ วง​น้ำหนักไ​ม​ให​ชายผา​ปลิวเ​มื่อ​ลม​พัดผาน ​โดย​มี​ความ​เชื่อ​วา ​เปน​สะพาน​ที่​
แถน​ทั้ง ​8​ ​องค ​สง​มนุษยม​ า​เกิด​บน​โลก ​และ​รับ​คน​ที่​เสียชีวิตก​ ลับไ​ป​อยู​เมือง​แถน ​(​ชม ​บุญแ​ กว,​ ​2​5​4​5​)​

87
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
​ นาง​จุฑา​ทิพ ​ ​อินเ​นียร ​อายุ ​5​0​ ​ป ​เปนค​ น​กรุงเทพฯ ​สามีเ​ปน​คน​ไทดำ ​เลาว​ า ​ผา​เปยว​ที่​เขายอย​ใน​
ปจจุบัน​นิยม​ทำ ​มี ​2​ ​แบบ​คือ ​ผาเ​ปยว​ลาย​ดอก​ผัก​แวน ​และ​ผา​เปยวปว​ ะ ​(​ลาย​ดอก​แปด+​ลาย​ดอกพิกุล ​คั่น​
เสนล​ ูกโซ​คู​เปน​กรอบ​สี่เหลี่ยม)​ ​ใชคา​ดอก​และ​สาธิตว​ ิธีการ​ปก (แซว) ผา​เปยว ดังนี้

ราง​แบบ ​> ​พันช​ าย ​(​คลาย ​ๆ​ ​กับ​การ​สอย​ผา)​ ​โดย​ใช​ลาย​สันป​ ลาชอน


​ดวย​เสนไหม​สี​แดงเขม ​> ​สีเขียว ​> ​สี​แดงเขม ​> ​สีขาว > ​สแี​ ดงเขม > ​สีสม ​(​4​ ​สหี​ ลัก)

วัดระยะ​จาก​ชายผา​เปยว ​(​เนาว​ดวย​เสนดาย​สีขาว​เปนร​ ูป​กากบาท)​

88
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

จาก​จุดต​ ัด​กันข​ อง​รูปก​ ากบาท​ประมาณ ​4​ ​ชอง​เสนฝ​ าย​แลวป​ กห​ มุด​ไว ​


จาก​นั้น​นับช​ อง​เสนฝ​ าย​ไป​อีก ​1​2​ ​ชอง ​นับ​ขึ้น​ไป​อีก ​1​2​ ​ชอง ​จน​ครบ​สมี่​ ุม
​ใช​ขี้ผึ้ง​รูดเ​สนไหม​ให​เรียบ ​รวมเปน​เสนต​ ิด​กัน ​เสนไหม​จะ​ได​ไม​กระจาย
​โดย​ปกติ​จะ​นิยม​ทำ​เสนไหม​สี​แดงเขม ​(​สี​หลักท​ ี่​มมี​ าก​ที่สุด)​ ​ให​เสร็จ​กอน ​จาก​นั้น​จึง​ทำ​สอี​ ื่น​ตาม

