You are on page 1of 13

1

บทที่ 1
ความรู้เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับสถิติ
ความหมายของสถิติ (Statistics)
1. ข้อความจริ ง ตัวเลขซึ่ งได้เก็บรวบรวมไว้
2. ศาสตร์อย่างหนึ่ง
ขอบข่ ายของสถิติ
ประเภทของสถิติ
1. สถิติวิเคราะห์เชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
2. สถิติวิเคราะห์เชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ศาสตร์ที่วา่ ด้วยการใช้ขอ้ มูลทางสถิติที่สุ่มมา
เป็ นตัวอย่างจากประชากรทั้งหมด ไปใช้อา้ งอิง (อนุมาน) หรื อพยากรณ์ค่าของประชากรทั้งหมด
ประโยชน์ ของสถิติกบั งานด้ านต่ างๆ
ความหมายของข้ อมูล - ข้อความจริ ง ตัวเลข
ประเภทของข้ อมูล
แบ่ งตามลักษณะของข้ อมูล
1. ข้อมูลเชิงคุณภาพ – บอกคุณภาพของลักษณะที่วดั ได้
2. ข้อมูลเชิงปริ มาณ – บอกปริ มาณของลักษณะที่วดั
2.1 ไม่ต่อเนื่อง
2.2 ต่อเนื่อง
แบ่ งตามแหล่ งทีม่ าของข้ อมูล
- ปฐมภูมิ
- ทุติยภูมิ
แบ่ งตามมาตรวัด
1. นามบัญญัติ (Nominal Scale) เป็ นการแบ่งกลุ่ม จัดประเภทสิ่ งต่างๆ โดยกำหนดเป็ น
ชื่อ หรื อรหัส เป็ นมาตรวัดที่หยาบที่สุด ไม่สามารถนำมา + , - , x และ / ทาง
คณิ ตศาสตร์ได้
2. จัดอันดับ (Ordinal Scale) เป็ นการเรี ยง หรื อจัดอันดับ ของสิ่ งที่เราศึกษา อาจกำหนด
เป็ นตัวเลข ไม่สามารถนำมา + , - , x และ / ทางคณิ ตศาสตร์ได้
3. อันตรภาค (Interval Scale) เป็ นการจำแนก เรี ยบอันดับข้อมูล และแต่ละหน่วยของ
การวัดมีค่าคงที่ ไม่มีจุดศูนย์ที่แท้จริ ง สามารถนำมา + และ - ทางคณิ ตศาสตร์ได้
4. อัตราส่ วน (Ratio Scale) เหมือนมาตรวัดอัตรภาค มีจุดศูนย์ที่แท้จริ ง สามารถนำมา
+ , - , x และ / ทางคณิ ตศาสตร์ได้

คำนิยามทางสถิติ
1. ค่าสังเกต (Observation) หมายถึง ค่าที่วดั ได้ สังเกตได้จากการทดลอง
2. ตัวแปร (Variable) หมายถึง ลักษณะที่ให้ค่าสังเกตเปลี่ยนแปลงได้หลายค่า สัญลักษณ์
ที่ใช้แทนตัวแปร แทนด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่
2.1 ตัวแปรไม่ต่อเนื่อง (Discrete variable) เป็ นตัวแปรที่ไม่สามารถให้ค่าสังเกตได้ครบ
ทุกค่าในช่วงที่กำหนด ให้ค่าเป็ นจำนวนนับ หรื อจำนวนเต็มบวก
2
2.2 ตัวแปรต่อเนื่อง (Continuous variable) เป็ นตัวแปรที่สามารถให้คา่ สังเกตครบทุก
ค่าในช่วงที่กำหนด
3. ประชากร(Population) หมายถึงทุกหน่วยในเรื่ องที่สนใจศึกษา
3.1 ประชากรจำกัด (Finite population) สามารถนับจำนวนได้แน่นอน
3.2 ประชากรอนันต์ (Infinite population) เป็ นประชากรที่มีจำนวนมากจนไม่สามารถ
นับจำนวนที่แน่นอนได้
4. ตัวอย่าง (Sample) หมายถึง ส่ วนหนึ่ง หรื อบางส่ วน ของประชากร
5. พารามิเตอร์ (Parameter) หมายถึง ค่าที่แสดงคุณลักษณะของประชากร
6. ค่าสถิติ (Statistic) หมายถึง ค่าที่แสดงคุณลักษณะของตัวอย่าง เพื่อนำไปประมาณค่า
ของพารามิเตอร์
ตัวอย่าง
พารามิเตอร์ ค่าสถิติ ความหมาย
 x ค่าเฉลี่ย
 S ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
2
 2
S ความแปรปรวน
p 
สัดส่ วน
p
 r ค่าสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์

