You are on page 1of 47

พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต

พ.ศ. 2527
__________________
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2527
เปนปที่ 39 ในรัชกาลปจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ให


ประกาศวา

โดยที่เปนการสมควรใหมีกฎหมายวาดวยภาษีสรรพสามิต

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนํา และยินยอมของ


รัฐสภา ดังตอไปนี้

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา "พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527"

มาตรา 2 (1) พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมือ่ พนหกสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจา


นุเบกษาเปนตนไป

มาตรา 3 ใหยกเลิก
(1) พระราชบัญญัติภาษีซีเม็นตซึ่งทําในพระราชอาณาเขตต พุทธศักราช 2475
พระราชบัญญัติภาษีซีเม็นตซึ่งทําในพระราชอาณาเขต (ฉบับที่ 2)
พุทธศักราช 2486
พระราชกําหนดภาษีซีเมนตซึ่งทําในพระราชอาณาเขต พ.ศ. 2501
พระราชบัญญัติภาษีซีเมนตซึ่งทําในพระราชอาณาเขต (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2501
พระราชบัญญัติภาษีซีเมนตซึ่งทําในพระราชอาณาเขต (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2505
พระราชกําหนดภาษีซีเมนตซึ่งทําในพระราชอาณาเขต (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2513
พระราชบัญญัติภาษีซีเมนตซึ่งทําในพระราชอาณาเขต (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2513

(1)
รก.2527/127/7/20 กันยายน 2527
-2-

พระราชกําหนดภาษีซีเมนตซึ่งทําในพระราชอาณาเขต (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2524


(2) พระราชบัญญัติเก็บภาษีเครื่องขีดไฟซึ่งทําในพระราชอาณาเขตพุทธศักราช 2476
(3) พระราชบัญญัติยานัดถุ พุทธศักราช 2486
พระราชบัญญัติยานัดถุ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2496
พระราชบัญญัติยานัดถุ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2497
(4) พระราชบัญญัติภาษีน้ํามันและผลิตภัณฑน้ํามันซึ่งทําในราชอาณาจักร พ.ศ. 2507
พระราชบัญญัติภาษีน้ํามันและผลิตภัณฑน้ํามัน ซึ่งทําในราชอาณาจักร (ฉบับ
ที่ 2) พ.ศ. 2508
พระราชกําหนดภาษีน้ํามันและผลิตภัณฑน้ํามันซึ่งทําในราชอาณาจักร พ.ศ. 2513
พระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติภาษีน้ํามันและผลิตภัณฑน้ํามัน
ซึ่งทําในราชอาณาจักร พ.ศ. 2507 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2516
พระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติภาษีน้ํามันและผลิตภัณฑน้ํามัน
ซึ่งทําในราชอาณาจักร พ.ศ. 2507 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2521
พระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติภาษีน้ํามันและผลิตภัณฑน้ํามัน
ซึ่งทําในราชอาณาจักร พ.ศ. 2507 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2522
พระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติภาษีน้ํามันและผลิตภัณฑน้ํามัน
ซึ่งทําในราชอาณาจักร พ.ศ. 2507 (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2522
พระราชบัญญัติภาษีน้ํามันและผลิตภัณฑน้ํามันซึ่งทําในราชอาณาจักร (ฉบับ
ที่ 3) พ.ศ. 2524
(5) พระราชบัญญัติภาษีไมขดี ไฟซึ่งทําในราชอาณาจักร พ.ศ. 2508
พระราชบัญญัติภาษีไมขดี ไฟซึ่งทําในราชอาณาจักร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2516
(6) พระราชบัญญัติภาษีเครือ่ งดื่ม พ.ศ. 2509
พระราชกําหนดภาษีเครื่องดืม่ พ.ศ. 2513
ประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 161 ลงวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2515
ประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 279 ลงวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515
พระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติภาษีเครื่องดื่ม พ.ศ. 2509
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2521
พระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติภาษีเครื่องดื่ม พ.ศ. 2509
(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2523
บรรดาบทกฎหมาย กฎ และขอบังคับอื่นในสวนที่มีบัญญัติไวแลวในพระราชบัญญัตินี้
หรือซึ่งขัดหรือแยงกับบทแหงพระราชบัญญัตินี้ใหใชพระราชบัญญัตินี้แทน
-3-

มาตรา 4 1 ในพระราชบัญญัตินี้
"ภาษี" หมายความวา ภาษีสรรพสามิตที่เรียกเก็บจากสินคาและบริการตามพระราชบัญญัตินี้
"สินคา" หมายความวา สิ่งซึ่งผลิตหรือนําเขาและระบุไวในกฎหมายวาดวย พิกดั อัตราภาษี
สรรพสามิต
2
"บริการ" หมายความวา การใหบริการในทางธุรกิจในสถานบริการ ตามที่ระบุไวใน
กฎหมายวาดวยพิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต
"รายรับ" หมายความวา เงิน ทรัพยสิน คาตอบแทน หรือประโยชนใด ๆ ที่อาจคํานวณได
เปนเงินที่ไดรบั หรือพึงไดรบั เนื่องจากการใหบริการ
"ผลิต" หมายความวา ทํา ประกอบ ปรับปรุง แปรรูป หรือแปรสภาพสินคาหรือ ทําการ
อยางใดอยางหนึ่งใหมีขึ้นซึง่ สินคาไมวาดวยวิธีใด ๆ แตมิใหรวมถึงการประดิษฐคนควา ที่มิไดทําขึ้นเพื่อขาย
"นําเขา" หมายความวา นําเขามาในราชอาณาจักรตามกฎหมายวาดวยศุลกากร ซึ่งสินคา
ตามพระราชบัญญัตินี้
"โรงอุตสาหกรรม" หมายความวา สถานที่ที่ใชในการผลิตสินคารวมตลอด ทั้งบริเวณแหง
สถานที่นั้น และใหหมายความรวมถึงเครื่องขายเครื่องดื่มดวย
3
"สถานบริการ" หมายความวา สถานที่สําหรับประกอบกิจการในดานบริการ และให
หมายความรวมถึงสํานักงานใหญที่จัดตั้งขึน้ ในการประกอบกิจการ ในกรณีที่ไมอาจกําหนดสถานที่
ใหบริการไดแนนอน
"คลังสินคาทัณฑบน" หมายความวา สถานที่นอกโรงอุตสาหกรรมที่อธิบดีอนุญาตใหใช
เปนที่เก็บสินคาไดโดยยังไมตองเสียภาษี
"ผูประกอบอุตสาหกรรม" หมายความวา เจาของหรือผูจัดการหรือบุคคลอื่น ซึ่งรับผิดชอบ
ในการดําเนินงานของโรงอุตสาหกรรม
"ผูประกอบกิจการสถานบริการ" หมายความวา เจาของหรือผูจัดการหรือบุคคลอื่นซึ่ง
รับผิดชอบในการดําเนินงานของสถานบริการ
"ผูนําเขา" หมายความวา ผูนําของเขาตามกฎหมายวาดวยศุลกากร
"เจาของคลังสินคาทัณฑบน" หมายความรวมถึงผูจัดการหรือบุคคลอื่นซึ่งรับผิดชอบใน
การดําเนินงานของคลังสินคาทัณฑบน
"เขตปลอดอากร"4 หมายความวา เขตปลอดอากรตามกฎหมายวาดวยศุลกากร

1
แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
2
แกไขโดยพระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 พ.ศ.2546
3
แกไขโดยพระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 พ.ศ.2546
4
แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2544
-4-

"เขตอุตสาหกรรมสงออก" 5 หมายความวา เขตอุตสาหกรรมสงออกตามกฎหมายวาดวย


การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
"แสตมปสรรพสามิต" หมายความวา แสตมปที่รัฐบาลทําหรือจัดใหมีขึ้นเพื่อใชในการ
จัดเก็บภาษีตามพระราชบัญญัตินี้
"เครื่องหมายแสดงการเสียภาษี" หมายความวา เครื่องหมาย ที่ใชแสดงการเสียภาษีแทน
แสตมปสรรพสามิต
"เจาพนักงานสรรพสามิต" หมายความวา ขาราชการพลเรือนสังกัดกรมสรรพสามิต
"พนักงานเจาหนาที"่ หมายความวา ขาราชการพลเรือนสังกัดกระทรวงการคลังหรือบุคคล
อื่น ซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
"อธิบดี" หมายความวา อธิบดีกรมสรรพสามิต
"รัฐมนตรี" หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา 5 ใหรฐั มนตรีวาการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมี


อํานาจแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษากับออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียม
ไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัตินี้ และกําหนดกิจการอื่นเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
กฎกระทรวงนัน้ เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหใชบังคับได

5
แกไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2544
-5-

หมวด 1
ขอความทั่วไป
-------

มาตรา 6 ภาษีตามพระราชบัญญัตินี้ใหอยูใ นอํานาจหนาที่และการควบคุมของ กรม


สรรพสามิต

มาตรา 7 6 ใหผูประกอบอุตสาหกรรม ผูประกอบกิจการสถานบริการผูนําเขาซึ่งสินคา หรือ


ผูอื่นที่พระราชบัญญัตินี้กําหนดใหเปนผูมีหนาที่เสียภาษี มีหนาที่เสียภาษีตามมูลคาหรือปริมาณของสินคา
หรือบริการนัน้ ตามอัตราที ระบุไวในกฎหมายวาดวยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิตที่ใชอยูในเวลาทีค่ วามรับ
ผิดในอันจะตองเสียภาษีเกิดขึ้น

มาตรา 8 7 ภายใตบังคับมาตรา 11 วรรคหนึ่ง และมาตรา 12 วรรคหนึ่ง การเสียภาษีตาม


มูลคานั้น ใหถอื มูลคาตาม (1) (2) และ (3) โดยใหรวมภาษีสรรพสามิตที่พึงตองชําระดวย ดังนี้
(1) ในกรณีสนิ คาที่ผลิตในราชอาณาจักร ใหถือตามราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรม
ในกรณีไมมีราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรม หรือราคาขาย ณ โรงอุตสาหกรรมมีหลายราคา
ใหถือตามราคาที่อธิบดีกําหนดตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง
เพื่อประโยชนในการจัดเก็บภาษี อธิบดีโดยอนุมัติรัฐมนตรีมีอํานาจประกาศมูลคาของ
สินคาที่ผลิตในราชอาณาจักร เพื่อถือเปนเกณฑในการคํานวณภาษี โดยกําหนดจากราคาขาย ณ โรง
อุตสาหกรรมในตลาดปกติได
(2) ในกรณีบริการ ใหถือตามรายรับของสถานบริการ
เพื่อประโยชนในการคํานวณรายรับของสถานบริการ ใหพนักงานเจาหนาที่ มีอํานาจ
กําหนดรายรับขั้นต่ําของสถานบริการตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง
(3) ในกรณีสนิ คาที่นําเขา ใหถอื ราคา ซี.ไอ.เอฟ. ของสินคาบวกดวยอากรขาเขา
คาธรรมเนียมพิเศษตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการลงทุน และภาษี และคาธรรมเนียมอื่นตามที่จะได
กําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา แตไมรวมถึงภาษีมูลคาเพิ่มตามที่กําหนดในหมวด 4 ลักษณะ 2 แหงประมวล
รัษฎากร

6
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
7
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
-6-

ในกรณีที่บุคคลผูนําเขาไดรับยกเวนหรือลดอากรขาเขาตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการ
ลงทุน หรือตามกฎหมายอืน่ ใหนําอากรขาเขาซึ่งไดรับยกเวนหรือลดอัตราดังกลาวมารวมในการคํานวณ
มูลคาตาม (3) ดวย
ราคา ซี.ไอ.เอฟ. ตาม (3) ไดแกราคาสินคาที่บวกดวยคาประกันภัยและคาขนสงถึงดาน
ศุลกากรในราชอาณาจักร ทั้งนี้ เวนแต
(ก) ในกรณีทอี่ ธิบดีกรมศุลกากร ประกาศใหราคาในทองตลาดสําหรับของ
ประเภทใดประเภทหนึ่งที่ตอ งเสียอากรตามราคาเปนรายเฉลี่ยตามกฎหมายวาดวยพิกดั อัตราศุลกากร ใหถือ
ราคานั้นเปนราคาสินคาในการคํานวณราคา ซี.ไอ.เอฟ.
(ข) ในกรณีที่เจาพนักงานศุลกากรประเมินราคาเพื่อเสียอากรขาเขาใหมตาม
กฎหมายวาดวยศุลกากร ใหถือราคานั้นเปนราคาสินคาในการคํานวณราคา ซี.ไอ.เอฟ.

มาตรา 9 สินคาที่ตองเสียภาษีตามปริมาณนั้น ใหถือตามหนวยตามน้ําหนักสุทธิหรือตาม


ปริมาณสุทธิของสินคานั้น เวนแต
(1) ในกรณีสนิ คาประเภทอาหารที่บรรจุภาชนะโดยมีของเหลวหลอเลีย้ งดวย เพื่อ
ประโยชนในการถนอมอาหาร น้ําหนักทีใ่ ชเปนเกณฑคํานวณภาษี ใหถือเอาน้ําหนักแหงสินคา รวมทั้ง
ของเหลวที่บรรจุในภาชนะนั้น
(2) ในกรณีสนิ คาที่บรรจุในหีบหอหรือภาชนะใด ๆ เพื่อจําหนายทั้งหีบหอหรือภาชนะ
และมีเครื่องหมายหรือปายแสดงปริมาณแหงสินคาติดไวที่หีบหอหรือภาชนะนั้น เพือ่ ประโยชนในการ
คํานวณภาษี อธิบดีจะถือวาหีบหอหรือภาชนะนัน้ ๆ บรรจุสินคาตามปริมาณที่แสดงไวก็ได

มาตรา 10 8 ภายใตบังคับมาตรา 11 วรรคสอง มาตรา 12 วรรคสอง และมาตรา 13 ความรับ


ผิดในอันจะตองเสียภาษี มีดังนี้
(1) ในกรณีสนิ คาที่ผลิตขึ้นในราชอาณาจักร
(ก) ถาสินคาอยูในโรงอุตสาหกรรม ใหถือวาความรับผิดในอันจะตองเสียภาษี
เกิดขึ้นในเวลาที่นําสินคาออกจากโรงอุตสาหกรรม เวนแตเปนการนําสินคาออกจากดรงอุตสาหกรรมไป
เก็บไวในคลังสินคาทัณฑบน คลังสินคาทัณฑบนตามกฎหมายวาดวยศลุกากรเขตปลอดอากรหรือเขต
อุตสาหกรรมสงออก และถาผูประกอบอุตสาหกรรมหรือบุคคลใดนําสินคาดังกลาวไปใชภายในโรง
อุตสาหกรรมก็ใหถือวาเปนการนําสินคาออกจากโรงอุตสาหกรรม
(ข) ถาสินคาที่เก็บอยูในคลังสินคาทัณฑบน คลังสินคาทัณฑบนตามกฎหมายวา
ดวยศุลกากร เขตปลอดอากร หรือเขตอุตสาหกรรมสงออก ใหถือวาความรับผิดในอันจะตองเสียภาษีเกิดขึ้น

8
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545
-7-

ในเวลาที่นําสินคาออกจากคลังสินคาทัณฑบน คลังสินคาทัณฑบน ตามกฎหมายวาดวยศุลกากร เขตปลอด


อากร หรือเขตอุตสาหกรรมสงออกนั้น เวนแตเปนการนําสินคากลับคืนไปเก็บไวในโรงอุตสาหกรรมหรือ
ไปเก็บไวในคลังสินคาทัณฑบน คลังสินคาทัณฑบนตามกฎหมายวาดวยศุลกากร เขตปลอดอากร หรือเขต
อุตสาหกรรมสงออกอีกแหงหนึ่ง และถาบุคคลใดนําสินคา ดังกลาวไปใชภายในคลังสินคาทัณฑบนตาม
กฎหมายวาดวยศุลกากร เขตปลอดอากร หรือ เขตอุตสาหกรรมสงออก ก็ใหถือวาเปนการนําสินคาออก
จากคลังสินคาทัณฑบนตามกฎหมายวาดวยศุลกากร เขตปลอดอากร หรือเขตอุตสาหกรรมสงออก แลวแต
กรณี
ในกรณีที่ความรับผิดในการเสียภาษีมูลคาเพิ่มตามหมวด 4 ในลักษณะ 2 แหงประมวล
รัษฎากร ไมวาทั้งหมดหรือบางสวนเกิดขึ้นกอนนําสินคาออกจากโรงอุตสาหกรรม คลังสินคาทัณฑบน
คลังสินคาทัณฑบนตามกฎหมายวาดวยศุลกากร เขตปลอดอากร หรือเขตอุตสาหกรรม สงออก ใหถือวา
ความรับผิดในอันจะตองเสียภาษีเกิดขึ้นพรอมกับความรับผิดในการเสียภาษี มูลคาเพิ่ม
(2) ในกรณีบริการ ใหถือวาความรับผิดในอันจะตองเสียภาษีเกิดขึ้นเมือ่ ไดรับชําระราคา
คาบริการ
ในกรณีที่ความรับผิดในการเสียภาษีมูลคาเพิ่มตามหมวด 4 ในลักษณะ 2 แหงประมวล
รัษฎากร ไมวาทั้งหมดหรือบางสวนเกิดขึ้นกอนไดรับชําระราคาคาบริการ ใหถือวาความรับผิดในอันจะตอง
เสียภาษีเกิดขึน้ พรอมกับความรับผิดในการเสียภาษีมูลคาเพิ่ม
(3) ในกรณีสนิ คาที่นําเขา ใหถือวาความรับผิดในอันจะตองเสียภาษีเกิดขึ้นในเวลาเดียวกับ
ความรับผิดในอันจะตองเสียภาษีศุลกากรสําหรับของที่นําเขาตามกฎหมายวาดวยศุลกากร เวนแตในกรณี
สินคาที่นําเขามาเพื่อนําเขาไปในคลังสินคาทัณฑบนตามกฎหมายวาดวยศุลกากร เขตปลอดอากร หรือเขต
อุตสาหกรรมสงออก ใหถือวาความรับผิดในอันจะตองเสียภาษีเกิดขึ้นในเวลาที่นําสินคาออกจากคลังสินคา
ทัณฑบนตามกฎหมายวาดวยศุลกากร เขตปลอดอากร หรือ เขตอุตสาหกรรมสงออกนั้น และถาผูนําเขา
หรือบุคคลในนําสินคาดังกลาวไปใชในคลังสินคาทัณฑบนตามกฎหมายวาดวยศุลกากร เขตปลอดอากร
หรือเขตอุตสาหกรรมสงออก ก็ใหถือวาเปนการนําสินคาออกจากคลังสินคาทัณฑบนตามกฎหมายวาดวย
ศุลกากร เขตปลอดอากร หรือเขตอุตสาหกรรมสงออก แลวแตกรณี

