You are on page 1of 13

มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม

THAI INDUSTRIAL STANDARD


มอก.2377 2551

แผนยางปูพื้น
RUBBER FLOORING

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม ICS 83.140.99 ISBN 978-974-292-552-9
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
แผนยางปูพื้น

มอก.2377 2551

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท 0 2202 3300

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทัว่ ไป เลม 126 ตอนพิเศษ 11 ง


วันที่ 26 มกราคม พุทธศักราช 2552
คณะกรรมการวิชาการคณะที่ 1002
มาตรฐานแผนยางเชิงวิศวกรรม
ประธานกรรมการ
นางวราภรณ ขจรไชยกูล ผทู รงคุณวุฒิ
กรรมการ
นายเออรวนิ มูลเลอร ผทู รงคุณวุฒิ
นายพายับ นามประเสริฐ กรมวิทยาศาสตรบริการ
นายเจน บุญซือ่ การรถไฟแหงประเทศไทย
นายอาจิณ โพธิพ์ านิช การกีฬาแหงประเทศไทย
นายกิตติกร ตันเปาว การรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย
นายบุญหาญ ออู ดุ มยิง่ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
นายพงษธร แซอยุ ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (เอ็มเทค)
กรรมการและเลขานุการ
นางกิง่ แกว อริยเดช สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กรรมการและผูชวยเลขานุการ
นายนรพงศ วรอาคม สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม

(2)
แผนยางปูพนื้ เปนผลิตภัณฑทใี่ ชกนั มากทัง้ ในสำนักงาน อาคารทัว่ ไป และโรงงานตางๆ ใชสำหรับปูพนื้ เพือ่ วัตถุประสงค
ตางๆ เชน เพือ่ ความสวยงาม เพือ่ ความปลอดภัย ดังนัน้ เพือ่ ใหมกี ารทำแผนยางปูพนื้ ทีม่ คี ณ
ุ ภาพและปลอดภัยใน
การใชงาน จึงกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม แผนยางปูพนื้ ขึน้
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนีก้ ำหนดขึน้ โดยใชขอ มูลจากผทู ำ ผใู ช และเอกสารตอไปนีเ้ ปนแนวทาง
BS 1711 : 1975 Specification for Solid rubber flooring
BS EN 1817 : 1998 Resilient floor coverings - Specification for homogeneous and
heterogeneous smooth rubber floor coverings
ISO 37 : 2005 Rubber, vulcanized or thermoplastic - Determination of tensile stress-
strain properties
ISO 188 : 1998 Rubber, vulcanized or thermoplastic - Accelerated ageing and heat
resistance tests
ISO 815 : 1991 Rubber, vulcanized or thermoplastic - Determination of compression
set at ambient, elevated or low temperatures
ISO 1817 : 2005 Rubber, vulcanized - Determination of the effect of liquids
ISO 4649 : 2002 Rubber, vulcanized or thermoplastic - Determination of abrasion
resistance using a rotating cylindrical drum device
ASTM D 2240-04 Standard Test Method for Rubber Property - Durometer Hardness
ASTM F 925-02 Standard Test Method for Resistance to Chemicals of Resilient
Flooring
ASTM G 154-06 Standard Practice for Operating Fluorescent Light Apparatus for UV
Exposure of Nonmetallic Materials
BS EN 1399 : 1998 Resilient floor coverings - Determination of resistance to stubbed and
burning cigarettes
IEC 60695-11-10 : 1999 Fire Hazard Testing - Part 11-10 : Test flames - 50 W horizontal
and vertical flame test methods

คณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมไดพจิ ารณามาตรฐานนีแ้ ลว เห็นสมควรเสนอรัฐมนตรีประกาศตาม


มาตรา 15 แหงพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2511

(3)
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉบับที่ 3851 ( พ.ศ. 2551 )
ออกตามความในพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
พ.ศ. 2511
เรือ่ ง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
แผนยางปูพนื้

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 15 แหงพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2511


รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม แผนยางปูพื้น
มาตรฐานเลขที่ มอก.2377-2551 ไว ดังมีรายการ ละเอียดตอทายประกาศนี้