ระเบียบวิธีการทางสถิติ
เป็ นขั้นตอนการดำเนินงานทางสถิติ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูล อาจเก็บในลักษณะข้อความหรื อตัวเลขจากประชากร ที่ตอ้ งการ มี 3 วิธี
1) การสำมะโน เป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากสมาชิกทุกหน่วยของประชากร
2) การสำรวจด้วยตัวอย่าง ทำการเก็บรวบรวมเพียงบางส่ วนของตัวอย่าง
3) การทดลอง ผูเ้ ก็บรวบรวมต้องทำการทดลองศึกษาจริ งอย่างมีระเบียบกฎเกณฑ์ ควบคุม
ปั จจัยที่ไม่เกี่ยวข้อง
2. การนำเสนอข้อมูล จัดข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาให้อยูใ่ นลักษณะเข้าใจง่าย เช่น บทความ ตาราง
กราฟเส้นและแผนภูมิต่างๆ
3. การวิเคราะห์ขอ้ มูล แบ่งเป็ น
การวิเคราะห์ขอ้ มูลขั้นต้น ซึ่ งจะใช้สถิติวิเคราะห์เชิงพรรณนา
การวิเคราะห์ขอ้ มูลขั้นสูง ซึ่ งจะใช้สถิติวิเคราะห์เชิงอนุมาน
4. การตีความหมายข้อมูล ทำการแปลผล แปลความหมายของข้อมูล ตลอดจนทำการสรุ ปผล

สั ญลักษณ์ การบวก (Summation)


N
1.  Xi  X1  X2  X3  ...  XN
i 1

N N N N
2.  ( Xi  Yi  Zi )   Xi   Yi   Zi
i 1 i 1 i 1 i 1
3
N N
3.  C Xi  C  Xi เมื่อ C เป็ นค่าคงที่ใดๆ
i 1 i 1

N
4.  C  NC เมื่อ C เป็ นค่าคงที่ใดๆ
i 1

ตัวอย่ างที่ 1
X1  5 , X2  3 , X3  2
กำหนดให้
Y1  3 , Y2  1 , Y3  9

จงหาค่าของ
3 3 3
1.  Xi ,  Yi 5.  Xi Yi
i 1 i 1 i 1

3 3 2
2.  Xi2 ,  Yi2 6.  (2 Xi  Xi Yi )
i 1 i 1 i 1

3 2
3.  3 Xi 7.  3( Xi  6 Yi )
i 1 i 1

3 3
4.  (5 Xi  6 ) 8.  (7 Xi2  10  Yi )
i 1 i 1

การวัดแนวโน้ มเข้ าสู่ ส่วนกลาง (Measure of Central Tendency)


1. ค่ าเฉลีย่ เลขคณิต (Arithmetic mean :  )
แบ่งเป็ น 2 กรณี
1.1 กรณี ขอ้ มูลไม่ได้แจกแจงความถี่ (Ungrouped Data)
N

ค่าเฉลี่ยของประชากร :  Xi ; เมื่อ N แทนจำนวนข้อมูลทั้งหมดของประชากร


i 1
 
N

ค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง :  Xi ; เมื่อ n แทนจำนวนข้อมูลทั้งหมดของตัวอย่าง


i 1
X 
n

ตัวอย่ างที่ 2 สอบถามพนักงาน 5 คน ที่ทำงานบริ ษทั แห่งหนึ่ง แผนกช่างยนต์ เกี่ยวกับเงินเดือน


ได้ผลดังนี้ 5000 , 5800 , 5700 , 5500 และ 5200 บาท จงหาเงินเดือนเฉลี่ยของทั้ง 5 คน
วิธีทำ
4
5
 Xi 5000  5800  5700  5500  5200
i 1
  
5 5
27200

5
 5440

ดังนั้น เงินเดือนเฉลี่ยของพนักงานบริ ษทั ทั้ง 5 คนเท่ากับ 5440 บาท

ตัวอย่ างที่ 3 จากการเลือกตัวอย่างคนไทยอายุ 15 ปี จำนวน 18 คน เพื่อคำนวณหาน้ำหนักเฉลี่ย