มาตรา 11 ในกรณีสินคาซึ่งในเวลานําเขาไดรับยกเวนหรือลดอัตราภาษี เพราะเหตุทนี่ ําเขา


มาเพื่อใชเองโดยบุคคลที่มีสิทธิเชนนั้น หรือเพราะเหตุทนี่ ําเขามาเพื่อใชประโยชนอยางใดทีก่ ําหนดไว
โดยเฉพาะ ถาสินคานั้นไดโอนไปเปนของบุคคลที่ไมมีสิทธิไดรับยกเวนหรือลดอัตราภาษีหรือไดนาํ ไปใช
ในการอื่นนอกจากทีก่ ําหนดไวหรือสิทธิที่ไดรับยกเวนหรือ ลดอัตราภาษีสิ้นสุดลง สินคานั้นจะตองเสีย
ภาษีโดยถือตามมูลคาหรือปริมาณ และอัตราภาษีที่เปนอยูในวันโอนหรือนําไปใชในการอื่น หรือวันที่สิทธิ
ไดรับยกเวนหรือลดอัตราภาษีสิ้นสุดลงเปนเกณฑในการคํานวณภาษี
ความรับผิดในอันจะตองเสียภาษีตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปดังนี้
-8-

(1) ในกรณีทมี่ ีการโอน ใหเปนความรับผิดรวมกันของผูโอนและผูรับโอน


(2) ในกรณีทมี่ ีการนําไปใชในการอื่น ใหเปนความรับผิดของผูที่ไดรับสิทธิยกเวนหรือลด
อัตราภาษี
(3) ในกรณีทสี่ ิทธิที่ไดรับยกเวนหรือลดอัตราภาษีสิ้นสุดลง ใหเปนความรับผิดของผูที่
ไดรับสิทธิยกเวนหรือลดอัตราภาษี
(4) ในกรณีที่ผไู ดรับสิทธิยกเวนหรือลดอัตราภาษีถึงแกความตายในขณะเปนเจาของ ให
เปนความรับผิดของผูจัดการมรดกหรือทายาทผูไดรับมรดกสินคานั้นแลวแตกรณี
ในกรณีที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีได
ประกาศตามกฎหมายวาดวยพิกัดอัตราศุลกากร กําหนดใหสินคาบางประเภทหรือบางชนิดตามวรรคหนึ่งไม
ตองเสียอากรขาเขาเมื่อสินคานั้นไดโอนไปเปนของบุคคลที่ไมมีสิทธิไดรับยกเวนหรือลดหยอนอากรหรือ
เมื่อไดนําไปใชในการอื่นนอกจากทีก่ ําหนดไวหรือเมื่อสิทธิที่ไดรับยกเวนหรือลดหยอนอากรสิ้นสุดลงก็ให
สินคาประเภทและชนิดนั้นไดรับยกเวนจากบทบังคับตามมาตรานี้ดวย

มาตรา 12 9 ในกรณีสินคาซึ่งผูประกอบอุตสาหกรรมไดรบั คืนหรือยกเวนภาษีตามมาตรา


102(3) ถาสินคานั้นไดโอนไปเปนของบุคคลอื่นที่ไมมีเอกสิทธิ์ หรือเอกสิทธิ์ของผูไดรับเอกสิทธิ์นั้นสิ้นสุด
ลงโดยเหตุอื่นนอกจากความตาย สินคานั้นจะตองเสียภาษีโดยถือตามมูลคาหรือปริมาณ และอัตราภาษีที่
เปนอยูในวันโอนหรือวันทีเ่ อกสิทธิ์สิ้นสุดลงเปนเกณฑในการคํานวณภาษี
ความรับผิดในอันจะตองเสียภาษีตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปดังนี้
(1) ในกรณีทมี่ ีการโอน ใหเปนความรับผิดรวมกันของผูโอนและผูรับโอน
(2) ในกรณีที่เอกสิทธิ์สิ้นสุดลง ใหเปนความรับผิดของผูที่ไดรับเอกสิทธิ์
ใหรัฐมนตรี โดยอนุมัติของคณะรัฐมนตรี มีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดให
สินคาบางประเภทหรือบางชนิดซึ่งผูประกอบอุตสาหกรรมมีสิทธิไดรับคืนหรือยกเวนภาษีตามวรรคหนึ่ง
ไดรับยกเวนจากบทบังคับแหงมาตรานี้ โดยจะกําหนดหลักเกณฑและเงื่อนไขใด ๆ ไวดว ยก็ได

มาตรา 13 10 ในกรณีเปนการนําสินคาออกไปจากโรงอุตสาหกรรมหรือคลังสินคาทัณฑบน
เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของสินคาตามมาตรา 19 (6) ใหความรับผิดในอันจะตองเสียภาษีเกิดขึ้นพรอมกับ
ความรับผิดในการเสียภาษีมลู คาเพิ่มตามหมวด 4 ในลักษณะ 2 แหงประมวลรัษฎากร เวนแตในกรณีที่มีการ
ปฏิบัติฝาฝนมาตรา 19 (6) ใหความรับผิดในอันจะตองเสียภาษีเปนไปตามมาตรา 10

9
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
10
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545
-9-

มาตรา 14 กําหนดเวลาตาง ๆ ที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้ถาผูมีหนาที่ตองปฏิบัติมี


เหตุจําเปนจนไมสามารถปฏิบัติตามกําหนดเวลาไดใหอธิบดีมีอํานาจสั่งขยายหรือเลื่อนกําหนดเวลาออกไป
ไดตามความจําเปนแกกรณี แตสําหรับกําหนดเวลาชําระภาษี ใหเปนอํานาจของรัฐมนตรีที่จะขยายหรือเลื่อน
กําหนดเวลาออกไป
กําหนดเวลาตาง ๆ ที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้ เมื่อรัฐมนตรีเห็นเปนการสมควรจะ
ขยายหรือเลื่อนกําหนดเวลานั้นออกไปอีกตามความจําเปนแกกรณีกไ็ ด

มาตรา 15 เมื่อมีเหตุอันควรเชื่อวามีการหลีกเลี่ยงการเสียภาษีใหอธิบดีมีอํานาจเขาไปหรือ
ออกคําสั่งเปนหนังสือใหเจาพนักงานสรรพสามิตเขาไปในสถานที่หรือยานพาหนะใด ๆ เพื่อทําการตรวจคน
ยึดหรืออายัดบัญชีเอกสารหรือหลักฐานอื่นที่เกี่ยวกับ หรือสันนิษฐานวาเกี่ยวกับภาษีที่จะตองเสียไดทั่ว
ราชอาณาจักร
ในจังหวัดอื่นนอกจากกรุงเทพมหานคร ใหผูวาราชการจังหวัดหรือสรรพสามิตจังหวัดมี
อํานาจเชนเดียวกับอธิบดีตามวรรคหนึ่ง สําหรับในเขตทองที่จังหวัดนัน้
การทําการตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ตองทําในระหวางเวลาพระอาทิตยขึ้นถึงพระ
อาทิตยตก หรือในระหวางเวลาทําการของผูประกอบกิจการนั้น เวนแตการตรวจคน ยึดหรืออายัดในเวลา
ดังกลาวยังไมแลวเสร็จจะกระทําตอไปก็ได

มาตรา 16 บรรดาบัญชี เอกสารและหลักฐานตาง ๆ ซึ่งเกี่ยวกับหรือมีเหตุอันควรเชื่อวา


เกี่ยวกับการเสียภาษี หรือการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ถาทําเปนภาษาตางประเทศ อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดี
มอบหมายมีอาํ นาจสั่งใหผูประกอบ อุตสาหกรรมหรือผูนําเขาจัดการแปลเปนภาษาไทยใหเสร็จและสง
ภายในกําหนดเวลาที่เห็นสมควร
ในจังหวัดอื่นนอกจากกรุงเทพมหานคร ใหผูวาราชการจังหวัดหรือสรรพสามิตจังหวัดมี
อํานาจเชนเดียวกับอธิบดีตามวรรคหนึ่ง สําหรับในเขตทองที่จังหวัดนัน้

มาตรา 17 ในกรณีที่ตองคํานวณเงินตราตางประเทศเปนเงินตราไทยเพือ่ ปฏิบัติการตาม


พระราชบัญญัตินี้ ใหใชอัตราแลกเปลี่ยนทีใ่ ชในการจัดเก็บภาษีศุลกากร

มาตรา 18 หนังสือเรียก หนังสือแจงใหเสียภาษี หรือหนังสืออื่นที่มีถึงบุคคลใด เพื่อ


ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหสงโดยทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับหรือใหเจาพนักงานสรรพสามิต
นําไปสง ณ ภูมิลําเนา หรือสํานักงานของ บุคคลนั้นในระหวางพระอาทิตยขึ้นถึงพระอาทิตยตกหรือในเวลา
ทําการของบุคคลนั้นถาไมพบผูรับ ณ ภูมิลําเนาหรือสํานักงานของผูรับ จะสงใหแกบคุ คลใดซึ่งบรรลุนิติ
ภาวะแลวและอยูหรือทํางานในบานหรือสํานักงานที่ปรากฏวาเปนของผูรับนั้นก็ได
- 10 -

ถาไมสามารถสงหนังสือตามวิธีในวรรคหนึ่งได จะกระทําโดยวิธีปดหนังสือนั้นในที่ซึ่ง
เห็นไดงาย ณ สํานักงานโรงงานอุตสาหกรรม ภูมิลําเนา หรือ ถิ่นที่อยูข องผูรับนั้นหรือโฆษณาขอความยอ
ในหนังสือพิมพที่จําหนายเปนปกติในทองที่นั้นก็ได
เมื่อไดปฏิบัตกิ ารตามวิธีดังกลาวในวรรคหนึ่งหรือวรรคสองแลว ใหถือวาผูรับไดรับ
หนังสือนั้นแลว

มาตรา 19 11 หามมิใหผูใดนําสินคาที่ยังมิไดเสียภาษีโดยถูกตองและครบถวนออกไปจาก
โรงอุตสาหกรรม คลังสินคาทัณฑบน คลังสินคาทัณฑบนตามกฎหมายวาดวยศุลกากร เขตปลอดอากร หรือ
เขตอุตสาหกรรมสงออก เวนแต
(1) เปนการนําสินคาออกจากโรงอุตสาหกรรมไปเก็บไวในคลังสินคาทัณฑบน คลังสินคา
ทัณฑบนตามกฎหมายวาดวยศุลกากร เขตปลอดอากร หรือเขตอุตสาหกรรมสงออก ตามหลักเกณฑ วิธีการ
และเงื่อนไขทีอ่ ธิบดีกําหนด
(2) เปนการนําสินคาจากคลังสินคาทัณฑบน คลังสินคาทัณฑบนตามกฎหมายวาดวย
ศุลกากร เขตปลอดอากร หรือเขตอุตสาหกรรมสงออก กลับคืนไปเก็บไวในโรงอุตสาหกรรม หรือจาก
คลังสินคาทัณฑบน คลังสินคาทัณฑบนตามกฎหมายวาดวยศุลกากร เขตปลอดอากร หรือเขตอุตสาหกรรม
สงออกแหงหนึ่งไปเก็บไวในคลังสินคาทัณฑบน คลังสินคาทัณฑบนตามกฎหมาย วาดวยศุลกากร เขต
ปลอดอากร หรือเขตอุตสาหกรรมสงออกอีกแหงหนึ่ง ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขทีอ่ ธิบดี
กําหนด
(3) เปนกรณีตามมาตรา 52
(4) เปนกรณีสินคาที่ไดรับยกเวนภาษี
(5) เปนการนําสินคาออกไปโดยอาศัยอํานาจตามกฎหมายหรือคําสั่งโดยชอบดวยกฎหมาย
(6) 12 เปนการนําสินคาออกไปจากโรงอุตสาหกรรมหรือคลังสินคาทัณฑบน เพื่อทดสอบ
ประสิทธิภาพในระหวางขั้นตอนการผลิตหรือขั้นตอนการจําหนาย ทั้งนี้ ตามประเภทสินคา หลักเกณฑ วิธีการ
เงื่อนไข และระยะเวลาทีอ่ ธิบดีกําหนด แตระยะเวลาทดสอบประสิทธิภาพของสินคาในขั้นตอนการจําหนาย
กําหนดไมเกินสามสิบวัน และในกรณีมีเหตุจําเปนอธิบดีจะขยายเวลาใหก็ได แตรวมกันแลวตองไมเกินหก
สิบวัน

มาตรา 20 ผูประกอบอุตสาหกรรมใดมีสนิ คาอยูในโรงอุตสาหกรรมในวันทีก่ ฎหมายวา


ดวยพิกดั อัตราภาษีสรรพสามิตใชบังคับแกสินคานั้น ใหผูประกอบอุตสาหกรรมนั้นยื่นแบบรายการแสดง

11
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2544
12
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545
- 11 -

ชนิดและปริมาณของสินคานั้นตามแบบทีอ่ ธิบดีกําหนดตอเจาพนักงานสรรพสามิต ณ สถานที่ตามมาตรา 53


กอนหรือพรอมกับการยืน่ แบบรายการภาษีครั้งแรกตามมาตรา 48

มาตรา 21 ในกรณีสินคาที่นาํ เขา รัฐมนตรีจะประกาศกําหนดใหกรมศุลกากรเรียกเก็บภาษี


เพื่อกรมสรรพสามิตก็ได และใหรัฐมนตรีมีอํานาจประกาศกําหนดใหชําระภาษีหรือวางเงินหรือหลักประกัน
อยางอื่น หรือจัดใหมีผูค้ําประกันเปนประกันภาษีกอนที่จะปลอยสินคาพนไปจากอารักขาของกรมศุลกากร

มาตรา 22 ใหอธิบดีมีอํานาจออกระเบียบการปฏิบัติในเรื่องดังตอไปนี้
(1) วิธีการคํานวณปริมาณสินคาเพื่อเสียภาษี
(2) การบรรจุภาชนะ ชนิดและลักษณะของภาชนะ การระบุขอความหรือเครื่องหมายบน
ภาชนะ และการแสดงปริมาณสินคาที่บรรจุในภาชนะ
(3) การเก็บและการขนยายสินคา
(4) การเก็บ การขนยาย และการใชวัตถุดิบ เครื่องจักรและอุปกรณทใี่ ชในการผลิตสินคา
(5) 13 การประกอบกิจการสถานบริการ
ระเบียบตามวรรคหนึ่ง ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา 23 ในกรณีที่บุคคลใดประสงคจะใหพนักงานเจาหนาที่หรือเจาพนักงาน
สรรพสามิตปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัตินี้ในวันหยุดราชการหรือนอกเวลาราชการหรือนอกสถานที่ ทํา
การโดยปกติ ไมวาในหรือนอกเวลาราชการ จะตองเสียคาทําการใหแกพนักงานเจาหนาที่หรือเจาพนักงาน
สรรพสามิตผูปฏิบัติงานดังกลาว ตามอัตราที่กําหนดในกฎกระทรวง และจายคาพาหนะเดินทางใหแก
พนักงานเจาหนาที่หรือเจาพนักงานสรรพสามิตเทาที่จําเปนและใชจายไปจริง

มาตรา 24 ใหอธิบดีมีอํานาจจัดใหเจาพนักงานสรรพสามิตอยูประจําโรงอุตสาหกรรมหรือ
คลังสินคาทัณฑบน เพื่อควบคุมและตรวจสอบการปฏิบัติของผูประกอบอุตสาหกรรมหรือเจาของคลังสินคา
ทัณฑบนใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้
ใหผูประกอบอุตสาหกรรมหรือเจาของคลังสินคาทัณฑบนอํานวยความสะดวกตามสมควร
แกเจาพนักงานสรรพสามิตในการปฏิบัตกิ ารตามหนาทีต่ ามวรรคหนึ่ง

13
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
- 12 -

หมวด 2
การจดทะเบียน
--------

มาตรา 25 14 การจดทะเบียนสรรพสามิต
(1) ในกรณีมกี ารประกอบอุตสาหกรรมหรือประกอบกิจการสถานบริการอยูกอนกฎหมาย
วาดวยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิตใชบังคับแกสินคาหรือบริการนั้น ใหผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผู
ประกอบกิจการสถานบริการยื่นคําขอจดทะเบียนสรรพสามิตตามแบบที่อธิบดีกําหนดภายในสามสิบวันนับ
แตวันทีก่ ฎหมายวาดวยพิกดั อัตราภาษีสรรพสามิตใชบังคับแกสินคาหรือบริการนั้น
(2) ในกรณีเริม่ ประกอบอุตสาหกรรมหรือเริ่มประกอบกิจการสถานบริการ เมื่อมีกฎหมาย
วาดวยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิตใชบังคับแกสินคาหรือบริการนั้นแลว ใหผูประกอบ อุตสาหกรรมหรือผู
ประกอบกิจการสถานบริการยื่นคําขอ จดทะเบียนสรรพสามิตตามแบบที่อธิบดีกําหนดภายในสามสิบวัน
กอนวันเริ่มผลิตสินคาหรือเริ่มบริการ
ในกรณีที่ผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการมีโรงอุตสาหกรรม
หรือสถานบริการหลายแหง ใหแยกยื่นคําขอเปนรายโรงอุตสาหกรรม หรือสถานบริการ

มาตรา 26 15 ใหผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการที่มีโรง
อุตสาหกรรมหรือสถานบริการอยูในกรุงเทพมหานคร ยื่นคําขอจดทะเบียนสรรพสามิตตออธิบดี ณ กรม
สรรพสามิต
ใหผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการที่มีโรงอุตสาหกรรม หรือ
สถานบริการอยูในเขตจังหวัดอื่น ยื่นคําขอจดทะเบียนสรรพสามิตตอสรรพสามิตจังหวัด ณ สํานักงาน
สรรพสามิตจังหวัดแหงทองที่ที่โรงอุตสาหกรรม หรือสถานบริการนั้นตั้งอยู