ประกาศ ณ วันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2551


สุวทิ ย คุณกิตติ
รัฐมนตรีวา การกระทรวงอุตสาหกรรม

(5)
มอก. 2377-2551

มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
แผนยางปูพื้น
1. ขอบขาย
1.1 มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนีค้ รอบคลุมแผนยางปูพนื้ ทีใ่ ชงานทัว่ ไป ใชภายในอาคาร แตไมรวมถึงแผนยาง
ปูพนื้ ทีม่ สี มบัตพิ เิ ศษตางๆ เชน ทนน้ำมัน ทนสารเคมี เปนฉนวนไฟฟา หรือนำไฟฟาได

2. บทนิยาม
ความหมายของคำทีใ่ ชในมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนี้ มีดงั ตอไปนี้
2.1 แผนยางปูพนื้ หมายถึง แผนยางทีม่ ลี กั ษณะเปนแผนเดีย่ วหรือเปนแผนตอเนือ่ ง ใชสำหรับปูพนื้ อาจมีชนั้ เดียว
หรือหลายชัน้ อาจมีสดี ำหรือสีอนื่ มีผวิ เรียบหรือไมเรียบ มีลวดลายหรือไมมลี วดลายก็ได ทำจากยางธรรมชาติ
และ/หรือ ยางสังเคราะหและ/หรือยางรีเคลม

3. ประเภท ชนิด และแบบ


3.1 แผนยางปูพนื้ แบงตามการใชงานเปน 2 ประเภท คือ
3.1.1 ประเภทที่ 1 ใชปพู นื้ ทัว่ ไป
3.1.2 ประเภทที่ 2 ใชปพู นื้ ภายในอาคาร
3.2 แผนยางปูพนื้ แตละประเภท แบงตามความแข็ง ซึง่ วัดโดยเครือ่ ง Durometer Type A เปน 5 ชนิด คือ
3.2.1 ชนิดความแข็ง 50
3.2.2 ชนิดความแข็ง 60
3.2.3 ชนิดความแข็ง 70
3.2.4 ชนิดความแข็ง 80
3.2.5 ชนิดความแข็ง 90
3.3 แผนยางปูพนื้ แตละชนิด แบงตามรูปรางเปน 2 แบบ คือ
3.3.1 แบบแผนเดีย่ ว (tile)
3.3.2 แบบแผนตอเนือ่ ง (sheet)

-1-
มอก. 2377-2551

4. ขนาดและเกณฑความคลาดเคลือ่ น
4.1 แบบแผนเดีย่ ว
4.1.1 ความกวางและความยาว
ใหเปนไปตามทีร่ ะบุไวทฉี่ ลาก โดยมีเกณฑความคลาดเคลือ่ นในแตละดานไมเกิน ± รอยละ 0.5
4.1.2 ความหนา
ใหเปนไปตามทีร่ ะบุไวทฉี่ ลาก โดยมีเกณฑความคลาดเคลือ่ น ± 0.2 มิลลิเมตร
การทดสอบใหปฏิบตั ติ ามขอ 9.1.1
4.2 แบบแผนตอเนือ่ ง
4.2.1 ความกวางและความยาว
ความกวางใหเปนไปตามทีร่ ะบุไวทฉี่ ลาก โดยมีเกณฑความคลาดเคลือ่ นไมเกิน ± รอยละ 0.5 และความยาว
ตองไมนอ ยกวาทีร่ ะบุไวทฉี่ ลาก
4.2.2 ความหนา
ใหเปนไปตามทีร่ ะบุไวทฉี่ ลาก โดยมีเกณฑความคลาดเคลือ่ นของความหนา ดังนี้
(1) แผนยางปูพนื้ ประเภทที่ 1 มีเกณฑความคลาดเคลือ่ น ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 ความหนาและเกณฑความคลาดเคลือ่ น
(ขอ 4.2.2 (1))

หนวยเปนมิลลิเมตร
ความหนา เกณฑความคลาดเคลื่อน
2.0 ถึง 5.9 ± 0.50
6.0 ถึง 10.9 ± 1.00
11.0 ถึง 15.9 ± 1.50
16.0 ถึง 20.0 ± 2.00