89
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

การ​ปก ​(แ​ ซว)​ ​ ​ตอง​ยก​สอง​กับแ​ สงสวาง ​เพื่อ​ให​สามารถ​นับ​ชอง​เนื้อผาไ​ด

90
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

​ลาย​แซว​ขอ

​ลายตา​แห​ลวฮอ

​ลาย​แซวต​ ะวัน

91
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ลายตา​นก​แกว ​นก​แกว​เปน​สัตว​ที่​มี​ความ​สามารถ​พิเศษ​คือ ​สามารถ​เลียน​เสียง​พูด​ภาษาคน​ได ​
ตลอดจน​เปน​นก​ที่​มี​ความ​ซื่อสัตย​ตอ​ผู​เลี้ยง​เปน​อยาง​มาก ​สามารถ​เปน​ยาม​คอย​เฝาระวัง​บุคคล​แปลกหนา ​
เพือ่ ร​ ายงาน​ใหผ​ เ​ู ลีย้ ง​ไดท​ ราบ ​นอกจากนีย​้ งั อ​ ยูร​ วม​กนั เ​ปนฝ​ งู ​ทำ​ใหช​ าวไทดำ​เชือ่ ว​ า ​นก​แกวเ​ปนส​ ตั ว ​ทม​ี่ ค​ี วาม​
ซื่อสัตย​และ​มี​ความ​สามัคคี ​สมควร​นำมา​เปน​แบบอยาง ​จึง​ได​คิด​ประดิษฐ​ลาย​หนา​หมอน​เพื่อ​ไว​ใช​ใน​พิธี​
แตงงาน ​(​เสา ​ยืน​เยี่ยม,​ ​2​5​4​4)​​ ​

​ลาย​แซวข​ อ​ตา​นก​แกว

​ลาย​แซวแ​ กน​แตง

92
ผาในวิถีชีวิตไทดำ

ล​ าย​ขอกูด ​ผกั กูดม​ ล​ี กั ษณะ​เปนเกล็ดห​ ยักค​ ลาย​ซฟ​ี่ น ​มข​ี อบ​ดำ​ขนึ้ ห​ นา​แนนต​ าม​ชายปาท​ แ​ี่ ดด​สอ ง​ถงึ ​
ตาม​บริเวณ​ลำธาร ​หรือบ​ ริเวณ​คัน​น้ำ ​ผักกูดม​ ี​ยอด​งอ​รสชาติ​อรอย ​ผักกูดม​ ี​ความ​เกี่ยวพันก​ ับ​วิถชี​ ีวิต​ของ​คน
ไท​ดำ​คอน​ขางมาก ​ไมวาจ​ ะ​เปน​ดิน​แดน​ใน​เวียดนาม ​หรือ​แม​แต​ชาวไท​ดำ​ที่​อพยพ​เขามา​ตั้ง​ถิ่นฐาน​ในประเทศ​
ไทย ​โดย​มี​เรื่องเลา​เกี่ยวกับต​ ำนาน​ผักกูดไ​ว​วา ​ชาวไท​ดำ​ใน​เวียดนาม​มี​อาชีพท​ ำนา ​ทำไร ​และ​ปลูกผ​ ักกูดไ​ว​ที่​
ปลาย​ไร ​เปนธ​ รรมเนียม​ของ​ลกู ห​ รือห​ ลานสาว​จะ​มหี นาท​ ไ​ี่ ป​เก็บผ​ กั กูดใ​หพ​ อ แ​ ม ​ปยู า ​ตา​ยาย ​นำมา​เปนอ​ าหาร ​
มา​วันหนึ่ง​ลูกสาว​ก็​ออก​ไปหา​ผักกูด​เพื่อ​จะ​นำมา​ให​พอ​แม​กิน​หา​ไป​จน​ทั่ว​ทั้ง​ปา​ก็​ไม​พบ​สัก​ตน​เดียว ​จึง​เสีย​ใจ​
เปนอ​ ยาง​มาก ​เนือ่ งจาก​เกรง​วา พ​ อ แ​ มจ​ ะ​ไมมอ​ี าหาร​กนิ ​จงึ น​ งั่ ร​ อ งไหอ​ ยูใ​ น​ปา น​ นั้ ​ฝา ย​ผกั กูดเ​มือ่ เ​ห็นน​ างรองไห​
จน​น้ำตา​ตก​ลงสูพื้นด​ ิน ​จึง​เห็นใ​จ​ใน​ความ​กตัญู​ของ​นาง​ยิ่งนัก ​ตาง​พา​กันแ​ ขงย​ อด​ขึ้น​มา​มากมาย​ให​นาง​ได​
เก็บไ​ป​ใหพ​ อ แ​ ม ​เมือ่ น​ าง​กลับม​ า​ถงึ บ​ า น ​นาง​กร​็ ำลึกถ​ งึ บ​ ญ
ุ คุณข​ อง​ผกั กูด ​จงึ น​ ำ​รปู ลักษณข​ อง​ผกั กูดม​ าทอ​เปน​
ลาย ​“​ผักกูด”​ ​หรือ ​“​ลาย​ขอกูด”​ ​ขึ้น​บน​ผืน​ผา​ทุกช​ ิ้น​ของ​ตน ​(​บาน ​เขื่อนเพชร,​ ​2​5​4​4​)​ ​