มาตรา 27 16 เมื่อผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการไดยนื่ คําขอจด


ทะเบียนสรรพสามิตโดยถูกตองแลว ใหอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายหรือสรรพสามิตจังหวัดออกใบ
ทะเบียนสรรพสามิตให
มาตรา 28 17 ผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการตองแสดงใบ
ทะเบียนสรรพสามิตไวในทีเ่ ปดเผยซึ่งเห็นไดงาย ณ โรงอุตสาหกรรมหรือสถานบริการ เวนแตอยูใ น

14
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
15
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
16
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
- 13 -

ระหวางการขอรับใบแทนใบทะเบียนสรรพสามิตตามมาตรา 29 หรือนําสงคืนใบทะเบียนสรรพสามิตตาม
มาตรา 30 หรือมาตรา 31

มาตรา 29 18 ในกรณีที่ใบทะเบียนสรรพสามิตชํารุดในสาระสําคัญหรือสูญหายใหผู
ประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการยื่นคําขอรับใบแทนใบทะเบียนสรรพสามิตตอ
อธิบดีหรือสรรพสามิตจังหวัด ณ สถานที่ที่ไดจดทะเบียนสรรพสามิตไวเดิมภายในสามสิบวันนับแตวันที่
ทราบถึงการชํารุดในสาระสําคัญหรือการสูญหาย และใหนํามาตรา 27 มาใชบังคับโดยอนุโลม
ใบแทนใบทะเบียนสรรพสามิตใหถือเปนใบทะเบียนสรรพสามิต

มาตรา 30(5) เมื่อผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการประสงคจะยาย


โรงอุตสาหกรรมหรือสถานบริการ ใหแจงยายโรงอุตสาหกรรมหรือสถานบริการ ณ สถานที่ที่ไดจดทะเบียน
สรรพสามิตไวเดิมกอนวันยายไมนอยกวาสิบหาวัน
เมื่อผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการยายโรงอุตสาหกรรมหรือ
สถานบริการแลว ใหยื่นคําขอจดทะเบียนสรรพสามิตสําหรับโรงอุตสาหกรรมหรือสถานบริการแหงใหม
โดยใหนํามาตรา 25 มาตรา 26 และมาตรา 27 มาใชบังคับโดยอนุโลม และเมื่อไดรับใบทะเบียนสรรพสามิต
ฉบับใหมแลว ใหคืนใบทะเบียนสรรพสามิตฉบับเดิมแก เจาพนักงานสรรพสามิต ณ สถานที่ที่ยื่นจด
ทะเบียนสรรพสามิตแหงใหม

มาตรา 31(6)เมื่อผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการจะเลิกหรือโอน
กิจการ ใหแจงการเลิกหรือโอนกิจการตามแบบที่อธิบดีกาํ หนดตออธิบดีหรือสรรพสามิตจังหวัด ณ สถานที่
ที่ไดจดทะเบียนสรรพสามิตไวกอนวันเลิกหรือโอนกิจการไมนอยกวาสิบ หาวัน และใหคืนใบทะเบียน
สรรพสามิตแกเจาพนักงานสรรพสามิต ณ สถานที่ที่ไดแจงเลิกหรือโอนกิจการนั้นภายในสิบหาวันนับแต
วันที่หยุดประกอบกิจการ
ใหผูรับโอนกิจการยื่นคําขอจดทะเบียนสรรพสามิตภายในเจ็ดวันนับแตวันรับโอนกิจการ
และใหประกอบกิจการตอเนื่องไดในระหวางรอรับใบทะเบียนสรรพสามิต ทั้งนี้ ใหนํามาตรา 25 มาตรา 26
และมาตรา 27 มาใชบังคับโดยอนุโลม

17
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
18
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
- 14 -

มาตรา 32 (1) ในกรณีที่ผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการตาย ถา


ทายาทประสงคจะประกอบกิจการตอไป ใหทายาทหรือผูจัดการมรดกยื่นคําขอจดทะเบียนสรรพสามิตตาม
มาตรา 26 ภายในสามสิบวันนับแตวนั ที่ผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการตาย
ในระหวางระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง ใหใบทะเบียนสรรพสามิตเดิมยังคงใชไดตอไป

หมวด 3
คลังสินคาทัณฑบน
--------––––––

มาตรา 33 ผูใดประสงคจะขอตั้งคลังสินคาทัณฑบน ใหยนื่ คําขออนุญาตตออธิบดี


การขออนุญาตและการอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขทีก่ ําหนดใน
กฎกระทรวง

มาตรา 34 ในกรณีที่อธิบดีไมออกใบอนุญาตตั้งคลังสินคาทัณฑบนผูขออนุญาตมีสิทธิ
อุทธรณเปนหนังสือตอรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับหนังสือแจงการไมออกใบอนุญาต
คําวินิจฉัยของรัฐมนตรีใหเปนที่สุด

มาตรา 35 นอกจากคาธรรมเนียมใบอนุญาตตั้งคลังสินคาทัณฑบนเจาของคลังสินคาทัณฑ
บนตองเสียคาธรรมเนียมคลังสินคาทัณฑบนรายปทุกปเวนแตปท ี่ออกใบอนุญาต

มาตรา 36 เจาของคลังสินคาทัณฑบนตองแสดงใบอนุญาตตั้งคลังสินคาทัณฑบนไวในที่
เปดเผยซึ่งอาจเห็นไดงาย ณ คลังสินคาทัณฑบน

มาตรา 37 ในกรณีที่ใบอนุญาตตั้งคลังสินคาทัณฑบนชํารุดในสาระสําคัญหรือสูญหาย ให


เจาของคลังสินคาทัณฑบนยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตตั้งคลังสินคาทัณฑบนตออธิบดีหรือสรรพสามิต
จังห วัดแหงทองที่ที่คลังสินคาทัณฑบนนัน้ ตั้งอยู ภายในสิบหาวันนับแตวันทีใ่ บอนุญาตตั้งคลังสินคาทัณฑ
บนชํารุดในสาระสําคัญหรือสูญหาย
ใบแทนใบอนุญาตตั้งคลังสินคาทัณฑบน ใหถือเปนใบอนุญาตตั้งคลังสินคาทัณฑบน
มาตรา 38 หามมิใหเจาของคลังสินคาทัณฑบนใชคลังสินคาทัณฑบนเปนที่เก็บสินคาอื่น
นอกจากสินคาที่ยังไมไดเสียภาษีของผูประกอบอุตสาหกรรม

(1)
ความในวรรคแรก แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
- 15 -

มาตรา 39 ใหเจาของคลังสินคาทัณฑบนปฏิบัติตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดี


กําหนดเกีย่ วกับการรับ การจาย การเก็บรักษาสินคาและการทําบัญชีคุมสินคา

มาตรา 40 หามมิใหผูใดเปดคลังสินคาทัณฑบน เวนแตจะไดรับอนุญาตจากเจาพนักงาน


สรรพสามิตซึ่งอยูประจําคลังสินคาทัณฑบนนั้นหรือพนักงานเจาหนาที่

มาตรา 41 หามมิใหผูใดเขาไปในคลังสินคาทัณฑบน เวนแตจะเปนผูม ีหนาที่เกีย่ วของและ


เขาไปตอหนาเจาพนักงานสรรพสามิตซึ่งอยูประจําคลังสินคาทัณฑบนนั้นหรือพนักงานเจาหนาที่
มาตรา 42 ในกรณีที่มีสินคาขาดไปจากบัญชีคุมสินคา ใหเจาของคลังสินคาทัณฑบนเสีย
ภาษีสําหรับสินคาที่ขาดไปพรอมกับเบี้ยปรับอีกสองเทาของเงินภาษีนั้น เวนแตจะพิสูจนไดวาสินคานั้นสูญ
หายเพราะเหตุสุดวิสัยหรือเปนเหตุผิดพลาดในการตรวจนับปริมาณสินคาอันไมไดเกิดขึ้นโดยความจงใจ
หรือประมาทเลินเลอของเจาของคลังสินคาทัณฑบน

มาตรา 43 ในกรณีที่เจาของคลังสินคาทัณฑบนประสงคจะโอนกิจการใหแกบุคคลอื่น ให


เจาของคลังสินคาทัณฑบนและผูประสงคจะรับโอนกิจการขออนุญาตตออธิบดี
การขออนุญาตและการอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขทีก่ ําหนดใน
กฎกระทรวง

มาตรา 44 ในกรณีที่เจาของคลังสินคาทัณฑบนประสงคจะเลิกกิจการ ใหขออนุญาตตออธิบดี


พรอมกับแจงเปนหนังสือใหผูประกอบอุตสาหกรรมซึ่งนําสินคาไปเก็บไวในคลังสินคาทัณฑบนนั้นทราบ
เมื่อไดรับคําขอตามวรรคหนึ่งแลว ใหอธิบดีสั่งใหผูประกอบอุตสาหกรรมเลือกปฏิบัติอยาง
หนึ่งอยางใดดังตอไปนี้
(1) นําสินคาไปเก็บไวในโรงอุตสาหกรรมหรือในคลังสินคาทัณฑบนอื่นตามหลักเกณฑ
วิธีการ และเงือ่ นไขที่อธิบดีกําหนด
(2) ชําระภาษีสําหรับสินคานั้นภายในระยะเวลาที่อธิบดีกําหนด
อธิบดีจะอนุญาตใหเจาของคลังสินคาทัณฑบนเลิกกิจการไดตอเมื่อผูประกอบ
อุตสาหกรรมไดปฏิบัติตามวรรคสองเรียบรอยแลว
มาตรา 45 เมื่อปรากฏวาเจาของคลังสินคาทัณฑบนฝาฝนบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้
กฎกระทรวง หรือ เงื่อนไขที่อธิบดีกําหนดตามพระราชบัญญัตินี้ อธิบดีมีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตตั้ง
คลังสินคาทัณฑบนไดแตตองแจงการเพิกถอนนั้นเปนหนังสือใหเจาของคลังสินคาทัณฑบนทราบลวงหนา
เปนเวลาอยางนอยสิบหาวัน
- 16 -

เจาของคลังสินคาทัณฑบนซึ่งถูกเพิกถอนใบอนุญาตตามวรรคหนึ่งมีสิทธิอุทธรณเปน
หนังสือตอรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแตวันทีท่ ราบคําสั่งผูอุทธรณมีสิทธิดําเนินการไปพลางกอนได
จนกวาจะมีคําวินิจฉัยของรัฐมนตรี
คําวินิจฉัยของรัฐมนตรีใหเปนที่สุด

มาตรา 46 ในกรณีที่เจาของคลังสินคาทัณฑบนละทิ้งคลังสินคาทัณฑบน โดยเจาพนักงาน


สรรพสามิตไมอาจติดตอได หรือถูกเพิกถอนใบอนุญาตตาม มาตรา 45 อธิบดีมีอํานาจสั่งใหผูประกอบ
อุตสาหกรรมซึ่งนําสินคาไปเก็บไวในคลังสินคาทัณฑบนนั้นปฏิบัตติ ามมาตรา 44 วรรคสองโดยอนุโลม

มาตรา 47 ในกรณีที่เจาคลังสินคาทัณฑบนประสงคจะเลิกกิจการถูกเพิกถอนใบอนุญาต
หรือละทิ้งคลังสินคาทัณฑบน และผูประกอบอุตสาหกรรม ซึ่งเก็บสินคาไวในคลังสินคาทัณฑบนนั้นไม
ปฏิบัติตามมาตรา 44 วรรคสองภายในเวลาที่กําหนด ใหอธิบดีมีอํานาจสั่งใหเจาพนักงานสรรพสามิตนํา
สินคาที่ตกคางอยูในคลังสินคาทัณฑบนนัน้ ออกขายทอดตลาดได
เงินที่ไดจากการขายทอดตลาดตามวรรคหนึ่ง เมื่อหักใชคาเก็บรักษาคาใชจายในการขาย
ทอดตลาดและคาภาษีแลว ยังมีเงินเหลืออยูอีกเทาใดใหแจงใหผูประกอบอุตสาหกรรมนั้นมารับคืน ถาไมมา
รับคืนภายในหนึ่งปนับแตวนั แจง ใหเงินนั้นตกเปนของแผนดิน

หมวด 4
การยื่นแบบรายการภาษี และการชําระภาษี
--------–––––––

มาตรา 48 (1) การยื่นแบบรายการภาษีและการชําระภาษีใหเปนไปดังนี้


(1) ในกรณีสนิ คาที่ผลิตขึ้นในราชอาณาจักร ใหผูประกอบอุตสาหกรรมยื่นแบบรายการ
ภาษีตามแบบที่อธิบดีกําหนดพรอมกับชําระภาษีกอนความรับผิดในอันจะตองเสียภาษีเกิดขึน้ เวนแตใน
กรณีที่ความรับผิดในอันจะตองเสียภาษีเกิดขึ้นพรอมกับความรับผิดในการเสียภาษีมลู คาเพิ่มตามที่กําหนด
ในมาตรา 10(1)วรรคสอง ก็ใหผูประกอบอุตสาหกรรมยืน่ แบบรายการภาษีดังกลาวพรอมกับชําระภาษี
ภายในวันที่สบิ หาของเดือนถัดจากเดือนทีม่ ีความรับผิดในอันจะตองเสียภาษีเกิดขึ้นหรือกอนการนํา
สินคาออกจากโรงอุตสาหกรรมหรือคลังสินคาทัณฑบน แลวแตกรณีใดจะเกิดขึ้นกอน

(1)(2)
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
- 17 -

(2) ในกรณีบริการ ใหผูประกอบกิจการสถานบริการยื่นแบบรายการภาษีตามแบบทีอ่ ธิบดี


กําหนดพรอมกับชําระภาษีภายในวันที่สิบหาของเดือนถัดจากเดือนที่มคี วามรับผิดในอันจะตองเสียภาษี
เกิดขึ้น
(3) ในกรณีสนิ คาที่นําเขา ใหผูนําเขายืน่ แบบรายการภาษีตามแบบที่อธิบดีกําหนดพรอมกับ
ชําระภาษีในเวลาที่ออกใบขนสินคาใหตามกฎหมายวาดวยศุลกากร
(4) ในกรณีอนื่ ใหผูมีหนาทีเ่ สียภาษียื่นแบบรายการภาษีตามแบบที่อธิบดีกําหนดพรอมกับ
ชําระภาษีภายในวันที่สิบหาของเดือนถัดจากเดือนที่มีความรับผิดในอันจะตองเสียภาษีเกิดขึน้
หากมีการเปลีย่ นแปลงอัตราภาษีอันเปนเหตุใหการชําระภาษีตาม (1) (2) (3) หรือ (4) ขาด
หรือเกินไปจากที่ไดชําระไวแลว ใหผูมีหนาที่เสียภาษีชําระภาษีเพิ่มใหครบถวนตามอัตราที่เปลี่ยนแปลงนั้น
หรือขอคืนเงินภาษีที่ไดชําระไวเกิน ทั้งนี้ ภายในสามสิบวันนับแตวนั ที่มีการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษี
ดังกลาว

มาตรา 49 ในกรณีตามมาตรา 11 หรือมาตรา 12 ใหผูมีหนาที่เสียภาษียนื่ แบบรายการภาษี


ตามแบบที่อธิบดีกําหนดและชําระภาษีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ความรับผิดในอันจะตองเสียภาษีเกิดขึน้

มาตรา 50 ในกรณีที่พนักงานเจาหนาที่แจงการประเมินภาษีเปนหนังสือตอผูมีหนาที่เสีย
ภาษี ใหผูมีหนาที่เสียภาษีชําระภาษีภายในกําหนดเวลาดังตอไปนี้
(1) ในกรณีทไี่ ดทําการประเมินกอนที่ความรับผิดในอันจะตองเสียภาษีเกิดขึน้ ใหชําระภาษี
กอนนําสินคาออกจากโรงงานอุตสาหกรรมหรือคลังสินคาทัณฑบน
(2) ในกรณีอนื่ นอกจาก (1) ใหชําระภาษีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจง

มาตรา 51 ในกรณีที่มีการคัดคานการประเมินหรือมีการอุทธรณคําวินจิ ฉัยคําคัดคาน เมื่อ


ไดมีคําวินจิ ฉัยใหเสียภาษีเพิม่ ขึ้นจากที่ไดชําระไวหรือที่ไดประเมินแลว ใหผูยื่นคําคัดคานหรือผูอุทธรณ
ชําระภาษีภายในสามสิบวันนับแตวนั ที่ไดรับแจงคําวินจิ ฉัยนั้น

มาตรา 52(2) ใหรัฐมนตรีมีอาํ นาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดสินคาใดใหเปน


สินคาที่ผูประกอบอุตสาหกรรมอาจขอชําระภาษีภายในวันที่สิบหาของเดือนถัดจากเดือนที่นําสินคาออกจาก
โรงอุตสาหกรรมหรือคลังสินคาทัณฑบนโดยมีหลักประกันได
การขอชําระภาษีตามวรรคหนึ่ง ใหผูประกอบอุตสาหกรรมยื่นแบบรายการภาษีพรอมกับ
การชําระภาษีนั้นและปฏิบัตติ ามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกําหนด
- 18 -

มาตรา 53 (1) ในกรณีที่ผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการมีโรง


อุตสาหกรรมหรือสถานบริการอยูในกรุงเทพมหานคร ใหยื่นแบบรายการภาษีและชําระภาษีตอเจาพนักงาน
สรรพสามิต ณ กรมสรรพสามิต
ในกรณีที่ผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการมีโรงอุตสาหกรรม
หรือสถานบริการอยูในเขตจังหวัดอื่น ใหยื่นแบบรายการภาษีและชําระภาษีตอเจาพนักงานสรรพสามิต ณ
สํานักงานสรรพสามิตอําเภอ สํานักงานสรรพสามิตกิ่งอําเภอ หรือสํานักงานสรรพสามิตจังหวัดแหงทองที่ที่
โรงอุตสาหกรรมหรือสถานบริการนั้นตั้งอยู
ในกรณีที่ผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการมีโรงอุตสาหกรรม
หรือสถานบริการหลายแหง อาจยื่นคํารองตออธิบดีขอยื่นแบบรายการภาษีและชําระภาษีรวม ณ กรม
สรรพสามิตหรือสํานักงานสรรพสามิตแหงใด แหงหนึ่ง เมื่ออธิบดีพิจารณาเห็นสมควรจะอนุญาตก็ได
เพื่อประโยชน ในการชําระภาษีตามมาตรานี้ อธิบดีโดยอนุมัติรัฐมนตรีจะประกาศใหยื่น
แบบรายการภาษีและชําระภาษีตอพนักงานเจาหนาที่ ณ สถานที่อื่นก็ได