ของคนไทยที่มีอายุ 15 ปี ได้ดงั นี้ 45 , 32 , 71 , 51 , 51 , 49 , 54 , 61 , 51 , 63 , 39 , 47 , 59 , 61, 54 ,
49 , 53 และ 47 กิโลกรัม จงหาน้ำหนักเฉลี่ยของคนไทยอายุ 15 ปี
วิธีทำ
18
 Xi 45  32  71  ...  49  53  47
i 1
X  
18 18
937

18
 52.056

ดังนั้น คนไทยอายุ 15 ปี จะมีน ้ำหนักโดยเฉลี่ย เท่ากับ 52.056 กิโลกรัม

1.2 กรณี ขอ้ มูลแจกแจงความถี่ (Grouped Data)


ประชากร ตัวอย่าง
k k k k
 fiXi  fi Xi  fi Xi  fi Xi
i 1 i 1 i 1 i1
  k
 X  k

N n
 fi  fi
i 1 i 1

เมื่อ fi แทนความถี่ในชั้นที่ i
Xi แทนจุดกลางชั้นที่ i
k แทนจำนวนชั้น
N , n แทนจำนวนข้อมูลทั้งหมดของประชากรและตัวอย่าง ตามลำดับ

ตัวอย่ างที่ 4 ในการศึกษาเกี่ยวกับความสู งของเด็กแรกเกิดในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งจำนวน 100


คน ได้ขอ้ มูลดังตาราง
ความสูง (ซม.) จำนวน(คน)
5
60-62 5
63-65 18
66-68 42
69-71 27
72-74 8

รวม 100

จงคำนวณหาความสูงโดยเฉลี่ยของเด็กแรกเกิดทั้ง 100 คน

วิธีทำ
5
 fiXi (5 * 61 )  (18 * 64 )  ( 42 * 67 )  ( 27 * 70 )  ( 8 * 73 )
i 1
  
100 100
305  1152  2814  1890  584

100
6745

100
 67.45

ดังนั้น ความสูงเฉลี่ยของเด็กแรกเกิดทั้ง 100 คน เท่ากับ 67.45 ซม.

คุณสมบัติของค่าเฉลีย่ เลขคณิต
1. ในข้อมูลแต่ละชุดที่เป็ นตัวเลข หาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตได้เสมอ และมีได้เพียงค่าเดียวเท่านั้น
2. ถ้าข้อมูลมีค่าสูงหรื อต่ำเกินไปจากค่าอื่นๆ การคำนวณค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตจะไม่เหมาะสม
3. หาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตได้เมื่อทราบค่าทุกค่าของข้อมูล
N
4. ค่าของ  ( Xi  )  0
i 1
N
5. ค่าของ  ( Xi  ) 2 จะมีค่าน้อยสุ ด
i 1

6. นำค่าคงที่ไปบวกหรื อลบข้อมูลแต่ละตัว ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตชุดใหม่จะเพิม่ หรื อลดเท่ากับค่า


คงที่น้ นั
1
7. ถ้าคูณข้อมูลด้วย m หรื อ m เมื่อ m  0 ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตชุดใหม่จะเป็ น
1
m เท่าหรื อ เท่าของค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตชุดเดิม
m

2. มัธยฐาน (Median) หมายถึงค่าที่อยูต่ รงกลางข้อมูล เมื่อเรี ยงจากน้อยไปมาก หรื อมากไปน้อย

3. ฐานนิยม (Mode) หมายถึงข้อมูลที่เกิดขึ้นบ่อยๆ หรื อซ้ำกันมากที่สุด


6

การวัดการกระจายของข้ อมูล
1. พิสัย (Range) เป็ นการวัดการกระจายของข้อมูลอย่างหยาบๆ
1.1 กรณี ขอ้ มูลไม่ได้แจกแจงความถี่ (Ungrouped Data)
พิสยั = ค่าสูงสุ ดของข้อมูล – ค่าต่ำสุ ดของข้อมูล
1.2 กรณี ขอ้ มูลที่มีการแจกแจงความถี่ (Grouped Data)
พิสยั = ขอบเขตบนของชั้นที่มีคา่ สู งสุ ด – ขอบเขตล่างของชั้นที่มีคา่ ต่ำสุ ด
2. การหาค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation :  )
แบ่งเป็ น 2 กรณี
2.1 กรณี ขอ้ มูลไม่ได้แจกแจงความถี่ (Ungrouped Data)