​ลาย​ขอกูด

93
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
​ลาย​ดอก​ผัก​แวน ​ผัก​แวนเ​ปน​ผักพ​ ื้นบาน​ประเภท​ไมลมลุกจ​ ำพวก​เฟรน ​ลำตน​เปน​เหงา​เรียง​ยาว ​ใบ​
หนา​แนนช​ ว ง​ฤดูฝน ​เปนพ​ ชื ท​ อ​ี่ ยูต​ าม​ชายฝง ข​ อง​ลำน้ำ ​หว ย ​หนอง ​คลอง ​บงึ ​ใชเ​ปนผ​ กั จ​ มิ้ ก​ บั น​ ำ้ พริก ​ลกั ษณะ​
ของ​ดอก​ผัก​แวน​เปน​ดอก​เล็กๆ​ ​สวยงาม​เกิด​เปนกลุม​และ​โต​เร็ว​ชาวไทย​ทรง​ดำ​มี​ความ​เชื่อ​วา​รูปราง​ของ​ดอก​
ทีม​่ ข​ี นาดเล็กเ​กิดเ​ปนกลุม แ​ ละ​โต​เร็วน​ ​ี้ ถา ใ​คร​สามารถ​ปก ล​ าย​ผกั แ​ วนไ​ดก​ จ​็ ะ​แสดง​ถงึ ค​ วาม​อดทน ​ความ​เอือ้ เฟอ ​
ประณีตล​ ะเอียดออน ​เจริญง​ อกงาม​และ​สราง​ความ​กลมเกลียว​ใหค​ รอบครัวเ​ปนป​ ก แ​ ผนไ​ด ​ดงั น​ นั้ ผ​ า ลาย​ดอก​
ผัก​แวน​จึง​นิยม​มอบ​ให​แก​คูบาวสาว​ใน​วันแ​ ตงงาน ​หรือ​ผู​ใหญท​ ี่​นับถือ (​ใหญ ​ทอง​อราม,​ ​2​5​4​4​)​ ​