มาตรา 54 ในกรณีสินคาที่นาํ เขา ใหผูนําเขายื่นแบบรายการภาษีและชําระภาษีตอพนักงาน


เจาหนาที่ ณ สถานที่ที่อธิบดีกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา 55 ในกรณีที่ผูมีหนาที่เสียภาษีตามมาตรา 11 หรือมาตรา 12 อยูในกรุงเทพมหานคร


ใหยนื่ แบบรายการภาษีและชําระภาษีตอเจาพนักงานสรรพสามิต ณ กรมสรรพสามิต
ในกรณีที่ผูมีหนาที่เสียภาษีตามวรรคหนึ่งอยูในเขตจังหวัดอื่น ใหยื่นแบบรายการภาษีและ
ชําระภาษีตอเจาพนักงานสรรพสามิต ณ สํานักงานสรรพสามิตอําเภอ สํานักงานสรรพสามิตกิ่งอําเภอ หรือ
สํานักงานสรรพสามิตจังหวัด แหงทองทีน่ นั้

มาตรา 56 ในกรณีที่ผูมีหนาที่เสียภาษีซึ่งเปนบุคคลธรรมดาถึงแกความตาย เปนคนไร


ความสามารถหรือเสมือนไรความสามารถ ใหผูจัดการมรดก ทายาท หรือผูครอบครองทรัพยมรดก ผูอนุบาล
หรือผูพิทักษ แลวแตกรณีมหี นาที่ยนื่ แบบรายการภาษีและชําระภาษีแทน
มาตรา 57(2) ในกรณีที่ผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการควบเขา
กันหรือโอนกิจการใหแกกัน ใหผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการอันไดตงั้ ขึ้นใหม
โดยการควบเขากัน หรือผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการที่รับโอนกับผูประกอบ
อุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการเดิมรับผิดรวมกันในการชําระภาษีของกิจการเดิมที่ควบเขา
กันหรือกิจการที่โอนนั้น แลวแตกรณี

(1)-(3)
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
- 19 -

มาตรา 58(3) ในกรณีที่ผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการซึ่งเปน


นิติบุคคลเลิกกิจการโดยมีการชําระบัญชี ใหผูชําระบัญชีและกรรมการผูอํานวยการหรือผูจัดการซึง่ ดํารง
ตําแหนงอยูกอนวันเลิกกิจการมีหนาที่รวมกันยืน่ แบบรายการภาษีพรอมกับชําระภาษี
ในกรณีที่ผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการซึ่งเปนนิติบุคคลเลิก
กิจการโดยไมมีการชําระบัญชี ใหบุคคลผูมีอํานาจจัดการมีหนาที่ยนื่ แบบรายการภาษีพรอมกับชําระภาษี

หมวด 5
แสตมปสรรพสามิตและเครื่องหมายแสดงการเสียภาษี
--------

มาตรา 59 ใหรัฐมนตรีมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดใหสินคาใดเปนสินคา
ที่เสียภาษีโดยการใชแสตมปสรรพสามิต หรือเครื่องหมายแสดงการเสียภาษี
การใชแสตมปสรรพสามิตและเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีเพื่อใหปรากฏวาไดเสียภาษี
แลว ใหปฏิบัติตามวิธีการที่กาํ หนดในกฎกระทรวง

มาตรา 60 หามมิใหผูใดเวนแตกรมสรรพสามิตทําหรือจัดใหมีขึ้นซึ่งแสตมปสรรพสามิต
หรือเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีของทางราชการ
แสตมปสรรพสามิตหรือเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีของทางราชการใหมีชนิดและ
ลักษณะตามทีก่ ําหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 61 ใหถือวาเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีของทางราชการเปนแสตมปรัฐบาลซึ่งใช
สําหรับการภาษีอากรตามประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา 62 ผูประกอบอุตสาหกรรมใดประสงคจะใชเครือ่ งหมายแสดงการเสียภาษีสําหรับ


สินคาของตนเอง ใหขอจดทะเบียนเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีนั้นตอพนักงานเจาหนาที่
เมื่อพนักงานเจาหนาที่เห็นวาเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีที่ขอจดทะเบียนตามวรรคหนึ่ง
มีลักษณะตองตามที่กําหนดในกฎกระทรวงและมีลักษณะจําเพาะของตน ก็ใหรับจดทะเบียนไว
เมื่อพนักงานเจาหนาที่ไดรับจดทะเบียนไวแลวตามวรรคสอง ใหอธิบดีประกาศในราช
กิจจานุเบกษาซึ่งลักษณะเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีนนั้
- 20 -

มาตรา 63 ผูประกอบอุตสาหกรรมใดประสงคจะเลิกใชเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีที่ได
จดทะเบียนไวแลว ใหแจงใหพนักงานเจาหนาที่ทราบถึงการยกเลิกเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีนั้น
ใหอธิบดีประกาศยกเลิกเครือ่ งหมายแสดงการเสียภาษีดังกลาวในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา 64 หามมิใหผูใดผลิตเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียน เวนแตจะไดรับ


อนุญาตจากอธิบดี
การขออนุญาตและการอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาํ หนดใน
กฎกระทรวง

มาตรา 65 ใบอนุญาตที่ออกตามมาตรา 64 ใหใชไดจนถึงวันที่ 31 ธันวาคมของปที่ออก


ใบอนุญาต ถาผูไดรับอนุญาตประสงคจะขอตออายุใบอนุญาตใหยนื่ คําขอเสียกอนใบอนุญาตสิ้นอายุ เมื่อได
ยื่นคําขอดังกลาวแลว ใหประกอบกิจการตอไปไดจนกวาอธิบดีจะสั่งไมตออายุใบอนุญาตนั้น
การขอตออายุใบอนุญาตและการอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑวิธีการ และเงื่อนไขที่
กําหนดในกฎกระทรวง
ผูไดรับอนุญาตซึ่งใบอนุญาตของตนสิ้นอายุไมเกินหนึ่งเดือน จะยื่นคําขอผอนผันพรอม
ดวยแสดงเหตุผลขอตออายุใบอนุญาตก็ได แตการยืน่ คําขอผอนผันนี้ไมเปนเหตุใหพน ผิดสําหรับการ
ประกอบกิจการที่ไดกระทําไปกอนขอตออายุ
ใบอนุญาต ซึ่งถือวาเปนการประกอบกิจการโดยใบอนุญาตขาดอายุ
การขอตออายุใบอนุญาต เมื่อลวงพนกําหนดเวลาหนึ่งเดือนนับแตวันที่ใบอนุญาตสิ้นอายุ
จะกระทํามิได

มาตรา 66 ในกรณีที่อธิบดีไมออกใบอนุญาตหรือไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต ผูขอ


อนุญาตหรือผูขอตออายุ ใบอนุญาตมีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือตอรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแตวันที่
ไดรับหนังสือแจงการไมออกใบอนุญาตหรือไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต
คําวินิจฉัยของรัฐมนตรีใหเปนที่สุด
ในกรณีที่อธิบดีไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต กอนทีร่ ัฐมนตรีจะมีคําวินิจฉัยอุทธรณ ให
ประกอบกิจการตอไปไดจนกวาจะมีคําวินจิ ฉัยอุทธรณของรัฐมนตรี

มาตรา 67 ใหผูไดรับอนุญาตใหผลิตเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียนปฏิบัติ
ดังตอไปนี้
- 21 -

(1) ดําเนินการผลิตเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียนภายใตการควบคุมของเจา
พนักงานสรรพสามิต โดยเสียคาธรรมเนียมการควบคุมลวงหนาเปนรายเดือนตามอัตราที่กําหนดใน
กฎกระทรวง
(2) แจงเปนหนังสือใหพนักงานเจาหนาทีท่ ราบเวลาทําการหรือการเปลี่ยนแปลงเวลาทํา
การของโรงงานผลิตเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียนเปนการลวงหนาไมนอยกวาสองวัน
(3) แจงเปนหนังสือใหพนักงานเจาหนาทีท่ ราบจํานวนเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจด
ทะเบียนที่จะผลิตเปนการลวงหนาไมนอยกวาสองวัน
(4) ทําบัญชีประจําวันแสดงรายการเกีย่ วกับการผลิตและการจําหนายเครื่องหมายแสดงการ
เสียภาษีจดทะเบียน ตามหลักเกณฑ วิธีการและแบบที่อธิบดีกําหนด

มาตรา 68 หามมิใหผูไดรับอนุญาตใหผลิตเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียน แกไข


เปลี่ยนแปลง หรือใชโรงงานผลิตเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีหรือสวนหนึ่งสวนใดของโรงงานใหผิดไป
จากที่ไดรับอนุญาตไวแลวนั้น เวนแตจะไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากอธิบดี และตองปฏิบัติตามวิธีการและ
เงื่อนไขที่อธิบดีกําหนด

มาตรา 69 หามมิใหผูไดรับอนุญาตใหผลิตเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียนทํา
หรือรับจางทําสิ่งใดซึ่งมิใชเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียนในโรงงานผลิตเครื่องหมายแสดงการ
เสียภาษีนั้น เวนแตจะไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากอธิบดี

มาตรา 70 หามมิใหผูใดนําเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียน หรือเครื่องหมาย


แสดงการเสียภาษีของทางราชการออกจากโรงงานผลิตเครื่องหมายแสดงการเสียภาษี เวนแตผูไดรบั อนุญาต
ใหผลิตเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียนจะ นําออกเพื่อขายหรือจําหนายใหแกผูประกอบ
อุตสาหกรรมซึ่งไดจดทะเบียนเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีนั้นไว หรือผูที่ไดรับมอบหมายใหผลิต
เครื่องหมายแสดงการเสียภาษีของทางราชการนําออกเพือ่ สงใหแกกรมสรรพสามิต

มาตรา 71 หามมิใหผูใดนําเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียนเขามาใน
ราชอาณาจักร เวนแตจะไดรบั อนุญาตเปนหนังสือจากอธิบดีและตองปฏิบัติตามวิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดี
กําหนด

มาตรา 72 หามมิใหผปู ระกอบอุตสาหกรรมซื้อหรือรับไวดว ยวิธีใดซึง่ แสตมปสรรพสามิต


หรือเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีของทางราชการจากบุคคลใดซึ่งมิใชกรมสรรพสามิต หรือผูที่กรม
สรรพสามิตมอบหมาย
- 22 -

มาตรา 73 หามมิใหผูประกอบอุตสาหกรรมซื้อหรือรับไวดว ยวิธีใดซึง่ เครื่องหมายแสดง


การเสียภาษีจดทะเบียนจากบุคคลใดที่มิใชผูไดรับอนุญาตใหผลิตหรือใหนําเขาซึ่งเครื่องหมายแสดงการเสีย
ภาษีจดทะเบียน
การซื้อหรือสั่งซื้อเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียน ใหปฏิบัตติ ามวิธีการและ
เงื่อนไขที่อธิบดีกําหนด

มาตรา 74 หามมิใหผูประกอบอุตสาหกรรมนําเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียน
ออกจากโรงงานผลิตเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีไปเก็บรักษาไวในโรงอุตสาหกรรมของตนโดยไมมีใบ
ขนตามแบบทีอ่ ธิบดีกําหนดกํากับไปดวย
ผูประกอบอุตสาหกรรมตองเก็บรักษาเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียนไว ณ
สถานที่เก็บที่ไดรับอนุญาตจากอธิบดีและอยูในโรงงานอุตสาหกรรมนัน้ ทั้งนี้ โดยอยูภายใตการควบคุม
ของพนักงานเจาหนาที่
ผูประกอบอุตสาหกรรมตองทําบัญชีประจําวันแสดงรายการเกี่ยวกับการใชและการเก็บ
รักษาเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียนตามหลักเกณฑ วิธีการ และแบบที่อธิบดีกําหนด

มาตรา 75 หามมิใหผูใดเวนแตผูไดรับอนุญาตใหผลิตหรือนําเขาซึ่งเครื่องหมายแสดงการ
เสียภาษีจดทะเบียน ขายหรือจําหนาย หรือมีไวเพื่อขายหรือจําหนายซึ่งเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจด
ทะเบียนที่ยังไมไดใช

มาตรา 76 หามมิใหผูใดมีไวในครอบครองซึ่งแสตมปสรรพสามิตปลอมหรือแสตมป
สรรพสามิตที่ใชแลวเพื่อขายหรือจําหนาย หรือเพื่อนําออกใชโดยรูว าเปนแสตมปสรรพสามิตปลอมหรือ
แสตมปสรรพสามิตที่ใชแลว

มาตรา 77 หามมิใหผูใดนําแสตมปสรรพสามิตหรือเครื่องหมาย แสดงการเสียภาษีทใี่ ชใน


การเสียภาษีแลวมาใชอีกเพือ่ แสดงวาไดเสียภาษีแลว
มาตรา 78 ผูไดรับอนุญาตใหผลิตเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียน ผูใดฝาฝน
พระราชบัญญัตินี้ นอกจากจะไดรับโทษตามที่บัญญัติไวแลวอธิบดีจะสั่งพักใชใบอนุญาตมีกําหนดครั้งละ
ไมเกินสามเดือน หรือจะสั่งเพิกถอนใบอนุญาตเสียก็ได
ในกรณีที่มีการสั่งพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ใหอธิบดีมีอํานาจสั่งใหผู
ไดรับอนุญาตใหผลิตเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียนจัดการจําหนายบรรดาเครื่องหมายแสดงการ
เสียภาษีจดทะเบียนที่ไดผลิตไวกอนแลว ภายในเงื่อนไขที่อธิบดีเห็นสมควร
- 23 -

ผูซึ่งถูกสั่งพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาตตามวรรคหนึ่งมีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือตอ
รัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ทราบคําสั่ง
คําวินิจฉัยของรัฐมนตรีใหเปนที่สุด

หมวด 6
การประเมิน การวางประกันคาภาษี การคัดคานการประเมิน
และการอุทธรณคําวินิจฉัยคําคัดคาน
––––––--------
สวนที่ 1
การประเมินและการวางประกันคาภาษี
-----––––––---

มาตรา 79 พนักงานเจาหนาที่มีอํานาจประเมินภาษี เบี้ยปรับ และเงินเพิม่ ตาม


พระราชบัญญัตินี้ เมื่อ
(1) ผูมีหนาที่เสียภาษีมไิ ดยนื่ แบบรายการภาษีภายในเวลาที่กฎหมายกําหนด
(2) ผูมีหนาที่เสียภาษียื่นแบบรายการภาษีไวไมถูกตองหรือมีขอผิดพลาดทําใหจํานวนภาษี
ที่ตองเสียคลาดเคลื่อนไป
(3) ผูมีหนาที่เสียภาษีไมปฏิบัติตามหนังสือเรียกหรือคําสั่งของพนักงานเจาหนาที่ หรือไม
ยอมตอบคําถามของพนักงานเจาหนาที่อันเปนสาระสําคัญเกี่ยวกับการประเมินภาษีโดยไมมีเหตุอันสมควร
หรือไมสามารถแสดงหลักฐานเพื่อการคํานวณภาษี
(4) มีกรณีตามมาตรา 42

มาตรา 80 ในการดําเนินการตามมาตรา 79 พนักงานเจาหนาที่มีอํานาจ


(1) จัดทํารายการลงในแบบรายการภาษีตามหลักฐานที่เห็นวาถูกตองเมื่อมิไดมีการยืน่ แบบ
รายการภาษี
(2) แกไขเพิ่มเติมรายการในแบบรายการภาษีหรือในเอกสารอื่นที่ยื่นประกอบแบบรายการ
ภาษีเพื่อใหถูกตอง
(3) ประเมินภาษีตามหลักฐานที่พนักงานเจาหนาที่มีอยูห รือตามที่พนักงานเจาหนาที่
พิจารณาวาถูกตองเมื่อมีกรณีตามมาตรา 79(3) โดยไมจําเปนตองปฏิบัติตาม (1) หรือ (2) ก็ได

มาตรา 81 เมื่อประเมินแลว ใหพนักงานเจาหนาทีแ่ จงการประเมินเปนหนังสือตอผูม ีหนาที่


เสียภาษี
- 24 -

มาตรา 82 ในกรณีที่การประเมินของพนักงานเจาหนาทีต่ ามมาตรา 79 ไมถูกตองหรือมี


ขอผิดพลาด ทําใหจํานวนเงินภาษีที่ตองเสียคลาดเคลื่อนไปพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจที่จะแกจํานวนเงิน
ภาษีที่ไดประเมินไปแลวและแจงจํานวนเงินภาษีที่ถูกตองไปยังผูมีหนาที่เสียภาษี
การแกไขจํานวนเงินภาษีที่ไดประเมินไปแลวตามวรรคหนึ่ง ใหถือเปนการประเมินตาม
มาตรา 79