(2) แผนยางปูพนื้ ประเภทที่ 2 มีเกณฑความคลาดเคลือ่ นไมเกิน ± 0.2 มิลลิเมตร


การทดสอบใหปฏิบตั ติ ามขอ 9.1.2

5. คุณลักษณะทีต่ อ งการ
5.1 ลักษณะทัว่ ไป
ตองปราศจากขอบกพรองที่มีผลเสียหายตอการใชงาน เชน ตองไมมีรอยฉีกขาด สิ่งแปลกปลอมสำหรับ
แผนยางปูพนื้ ประเภทที่ 2 ตองไมมฟี องอากาศและรอยดางของสี
การทดสอบใหทำโดยการตรวจพินจิ

-2-
มอก. 2377-2551

5.2 ความแข็ง
เมื่อทดสอบตามขอ 9.2 แลว แผนยางปูพื้นตองมีคาความแข็งตามชนิดที่ผูทำระบุ โดยใหมีเกณฑความ
+5
คลาดเคลือ่ นของความแข็ง -4
5.3 ความตานแรงดึงและความยืดเมือ่ ขาด
เมือ่ ทดสอบตามขอ 9.3 แลว แผนยางปูพนื้ ตองมีคา ความตานแรงดึงไมนอ ยกวา 4 เมกะพาสคัล และความยืด
เมือ่ ขาดไมนอ ยกวารอยละ 150
5.4 การบมเรง
เมือ่ ทดสอบตามขอ 9.4 แลว ตองเปนดังนี้
(1) ความแข็งเปลีย่ นแปลงไดไมเกิน 5 จากคากอนบมเรง
(2) ความตานแรงดึงลดลงไดไมเกินรอยละ 25 จากคากอนบมเรง
(3) ความยืดเมือ่ ขาดลดลงไดไมเกินรอยละ 50 จากคากอนบมเรง
5.5 ความทนตอการขัดสี
เมือ่ ทดสอบตามขอ 9.5 แลว ปริมาตรสูญเสียของแผนยางปูพนื้ ตองไมเกิน 500 ลูกบาศกมลิ ลิเมตร
5.6 การยุบตัวเนือ่ งจากแรงอัด
เมือ่ ทดสอบตามขอ 9.6 แลว การยุบตัวตองไมเกินรอยละ 40
5.7 ความคงทนของสีตอ สภาพลมฟาอากาศโดยวิธเี รงภาวะ (เฉพาะประเภทที่ 2)
เมือ่ ทดสอบตามขอ 9.7 แลว ความแตกตางของสี ตองไมต่ำกวาเกรยสเกลระดับ 3
5.8 ความทนตอความรอนของบุหรี่ (เฉพาะประเภทที่ 2)
5.8.1 ความทนตอกนบุหรี่
เมือ่ ทดสอบตามขอ 9.8.1 method A แลว ตองไมต่ำกวาระดับที่ 4
5.8.2 ความทนตอการไหมของบุหรี่
เมือ่ ทดสอบตามขอ 9.8.2 method B แลว ตองไมตำ่ กวาระดับที่ 3

6. การบรรจุ
6.1 ใหหมุ หอหรือบรรจุแผนยางปูพนื้ ในภาชนะบรรจุทเี่ หมาะสม เพือ่ ปองกันความเสียหายทีอ่ าจเกิดขึน้ ระหวาง
การขนสงและการเก็บรักษา
6.2 หากมิไดตกลงกันไวเปนอยางอืน่ ใหบรรจุแผนยางปูพนื้ ดังนี้
(1) แบบแผนเดีย่ ว ใหเรียงแผนยางปูพนื้ ซอนเปนชัน้ แลวหมุ หอดวยวัสดุทเี่ หมาะสม เพือ่ ปองกันความเสียหาย
ทีอ่ าจเกิดขึน้ ระหวางการขนสง และการเก็บรักษา จำนวนแผนยางปูพนื้ ตองไมนอ ยกวาทีร่ ะบุไวทฉี่ ลาก
(2) แบบแผนตอเนือ่ ง ใหหมุ หอดวยวัสดุทเี่ หมาะสมเพือ่ ปองกันความเสียหายทีอ่ าจเกิดขึน้ ระหวางการขนสง
และการเก็บรักษา จำนวนแผนยางปูพนื้ ตองไมนอ ยกวาทีร่ ะบุไวทฉี่ ลาก