​ลาย​ดอก​ผัก​แวน ​(​ขอกูด+​ดอก​แปด)​

ลาย​ขอกุด+​ดอก​แปด+​ดอกบัว​ขาเขียด

94
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
​ ​ลาย​ดอก​เตา ​(​ดอก​น้ำเตา)​ ​น้ำเตา​เปนพ​ ืช​ประเภท​ไมเลื้อย​ที่​ขึ้น​ได​อยูท​ ั่วไป ​ลำตน​มี​ลักษณะ​เปน​เครือ​
ยาว​ออกไป​อยาง​ไมรจู กั จ​ บสิน้ ​และ​ออกผล​ไมรจู กั ห​ มด ​ชาวไท​ดำ​จงึ เ​ปรียบเทียบ​ความ​ไมรจู กั จ​ บสิน้ ข​ อง​นำ้ เตา​
กับ​ตนตระกูล​ของ​พวก​ตน​ที่​ไมมีวัน​สูญสิ้น​ลง​ได ​ซึ่ง​มี​ความ​เชื่อตาม​ตำนานไท​ดำ ​ได​กลาว​ไว​วา​พวก​ตน​เกิด​
มาจาก​การ​อธิษฐาน​จิต​ของ​เทวดา​ชาย​หญิง ​1​0​ ​องค ​ที่​จุติ​ไป​เปนตนก​ ำเนิด​ของ​มนุษย ​จึง​ไดอ​ ธิษฐาน​จิต​สราง​
น้ำเตา​และ​เขาไป​อยู​ใน​น้ำเตา ​เมื่อ​น้ำเตาล​ อย​ไป​ตก​บน​เขา​แลวแ​ ตกออก ​คน​ชาติพันธุต​ าง ​ๆ​ ​ออกมา​ตามลำดับ​
คือ ​ขา ​ไท​ดำ ​ลาว​พุง​ขาว ​ฮอ ​และ​แกว ​น้ำเตาม​ ี​ลักษณะ​ใน​เชิงส​ ัญลักษณค​ ลาย​อวัยวะ​เพศหญิง ​ลาย​ดอก​เตา​
จึงน​ ยิ ม​นำมา​ประดิษฐผ​ า ท​ ใ​ี่ ชใ​น​วนั แ​ ตงงาน ​เพราะ​เชือ่ ว​ า การ​แตงงาน​เปนจ​ ดุ เ​ริม่ ตนข​ อง​การ​ใหกำเนิดเ​พือ่ ข​ ยาย​
เผาพันธุ ​(​หวาน ​อิ่มแ​ กว,​ ​25​ ​44​ ​)​
​ลายงา ​งา​เปน​พืชลมลุก ​ชาวบาน​ปลูก​ไว​รับประทาน​เมล็ด​และ​มี​ความ​เชื่อตาม​รูปราง​วา ​เมล็ดงา​มี​
ขนาดเล็ก ​แตร​ วม​กนั อ​ ยูเ​ ปนกลุม ก​ อ น ​เกิดค​ วาม​งอกงาม​ไดร​ วดเร็ว ​ถา น​ ำ​เอามา​ทำเปนล​ าย​บน​เสือ้ ผา ​จะ​แสดง​
ถึง​ความ​สามัคคี ​และ​มคี​ วาม​เจริญ​กาวหนา ​(​แพร ​บุญ​แกว,​ ​2​5​4​4​)​
​ลาย​ดอกพิกุล ​ดอกพิกุล​เปนไ​มยืนตน​ขนาด​กลาง ​ดอก​เล็ก​มี ​8​ ​กลีบ ​ออก​เปน​ชอ ​ๆ​ ​ละ ​2​ ​–​ ​6​ ​ดอก ​
กลีบ​ดอก​สี​ขาวนวล ​กลีบ​รอง​ดอก​สีน้ำตาล ​มี​ขน​นุม ​กลิ่น​หอม ​ลาย​ดอกพิกุล​นิยม​ปก​ไว​บน​หนา​หมอน ​
สาบเสื้อฮี ​และ​เชิง​เสื้อฮี ​เนื่องจาก​มี​ความ​เชื่อว​ า ​ผใู​ด​สามารถ​ปกล​ าย​ดอกพิกุลไ​ด ​จะ​แสดง​ถึง ​ความ​อดทน ​
และ​การ​หลุดพน ​เพราะวาเ​ปนล​ าย​ทม​ี่ ค​ี วาม​ละเอียด ​ตอ ง​ใชเวลา​ใน​การ​ปก ค​ อ นขาง​นาน ​หญิงสาว​ผใ​ู ด​สามารถ​
ปก​ลาย​พิกุลไ​ด ​จะ​บงบอก​ให​ทราบ​ถึง​คุณสมบัตพิ​ รอม​ที่​จะ​ออกเรือน​ได ​(​ชม ​บุญแ​ กว,​ ​2​5​4​4​)​