ประชากร ตัวอย่าง
N n
 ( Xi  ) 2  ( Xi  X) 2
i 1 i 1
2  S2 
N n 1
N n

N
(  Xi ) 2 n
(  Xi ) 2
 Xi2  i 1
N
 Xi2  i 1
n
i 1 i 1
 
N n 1
N n n
 Xi2 n  Xi2  (  Xi ) 2
i 1 i 1 i 1
  2 
N n (n  1)

  2 S  S2

เมื่อ N, n แทนจำนวนข้อมูลทั้งหมดของประชากรและตัวอย่าง ตาม


ลำดับ

2.2 กรณี ขอ้ มูลแจกแจงความถี่ (Grouped Data)

ประชากร ตัวอย่าง
7
k k
 fi ( Xi  ) 2  fi ( Xi  X) 2
i 1 i1
2  S2 
N n 1
k k

k
(  fi Xi ) 2 k
(  fi Xi ) 2
 fi Xi2  i 1
N
 fi Xi2  i 1
n
i 1 i 1
 
N n 1
k k k
 fi Xi2 n  fi Xi2  (  fi Xi ) 2
i 1 i 1 i 1
  2 
N n ( n  1)

  2 S  S2

เมื่อ fi แทนความถี่ในชั้นที่ i
Xi แทนจุดกลางชั้นที่ i
k แทนจำนวนชั้น
N , n แทนจำนวนข้อมูลทั้งหมดของประชากรและตัวอย่าง ตามลำดับ

ตัวอย่ างที่ 5 จากการบันทึกของเจ้าหน้าที่หอสมุดปรากฏว่ามีจำนวนนักศึกษาเข้าใช้บริ การของหอ


สมุดตั้งแต่วนั จันทร์ถึงศุกร์ ในช่วงปิ ดเทอม เป็ น 90 , 74 , 80 , 110 และ 96 ตามลำดับ จง
คำนวณหาค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการใช้บริ การในห้องสมุดทั้ง 5 วัน
วิธีทำ
5
 Xi 90  74  80  110  96
i1
  
5 5
450

5
 90
N
 ( Xi  ) 2
i1
2 
N
( 90  90 ) 2  ( 74  90 ) 2  ( 80  90 ) 2  (110  90 ) 2  ( 96  90 ) 2

5
0  256  100  400  36
  158.4
5

  158.4  12.5857  12.59

ดังนั้น ค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการใช้บริ การในห้องสมุดทั้ง 5 วัน เท่ากับ


90 คน และ 12.59 คน ตามลำดับ

ตัวอย่ างที่ 6 ในการศึกษาเกี่ยวกับน้ำหนักของเด็กนักเรี ยนจำนวน 40 คน ได้ขอ้ มูลดังนี้


8

น้ำหนัก (ซม.) จำนวน(คน)


28-32 2
33-37 8
38-42 15
43-47 10
48-52 5

รวม 40

จงคำนวณหาส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและความแปรปรวนของเด็กนักเรี ยนจำนวน 40 คน


วิธีทำ
5
 fi Xi
i1
 
40
( 2 * 30 )  ( 8 * 35 )  (15 * 40 )  (10 * 45 )  (5 * 50 )

40
60  280  600  450  250 1640
 
40 40

 41

5
 fi Xi2
i1
2   2
40
( 2 * 900 )  ( 8 * 1225 )  (15 * 1600 )  (10 * 2025 )  (5 * 2500 )
  ( 41 ) 2
40
1800  9800  24000  20250  12500
  1681
40
68350
 - 1681  27.75
40

  27 . 75  5.268

ดังนั้น ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและความแปรปรวนของน้ำหนักนักเรี ยนทั้ง 40 คน