-3-
มอก. 2377-2551

7. เครือ่ งหมายและฉลาก
7.1 ที่ วั ส ดุ หุ ม ห อ หรื อ ภาชนะบรรจุ แ ผ น ยางปู พื้ น ทุ ก หน ว ย อย า งน อ ยต อ งมี เ ลข อั ก ษร หรื อ เครื่ อ งหมาย
แจงรายละเอียดตอไปนีใ้ หเห็นไดงา ย ชัดเจน และไมลบเลือนงาย
(1) ชือ่ ผลิตภัณฑตามมาตรฐานนีห้ รือชือ่ อืน่ ทีส่ อื่ ความหมายวาเปนผลิตภัณฑตามมาตรฐานนี้
(2) ประเภท ชนิด และแบบ
(3) ความกวาง × ความยาว × ความหนา เปน เซนติเมตร × เซนติเมตร × มิลลิเมตร (แบบแผนเดีย่ ว)
เปน เมตร × เมตร × มิลลิเมตร (แบบแผนตอเนือ่ ง)
(4) สี ลวดลาย หรือรหัส
(5) เดือน ปทที่ ำ หรือรหัสรนุ ทีท่ ำ
(6) ชือ่ ผทู ำหรือโรงงานทีท่ ำ พรอมสถานทีต่ งั้ หรือเครือ่ งหมายการคาทีจ่ ดทะเบียน
ในกรณีทใี่ ชภาษาตางประเทศ ตองมีความหมายตรงกับภาษาไทยทีก่ ำหนดไวขา งตน

8. การชักตัวอยางและเกณฑการตัดสิน
8.1 การชักตัวอยางและเกณฑตดั สิน ใหเปนไปตามภาคผนวก ก.

9. การทดสอบ
9.1 ขนาด
9.1.1 แบบแผนเดีย่ ว
(1) ความกว า งและความยาว ให ใ ช เ ครื่ อ งวั ด ละเอี ย ดถึ ง 0.1 มิ ล ลิ เ มตร วั ด ความกว า งแล
ความยาวของแผนยางปูพนื้ ดานละ 3 จุด ซึง่ มีระยะหางเทาๆ กัน ดังแสดงในรูปที่ 1 แลวหาคาเฉลีย่
ของคาทีว่ ดั ไดทงั้ 3 คา เปนความกวางหรือความยาวของดานนัน้
(2) ความหนา ใหใชเครือ่ งวัดละเอียดถึง 0.02 มิลลิเมตร สมุ วัดความหนา 4 จุด รายงานคาเฉลีย่

รูปที่ 1 ตำแหนงทีว่ ดั ความกวางและความยาว


(ขอ 9.1.1)