​ ลายห​มา​ย่ำ ​เปน​ลาย​ที่​มาจาก​ความ​เชื่อ​ดั้งเดิมข​ อง​บรรพบุรุษ ​มี​เรื่องเลา​ไวว​ า​เมื่อ​ครั้งหนึ่งท​ ี​มนุษยย​ ัง​
ไมมี​พันธุ​ขาว​ไว​ปลูก​กิน ​ห​มา​กับ​คน​เปนเพื่อน​ที่รัก​กัน ​เมื่อห​มา​เห็นค​ วาม​อดอยาก​ของ​คน​จึง​อยาก​ชวย​เพื่อน​
โดย​อาสา​คน​เดิน​ขึ้น​ไป​ถาม​แถน​ผู​เปน​ใหญ​ใน​เมืองฟา​วา ​ทำไม​คน​จึง​ไมมี​พันธุ​ขาว​มา​ปลูก​กิน ​แถน​จึง​เห็น​ใจ​
ใน​ความ​พยายาม​ของห​มา​ทต​ี่ อ ง​เดินทางไกล​จาก​โลกมนุษยม​ า​ตาม​ตน​ถงึ บ​ นฟา ​จงึ แ​ บงพ​ นั ธุข​ า ว​มา​ปลูกใ​ห ​นบั ​
แต​นั้น​มา​บน​โลกมนุษย​จึง​มี​ขาว​กินม​ า​จน​ถึง​ทุกวันนี้ ​ดวย​ความ​สำนึกใ​น​บุญคุณข​ องห​มา​ชาวไท​ดำ​จึง​พา​กันน​ ำ​
รอยเทาท​ หี่ ม​ า​ยำ่ ไ​ปหา​แถน​มาทอ​ไวบ​ น​ผนื ผ​ า ช​ นิดต​ า งๆ​ ​ ​ยังมีค​ วาม​เชือ่ ใ​น​วถิ ช​ี วี ติ ข​ อง​ชาวไท​ดำ ​ในขณะ​ทผ​ี่ หู ญิง​
นั่ง​ทอผา​อยู​ใตถุน​บาน ​ห​มา​ก็​จะ​มา​นอน​อยู​ขางๆ​ ​กที่​ อผา ​ใน​ลักษณะ​ของ​การ​นอน​เฝาระวัง​และ​ปกปอง​ดู​แล ​
ดัง​นั้น​ชาวไท​ดำ​จึง​ประดิษฐ​ลายห​มา​ย่ำ​ขึ้น​มา​บน​ผืน​ผา​โดย​มีความหมาย​ถึง​ความ​ผูกพัน​และ​ความ​จงรักภักดี​
ระหวางห​มา​กับ​คน ​(​ชม ​บุญแ​ กว,​ ​2​54​ 4​ ​)​
95
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ก​ าร​ทอผาเ​ปนง​ านศิลปะ​ทต​ี่ อ ง​ใชค​ วาม​พยายาม ​ขยัน ​อดทน ​และ​ความ​ละเอียด​ประณีต ​มก​ี าร​ถา ยทอด​
กรรม​วิธกี ารทอ​ใหแ​ กส​ มาชิกท​ เี่​ปนเ​พศหญิง ​สั่งสม​ภูมิปญญา​การ​ทอผาเ​ปนม​ รดก​ทาง​วัฒนธรรม ​จาก​รุนส​ ​รู นุ ​
โดย​ทั่วไป​ตั้ง​แตโ​บราณกาล ​ภูมิปญญา​ดาน​การ​ทอผา​ใน​แตละ​กลุมชน​สวน​ใหญ​มี​ความ​คลายคลึงก​ ัน ​แต​อาจ​
แตกตาง​กัน​บาง​ใน​รายละเอียด​ปลีกยอย ​ทั้งนี้​ขึ้น​อยู​กับ​สภาพ​ของ​แตละ​พื้น​ที่ ​จาก​การ​ลงพื้น​ที่​ศึกษา​ขอมูล
ไท​ดำ​ทจ​ี่ งั หวัดเ​ลย ​เพชรบุร ​ี ราชบุร ​ี อา งทอง ​สพุ รรณบุร ​ ​
ี ราชบุร ​ี พบ​วา ​ปจ จัยพ​ นื้ ฐาน​ใน​ชวี ติ ไท​ดำ​เชน ​บา นเรือน​
ทีอ่​ ยูอาศัย ​การ​แตงกาย ​สิ่งของ​เครื่อง​ใชต​ างๆ​ ​ปจจุบันส​ วน​ใหญไ​ดเ​ปลี่ยน​แปลง​ไปตาม​สภาพสังคม​สมัยใ​หม ​
อาทิ ​การ​ใช​ผา​ใน​วิถชี​ ีวิตไท​ดำ ​ซึ่ง​เกี่ยวของ​กับ​ภูมิปญญา​ทองถิ่นด​ าน​การ​ทอผา​ของ​ชาวไท​ดำ ​ในอดีต​ใชกรรม​