เท่ากับ 5.268 กิโลกรัม และ 27.75 คน 2 ตามลำดับ

คุณสมบัติของส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
1. ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจะมีค่าเป็ นบวกเสมอ
2. ถ้าข้อมูลชุดหนึ่งมีค่าสังเกตเท่ากันหมด แสดงว่าไม่มีการกระจายของข้อมูล จะมีส่วนเบี่ยง
เบนมาตรฐานเท่ากับ 0
3. ถ้าค่าของส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีคา่ มาก แสดงว่าข้อมูลมีการกระจายมาก
ถ้าค่าของส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีคา่ น้อย แสดงว่าข้อมูลมีการกระจายน้อย
9
4. ถ้านำค่าคงที่ไปบวกหรื อลบกับค่าสังเกตทุกค่าในข้อมูลชุดเดิม ค่าของส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานของข้อมูลชุดใหม่จะเท่ากับส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดเดิม
1
5. ถ้านำค่าคงที่ไปคูณ กับค่าสังเกตทุกค่าในข้อมูลชุดเดิม ด้วย m หรื อ m เมื่อ m  0
1
ค่าของส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดใหม่จะเท่ากับ m เท่าหรื อ m เท่าของ
ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดเดิม ค่าความแปรปรวนของข้อมูลชุดใหม่จะเป็ น
1
m2 เท่า หรื อ m 2 เท่าของความแปรปรวนชุดเดิม
3. สั มประสิทธิ์การกระจายของส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานหรือสั มประสิทธิ์ความผันแปร
(Coefficient of Standard Deviation : Coeff.S.D. or Coefficient of Variation : C.V. )
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
C. V.   100
ค่าเฉลี่ย


  100

S
  100
X

ตัวอย่ างที่ 7 ความสูงของหนูมีค่าเฉลี่ย 3 ซม. ความแปรปรวน 1 ซม.2 ความสู งของช้างมีคา่ เฉลี่ย


2.65 เมตร ความแปรปรวน 0.64 เมตร 2 ให้ทำการเปรี ยบเทียบว่าหนู หรื อช้างที่มีการกระจายของ
ความสู งมากกว่ากัน
1
วิธีทำ ส.ป.ส. การแปรผันของหนู (C.V.) = 3 x 100  33.33 %
0.8
ส.ป.ส. การแปรผันของช้าง (C.V.) = 2 . 65
x 100  30.189 %

ดังนั้น ความสูงของหนูมีการกระจายมากกว่าความสู งของช้าง เพราะมีค่ามากกว่า

คะแนนมาตรฐาน (Standard Score)


ประชากร ตัวอย่าง
X  X X
Z  Z 
 S

ตัวอย่ างที่ 8 นายประเวช ลงทะเบียนเรี ยนในภาคฤดูร้อน 3 วิชา ปรากฏว่าได้คะแนนสอบกลาง


ภาค ดังนี้
ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
คะแนนที่สอบได้ ค่าเฉลี่ยของวิชา
ของวิชา
วิชาคณิ ตศาสตร์ 42 40 12
วิชาสังคม 58 60 7
วิชาภาษาไทย 48 55 10
10

อยากทราบว่านายประเวชเรี ยนวิชาใดได้ดีกว่ากัน
วิธีทำ
42  40
คะแนนมาตรฐานของวิชาคณิ ตศาสตร์ ( Z ) = 12
 0.167

58  60
คะแนนมาตรฐานของวิชาสังคม ( Z ) = 7
 - 0.286

48  55
คะแนนมาตรฐานของวิชาเคมี ( Z ) = 10
 - 0.70

เนื่องจาก ค่า Z ของวิชาคณิ ตศาสตร์มีค่ามากสุ ด จึงสรุ ปได้วา่ นายประเวชเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ได้ดี


ที่สุด รองลงมาคือ วิชาสังคม และวิชาเคมี

ตัวอย่ างที่ 9 นาย ก นาย ข และนาย ค ทดสอบวิ่งในระยะทางต่างกัน คือ 200, 400 และ 800
เมตร ตามลำดับ ใช้เวลาในการวิ่งเท่ากับ 48 , 70 และ 110 ตามลำดับ ข้อมูลได้ดงั นี้

ระยะทาง ค่าเฉลี่ย ความแปรปรวน


200 เมตร 40 16
400 เมตร 68 20
800 เมตร 115 25

จงเปรี ยบเทียบว่าใครวิง่ ได้ดีที่สุด


48  40
วิธีทำ คะแนนมาตรฐานของนาย ก ( Z ) = 16
 2

70  68
คะแนนมาตรฐานของนาย ข ( Z ) = 20
 0.4472

110  115
คะแนนมาตรฐานของนาย ค ( Z ) = 25
 -1

เนื่องจาก ค่า Z ของนาย ค มีคา่ น้อยสุ ด จึงสรุ ปได้วา่ นาย ค วิ่งได้ดีที่สุด รองลงมาคือ นาย ข
และนาย ก