-4-
มอก. 2377-2551

9.1.2 แบบแผนตอเนือ่ ง
(1) ความกวาง ใหใชเครือ่ งวัดละเอียดถึง 0.1 มิลลิเมตร วัดความกวางทุกระยะความยาว 1 เมตร
รายงานคาเฉลีย่
(2) ความยาว ใหใชเครือ่ งวัดละเอียดถึง 1 มิลลิเมตร
(3) ความหนา ใหใชเครือ่ งวัดละเอียดถึง 0.02 มิลลิเมตร วัดความหนาทุกระยะความยาว 1 เมตร
หางจากขอบแตละดานอยางนอย 5 เซนติเมตร รายงานคาเฉลีย่
9.2 ความแข็ง
ใหปฏิบตั ติ าม ASTM D 2240 โดยใชเครือ่ ง Durometer type A ทีอ่ ณ ุ หภูมิ (23 ± 2) องศาเซลเซียส
9.3 ความตานแรงดึงและความยืดเมือ่ ขาด
ใหปฏิบตั ติ าม ISO 37 โดยตัดชิน้ ทดสอบเปนรูปดัมบเบลล type 1 ทีอ่ ณ ุ หภูมิ (23 ± 2) องศาเซลเซียส
9.4 การบมเรง
ใหปฏิบตั ติ าม ISO 188 air-oven method ทีอ่ ณ ุ หภูมิ (70 ± 1) องศาเซลเซียส เปนเวลา (72 -20 ) ชัว่ โมง
แลวนำไปทดสอบหาคาความแข็ง (ขอ 9.2) ความตานแรงดึงและความยืดเมือ่ ขาด (ขอ 9.3)
9.5 ความทนตอการขัดสี
ใหปฏิบตั ติ าม ISO 4649 method A ทีอ่ ณ ุ หภูมิ (23 ± 2) องศาเซลเซียส
9.6 การยุบตัวเนือ่ งจากแรงอัด
ใหปฏิบตั ติ าม ISO 815 ทีอ่ ณ ุ หภูมิ (70 ± 1) องศาเซลเซียส เปนเวลา (24 -20 ) ชัว่ โมง
9.7 ความคงทนของสีตอ สภาพลมฟาอากาศโดยวิธเี รงภาวะ (เฉพาะประเภทที่ 2)
ตัดแผนยางปูพนื้ ตัวอยางใหมขี นาดความกวางและความยาวไมนอ ยกวา 75 มิลลิเมตร และ 150 มิลลิเมตร
ตามลำดับ เปนชิน้ ทดสอบ จำนวน 3 ชิน้ จากนัน้ นำชิน้ ทดสอบไปทดสอบตาม ASTM G 154 โดยทดสอบ
ภายใตแสงอัลตราไวโอเลต (UVB) ทีอ่ ณ ุ หภูมิ 60 องศาเซลเซียส เปนเวลา 8 ชัว่ โมง และในบรรยากาศ
ทีอ่ มิ่ ตัวดวยไอน้ำทีอ่ ณ
ุ หภูมิ 50 องศาเซลเซียส เปนเวลา 4 ชัว่ โมง ทำสลับกันจนครบ 168 ชัว่ โมง วัดความ
แตกตางของสีชนิ้ ตัวอยางทีท่ ดสอบแลวกับชิน้ ตัวอยางทีไ่ มไดทดสอบ (controlled specimen) เปนเกรยสเกล
9.8 ความทนตอความรอนของบุหรี่ (เฉพาะประเภทที่ 2)
ใหปฏิบตั ติ าม BS EN 1399 โดยตัดแผนยางปูพนื้ ตัวอยางใหมขี นาด ความกวาง × ความยาว ไมต่ำกวา
100 มิลลิเมตร × 100 มิ ล ลิ เ มตร เป น ชิ้ น ทดสอบ จำนวน 3 ชิ้ น ทิ้ ง ไว ใ นห อ งทดสอบที่ อุ ณ หภู มิ
(23 ± 2) องศาเซลเซียส ความชืน้ สัมพัทธรอ ยละ (50 ± 5) อยางนอย 48 ชัว่ โมงกอนการทดสอบดังนี้
9.8.1 method A : stubbed cigarette test
9.8.2 method B : burning cigarette test
หลังจากนั้น ทำความสะอาดพื้นผิวชิ้นทดสอบดวยสำลีชุบแอลกอฮอล แลวตรวจพินิจ รายงานผลของ
พืน้ ผิวตามระดับทีแ่ สดงไวใน BS EN 1399

-5-
มอก. 2377-2551

ภาคผนวก ก.
การชักตัวอยางและเกณฑตดั สิน
(ขอ 8.1)

ก.1 รนุ ในทีน่ ี้ หมายถึง แผนยางปูพนื้ ประเภท ชนิด แบบ สี ลวดลาย รหัสและขนาดเดียวกันทีม่ สี ว นผสมของยาง
เหมือนกัน ทีท่ ำหรือสงมอบหรือซือ้ ขายในระยะเวลาเดียวกัน
ก.2 การชักตัวอยางและการยอมรับ ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางที่กำหนดตอไปนี้ หรืออาจใชแผนการชัก
ตัวอยางอืน่ ทีเ่ ทียบเทากันทางวิชาการกับแผนทีก่ ำหนดไว
ก.2.1 การชักตัวอยางและการยอมรับสำหรับการทดสอบการบรรจุ และเครือ่ งหมายและฉลาก
ก.2.1.1 แบบแผนเดีย่ ว ใหชกั ตัวอยางโดยวิธสี มุ จากรนุ เดียวกันตามจำนวนทีก่ ำหนดในตารางที่ ก.1
ก.2.1.2 แบบแผนตอเนือ่ ง ใหสมุ ตัวอยางจำนวน 3 หนวยภาชนะบรรจุ
ก.2.1.3 จำนวนตัวอยางทีไ่ มเปนไปตามขอ 6. และขอ 7. ในแตละรายการ ตองไมเกินเลขจำนวนทีย่ อมรับ
ทีก่ ำหนดในตาราง ที่ ก.1 จึงจะถือวาแผนยางปูพนื้ รนุ นัน้ เปนไปตามเกณฑทกี่ ำหนด
ตารางที่ ก.1 แผนการชักตัวอยางสำหรับการทดสอบการบรรจุ และเครือ่ งหมายและฉลาก
(เฉพาะแบบแผนเดีย่ ว)
(ขอ ก.2.1.1)