วิธีการ​ยอมสี​ผา​ดวย​วัสดุ​ธรรมชาติ ​เชน ​การ​ยอม​คราม ​การ​ทอผา​ดวยมือ​ตาม​แบบ​ดั้งเดิม​ก็​เหลือ​ให​เห็น​
นอยมาก ​มี​การนำ​สี​เคมี​มา​ใช​ใน​การ​ยอมสี​ผา ​มี​การนำ​ดาย​โทเร​มา​ใช​แทน​เสนไหม ​ใยฝาย ​ที่​ปลูกห​ รือ​เลี้ยง​
ไหม​เอง ​มี​การนำ​กี่กระตุก​เขามา​ใช​แทน​กี่​แบบ​ดั้งเดิม ​เพื่อ​เพิ่ม​ปริมาณ​และ​ความ​รวดเร็ว ​ดวย​เห็นวา​เปน​สิ่ง​
ใหม ​ราคาถูกแ​ ละ​หา​ซอื้ ไ​ดง​ า ย​ตาม​ทอ งตลาด ​การ​นำไป​ใชก​ ม​็ ค​ี วาม​สะดวก​ไมต​ อ ง​เสียเวลา​และ​แรงงาน​มากมาย​
ไป​ใน​การ​จัดหา​วัสดุ​จาก​ธรรมชาติ ​ทำ​ใหการ​ทำงาน​มี​ความ​รวด​เร็วมาก​ยิ่งขึ้น ​สงผล​ให​ภูมิปญญา​ทองถิ่น​ที่​มี​
มา​แต​โบราณ​ของ​ชาวไท​ดำ​กำลัง​สูญ​หายไป​อยาง​นาเสียดาย ​ ​นอกจากนี้​ยัง​พบ​วา ​แมบาน​ชาวไท​ดำ​ใน​หลาย​
จังหวัด​ได​มี​การ​รวมตัวก​ ัน​เปนกลุม ​ทอผาท​ ี่​มีอัต​ลักษณ ​(​ลักษณะ​เฉพาะ​ที่​สะทอน​ความ​เปน​ตัวตน​ของ​ชาวไท​
ดำ)​ ​ที่​อาจ​สะทอน​ให​เห็นไ​ด​จาก​ลวดลาย ​รูปทรง ​รูป​แบบ ​วัสดุ ​กรรม​วิธีการ​ผลิต ​หรือ ​โทน​สี ​เปน​อาชีพเ​สริม ​
และ​นำ​ออกขาย ​เพือ่ ส​ ราง​รายไดใ​หก​ บั ค​ รอบครัว ​ซงึ่ น​ บั ไ​ดว​ า เ​ปนจ​ ดุ เดน ​แตก​ ารนำ​สนิ คาท​ ม​ี่ อี ตั ล​ กั ษณเ​ฉพาะ​
ออก​จำหนาย​กม​็ ข​ี อ ค​ วร​คำนึงเ​ชนก​ นั ​อาทิ ​การ​บอกเลาเ​รือ่ งราว ​วฒ ั นธรรม ​ความ​เชือ่ ด​ งั้ เดิม ​ความ​สอดคลองกับ​
กระ​แส​นิยม ​วัสดุ ​กระบวนการ​ผลิต ​ที่​สำคัญ ​ควร​มี​ความ​เหมาะสม​ตอ​การ​นำไป​ใชงาน​ใน​วิถสี​ ังคม​ปจจุบัน ​
ตลอดจน​คุณภาพ​ของ​ผาทอ ​อัน​เนื่อง​มาจาก​การ​เลือก​ใช​วัสดุ ​และ​การ​ปรับ​เปลี่ยน​กระบวนการ​ผลิต ​หาก​
เปนไปได​ควร​สงเสริม​ให​มี​การ​ฟนฟู​ภูมิปญญา​ดั้งเดิม​ทั้ง​เสนไหม ​ใยฝาย ​แทน​การนำ​ดาย​โทเร ​มา​ใช​ใน​การ​
ทอผา ​รวม​ถึง​การ​ยอม​ดวย​สี​ธรรมชาติ ​แทน​การ​ใช​สเี​คมี ​เพื่อ​สนองตอบ​กระ​แส​ความ​นิยม​ใน​ปจจุบัน ​ใน​เรื่อง​
ของ​การ​ลด​สารเคมีท​ ี่​อาจ​กอ​ให​เกิดอ​ ันตราย​ตอ​สุขภาพ ​และ​ลด​ภาวะ​โลก​รอน ​ดวย​แลว ​จัก​เปนการ​เพิ่ม​มูลคา​
สินคา​ได​มาก​ยิ่งกวา​การ​ขายอัตล​ ักษณ​เพียง​อยางเดียว ​อีกท​ ั้ง​ยัง​เปนการ​อนุรักษ ​และ​ฟนฟู​ภูมิปญญา​ทองถิ่น​
ไม​ให​สูญหาย​ได​อีก​ทาง​หนึ่ง