แบบฝึ กหัดเรื่องสถิติเบือ้ งต้ น


ข้ อที่ 1 ในการทดลองยาชนิดหนึ่งโดยให้กระต่าย 10 ตัวทดลองกิน พบว่ากระต่ายจะตายหลังจาก
11
กิน ยาเข้า ไปเป็ น เวลา (นาที) ดังนี้ 44, 27, 24, 36, 44, 44, 29, 36, 36, และ 36
จงคำนวณหา
1) เวลาเฉลี่ยที่กระต่ายกินเข้าไปแล้วตาย
2) ค่ามัธยฐานของเวลาที่กระต่ายกินเข้าไปแล้วตาย
3) ค่าฐานนิยมของเวลาที่กระต่ายกินเข้าไปแล้วตาย
4) ความแปรปรวน
5) ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
6) พิสยั
7) สัมประสิ ทธิ์ ของความแปรผัน

ข้ อที่ 2 ในการตรวจสอบการเกิดโรคเนื่องจากอาหารเป็ นพิษครั้งหนึ่งของผูป้ ่ วย 30 คน พบว่า


ระยะฟักตัวของโรคเป็ นดังนี้
ระยะฟักตัว (ชัว่ โมง) จำนวนผูป้ ่ วย
2 5
3 4
4 7
5 8
6 5
10 1
จงหาค่าของ
1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต 2) ค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3) สัมประสิ ทธิ์ ของความแปรผัน

ข้ อที่ 3 ในการสำรวจราคาสิ นค้าชนิดหนึ่งจากร้านค้าที่ขายสิ นค้าชนิดนั้นจำนวน 120 ร้าน


ปรากฏว่า ตารางแจกแจงความถี่ของจำนวนร้านที่ขายสิ นค้าราคาต่าง ๆ กันดังนี้

ราคา (บาท) 90 - 94 95 – 99 100 – 104 105 – 109 110 - 114


จำนวนร้านค้า 15 20 30 35 20

จงหา 1) หาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต
2) ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3) สัมประสิ ทธิ์ ของการแปรผัน

ข้ อที่ 4 จากการสำรวจจำนวนสิ นค้าชนิดหนึ่งที่ร้านค้าปลีก จำหน่ายได้ในปี พ.ศ. 2537 ปรากฏว่า


จำนวนสิ นค้าเฉลี่ยต่อร้านที่ร้านค้าปลีกในภาคกลางขายได้เป็ น 7,960 ชิ้น ภาคใต้ขายได้
5,112 ชิ้น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือขายได้ 4,554 ชิ้น และภาคเหนือขายได้ 5,202 ชิ้น
ถ้าจำนวนร้านค้าปลีกใน 4 ภาคเป็ น 780, 470, 1350 และ 970 ร้าน ตามลำดับ จงหายอด
รวมของสิ นค้าและจำนวนสิ นค้าเฉลี่ยต่อร้านของร้านค้าปลีกทัว่ ประเทศ
ข้ อที่ 5 คนกลุ่มหนึ่งเป็ นชาย 60 คน หญิง 40 คน คำนวณค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของอายุกลุ่มชายได้
เท่ากับ 15 ปี และค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของอายุกลุ่มหญิงได้เท่ากับ 14 ปี แต่ปรากฏว่ามี 2
12
คนในกลุ่มนี้บอกอายุเกินไปคนละ 1 ปี และอีก 3 คนบอกอายุต ่ำกว่าความจริ งไปคนละ
2 ปี จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของอายุที่แท้จริ งของคน 100 คนนี้
ข้ อที่ 6 ให้ X เป็ นราคาสิ นค้าชนิดที่ 1 , Y เป็ นราคาสิ นค้าชนิดที่ 2
ถ้าร้านค้าขายสิ นค้าทั้งสองชนิดมีชนิดละ 10 ร้าน กำหนดให้
10 10