ขนาดรุน ขนาดตัวอยาง เลขจํานวนที่ยอมรับ


หนวยภาชนะบรรจุ หนวยภาชนะบรรจุ
ไมเกิน 150 2 0
151 ถึง 500 8 1
500 ถึง 1 200 13 2
เกิน 1 200 20 3

ก.2.2 การชักตัวอยางและการยอมรับสำหรับการทดสอบขนาด ลักษณะทั่วไป ความคงทนของสีตอสภาพ


ลมฟ า อากาศโดยวิ ธี เ ร ง ภาวะ (เฉพาะประเภทที่ 2) และความทนต อ ความร อ นของบุ ห รี่
(เฉพาะประเภทที่ 2)
ก.2.2.1 แบบแผนเดีย่ ว ใหชกั ตัวอยางโดยวิธสี มุ จากรนุ เดียวกันจำนวน 5 แผน ตอแผนยางปูพนื้ 1 000 แผน
โดยทีช่ กั ตัวอยางไมเกิน 2 แผนตอ 1 ภาชนะบรรจุ
ก.2.2.2 แบบแผนตอเนือ่ ง ใหสมุ ตัวอยางจำนวน 3 มวน
ก.2.2.3 ใหชกั ตัวอยางโดยวิธสี มุ จากผลิตภัณฑรนุ เดียวกันจำนวนเพียงพอสำหรับการทดสอบ

-6-
มอก. 2377-2551

ก.2.2.4 ตัวอยางตองเปนไปตาม ขอ 4. ขอ 5.1 ขอ 5.7 และขอ 5.8 ทุกขอจึงจะถือวาแผนยางปูพนื้ รนุ นัน้
เปนไปตามเกณฑทกี่ ำหนด
ก.2.3 การชักตัวอยางและการยอมรับสำหรับการทดสอบความแข็ง การตานแรงดึงและความยืดเมือ่ ขาด การบมเรง
ความทนตอการขัดสี และการยุบตัวเนือ่ งจากแรงอัด
ก.2.3.1 ใหชกั ตัวอยางโดยวิธสี มุ จากยางผสม (compound rubber) ทีใ่ ชทำชัน้ ผิวหนาของแผนยางปูพนื้ ทีผ่ สม
ในคราวเดียวกัน และใชทำแผนยางปูพนื้ รนุ เดียวกัน จำนวนเพียงพอสำหรับการทดสอบ นำไปทำเปน
ชิน้ ทดสอบขนาดตางๆ แลวนำไปทำใหยางคงรูป (cure) ภายใตภาวะเดียวกันกับการทำแผนยางปูพน้ื
ดังนี้
แผนยางทีม่ คี วามหนา (2.0 ± 0.2) มิลลิเมตร ทดสอบขอ 9.3 ขอ 9.4 (ทดสอบความตาน
แรงดึงและความยืดเมือ่ ขาดหลังการบมเรง)
ชิน้ ทดสอบทีม่ คี วามหนา (6.5 ± 0.5) มิลลิเมตร ทดสอบขอ 9.2 (และนำชิน้ ทดสอบนีไ้ ปทดสอบ
ความแข็งหลังการบมเรงในขอ 9.4) และขอ 9.5
ชิน้ ทดสอบทรงกระบอกทีม่ คี วามหนา ทดสอบขอ 9.6
(12 ± 0.5) มิลลิเมตร
ก.2.3.2 ตัวอยางตองเปนไปตามขอ 5.2 ขอ 5.3 ขอ 5.4 ขอ 5.5 และขอ 5.6 ทุกขอ จึงจะถือวาแผนยางปูพนื้
รนุ นัน้ เปนไปตามเกณฑทกี่ ำหนด
ก.3 เกณฑตดั สิน
ตัวอยางแผนยางปูพนื้ ตองเปนไปตามขอ ก.2.1.3 ขอ ก.2.2.4 และขอ ก.2.3.2 ทุกขอ จึงจะถือวาแผนยาง
ปูพนื้ รนุ นัน้ เปนไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนี้