มาตรา 83 (1) การประเมินของพนักงานเจาหนาที่ใหกระทําไดภายในกําหนดเวลา


ดังตอไปนี้
(1) สองปนับแตวันสุดทายแหงกําหนดเวลายื่นแบบรายการภาษี หรือวันสุดทายแหง
กําหนดเวลาทีร่ ัฐมนตรีขยายหรือเลื่อนออกไป แลวแตกรณี ทั้งนี้ เฉพาะในกรณีที่มีการยื่นแบบรายการภาษี
ภายในกําหนดเวลาดังกลาว
(2) สองปนับแตวันยื่นแบบรายการภาษี ทั้งนี้ เฉพาะในกรณีที่มีการยืน่ แบบรายการภาษี
ภายหลังวันสุดทายแหงกําหนดเวลาดังกลาวใน (1) แตตอ งไมเกินสิบปนับแตวันสุดทายแหงกําหนดเวลายื่น
แบบรายการภาษี
(3) สิบปนับแตวันสุดทายแหงกําหนดเวลายื่นแบบรายการภาษี ในกรณีที่ไมมีการยืน่ แบบ
รายการภาษี หรือมีการยื่นแบบรายการภาษีโดยแสดงมูลคาของสินคาหรือบริการขาดไปเกินกวารอยละยี่สิบ
หาของมูลคาที่แสดงไวในแบบรายการภาษี

มาตรา 84 ในกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับจํานวนเงินภาษีที่ตอ งชํา ระถาผูประกอบอุตสาหกรรม


ประสงคจะนําสินคาออกจากโรงอุตสาหกรรมหรือคลังสินคาทัณฑบน หรือผูนําเขาประสงคจะนํา
สินคาออกไปจากอรักขาของกรมศุลกากร กอนการประเมินของพนักงานเจาหนาที่ ใหผูประกอบ
อุตสาหกรรมหรือผูนําเขาชําระภาษีตามจํานวนทีแ่ สดงไวในแบบ รายการภาษีพรอมกับวางเงินเพิม่ เติมเปน
ประกันจนครบจํานวนภาษีที่อาจจะตองเสียสําหรับสินคานั้น ทั้งนี้ ผูประกอบ อุตสาหกรรมหรือผูนําเขาจะ
ขอใหอธิบดีรับการค้ําประกันของธนาคารแทนการวางเงินเพิ่มเติมเปนประกันโดยปฏิบัติตามเงื่อนไขที่
อธิบดีกําหนดก็ได
เพื่อวินจิ ฉัยปญหาเกี่ยวกับจํานวนเงินภาษีตามวรรคหนึ่ง พนักงานเจาหนาที่มีอํานาจที่จะ
เอาสินคาไวเปนตัวอยางไดพอสมควร

(1)
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
- 25 -

มาตรา 85 ในกรณีที่มีการวางเงินประกันคาภาษีตามมาตรา 84 เมื่อพนักงานเจาหนาที่ได


ประเมินใหเสียภาษีเพิ่มขึ้นจากจํานวนภาษีที่ไดชําระไวและไดแจงใหผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูนําเขา
ทราบแลว ใหเก็บภาษีสว นทีเ่ พิ่มขึ้นจากเงินประกันดังกลาว ถาเงินประกันไมคุมคาภาษีกเ็ รียกใหชําระเพิ่ม
จนครบ แตถาเงินประกันเกินคาภาษี ใหคืนเงินสวนที เกินโดยมิชักชา

สวนที่ 2
การคัดคานการประเมินและการอุทธรณคําวินิจฉัยคําคัดคาน
––––––––--------

มาตรา 86 ผูมีหนาที่เสียภาษีที่ไดรับแจงการประเมินของพนักงานเจาหนาที่ มีสิทธิคัดคาน


การประเมินตออธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายภายในสีส่ ิบหาวันนับแตวันที่ไดรับแจงการประเมิน
คําคัดคานใหยนื่ ตามแบบที่อธิบดีกําหนด

มาตรา 87 เพื่อประโยชนในการพิจารณาคําคัดคานตามมาตรา 86 ใหอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดี


มอบหมายมีอาํ นาจมีหนังสือเรียกผูยนื่ คําคัดคานมาใหถอ ยคําเพิ่มเติมหรือเรียกบุคคลอื่นมาใหถอยคําเปน
พยาน กับมีอํานาจสั่งบุคคลดังกลาวใหสงบัญชี เอกสาร หรือหลักฐานอื่นที่เกี่ยวของมาตรวจสอบไดแตตอง
ใหเวลาลวงหนาไมนอยกวาสิบหาวันนับแตวันไดรับหนังสือเรียกหรือคําสั่ง
บุคคลที่มาใหถอยคําเปนพยานตามหนังสือเรียก ใหไดรบั คาปวยการตามระเบียบที่อธิบดี
กําหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี

มาตรา 88 ใหอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายวินจิ ฉัยคําคัดคานตามมาตรา 86 ภายในหก


สิบวันนับแตวนั ที่ไดรับคําคัดคานและแจงคําวินิจฉัยพรอมดวยเหตุผลเปนหนังสือไปยังผูยื่นคําคัดคานโดยมิ
ชักชา
อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอํานาจสัง่ ไมรับคําคัดคาน ยกคําคัดคานเพิกถอนการ
ประเมิน หรือแกการประเมินใหผูยนื่ คําคัดคานเสียภาษีเพิ่มขึ้นหรือลดลงได ในกรณีที่สั่งไมรับคําคัดคาน ให
ถือวาไดวนิ ิจฉัยใหยกคําคัดคาน

มาตรา 89 ผูยื่นคําคัดคานมีสิทธิอุทธรณคําวินิจฉัยตามมาตรา 88 ตอคณะกรรมการ


พิจารณาอุทธรณภายในสี่สิบหาวันนับแตวนั ที่ไดรับแจงคําวินิจฉัยนั้น
อุทธรณใหยนื่ ตออธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายตามแบบที่อธิบดีกําหนด
ในกรณีที่ผูยื่นคําคัดคานไมปฏิบัติตามหนังสือเรียกหรือคําสั่งของผูพิจารณาคําคัดคาน
หรือไมยอมตอบคําถามอันเปนสาระสําคัญเกี่ยวกับการพิจารณาคําคัดคานของผูพิจารณาคําคัดคานโดยไมมี
- 26 -

เหตุอันสมควรหามมิใหอุทธรณตามวรรคหนึ่ง ในกรณีดังกลาวใหผูพจิ ารณาคําคัดคานทําบันทึกไวเปน


หลักฐาน

มาตรา 90 ใหมีคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ ประกอบดวยปลัดกระทรวงการคลัง เปน


ประธานกรรมการ ผูแทนกรมศุลกากร ผูแทนกรมสรรพสามิต ผูแทนกรมสรรพากร ผูแทนกรมอัยการ
ผูแทนสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา และที่ปรึกษากฎหมาย สํานักงานปลัดกระทรวงกระทรวงการคลัง
เปนกรรมการ
ใหคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณแตงตั้งขาราชการสังกัดกระทรวงการคลังเปนเลขานุการ
และผูชวยเลขานุการ

มาตรา 91 การประชุมของกรรมการตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของ
จํานวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเปนองคประชุม ถาประธานกรรมการไมมาประชุม หรือไมสามารถปฏิบัติ
หนาที่ได ใหกรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึง่ เปนประธานในที่ประชุม
การวินจิ ฉัยชี้ขาดของที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก
กรรมการคนหนึ่งใหมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานในที่
ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นไดอกี เสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด

มาตรา 92 ใหคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณมีอํานาจมีหนังสือเรียกผูอทุ ธรณหรือบุคคลที่


เกี่ยวของมาใหถอยคําหรือสั่งใหบุคคลดังกลาวสงบัญชี เอกสาร หรือหลักฐานอื่นที่เกี่ยวของเพือ่
ประกอบการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณได แตตองใหเวลาลวงหนาไมนอ ยกวาเจ็ดวันนับแตวนั ไดรบั หนังสือ
เรียกหรือคําสัง่ และใหนํามาตรา 87 วรรคสอง วาดวยคาปวยการมาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา 93 ใหคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณมีอํานาจแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อ
ปฏิบัติการอยางหนึ่งอยางใดตามที่จะมอบหมายแลวรายงานตอคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ
ใหนําความในมาตรา 91 มาใชบังคับแกการประชุมของคณะอนุกรรมการโดยอนุโลม

มาตรา 94 ในการปฏิบัติหนาที่เกี่ยวกับการพิจารณาอุทธรณใหกรรมการพิจารณาอุทธรณ
และอนุกรรมการเปนเจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา 95 คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณมีอํานาจสั่งไมรับอุทธรณยกอุทธรณ เพิกถอน


การประเมินหรือคําสั่งของผูพิจารณาคําคัดคาน หรือแกการประเมินหรือคําสั่งของผูพิจารณาคําคัดคานใหผู
- 27 -

อุทธรณเสียภาษีเพิ่ม ขึ้นหรือลดลงได แลวแจงคําวินิจฉัยพรอมดวยเหตุผลเปนหนังสือไปยังผูอุทธรณใน


กรณีที่สั่งไมรบั อุทธรณใหถอื วาไดวินิจฉัยใหยกอุทธรณ

มาตรา 96 เมื่อมีคําวินิจฉัยอุทธรณของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณแลว ผูอุทธรณมี


สิทธิอุทธรณคําวินิจฉัยอุทธรณโดยฟองคดีตอศาลภายในสามสิบวันนับแตวันทีไ่ ดรับแจงคําวินิจฉัยอุทธรณ
การฟองคดีเกีย่ วกับการประเมินภาษีตามวรรคหนึ่ง จะกระทําไดตอเมือ่ ไดปฏิบัติตาม
ขั้นตอนดังที่บญ
ั ญัติไวในมาตรา 86 และมาตรา 89 แลว

มาตรา 97 การยื่นคําคัดคานการประเมิน การอุทธรณคําวินิจฉัยคําคัดคานตอคณะกรรมการ


พิจารณาอุทธรณ หรือการอุทธรณตอศาลตามพระราชบัญญัตินี้ ไมเปนเหตุใหทเุ ลาการชําระภาษี เวนแตผูยนื่
คําคัดคานหรือผูอุทธรณไดยนื่ คํารองตออธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายขอใหทุเลาการชําระภาษีไวกอน ถา
อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายพิจารณาเห็น สมควรจะสั่งใหทุเลาการชําระภาษีไวกอนทั้งหมดหรือแต
บางสวนก็ได และจะสั่งใหหาประกันตามที่เห็นสมควรก็ได

มาตรา 98 ในกรณีที่อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายไดสั่งใหทุเลาการชําระภาษีตาม
มาตรา 97 ไวแลว ถาตอมามีพฤติการณปรากฏวาไดมกี ารกระทําเพื่อประวิงการชําระภาษีหรือไดมกี าร
กระทําหรือตั้งใจจะกระทําการโอน ขาย จําหนายหรือยักยายทรัพยสินทั้งหมดหรือบางสวนเพื่อใหพนอํานาจ
การยึดหรืออายัด อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอํานาจเพิกถอนคําสัง่ ใหทุเลาการชําระภาษีนั้นได

หมวด 7
การยกเวน การลดหยอน การลดอัตรา และการคืนภาษี
--------––––––

มาตรา 99 สินคานําเขาที่จําแนกประเภทไวในภาคทีว่ าดวยของที่ไดรับยกเวนอากรตาม


กฎหมายวาดวยพิกดั อัตราศุลกากร ใหไดรบั ยกเวนภาษีตามพระราชบัญญัตินี้ดวย โดยถือตามหลักเกณฑและ
เงื่อนไขเดียวกับที่บัญญัติไวในกฎหมายวาดวยพิกัดอัตราศุลกากร
ใหรัฐมนตรีโดยอนุมัติของคณะรัฐมนตรี มีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดให
สินคาใดตามวรรคหนึ่งเปนสินคาที่ตองเสียภาษีตามพระราชบัญญัตินี้
- 28 -

มาตรา 100 19 สินคาที่สงออกนอกราชอาณาจักรหรือนําเขาไปในเขตปลอดอากรใหไดรับ


ยกเวนหรือคืนภาษีหรือลดอัตราภาษี ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง
สินคาที่นําออกจากคลังสินคาทัณฑบนตามกฎหมายวาดวยศุลกากร เขตปลอดอากร หรือ
เขตอุตสาหกรรมสงออก หรือสินคาที่นําออกจากคลังสินคาทัณฑบน คลังสินคาทัณฑบนตามกฎหมายวา
ดวยศุลกากร เขตปลอดอากร หรือเขตอุตสาหกรรมสงออกแหงหนึ่งเขาไปในคลังสินคาทัณฑบน คลังสินคา
ทัณฑบนตามกฎหมายวาดวยศุลกากร เขตปลอดอากร หรือเขตอุตสาหกรรมสงออกอีกแหงหนึ่ง ซึ่งไดรับ
ยกเวนอากรตามที่บัญญัติไวในกฎหมายวาดวยศุลกากร ใหไดรับยกเวนภาษีตามพระราชบัญญัตินี้
สินคาตามวรรคหนึ่ง ถานํากลับเขามาในราชอาณาจักรหรือนําออกจากเขตปลอดอากร โดย
มิใชเพื่อการสงออก ใหผูนําเขาหรือผูนําสินคาออกจากเขตปลอดอากร แลวแตกรณี เสียภาษีตามอัตราที่ใช
อยูในเวลาที่นาํ เขาหรือในเวลาที่นําออกจากเขตปลอดอากร แตถาเปนกรณีลดอัตราภาษี ใหนําคาภาษีที่ชําระ
ไวแลวมาหักออกได ทั้งนี้ เวนแตเปนการนําหรือนําออกมาเพื่อสงกลับคืนโรงอุตสาหกรรมคลังสินคาทัณฑ
บน คลังสินคาทัณฑบนตามกฎหมายวาดวยศุลกากร เขตปลอดอากร หรือเขตอุตสาหกรรมสงออกอื่น ตาม
หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกําหนด

มาตรา 101 20 ผูประกอบอุตสาหกรรมใดประสงคจะขอลดหยอนภาษีสําหรับสินคาที่


กําหนดในกฎกระทรวง โดยนําจํานวนเงินภาษีตามพระราชบัญญัตินี้ที่ไดเสียไวแลว สําหรับสินคาที่นํามาใช
เปนวัตถุดิบหรือสวนประกอบในการผลิต สินคามาหักออกจากจํานวนเงินภาษีที่ตองเสียสําหรับสินคานั้น
ใหยนื่ คํารองและปฏิบัติตามหลักเกณฑ วิธีการ และ เงื่อนไขที่อธิบดีกาํ หนด
คําวินิจฉัยของอธิบดีเกี่ยวกับจํานวนเงินภาษีที่ขอลดหยอนใหเปนที่สุด

มาตรา 101 ทวิ21 ใหอธิบดีมีอํานาจยกเวนภาษีใหแกผูมหี นาที่เสียภาษีในกรณีดังตอไปนี้


(1) สําหรับสินคาที่นํามาใชเปนวัตถุดิบหรือสวนประกอบในการผลิตสินคาประเภทหรือ
ชนิดเดิมหรืออีกประเภทหรืออีกชนิดหนึ่งซึ่งตองเสียภาษีตามพระราชบัญญัตินี้
(2) สําหรับสินคาที่นํามาใชเปนวัตถุดิบหรือสวนประกอบในการผลิตสินคา เพื่อการ
สงออก
ทั้งนี้ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาํ หนดในกฎกระทรวง

มาตรา 102 ผูประกอบอุตสาหกรรมมีสิทธิไดรับคืนหรือยกเวนภาษีในกรณีดงั ตอไปนี้

19
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2544
20
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
21
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2543
- 29 -

(1) สินคาที่กําหนดในกฎกระทรวงที่บริจาคแกประชาชนเปนการสาธารณกุศลโดยผาน
สวนราชการในราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมภิ าค หรือราชการสวนทองถิ่น หรือโดยผานองคการสา
ธารณกุศลที่รัฐมนตรีกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(2) สินคาที่กําหนดในกฎกระทรวง ที่บริจาคเปนสาธารณประโยชนแกสวนราชการใน
ราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค หรือราชการสวนทองถิ่น หรือแกองคการสาธารณกุศลที่รัฐมนตรี
กําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(3) สินคาที่จําหนายใหแกผูไดรับเอกสิทธิตามขอผูกพันทีป่ ระเทศไทยมีอยูตอองคการ
สหประชาชาติ หรือตามกฎหมายระหวางประเทศ หรือตามสัญญากับนานาประเทศหรือทางการทูตตามหลัก
ถอยทีถอยปฏิบัติตอกัน
(4) น้ํามันและผลิตภัณฑน้ํามันที่เติมในอากาศยานหรือเรือที่มีขนาดเกินกวาหารอยตัน
กรอสส ซึ่งพนักงานศุลกากรไดปลอยใหไปตางประเทศแลว
การขอรับคืนหรือยกเวนภาษีตามวรรคหนึ่ง ใหปฏิบัตติ ามหลักเกณฑวิธีการ และเงื่อนไขที่
กําหนดในกฎกระทรวง

มาตรา 102 ทวิ 22 ผูประกอบกิจการสถานบริการมีสิทธิไดรับยกเวนภาษี ในกรณีดงั ตอไปนี้


(1) บริการที่กําหนดในกฎกระทรวงที่บริจาครายรับใหแกประชาชนเปนการสาธารณกุศล
โดยผานสวนราชการในราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค หรือราชการสวนทองถิ่น หรือผานองคการ
สาธารณกุศลที่รัฐมนตรีกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(2) บริการที่กําหนดในกฎกระทรวง ที่บริจาครายรับเปนสาธารณประโยชนแกสวนราชการ
ในราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมภิ าค หรือราชการสวนทองถิ่น หรือองคการสาธารณกุศลที่รฐั มนตรี
กําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
การขอยกเวนภาษีตามวรรคหนึ่ง ใหปฏิบัติตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดี
กําหนด
มาตรา 103(3) เพื่อประโยชนแกการเศรษฐกิจของประเทศหรือเพื่อความผาสุกของ
ประชาชน รัฐมนตรีโดยอนุมัติของคณะรัฐมนตรีมีอํานาจประกาศลดอัตรา หรือยกเวนภาษีสําหรับสินคา
หรือบริการใด ๆ ได ทั้งนี้จะกําหนดหลักเกณฑและเงื่อนไขไวดว ยก็ได
การลดอัตราหรือยกเวนภาษี การยกเลิกหรือแกไขการลดอัตราหรือยกเวนภาษี ตลอดจน
หลักเกณฑและเงื่อนไข ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา

22
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
- 30 -

มาตรา 104 ผูประกอบอุตสาหกรรมมีสิทธิไดรับคืนภาษีที่ไดเสียไวแลวสําหรับสินคาที่


กําหนดในกฎกระทรวง ถาพิสูจนไดวาสินคานั้นไดเสียหายหรือเสื่อมคุณภาพจนใชการไมได
การขอรับคืนภาษีตามวรรคหนึ่ง ใหปฏิบัติตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดี
กําหนด

มาตรา 105 สินคาที่นําเขาซึ่งไดเสียภาษีแลว หากสงกลับออกไปใหคนื ภาษีใหแกผนู ําเขา


ตามหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไขและในอัตราสวนเดียวกับการคืนเงินอากรขาเขาตามกฎหมายวาดวยศุลกากร

มาตรา 106 สินคาที่สงออกนอกราชอาณาจักร ถาพิสูจนเปนที่พอใจอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดี


มอบหมายวาไดผลิตดวยสินคาที่นําเขาซึ่งไดเสียภาษีแลวใหคืนภาษีสําหรับสินคาที่ไดเสียภาษีแลวนั้นใหแก
ผูนําเขาตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขเดียวกับการคืนเงินอากรขาเขาตามกฎหมายวาดวยศุลกากร

มาตรา 107 ผูใดเสียภาษีโดยไมมีหนาที่ตอ งเสีย หรือเสียเกินกวาที่ควรตองเสีย และการเสีย


ภาษีนนั้ ไมใชเปนการเสียภาษีตามการประเมินของพนักงานเจาหนาที่ ผูนั้นมีสิทธิไดรับเงินคืน
การขอรับเงินคืนใหยื่นคํารองตออธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายภายในสามปนับแตวัน
ชําระภาษี ในการนี้ใหผยู ื่นคํารองสงเอกสารหลักฐานหรือคําชี้แจงใด ๆ ประกอบคํารองดวย เมื่ออธิบดีหรือผู
ซึ่งอธิบดีมอบหมายเห็นวาผูยื่นคํารองมีสิทธิไดรับเงินคืน ใหสั่งคืนโดยมิชักชา
ในกรณีที่อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายพิจารณาเห็นสมควร จะสั่งคืนเงินใหแกผูเสียภาษี
ตามวรรคหนึ่ง โดยไมตองมีคํารองก็ได แตตองสั่งคืนภายในเวลาสามปนับแตวนั ชําระภาษี

มาตรา 108 ในกรณีที่พนักงานเจาหนาที่ไดทําการประเมินภาษีตามมาตรา 79 แลว ปรากฏวา


ภาษีที่ชําระแลวไดชําระโดยไมมีหนาที่ตองเสียหรือเสียภาษีเกินกวาที่ควรตองเสีย ใหสั่ง คืนเงินโดยมิชักชา
มาตรา 109 ในกรณีที่มีคําวินิจฉัยคําคัดคานหรือคําวินจิ ฉัยอุทธรณถึงที่สุดใหคืนภาษี ให
อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายสั่งคืนโดยมิชักชา

มาตรา 110 ใหอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายสั่งใหดอกเบี้ยแกผูไดรบั คืนเงินภาษี ตาม


มาตรา 107 หรือมาตรา 108 แลวแตกรณีในอัตรารอยละ 1 ตอเดือน หรือเศษของเดือนของจํานวนเงินที่
ไดรับคืนโดยไมคิดทบตน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง
ดอกเบี้ยทีใ่ หตามวรรคหนึ่ง มิใหเกินกวาจํานวนเงินที่ไดรับคืนและใหจายจากเงินภาษีที่
จัดเก็บไดตามพระราชบัญญัตินี้
- 31 -

มาตรา 111 ใหรัฐมนตรีโดยอนุมัติของคณะรัฐมนตรีมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา


กําหนดสินคาใดซึ่งบุคคลที่ไดรับสิทธิยกเวนภาษีนําเขามาเพื่อใชเองหรือซึ่งผูประกอบอุตสาหกรรมจําหนาย
ใหแกผูไดรับเอกสิทธิ ใหไดรับ ยกเวนจากบทบังคับแหงมาตรา 11 หรือมาตรา 12 แลวแตกรณี

หมวด 8
บัญชีหลักฐานและการปฏิบตั ิ
--------

มาตรา 112 23 ใหผูประกอบอุตสาหกรรมทําบัญชีประจําวันและงบเดือนแสดงรายการ


เกี่ยวกับวัตถุดบิ การผลิต และการจําหนายสินคาตามแบบที่อธิบดีกําหนด
ใหผูประกอบกิจการสถานบริการทําบัญชีประจําวันและงบเดือนแสดงรายการเกีย่ วกับ
รายรับของกิจการสถานบริการ ตามแบบที่อธิบดีกําหนด
บัญชีประจําวันตามวรรคหนึ่ง และวรรคสอง ใหทําใหแลวเสร็จภายในสามวันนับแตวันที่มี
เหตุที่จะตองลงรายการนั้นเกิดขึ้น และใหเก็บรักษาไวไมนอยกวาหาปที่โรงอุตสาหกรรมหรือสถานบริการ
พรอมทั้งเอกสารประกอบการลงบัญชี ดังกลาว
งบเดือนตามวรรคหนึ่ง และวรรคสอง ใหยื่นตอเจาพนักงานสรรพสามิต ณ สถานที่ที่ระบุ
ไวในมาตรา 53 ภายในวันทีส่ ิบหาของเดือนถัดไป และใหมีสําเนาเก็บไวที่โรงอุตสาหกรรมหรือสถาน
บริการไมนอยกวาหาป
การทําบัญชีประจําวันและงบเดือนตามมาตรานี้ อธิบดีจะอนุญาตใหกระทําโดยใช
เครื่องจักรหรือเครื่องกลก็ได
มาตรา 112 ทวิ 24 ในกรณีที่ผปู ระกอบกิจการสถานบริการ ประสงคจะใชเครื่องบันทึกการ
เก็บเงินออกหลักฐานการรับเงินใหขออนุมตั ิตออธิบดีการใชเครื่องบันทึกการเก็บเงินดังกลาวจะตองปฏิบัติ
ตามระเบียบเกีย่ วกับหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขวาดวยการใชเครือ่ งบันทึกการเก็บเงินตามที่อธิบดี
กําหนดโดยเครงครัด

23
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
24
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
- 32 -

มาตรา 113 25 เพื่อประโยชนในการจัดเก็บและการเสียภาษีใหผูประกอบอุตสาหกรรมหรือ


ผูประกอบกิจการสถานบริการยอมใหพนักงานเจาหนาที่ติดตั้งเครื่องจักร เครื่องกล หรือเครื่องมือใด ๆ ใน
โรงอุตสาหกรรมหรือสถานบริการ
ใหผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการสงวนรักษาไวซึ่งเครื่องจักร
เครื่องกล หรือเครื่องมือตามวรรคหนึ่ง รวมทั้งตรา หรือสิ่งที่ติดอยูกับเครื่องจักร เครื่องกล หรือเครื่องมือ
ดังกลาว ที่พนักงานเจาหนาที่ไดจัดทําไวใหอยูในสภาพเรียบรอยตลอดเวลาโดยใชความระมัดระวังและฝมือ
ดังเชนที่พึงปฏิบัติในการประกอบธุรกิจของตน
ในกรณีที่เครื่องจักร เครื่องกล หรือเครื่องมือตามวรรคหนึ่ง ตราหรือสิ่งที่ติดอยูกับ
เครื่องจักร เครื่องกล หรือเครื่องกล หรือเครื่องมือดังกลาวที่พนักงานเจาหนาที่ไดจัดทําไว สูญหาย บุบสลาย
หรือชํารุด ใหผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการแจงใหเจาพนักงานสรรพสามิต
แหงทองที่ที่โรงอุตสาหกรรมหรือสถานบริการนั้นตั้งอยูท ราบโดยมิชักชา ทั้งนี้ โดยใหแจงถึงสาเหตุของ
การสูญหาย บุบสลาย หรือชํารุดดวยและหากการสูญหาย บุบสลาย หรือชํารุดไดเกิดขึ้นเพราะผูประกอบ
อุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการมิไดใชความระมัดระวังและฝมือดังเชนที่พึงปฏิบตั ิในการ
ประกอบธุรกิจของตนแลว อธิบดีมีอํานาจกําหนดใหผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถาน
บริการตองรับผิดชดใชในความสูญหายบุบสลาย หรือชํารุดดังกลาว ในกรณีนใี้ หอธิบดีเรียกรองและ
ดําเนินการเพื่อ
ใหผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการ ชดใชใหแกทางราชการตาม
ระเบียบทีก่ รมสรรพสามิตกําหนด

มาตรา 114 หามมิใหผูใดโยกยาย เปลี่ยนแปลง หรือกระทําดวยประการใด ๆ ใหเครือ่ งจักร


เครื่องกล เครื่องมือ ตรา หรือสิ่งที่ติดอยูกบั เครื่องจักร เครื่องกล หรือเครื่องมือดังกลาว ที่พนักงานเจาหนาที่
ไดจัดทําไวตามมาตรา 113 บุบสลาย ชํารุดหรือใชการไมได

มาตรา 115(3) ในกรณีที่มกี ารติดตั้งเครื่องจักร เครื่องกล หรือเครื่องมือใด ๆ ในโรง


อุตสาหกรรมหรือสถานบริการตามมาตรา 113 พนักงานเจาหนาที่จะใชปริมาณสินคาหรือปริมาณรายรับที่
คํานวณไดจากเครื่องจักร เครื่องกลหรือเครื่องมือดังกลาวเปนเกณฑในการจัดเก็บภาษีก็ได

มาตรา 116(4)ใหผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการแจงวันเวลาทํา
การตามปกติ และวันเวลาหยุดทําการของโรงอุตสาหกรรม หรือสถานบริการใหอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดี
มอบหมายทราบเปนหนังสือกอนวันเริ่มผลิต สินคาหรือวันเริ่มบริการ และถาจะมีการเปลี่ยนแปลงกําหนด

25
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
- 33 -

วันเวลาดังกลาว ใหมีหนังสือแจงใหอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายทราบลวงหนาอยางนอยสามวันกอน
วันที่จะมีการเปลี่ยนแปลง
ถาโรงงานอุตสาหกรรม หรือสถานบริการตองเพิ่มเวลาทําการโดยเรงดวนหรือตองหยุด
งานเพราะเหตุจําเปน ใหผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูประกอบกิจการสถานบริการแจงใหอธิบดีหรือผูซึ่ง
อธิบดีมอบหมายทราบโดยมิชักชา
ใหอธิบดีมีอํานาจผอนผันการปฏิบัติตามความในวรรคหนึ่งและวรรคสองไดตามที่
เห็นสมควร

มาตรา 117 เพื่อประโยชนในการกําหนดมูลคาของสินคาใหผูประกอบอุตสาหกรรมแจง


ราคาขาย ณ โรงงานอุตสาหกรรมตออธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย ตามแบบที่อธิบดีกําหนดไมนอยกวา
เจ็ดวันกอนวันเริ่มจําหนายสินคานั้น
ถาจะมีการเปลี่ยนแปลงราคาที่ไดแจงไวตามวรรคหนึ่ง ใหผูประกอบอุตสาหกรรมแจง
ราคาที่เปลี่ยนแปลงตออธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายไมนอยกวาเจ็ดวันกอนที่จะมีการเปลี่ยนแปลงราคา

มาตรา 117 ทวิ(1) เพื่อประโยชนในการกําหนดรายรับของสถานบริการใหผูประกอบกิจการ


สถานบริการแจงราคาคาบริการที่เรียกเก็บในการประกอบกิจการตออธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายตาม
แบบรายละเอียด และกําหนดเวลา ที่อธิบดีกําหนด
ถาจะมีการเปลี่ยนแปลงราคาที่ไดแจงไวตามวรรคหนึ่ง ใหผูประกอบกิจการสถานบริการ
แจงราคาคาบริการที่เปลี่ยนแปลงตออธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายไมนอยกวาเจ็ดวันกอนวันที่จะมีการ
เปลี่ยนแปลงราคา
ใหอธิบดีมีอํานาจผอนผันการปฏิบัติตามความในวรรคหนึ่ง และวรรคสองไดตามที่
เห็นสมควร

หมวด 9
พนักงานเจาหนาที่
--------
มาตรา 118 ในการปฏิบัติหนาที่ ใหพนักงานเจาหนาที่มอี ํานาจดังตอไปนี้
(1)(2) เขาไปในโรงอุตสาหกรรมหรือคลังสินคาทัณฑบนหรือสถานบริการในระหวางเวลา
ทําการ เพื่อตรวจสอบหรือควบคุมใหการเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้

(1)(2)
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
- 34 -

(2) คนสถานที่หรือยานพาหนะใด ๆ ที่มีเหตุอันควรสงสัยวามีการกระทําความผิดตาม


พระราชบัญญัตินี้ หรือมีสินคาที่หลีกเลี่ยงการเสียภาษีซุกซอนอยู ในเวลาระหวางพระอาทิตยขึ้นถึงพระ
อาทิตยตก เวนแตการคนในเวลาดังกลาวยังไมแลวเสร็จจะกระทําตอไปก็ได หรือในกรณีฉุกเฉินอยางยิ่ง เมื่อ
ไดรับอนุมัติจากอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายแลวจะคนในเวลาใดก็ได
(3) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลใดมาใหถอยคําหรือใหสงบัญชีเอกสาร หลักฐาน
หรือสิ่งอื่นที่จาํ เปนมาประกอบการพิจารณาได ทั้งนี้ตอ งใหเวลาบุคคลนั้นไมนอยกวาเจ็ดวันนับแตวันที่
ไดรับคําสั่งนั้น
(4) นําสินคาในโรงอุตสาหกรรมหรือคลังสินคาทัณฑบนในปริมาณพอสมควรไปเปน
ตัวอยางเพื่อตรวจสอบ

มาตรา 119 เพื่อประโยชนในการตรวจสอบการเสียภาษี พนักงานเจาหนาที่มีอํานาจสั่งให


ผูประกอบอุตสาหกรรมหรือเจาของคลังสินคาทัณฑบนเปดหีบหอหรือภาชนะบรรจุสินคา เพื่อตรวจสอบ
สินคาในขณะที่นําออกจากหรือเตรียมการจะนําออกจากโรงอุตสาหกรรมหรือคลังสินคาทัณฑบน และจะนํา
สินคาในปริมาณพอสมควรออกจากหีบหอหรือภาชนะบรรจุสินคานั้นไปเปนตัวอยางเพื่อตรวจสอบหรือ
วิเคราะหก็ได แตตองสงคืนโดยมิชักชา

มาตรา 120 ในการคนหรือเปดหีบหอหรือภาชนะบรรจุสินคาพนักงานเจาหนาที่ตอง


พยายามมิใหมกี ารเสียหายและกระจัดกระจายเทาที่จะทําได

มาตรา 121 การคนในสถานที่หรือในยานพาหนะตามมาตรา 118(2) กอนลงมือคน ให


พนักงานเจาหนาที่ผูคนแสดงความบริสุทธิ์เสียกอน และใหคนตอหนาผูประกอบอุตสาหกรรม เจาของ
คลังสินคาทัณฑบน ผูครอบครองสถานที่บุคคลที่ทํางานในสถานที่นนั้ หรือผูครอบครองยานพาหนะ ถาหา
บุคคลดังกลาวไมได ใหคนตอหนาบุคคลอื่นอยางนอยสองคนซึ่งพนักงานเจาหนาที่ไดขอรองมาเปนพยาน

มาตรา 122 ใหพนักงานเจาหนาที่ผูคนบันทึกรายละเอียดแหงการคนและทําบัญชี


รายละเอียดสิ่งของที่คน ยึดหรืออายัดไว
บันทึกการคนและบัญชีดังกลาวในวรรคหนึ่ง ใหอานใหผูประกอบอุตสาหกรรมเจาของ
คลังสินคาทัณฑบน ผูครอบครองสถานที่ บุคคลที่ทํางานในสถานที่นนั้ ผูครอบครองยานพาหนะหรือพยาน
แลวแตกรณีฟง และใหบุคคลดังกลาวลงลายมือชื่อรับรองไว ถาไมยอมลงลายมือชื่อรับรอง ใหพนักงาน
เจาหนาที่ผูคน บันทึกไว
- 35 -

มาตรา 123 ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจยึดหรืออายัดสินคาบัญชี เอกสาร ยานพาหนะ


หรือสิ่งใด ๆ ที่เกี่ยวของหรือที่มีเหตุอันควรสงสัยวาเกี่ยวของกับการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ไว
เปนหลักฐานในการพิจารณาคดีไดจนกวาพนักงานอัยการสั่งเด็ดขาดไมฟองคดีหรือจนกวาคดีจะถึงที่สุด
ทั้งนี้ ไมวาจะเปนของผูกระทําความผิดหรือของผูมีเหตุอันควรสงสัยวาเปนผูกระทําความผิดหรือไม
ทรัพยสินที่ยดึ ไวตามวรรคหนึ่ง ถาพนักงานอัยการสั่งเด็ดขาดไมฟองคดี หรือศาลไม
พิพากษาใหรบิ และผูเปนเจาของหรือผูครอบครองมิไดขอรับคืนภายในกําหนดหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันที่
มีคําสั่งเด็ดขาดไมฟองคดีหรือวันที่มีคําพิพากษาถึงที่สุด แลวแตกรณี ใหตกเปนของกรมสรรพสามิต
ทรัพยสินที่ยดึ ไวตามวรรคหนึ่ง ถาในขณะที่ยึดไมปรากฏตัวเจาของหรือผูครอบครองและ
ไมมีผูใดมาแสดงตนเปนเจาของเพื่อขอรับคืนภายในกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันยึดใหตกเปนของ
กรมสรรพสามิต
ทรัพยสินที่อายัดไวตามวรรคหนึ่ง ถาพนักงานอัยการสั่งเด็ดขาดไมฟองคดีหรือศาลไม
พิพากษาใหรบิ ใหพนักงานเจาหนาที่ถอนการอายัดทรัพยสินนั้นโดยมิชักชา

มาตรา 124 ทรัพยสินที่ยดึ ไว ใหพนักงานเจาหนาทีเ่ ก็บรักษาตามระเบียบที่อธิบดีกําหนด