96
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
​เอกสาร​อางอิง

​โกศล แยมกาญ​จน​วัฒน. ​(ไ​มปรากฏ​ป​ที่​พิมพ) ​ลาว​โซงก​ ับ​ความ​เชื่อ​ใน​พิธีศพ. โรงเรียน​เตรียม​อุดมศึกษา
​พัฒนาการ​ดอน​คลัง ​ตำบล​ดอน​คลัง ​อำเภอ​ดำเนินสะดวก ​จังหวัด​ราชบุรี.​
​ดารา​รัตน ​ ​เมตตา​ริกา​นนท ​และ​สมศักดิ์ ​ศรี​สันติสุข.​ ​ ​(​2​5​4​9​)​ ​ ​รายงาน​การ​วิจัยเ​รื่อง ​การ​เปลี่ยน​แปลง​ทาง
ดาน​เศรษฐกิจ ​การเมือง ​สังคม ​และ​วัฒนธรรม ​ใน​หมูบาน​อีสาน ​:​ ​ศึกษา​กรณี​หมูบาน
นา​ปา​หนาด.​ ​ ​ขอน​แกน ​:​ ​คณะ​มนุษยศาสตรแ​ ละ​สังคมศาสตร ​มหาวิทยาลัยข​ อน​แกน.​ ​
สำรวจ​ภาคสนาม​วัน​ที่ ​19​ ​ ​ธันวาคม ​2​5​4​9​
​ทวี ​พรม​มา.​ ​ ​(​25​ ​41​ )​​ ​ ​เรือนไท​ดำ​บานนา​ปาห​ นาด ​ตำบล​เขา​แกว ​อำเภอ​เชียงคาน ​จังหวัดเ​ลย.​ ​
​ ​มหาสารคาม ​ ​:​ ​ ​มหาวิทยาลัยม​ หาสารคาม,​ ​วิทยานิพนธ.​
​นครปฐม,​ ​องคการ​บริหาร​สวน​ตำบล​ดอนตูม.​ ​ ​(​2​5​5​0​)​ ​ ​หนังสือ​ที่ระลึกก​ าร​จัดงาน​อนุรักษ​วัฒนธรรม
​ ​ประเพณี​ไทย​ทรง​ดำ.​ ​ ​องคการ​บริหาร​สวน​จังหวัด​นครปฐม.​ ​ ​ ​
​บุญ​เสริม ​ตินตะ​สุวรรณ.​ ​ ​(2​ ​54​ ​5)​​ ​ ​ศึกษา​ผา​และ​เครื่อง​นุงหมข​ อง​ชาวไทย​ทรง​ดำ ​ตำบล​หนองปรง ​
​อำเภอ​เขายอย ​จังหวัด​เพชรบุรี.​ ​ ​กรุงเทพฯ ​:​ ​มหาวิทยาลัยร​ าม​คำ​แหง,​ ​วิทยานิพนธ.​ ​ ​ ​
​เพชรบุรี,​ ​เทศบาลตำบล​เขายอย.​ ​(ไ​มปรากฏ​ป​ที่​พิมพ) ​ดินแ​ ดน​ไทย​ทรง​ดำ.​ ​ตำบล​เขายอย ​อำเภอ​เขายอย
​ ​จังหวัดเ​พชรบุรี.​
​เพ็ญน​ ิภา ​ ​อินทร​ตระกูล.​ ​(2​ 5​ ​35​ ​)​ ​การ​นับถือ​ผขี​ อง​ชาว​ไทยดำ​บานนา​ปา​หนาด ​ตำบล​เขา​แกว ​อำเภอ​
เชียงคาน ​จังหวัด​เลย.​ ​ ​มหาสารคาม ​:​ ​มหาวิทยาลัยศ​ รีนค​รินทร​วิโรฒ ​มหาสารคาม,​ ​ปริญญา​
นิพนธ.​
​มูลนิธิ​ไทย​ทรง​ดำ.​ (​2​5​4​8)​​ มูลนิธิ​ไทย​ทรง​ดำ​ประเทศ​ไทย.​ที่ระลึก​เนื่อง​ใน​โอกาส​กอตั้ง​และ​เปดปาย
​ ​มูลนิธิ​ไทย​ทรง​ดำ​ประเทศ​ไทย ​“​งาน​วัน​อนุรักษว​ ัฒนธรรม​ประเพณี​ไทย​ทรง​ดำ”​ ​นครปฐม ​:​
​ ​บาน​เกาะ​แรต ​ตำบล​บาง​ปลา ​อำเภอ​บางเลน.​