-7-
มอก. 2377-2551

ภาคผนวก ข.
ขอมูลเพิ่มเติม
ข.1 ในกรณีทตี่ อ งการแผนยางปูพนื้ ประเภททีม่ สี มบัตพิ เิ ศษ เชน ทนน้ำมันหรือทนสารเคมี ใหทำการทดสอบ ความทน
ตอสารเคมี หรือ ทดสอบความทนตอน้ำมันเพิม่ เติม ดังนี้
ข.1.1 ความทนตอสารเคมี (เฉพาะประเภททนสารเคมี)
ใหปฏิบตั ติ าม ASTM F 925 โดยตัดแผนยางปูพนื้ ตัวอยางใหมี ขนาดความกวาง × ความยาว ไมนอ ยกวา
150 มิลลิเมตร × 150 มิลลิเมตร เปนชิน้ ทดสอบจำนวน 3 ชิน้ เลือกพืน้ ทีท่ ดสอบสำหรับสารเคมีแตละชนิด
ประมาณ 38 มิลลิเมตร × 38 มิลลิเมตร เปนเวลา (60 ± 1) นาที ตามสารเคมีดงั ตอไปนี้
ข.1.1.1 สารละลายกรดแอซีตกิ รอยละ 5 โดยน้ำหนัก
ข.1.1.2 สารละลายไอโซโพรพิล แอลกอฮอล รอยละ 70 โดยน้ำหนัก
ข.1.1.3 สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด รอยละ 5 โดยน้ำหนัก
ข.1.1.4 สารละลายกรดไฮโดรคลอริก รอยละ 5 โดยน้ำหนัก
ข.1.1.5 สารละลายกรดซัลฟวริก รอยละ 5 โดยน้ำหนัก
ข.1.1.6 สารละลายแอมโมเนีย รอยละ 5 โดยน้ำหนัก
ข.1.1.7 สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรต รอยละ 5.25 โดยน้ำหนัก
ข.1.1.8 น้ำยาฆาเชือ้ ชนิดทีม่ สี ว นผสมของฟนอลหรือสารประกอบฟนอล (คาสัมประสิทธิฟ์ น อล รอยละ 5)
สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายในเวลา 5 นาทีหลังจากเช็ดสารเคมีตางๆ ออกจากพื้นผิว
สีและความมันเงาของพื้นผิวตองไมเปลี่ยนแปลงจากเดิมจนเห็นไดชัด และตองไมบวม พอง
ยยุ เปนขุย (ระดับ 1)
ข.1.2 ความทนตอน้ำมัน (เฉพาะประเภททนตอน้ำมัน)
ใหปฏิบตั ติ าม ISO 1817 โดยใชน้ำมันอางอิงเบอร 3 ทีอ่ ณ ุ หภูมหิ อ ง เปนเวลา (168 ± 2) ชัว่ โมง
ปริมาตรทีเ่ พิม่ ขึน้ ตองไมเกินรอยละ 20
ข.1.3 การทดสอบการไหมไฟ
ใหปฏิบตั ติ าม IEC 60695-11-10 test method B - Vertical burning test โดยตัดแผนยางปูพนื้ ตัวอยาง
ใหมขี นาดความกวาง และความยาว เทากับ (13.0 ± 0.5) มิลลิเมตร (125 ± 5) มิลลิเมตร ตามลำดับ
และความหนาไมเกิน 13 มิลลิเมตร เปนชิน้ ทดสอบ อยางนอย 20 ชิน้ การไหมไฟของแผนยางปูพนื้ ตอง
ไมต่ำกวาระดับ V-2

-8-

You might also like