มาตรา 125 ทรัพยสินที่ยดึ ไว ถาเปนของเสียงายหรือถาเก็บรักษาไวจะเปนการเสี่ยงตอ


ความเสียหายหรือจะเสียคาใชจายในการเก็บรักษาเกินคาของทรัพยสิน อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายจะ
จัดการขายหรือจําหนายทรัพยสินนัน้ กอนถึงกําหนดตามมาตรา 123 ก็ได ไดเงินเปนจํานวนสุทธิเทาใดใหยดึ
ไวแทนทรัพยสินนั้น
การขายหรือจําหนายทรัพยสินตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามระเบียบที่อธิบดีกําหนด

มาตรา 126 ทรัพยสินที่ยดึ หรืออายัดไวตามมาตรา 123 วรรคหนึ่ง ถาไมจําเปนตองใชเปน


พยานหลักฐานในการพิจารณาคดีอันเกี่ยวกับทรัพยสินนัน้ ใหพนักงานเจาหนาที่โดยอนุมัติอธิบดีคืน
ทรัพยสินหรือเงินใหแกผูครอบครองซึ่งถูกยึดทรัพยสินนั้นมาหรือถอนการอายัดทรัพยสินนัน้ กอนถึง
กําหนดเวลาตามมาตรา 123 วรรคหนึ่งได
ในการคืนทรัพยสินที่ยดึ ตามวรรคหนึ่ง ถาปรากฏวาผูครอบครองไดทรัพยสินนั้นมาจาก
เจาของโดยการกระทําความผิดทางอาญา ก็ใหคืนแกเจาของนั้น

มาตรา 127 ทรัพยสินที่ตกเปนของกรมสรรพสามิตตามมาตรา 123 หรือที่ศาลพิพากษาให


ริบเปนของกรมสรรพสามิต ใหจดั การตามระเบียบที่อธิบดีกําหนด
- 36 -

มาตรา 128 ในการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานเจาหนาทีต่ ามพระราชบัญญัตินี้ใหบุคคลซึ่ง


เกี่ยวของอํานวยความสะดวกตามสมควร

มาตรา 129 ในการปฏิบัติหนาที่ พนักงานเจาหนาที่ตองแสดงบัตรประจําตัวตอบุคคลซึ่ง


เกี่ยวของ
บัตรประจําตัวพนักงานเจาหนาที่ ใหเปนไปตามแบบที่กาํ หนดในกฎกระทรวง

มาตรา 130 ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหพนักงานเจาหนาที่เปนเจาพนักงาน


ตามประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา 131 เพื่อประโยชนในการจับกุมและปราบปรามผูกระทําความผิดตาม


พระราชบัญญัตินี้ ใหพนักงานเจาหนาที่เปนพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา

หมวด 10
การเปรียบเทียบคดี
--------

มาตรา 132 ในกรณีที่ตองประเมินมูลคาของสินคาเพื่อประโยชนในการกําหนดคาปรับ ให


ถือมูลคาของสินคาชนิดเดียวกันซึ่งไดเสียภาษีโดยถูกตองแลวในเวลาหรือใกลเวลาทีก่ ระทําความผิดนั้น ถา
ไมมีสินคาชนิดเดียวกัน ใหถือมูลคาของสินคาที่มีลักษณะใกลเคียงกันตามที่ซื้อขายกันในเวลาดังกลาว

มาตรา 133 ถาอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย หรือคณะกรรมการเปรียบเทียบคดีเห็นวา


ผูตองหาไมควรไดรับโทษถึงจําคุกหรือไมควรถูกฟองรองใหมีอํานาจเปรียบเทียบดังนี้
(1) สําหรับความผิดที่มีโทษปรับสถานเดียว หรือความผิดที่มีโทษปรับหรือโทษจําคุกไม
เกินหนึ่งเดือน ใหเปนอํานาจของอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย
(2) สําหรับความผิดที่มีโทษปรับหรือโทษจําคุกไมเกินหกเดือน
(ก) ในเขตกรุงเทพมหานคร ใหเปนอํานาจของคณะกรรมการเปรียบเทียบคดีซึ่ง
ประกอบดวยปลัดกระทรวงการคลังหรือผูแทนอธิบดีกรมสรรพสามิตและอธิบดีกรมตํารวจหรือผูแ ทน
(ข) ในเขตจังหวัดอืน่ ใหเปนอํานาจของคณะกรรมการเปรียบเทียบคดีซึ่งประกอบดวยผูวา
ราชการจังหวัดหรือผูแทน สรรพสามิตจังหวัด และผูกํากับการตํารวจภูธรจังหวัดหรือผูแทน
- 37 -

เมื่อผูตองหาไดชําระเงินคาปรับตามจํานวนที่เปรียบเทียบภายในสามสิบวัน ใหถือวาคดีเลิก
กันตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา
ถาผูตองหาไมยินยอมตามทีเ่ ปรียบเทียบ หรือเมื่อยินยอมแลวไมชําระเงินคาปรับภายใน
กําหนดเวลาดังกลาว ใหดําเนินคดีตอไป

มาตรา 134 ในกรณีที่พนักงานเจาหนาที่หรือเจาพนักงานสรรพสามิตเปนผูจับกุมผูตอ งหา


ในความผิดทีเ่ ปรียบเทียบไดตามพระราชบัญญัตินี้ และผูตองหายินยอมใหเปรียบเทียบ ถาผูตองหาหรือผูมี
ประโยชนเกี่ยวของรองขอ
อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายจะปลอยชัว่ คราวผูตองหาในระหวางรอการเปรียบเทียบ
หรือรอการชําระเงินคาปรับโดยมีประกันหรือมีประกันและหลักประกันก็ได ทั้งนี้ ใหนําบทบัญญัติแหง
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา 135 ในกรณีที่พนักงานสอบสวนพบวาผูใดกระทําความผิดที่เปรียบเทียบไดตาม


พระราชบัญญัตินี้ และผูนนั้ ยินยอมใหเปรียบเทียบ ใหพนักงานสอบสวนสงเรื่องใหอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดี
มอบหมายหรือคณะกรรมการเปรียบเทียบคดี แลวแตกรณี ภายในเจ็ดวันนับแตวันที่ผนู ั้นแสดงความยินยอม
ใหเปรียบเทียบ และใหนํามาตรา 134 มาใชบังคับโดยอนุโลม

หมวด 11
เบี้ยปรับและเงินเพิ่ม
--------

มาตรา 136 ใหผูมีหนาที่เสียภาษีเบี้ยปรับในกรณีและตามอัตราดังตอไปนี้


(1) ในกรณีมไิ ดยื่นแบบรายการเสียภาษีภายในกําหนดเวลาตามหมวด 4 ไมวา จะไดจด
ทะเบียนสรรพสามิตไวแลวหรือไม ใหเสียเบี้ยปรับอีกสองเทาของเงินภาษี
(2) ในกรณีทไี่ ดยื่นแบบรายการภาษีไวไมถูกตองหรือมีขอผิดพลาดทําใหจํานวนภาษีที่ตอง
เสียขาดไป ใหเสียเบี้ยปรับอีกหนึ่งเทาของเงินภาษีทเี่ สียขาดไปนั้น
มาตรา 137 ผูมีหนาที่เสียภาษีใดไมชําระภาษีภายในกําหนดเวลาหรือชําระขาดจากจํานวน
ภาษีที่ตองเสีย ใหเสียเงินเพิ่มอีกรอยละ 1.5 ตอเดือน หรือเศษของเดือนของเงินภาษีที่ตอ งชําระโดยไมรวม
เบี้ยปรับและการคํานวณเงินเพิ่มดังกลาวมิใหคิดทบตน
เงินเพิ่มตามมาตรานี้ มิใหเกินกวาจํานวนภาษีที่ตองชําระโดยไมรวมเบีย้ ปรับ
- 38 -

มาตรา 138 เบี้ยปรับและเงินเพิ่ม อาจงดหรือลดลงไดตามหลักเกณฑที่กาํ หนดใน


กฎกระทรวง

มาตรา 139 เบี้ยปรับและเงินเพิ่ม ใหถือเปนเงินภาษี

หมวด 12
การบังคับชําระภาษีคาง
--------

มาตรา 140 ทรัพยสินของผูมีหนาที่เสียภาษีที่คางชําระภาษีอาจถูกยึดและขายทอดตลาด


เพื่อนําเงินมาชําระภาษีที่คาง โดยใหอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอํานาจออกคําสั่งเปนหนังสือยึดหรือ
ขายทอดตลาดไดโดยมิตองขออํานาจศาล
การยึดทรัพยสินจะกระทําไดตอเมื่อไดสงคําเตือนเปนหนังสือใหผูมีหนาที่เสียภาษีชําระ
ภาษีที่คางภายในกําหนด ไมนอยกวาสามสิบวันนับแตวนั ที่ไดรับหนังสือนั้น
การขายทอดตลาดทรัพยสินจะกระทํามิไดในระหวางระยะเวลาที่ใหยนื่ คําคัดคานตาม
มาตรา 86 หรืออุทธรณตามมาตรา 89 หรืออุทธรณตามมาตรา 96 และตลอดเวลาทีท่ ําการพิจารณาและ
วินิจฉัยคําคัดคานหรืออุทธรณยังไมถึงที่สดุ

มาตรา 141 ในกรณีที่ผูคางชําระภาษีมีสทิ ธิเรียกรองตอบุคคลภายนอกใหชําระเงินหรือสง


มอบทรัพยสิน ใหอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอํานาจออกคําสั่งเปนหนังสืออายัดสิทธิเรียกรองนั้นได
โดยสั่งใหผูคางชําระภาษีงดเวนการจําหนายสิทธิเรียกรองและหามบุคคลภายนอกนัน้ ไมใหชาํ ระเงินหรือสง
มอบทรัพยสินนั้นใหแกผูซึ่งคางชําระภาษี แตใหชําระหรือสงมอบใหแกพนักงานเจาหนาที่ภายในเวลาที่
กําหนดไวในคําสั่ง
ในกรณีที่บุคคลภายนอกที่ไดรับคําสั่งอายัดนั้นปฏิเสธหรือโตแยงหนีท้ ี่เรียกรองเอาแกตน
ใหกรมสรรพสามิตฟองเปนคดีทางศาล แตทั้งนี้คําสั่งหามชําระเงินหรือสงมอบทรัพยสินตามวรรคหนึ่ง
ยังคงมีผลอยูจนกวาศาลจะพิพากษาเปนอยางอื่น

มาตรา 142 การยึด การอายัด และการขายทอดตลาดทรัพยสินเพื่อใหไดรับชําระภาษีที่คาง


ใหนําบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความแพงมาใชบังคับเทาที่ไมขัดหรือแยงกับบทแหง
พระราชบัญญัตินี้
- 39 -

มาตรา 143 เงินที่ไดจากการขายทอดตลาดทรัพยสินใหหกั ไวเปนคาใชจายในการยึด อายัด


และขายทอดตลาด เหลือเทาใดใหชําระเปนคาภาษี ถายังมีเงินเหลืออยูอ ีกใหคืนแกเจาของทรัพยสินนั้น

มาตรา 144 เมื่อไดมีการยึดทรัพยสินไวแลว ถาไดมีการชําระเงินคาใชจา ยในการยึด และคา


ภาษีที่คางชําระโดยครบถวนกอนการขายทอดตลาด ใหอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายสั่งถอนคําสั่งยึดนั้น
เมื่อไดมีการอายัดสิทธิเรียกรองไวแลว ถาไดมีการชําระเงินคาใชจายในการอายัดและคา
ภาษีที่คางชําระโดยครบถวนกอนที่พนักงานเจาหนาที่จะไดรับชําระเงินจากบุคคลภายนอก หรือกอนการ
ขายทอดตลาดทรัพยสินที่ไดสงมอบใหแกพนักงานเจาหนาที่ ใหอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายสัง่ ถอน
คําสั่งอายัดนั้น

หมวด 12 ทวิ (1)


การเสียภาษีสรรพสามิตสําหรับรถยนตตามตอนที่ 5
แหงพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต ทายพระราชบัญญัติพิกดั อัตราภาษี
สรรพสามิต พ.ศ. 2527
--------––––––

มาตรา 144 ทวิ ภายใตบังคับบทบัญญัติในหมวดอื่นแหงพระราชบัญญัตินี้การเสียภาษี


สรรพสามิตสําหรับรถยนตตามตอนที่ 5 แหงพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิตทายพระราชบัญญัติพิกัดอัตราภาษี
สรรพสามิต พ.ศ. 2527 ใหอยูภายใตบังคับแหงบทบัญญัติในหมวดนี้ดว ย

มาตรา 144 ตรี ในหมวดนี้


"ดัดแปลง" หมายความวา การกระทําใด ๆ ตอรถยนตกระบะหรือสิ่งใด ๆ ตามที่กําหนดใน
กฎกระทรวงใหเปนรถยนตนั่งหรือเปนรถยนตโดยสารที่มีที่นั่งไมเกินสิบคน โดยผูกระทํามิใชผูประกอบ
อุตสาหกรรมรถยนต
การกระทําที่เปนการดัดแปลงตามวรรคหนึ่ง มิใหถือเปนการผลิตตามความหมายของบท
นิยามคําวา "ผลิต" ตามมาตรา 4 เวนแตการดัดแปลงนัน้ จะกระทําโดยผูด ัดแปลงที่ประกอบกิจการเปนธุรกิจ
"ผูดัดแปลง" ใหหมายความรวมถึงผูที่จางหรือจัดใหผูอื่นทําการดัดแปลงดวย
"สถานแสดงรถยนตเพื่อขาย" หมายความวา สถานที่ใชสําหรับแสดงรถยนตเพื่อขายของผู
ประกอบอุตสาหกรรมตามทีไ่ ดรับอนุญาตจากอธิบดี และเพื่อประโยชนในการปฏิบตั ิตามมาตรา 10(1) (ก)
มาตรา 19 มาตรา 50(1) มาตรา 84 มาตรา 118(1) และ (4) มาตรา 119 มาตรา 161(1) และมาตรา 162(1) ให

(1)
หมวด 12 ทวิ มาตรา 144 ทวิ ถึงมาตรา 144 ฉ เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
- 40 -

ถือวาสถานแสดงรถยนตเพื่อขายดังกลาวเปนคลังสินคาทัณฑบน และในการนี้ใหนํามาตรา 36 มาตรา 37


มาตรา 39 มาตรา 42 มาตรา 44 มาตรา 147 มาตรา 151 และมาตรา 152(2) มาใชบังคับ

มาตรา 144 จัตวา ภายใตบังคับความรับผิดในอันจะตองเสียภาษีตามหมวด 1 ความรับผิด


ในอันจะตองเสียภาษีสําหรับรถยนต ใหเกิดขึ้นในกรณีดังตอไปนี้
(1) กรณีดัดแปลง ใหเกิดขึ้นเมื่อการดัดแปลงสิ้นสุดลง
(2) ในกรณีนํารถยนตไปแสดงหรือเก็บไวในสถานแสดงรถยนตเพื่อขายใหเกิดขึน้ พรอม
กับความรับผิดในการเสียภาษีมูลคาเพิ่มตามหมวด 4 ในลักษณะ 2 แหงประมวลรัษฎากร

มาตรา 144 เบญจ ใหผูดัดแปลงเปนผูมีหนาที่เสียภาษีตามมูลคาจากการดัดแปลง โดยให


ถือราคาคาจางแรงงานดัดแปลงบวกดวยคาวัสดุอุปกรณหรือคาจางทําของซึ่งรวมคาวัสดุอุปกรณอยูด วย แต
ตองไมต่ํากวาเกณฑขั้นต่ําสําหรับ คาใชจายในการดัดแปลงและคาวัสดุอุปกรณตามทีอ่ ธิบดีกําหนด

มาตรา 144 ฉ เพื่อประโยชนในการจัดเก็บภาษีตามความในหมวดนี้ ใหอธิบดีมีอํานาจ


ดังตอไปนี้
(1) อนุญาตใหผูประกอบอุตสาหกรรมมีสถานแสดงรถยนตเพื่อขายทั้งนี้ ตามจํานวน
หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง
(2 ) กําหนดหลักเกณฑและเงื่อนไขเกีย่ วกับการนํารถยนตที่อยูในสถานแสดงรถยนตเพื่อ
ขายออกไปจากสถานแสดงรถยนตเพื่อขาย เพื่อประโยชนในการทดลองเปนการชั่วคราวสําหรับการ
จําหนาย
(3) กําหนดหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการชําระภาษีกรณีดัดแปลงตามมาตรา 144 จัตวา
(1)
(4) กําหนดหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการชําระภาษีรถยนตที่ความรับผิดในอันจะตอง
เสียภาษีเกิดขึน้ พรอมกับความรับผิดในการเสียภาษีมูลคาเพิ่มตามมาตรา 144 จัตวา (2)

หมวด 13
บทกําหนดโทษ
--------

มาตรา 145 ผูใดขัดขวางเจาพนักงานสรรพสามิตหรือพนักงานเจาหนาที่ซึ่งปฏิบัติการตาม


หนาที่ตามมาตรา 15 มาตรา 24 วรรคหนึ่งมาตรา 113 วรรคหนึ่ง หรือมาตรา 118(1) (2) หรือ (4) ตองระวาง
โทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
- 41 -

มาตรา 146 ผูใดโดยไมมีเหตุอันสมควรไมยอมตอบคําถามอันเปนสาระสําคัญเกี่ยวกับการ


จัดเก็บภาษีหรือไมปฏิบัติตามคําสั่งหรือหนังสือเรียกของอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย คณะกรรมการ
พิจารณาอุทธรณหรือพนักงานเจาหนาที่ตามมาตรา 16 มาตรา 87 วรรคหนึ่ง มาตรา 92 มาตรา 118(3) หรือ
มาตรา 119 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินหาพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

มาตรา 147 ผูใด


(1) ฝาฝนมาตรา 19
(2) นําเขาซึ่งสินคาที่มิไดเสียภาษี
ตองระวางโทษจําคุกไมเกินเจ็ดป หรือปรับตั้งแตหาเทาถึงยี่สิบเทาของคาภาษีที่จะตองเสีย
หรือทั้งจําทั้งปรับ

มาตรา 148 ผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา 20 มาตรา 25 วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง มาตรา 30


วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง มาตรา 31 วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง หรือมาตรา 32 วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษปรับ
ไมเกินหาพันบาท