X i
2
 110 Y i
2
 1250
i 1 และ i 1

10 10

 X i  30 Y i  110
i 1 และ i 1
จงหาว่าราคาสิ นค้าชนิดใดมีการกระจายมากกว่ากัน
ข้ อที่ 7 คะแนนสอบวิชาสถิติของนิสิตกลุ่มหนึ่งมีเส้นโค้งความถี่เป็ นเส้นโค้งเบ้ทางซ้ายมือ โดย
นิสิตส่ วนมากสอบได้คะแนนเท่ากันคือ 75 คะแนน สมชายสอบได้คะแนนเท่ากับค่า
เฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนสอบของนิสิตทั้งกลุ่มซึ่ งคะแนนสอบของสมชายต่างจาก
ฐานนิยมของคะแนนสอบอยู่ 6 คะแนน จงหามัธยฐานของคะแนนสอบวิชาสถิติของนิสิต
กลุ่มนี้
ข้ อที่ 8 ในการสอบแข่งขันชิงทุนการศึกษา ปรากฏว่ามีผเู ้ ข้าสอบ 1,000 คน ในจำนวนนี้มีนกั เรี ยน
ชาย 600 คน ส่ วนที่เหลือเป็ นนักเรี ยนหญิง ผลปรากฏว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนสอบ
ของนักเรี ยนชายและหญิงเท่ากัน คือ 50 คะแนน ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบ
ของนักเรี ยนชายและหญิงเท่ากับ 1.5 และ 1 คะแนน ตามลำดับ จงหาสัมประสิ ทธิ์ ของ
การแปรผันของคะแนนสอบทั้งหมด
ข้ อที่ 9 ในการสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ของนักเรี ยน 10 คน ปรากฏผลว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของ
คะแนนสอบเท่ากับ 73 คะแนน ถ้าเราทราบคะแนนสอบของนักเรี ยน 8 คนว่ามีคะแนน
ดังนี้ 58 , 62 , 79 , 85 , 61 , 62 , 95 , 90 ส่ วนคะแนนของนักเรี ยนอีก 2 คนหายไป และ
ทราบว่าผลต่างของคะแนนเท่ากับ 8 คะแนน มัธยฐานของคะแนนสอบของนักเรี ยนทั้ง
10 คน มีค่าเท่ากับเท่าไร
ข้ อที่ 10 ในการชัง่ น้ำหนักเด็กกลุ่มหนึ่ง คำนวณค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตได้เท่ากับ 20 กิโลกรัม และ
ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานได้เท่ากับ 3 กิโลกรัม ต่อมาทราบว่าเครื่ องชัง่ น้ำหนักนั้นให้คา่
ต่ำกว่าที่เป็ นจริ ง นัน่ คือ น้ำหนักที่ถูกต้องของเด็กแต่ละคนมากกว่าน้ำหนักที่ชงั่ ได้ร้อย
ละ 10 ดังนั้นค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ถูกต้องของน้ำหนักของเด็กกลุ่มนี้เท่ากับเท่าไร
ข้ อที่ 11 จำนวนผลิตต่อชัว่ โมงของเครื่ องจักรใหม่จะเป็ น 4 เท่าของเครื่ องจักรเก่า ถ้าค่าเฉลี่ย
เลขคณิ ต และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของจำนวนผลผลิตต่อชัว่ โมงของเครื่ องจักรเก่า ซึ่ ง
ทำการผลิตในช่วงเวลา 10 ชัว่ โมง มีค่าเป็ น 20 และ 4 หน่วย ตามลำดับแล้ว ค่าเฉลี่ย
เลขคณิ ตและค่าความแปรปรวนของจำนวนผลผลิต ต่อ ชัว่ โมงของเครื่ อ งจักรใหม่ซ่ ึ ง
ทำการผลิตในช่วงเวลา 10 ชัว่ โมงคือเท่าใด

ข้ อที่ 12 จากข้อมูลต่อไปนี้
ชุดที่ 1 2 3 6 8 5 9
ชุดที่ 2 3 7 9 4 7 5
13

ก. จงหาค่าเฉลี่ย พิสยั และความแปรปรวนของข้อมูลแต่ละชุด


ข. ข้อมูลชุดใดมีการกระจายมากกว่ากัน เพราะเหตุใด

ข้ อที่ 13 จากการทดสอบวัดความรู้ทางสถิติ 3 ครั้ง ปรากฏว่านายสมหมายสอบได้คะแนนดังตาราง


คะแนนที่ได้ ค่าเฉลี่ยของทั้งห้อง ความแปรปรวน
สอบครั้งที่ 1 65 62 25
สอบครั้งที่ 2 70 75 16
สอบครั้งที่ 3 82 78 36
อยากทราบว่าสมหมายสอบวัดความรู ้ทางสถิติ ครั้งไหนได้ดีที่สุด เพราะเหตุใด

หลักสถิติหลักสถิติหลักสถิติหลักสถิติหลักสถิติหลักสถิติหลักสถิติหลักสถิติหลักสถิติหลักสถิติ

You might also like