97
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ส​ น ​ ​สีมา​ตรัง ​และ​คณะ.​ ​ ​(2​ 5​ ​48​ ​)​ ​ ​ชางทอ ​รอย​ใจ ​เทิดไท ​7​2​ ​พรรษา.​ ​ ​วุฒิสภา​จัดพิมพ​เพื่อเ​ฉลิม
​ ​พระ​เกียรติ​สมเด็จ​พระนางเจาส​ ิริ​กิติ์ ​พระ​บรม​ราชินีนาถ ​เนื่อง​ใน​โอกาส​พระ​ราชพิธี
​ ​มหา​มงคล​เฉลิมพ​ ระ​ชนมพรรษา ​6​ ​รอบ.​ ​ ​กรุงเทพฯ ​:​ ​บริษัท ​สยาม​ทอง​กิจ ​จำกัด.​ ​ ​
​h​tt​​p​:​/​/​w​w​w​.​g​o​o​g​l​e.​​c​o​.​th​ ​/​S​A​DO​ ​OD​ T​ ​A​.​C​O​M​
​h​t​tp​ ​:​/​/​w​w​w​.​g​o​o​g​l​e​.c​ ​o​.​t​h​/W
​ ​ik​ i​​p​e​d​ia​ ​

98
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
​ที่ปรึกษา​โครงการ
​รอง​ศาสตราจารย ​วิโรฒ ​ ​ศรี​สุโร

​หัวหนา​โครงการ
​ประทับ​ใจ ​ ​สิกขา

​ผู​รวม​โครงการ
ศ​ ักดิช์​ าย ​ ​สิกขา
​เสก​สันต ​ ​ศรี​สันต
​ศุภ​ลักษณ ​ ​มา​คูณต​ น
​สม​โชค ​ ​หอมจันทร
​ปริญดา ​ฝาง​มาลา
​ภว​นพ ​ ​อุนไ​ธสง

​ผู​ให​ขอมูล
พ​ านี ​แหงหน
​ศิริ​พร ​พูล​สวัสดิ์
​จุฑา​ทิพ ​ ​อิน​เนียร
​ถนอม ​คง​ยิ้มล​ ะมัย
​โกศล ​ ​ ​แยมกาญ​จน​วัฒน
​ออน ​ทัน​หา
​หนูจร ​ไพ​ศูนย
​วิชา​ญ - ไสว สระ​ทองคุม

99
กอง​สงเสริมก​ าร​วิจัย บริการ​วิชาการ และ​ทำนุบำรุงศ​ ิลป​วัฒนธรรม
มหาวิทยาลัยอ​ ุบลราชธานี

You might also like