มาตรา 149 ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามระเบียบที่อธิบดีออกตาม มาตรา 22(2) (3) หรือ


(4) ตองระวางโทษปรับไมเกินหาพันบาท

มาตรา 150 ผูใดไมอํานวยความสะดวกแกเจาพนักงานสรรพสามิตหรือพนักงานเจาหนาที่


ซึ่งปฏิบัติการตามหนาที่ตามมาตรา 24 วรรคสองหรือมาตรา 128 ตองระวางโทษปรับไมเกินหาพันบาท

มาตรา 151 ผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา 28 มาตรา 29 วรรคหนึ่ง มาตรา 36 หรือมาตรา 37


วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษปรับไมเกินสี่พนั บาท

มาตรา 152 ผูใด


(1) ฝาฝนมาตรา 38
(2) ไมปฏิบัติตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงือ่ นไขที่อธิบดีกําหนดตามมาตรา 39 ตองระวาง
โทษปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท

มาตรา 153 ผูใดฝาฝนมาตรา 40 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือนหรือปรับไมเกินหา


พันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
- 42 -

มาตรา 154 ผูใดฝาฝนมาตรา 41 ตองระวางโทษปรับไมเกินสี่พันบาท

มาตรา 155 ผูใดไมปฏิบัติตามวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวงตามมาตรา 59 วรรคสอง


หรือวิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีกําหนดตามมาตรา 73 วรรคสอง ตองระวางโทษปรับไมเกินหาพันบาท

มาตรา 156 ผูใดฝาฝนมาตรา 64 วรรคหนึง่ มาตรา 70 มาตรา 71 มาตรา 72 มาตรา 73


วรรคหนึ่ง มาตรา 74 วรรคหนึ่ง มาตรา 75 มาตรา 76 มาตรา 77 หรือมาตรา 114 ตองระวางโทษจําคุกไม
เกินสามป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําหรือปรับ

มาตรา 157 ผูไดรับอนุญาตใหผลิตเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียน ผูใดผลิต


เครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียนภายหลังที่ใบอนุญาตสิ้นอายุแลว แตไดยนื่ คําขอตออายุใบอนุญาต
ภายในเวลาที่กําหนดตามมาตรา 65 วรรคสาม ตองระวางโทษปรับเปนรายวันวันละหารอยบาทตลอดเวลาที่
ใบอนุญาตขาดอายุ

มาตรา 158 ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา 67(1) (2) (3) หรือ (4) มาตรา 68 มาตรา 69
หรือมาตรา 74 วรรคสองหรือ วรรคสาม ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท

มาตรา 159 ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา 112 วรรคหนึ่ง วรรคสอง หรือวรรคสาม


ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินหาพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา 160 (1) ผูใดไมปฏิบัตติ ามมาตรา 113 วรรคสองหรือวรรคสาม มาตรา 116 วรรค
หนึ่งหรือวรรคสอง มาตรา 117 วรรคหนึ่ง หรือวรรคสอง หรือมาตรา 117 ทวิ วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ตอง
ระวางโทษปรับไมเกินหาพันบาท

มาตรา 161 ผูใด


(1) มีไวในครอบครองซึ่งสินคาโดยรูวาเปนสินคาที่มิไดเสียภาษีหรือเสียภาษีไมครบถวน
เวนแตในกรณีที่ผูประกอบอุตสาหกรรมมีไวในโรงอุตสาหกรรมหรือในคลังสินคาทัณฑบน
(2) มีไวในครอบครองโดยไมมีสิทธิโดยชอบดวยกฎหมายซึ่งสินคาที่ไดรับยกเวนหรือ
ไดรับคืนภาษีแลวตามหมวด 7

(1)
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
- 43 -

ตองระวางโทษปรับตั้งแตสองเทาถึงสิบเทาของคาภาษีทจี่ ะตองเสีย แตตองไมต่ํากวาหนึ่ง


รอยบาท

มาตรา 162 ผูใด


(1) ขายหรือมีไวเพื่อขายซึ่งสินคาโดยรูวาเปนสินคาที่มิไดเสียภาษีหรือเสียภาษีไมครบถวน
เวนแตในกรณีที่ผูประกอบอุตสาหกรรมมีไวในโรงอุตสาหกรรมหรือในคลังสินคาทัณฑบน
(2) ขายหรือมีไวเพื่อขายโดยไมมีสิทธิโดยชอบดวยกฎหมายซึ่งสินคาที่ไดรับยกเวนหรือ
ไดรับคืนภาษีแลวตาม หมวด 7
ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือนหรือปรับตั้งแตหาเทาถึงสิบหาเทาของคาภาษีทจี่ ะตอง
เสีย แตตองไมต่ํากวาสองรอยบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

มาตรา 163 ผูใดกระทําความผิดตามมาตรา 161(1) หรือ (2) หรือมาตรา 162(1) หรือ (2)
นอกจากจะไดรับโทษตามที่บัญญัติไวแลวใหมีหนาที่เสียภาษีสําหรับสินคานั้นใหครบถวนอีกดวย ถาผูนั้น
ไมยอมชําระภาษีภายในเวลาที่พนักงานเจาหนาที่กําหนดใหอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอํานาจสั่งให
นําสินคานั้นออกขายทอดตลาดได
เงินที่ไดจากการขายทอดตลาดตามวรรคหนึ่ง เมื่อหักใชคาเก็บรักษา คาใชจายในการขาย
ทอดตลาด และคาภาษีตามลําดับแลว ยังมีเงินเหลืออยูอีกเทาใด ใหแจงใหเจาของสินคานั้นมารับคืน ถาไมมา
รับคืนภายในหนึ่งปนับแตวนั แจง ใหเงินนั้นตกเปนของแผนดิน

มาตรา 164 ผูมีหนาที่เสียภาษีผูใดไมยื่น แบบรายการภาษี เพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายาม


หลีกเลี่ยงการเสียภาษี ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

มาตรา 165 ผูใดแจงขอความอันเปนเท็จ ตอบคําถามดวยถอยคําอันเปนเท็จ นํา


พยานหลักฐานเท็จมาแสดงหรือยื่นบัญชีหรือเอกสารอันเปนเท็จเพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสีย
ภาษี ตองระวางโทษจําคุกไมเกินเจ็ดป และปรับไมเกินสามแสนบาท

มาตรา 166 พนักงานเจาหนาที่หรือเจาพนักงานสรรพสามิตผูใดเปดเผยขอเท็จจริงใด


เกี่ยวกับกิจการของผูมีหนาที่เสียภาษีอนั เปนขอเท็จจริงที่ตามปกติวิสยั ของผูมีหนาที่เสียภาษีจะพึงสงวนไว
ไมเปดเผย ซึ่งตนไดมาหรือลวงรูเนื่องจากการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน
สามป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ เวนแตเปนการเปดเผยในการปฏิบัติราชการหรือ
เพื่อประโยชนในการสอบสวน หรือการพิจารณาคดี
- 44 -

มาตรา 167 ในกรณีที่ผูกระทําความผิดซึ่งตองรับโทษตามพระราชบัญญัตินี้เปนนิติบคุ คล


กรรมการผูจัดการ ผูจัดการ หรือผูแทนของนิติบุคคลนั้นตองรับโทษตามที่บัญญัติไวสําหรับความผิดนั้น ๆ
ดวย เวนแตจะพิสูจนไดวาตนมิไดรูเห็นหรือยินยอมในการกระทําความผิดของนิติบุคคลนั้น

มาตรา 168 บรรดาเครื่องมือ เครื่องใช ยานพาหนะ หรือวัตถุอื่นใดซึ่งบุคคลไดใชในการ


กระทําความผิด ใหศาลมีอํานาจสั่งริบเปนของกรมสรรพสามิต เวนแตทรัพยสินเหลานี้เปนทรัพยสินของ
ผูอื่นซึ่งมิไดรูเห็นดวยในการกระทําความผิด
สินคาในการกระทําความผิดที่มีโทษตามมาตรา 147 แสตมปสรรพสามิตหรือเครื่องหมาย
แสดงการเสียภาษีในการกระทําความผิดทีม่ ีโทษตามมาตรา 156ตลอดจนภาชนะที่บรรจุสิ่งของดังกลาว ให
ศาลสั่งริบเปนของกรมสรรพสามิตไมวาจะมีผูถูกลงโทษตามคําพิพากษาหรือไม

หมวด 14
บทเฉพาะกาล
--------

มาตรา 169 ใหถือวาแสตมปยานัดถุตามพระราชบัญญัติยานัดถุพุทธศักราช 2486 แสตมป


ไมขีดไฟตามพระราชบัญญัติภาษีไมขดี ไฟซึ่งทําในราชอาณาจักร พ.ศ. 2508 และแสตมปเครื่องดื่มตาม
พระราชบัญญัติภาษีเครื่องดืม่ พ.ศ. 2509 เปนแสตมปสรรพสามิตตามพระราชบัญญัตินี้
ใหถือวาสิ่งผนึกภาชนะที่ไดจดทะเบียนไวแลวตามพระราชบัญญัติภาษีเครื่องดื่ม พ.ศ.
2509 เปนเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียนที่ไดจดทะเบียนและไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว
ตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา 170 ผูประกอบเครื่องขีดไฟตามพระราชบัญญัติเก็บภาษีเครื่องขีดไฟซึ่งทําในพระ


ราชอาณาเขต พุทธศักราช 2476 และผูประกอบอุตสาหกรรมตามพระราชบัญญัติยานัดถุ พุทธศักราช 2486
ผูใดมีสินคาที่ไดเสียภาษีแลวตามพระราชบัญญัติดังกลาวแตยังมิไดเสียภาษีการคาตามประมวลรัษฎากรคง
เหลืออยูกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหผูนั้นยังคงมีหนาที่เสียภาษีการคาสําหรับสินคาดังกลาว

มาตรา 171 ผูประกอบอุตสาหกรรมใดมีสนิ คาที่ไดเสียภาษีการคาตามประมวลรัษฎากร


แลวอยูใ นโรงอุตสาหกรรมในวันทีก่ ฎหมายวาดวยพิกดั อัตราภาษีสรรพสามิตใชบังคับแกสินคานั้น ใหถือวา
เงินภาษีการคาที่ไดเสียไวแลวเปนภาษีที่ตองเรียกเก็บตามพระราชบัญญัตินี้ ถาเงินภาษีการคาที่เสียไวแลว
นั้นนอยกวาเงินภาษีทจี่ ะตองเสียตามพระราชบัญญัตินี้ใหเสียภาษีเพิ่มจนครบ ถามากกวา ใหขอคืนเงินสวน
ที่มากกวาจากกรมสรรพสามิตได และใหกรมสรรพสามิตคืนเงินดังกลาวโดยมิชักชา
- 45 -

มาตรา 172 ใหผูไดรับอนุญาตใหผลิตสิ่งผนึกภาชนะจดทะเบียนตามพระราชบัญญัติภาษี


เครื่องดื่ม พ.ศ. 2509 ยื่นคําขอรับใบอนุญาตผลิตเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีตามพระราชบัญญัตินี้ภายใน
วันที่ 31 ธันวาคมของปที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ และใหผูนั้นประกอบกิจการตอไปไดจนกวาอธิบดีจะ
สั่งไมอนุญาตตามคําขอ

มาตรา 173 บรรดาบทกฎหมายที่ใหยกเลิกตามมาตรา 3 วรรคหนึ่งแหงพระราชบัญญัตินี้


ใหยังคงใชบังคับไดตอไปเฉพาะในการปฏิบัติจัดเก็บภาษีที่คางอยูหรือทีพ่ ึงชําระหรือทีต่ องคืนกอนวันที่
พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ

มาตรา 174 บรรดากฎกระทรวง ประกาศ ระเบียบ หรือคําสั่งที่ออกตามบทกฎหมายที่ให


ยกเลิกมาตรา 3 วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัตินี้ใหคงใชบังคับไดตอไปเพียงเทา ที่ไมขัดหรือแยงกับบท
แหงพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ จนกวาจะไดมกี ฎกระทรวง ประกาศ ระเบียบ หรือคําสั่งที่ออกตาม
พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ
ผูรับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก ป. ติณสูลานนท
นายกรัฐมนตรี
อัตราคาธรรมเนียม

(1) ใบอนุญาตตั้งคลังสินคาทัณฑบน ฉบับละ 20,000 บาท


(2) คาธรรมเนียมคลังสินคาทัณฑบนรายป ฉบับละ 2,000 บาท
(3) การจดทะเบียนเครื่องหมายแสดงการเสียภาษี ลักษณะจําเพาะละ 1,000 บาท
(4) ใบอนุญาตผลิตเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียน ฉบับละ 20,000 บาท
(5) การตออายุใบอนุญาตตาม (4) ฉบับละ 20,000 บาท
(6) ใบอนุญาตนําเขาซึ่งเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียน ครั้งละ 500 บาท
(7) การควบคุมการผลิตเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีจดทะเบียน เดือนละ 10,000 บาท
(8) ใบแทนใบอนุญาต ฉบับละ 100 บาท
(9) การโอนใบอนุญาตครั้งละเทากับหนึ่งในหาของคาธรรมเนียมใบอนุญาตประเภทนั้น ๆ แตละฉบับ
- 46 -

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากในการจัดเก็บภาษีจากสินคา


ประเภทหนึ่ง ในปจจุบนั กรมสรรพสามิต ตองอาศัยกฎหมายฉบับหนึ่งโดยเฉพาะ ทั้ง ๆ ที่สินคาเหลานี้มี
วิธีการจัดเก็บภาษีที่คลายคลึงกันทําใหเปนที่ยุงยากตอผูมีหนาที่เสียภาษีและผูมีหนาทีจ่ ัดเก็บ นอกจากนี้ยัง
เปนการไมสะดวกตอการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีหรือการจัดเก็บภาษีสาํ หรับสินคาประเภทอื่นเพิ่มขึ้นเพราะ
แตละครั้งจะตองออกกฎหมายใหมหนึ่งฉบับสําหรับสินคาหนึ่งประเภท สมควรรวบรวมกฎหมายวาดวย
ภาษีตาง ๆ ซึ่งกรมสรรพสามิตเปนผูจัดเก็บที่มีวิธีการจัดเก็บคลายคลึงกันไวดว ยกันจึงจําเปนตองตรา
พระราชบัญญัตินี้

พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2534 (มาตรา 29)


มาตรา 29 บทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัตินี้ ไมใชบังคับแกสินคาที่ยงั มิไดนําออกจากโรงอุตสาหกรรม และเปนสินคาที่ตองเสียภาษี
การคาตามมาตรา 24 และมาตรา 26(1) แหงพระราชบัญญัติแกไขเพิม่ เติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 30) พ.ศ.
2534

พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2534 (มาตรา 30)


มาตรา 30 บทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 กอนการแกไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัตินี้ ใหยังคงใชบังคับตอไปสําหรับสินคาในกรณีดังตอไปนี้
(1) สินคาที่การปฏิบัติจัดเก็บภาษีคา งอยูหรือที่ถึงกําหนดชําระกอนวันทีพ่ ระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ
(2) สินคาที่ไดเสียภาษีโดยใชแสตมปสรรพสามิตหรือเครื่องหมายแสดงการเสียภาษีครบถวนแลว แต
ยังมิไดนําออกจากโรงอุตสาหกรรมกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ
(3) สินคาที่นําเขากอนวันทีพ่ ระราชบัญญัตินี้ใชบังคับที่อยูในอารักขาของศุลกากรและยังมิไดเสียภาษี
เวนแตสินคาทีเ่ ก็บอยูในคลังสินคาทัณฑบนตามกฎหมายวาดวยศุลกากร
(4) สินคาที่ไดรับการขยายเวลาการชําระภาษีตามมาตรา 14 หรือมาตรา 52 แหงพระราชบัญญัติภาษี
สรรพสามิต พ.ศ. 2527 ที่ไดนําออกจากโรงอุตสาหกรรมหรือคลังสินคาทัณฑบนกอนวันทีพ่ ระราชบัญญัตินี้
ใชบังคับ

พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2534 (มาตรา 31)


มาตรา 31 เพื่อประโยชนในการปฏิบัติตามมาตรา 29 และมาตรา 30 ใหผูประกอบอุตสาหกรรม ยื่น
บัญชีรายละเอียดสินคาโดยแสดงรายการ ประเภท ชนิด และปริมาณ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2534 พรอม
- 47 -

ทั้งระบุโรงอุตสาหกรรมหรือคลังสินคาทัณฑบนที่เก็บสินคานั้น และใหยนื่ บัญชีดังกลาวตอเจาพนักงาน


สรรพสามิตแหงทองที่ที่โรงอุตสาหกรรมหรือคลังสินคาทัณฑบนนั้นตั้งอยูภายในสิบหาวันนับแตวันที่
พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ
ใหผูนําเขายื่นบัญชีสินคาที่ไดนําเขาและอยูใ นอารักขาของศุลกากรแลวตอเจาพนักงานสรรพสามิต
แหงทองที่ที่มกี ารนําสินคาเขามาในราชอาณาจักรภายในเวลาที่กําหนดในวรรคหนึง่
ผูประกอบอุตสาหกรรมหรือผูนําเขาผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ตองระวาง
โทษปรับไมเกินหาพันบาท

พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2534


หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากไดมกี ารปรับปรุงระบบภาษีอากร
ของประเทศใหเหมาะสมกับสภาวการณทางเศรษฐกิจในปจจุบัน โดยพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวล
รัษฎากร (ฉบับที่ 30) พ.ศ. 2534 ไดยกเลิกภาษีการคาและนําภาษีมูลคาเพิ่มมาใชแทน สมควรเพิม่ การเก็บ
ภาษีสรรพสามิตจากบริการของสถานบริการตามที่กําหนดในกฎหมายวาดวยพิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต
และปรับปรุงภาษีสรรพสามิตเพื่อใหมีความสอดคลองกับการจัดเก็บภาษีมูลคาเพิ่มตามประมวลรัษฎากร
ดังกลาว อีกทั้งเพื่อใหเกิดความสะดวกในการจัดเก็บ จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้
*[รก. 2534/201/135/21 พฤศจิกายน 2534]

You might also like