You are on page 1of 51

การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล

พิชญ์สินี ชมภูคา
สุระศักดิ์ เมาเทือก*

เครื่องคิดเลขที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูล เป็นรุ่น CASIO  - 5500 LA ซึ่งถือว่าเป็น


เทคโนโลยีที่ทันสมัยชนิดหนึ่ง ที่มีความสามารถในการคานวณค่าทางคณิตศาสตร์ สถิติ และค่าที่ใช้
ทางวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ ได้ ซึ่งในการใช้ไม่ยุ่งยาก สามารถบันทึกค่าได้ และมีขนาดเล็ก
พกพาได้สะดวก นักวิจัยทุกคนควรที่ศึกษาวิธีการใช้ เมื่อต้องการคานว ณค่าทางสถิติเพื่อการ
ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น หรือ การตรวจสอบยืนยันค่าของข้อมูลสังเกต กับค่าสถิติตามหลักการ
ทฤษฎี ซึ่งวิธีการใช้ดังนี้

1.1 ลักษณะทั่วไปและเมนูพื้นฐานที่จาเป็น

(1.1)ลักษณะทั่วไป
เครื่องมีหน่วยความจา 1095

MATRIX
หน้าจอแสดงผล A B + -  OP
F1 F2 F3 F4 F5 F6

ปุ่ม F คานวณค่า คณิตศาสตร์และสถิติ

ปุ่ม SHIFT(สีเหลือง) ใช้คู่กับปุ่ม F และค่าต่างๆ Cursor เลือก/ดู ค่า


ที่ต้องการหา ที่อักษรพิมพ์สีเหลืองในปุ่มนั้น
ลบข้อมูลขณะทางาน
ปุ่ม ALPHA (สีแดง) ใช้คู่ค่าต่างๆ ที่ต้องการหา
ที่อักษรพิมพ์สีแดงในปุ่มนั้น ส่วนใหญ่จะใช้ เปิด ถ้าปิด กด SHIFT AC
พิมพ์สมการ

STO บันทึกค่า
ผลลัพธ์ เท่ากับ ?
REL เรียกดูค่า
ตรวจสอบหน่วยความจา กด SHIFT EXP


นักศึกษาปริญญาเอก สาขาการวิจัยและพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 2

ตรวจสอบคาตอบสุดท้าย
(1.2) เมนูพื้นฐานที่จาเป็น
1) การบันทึกค่าจากการคานวณได้ผลลัพธ์
ถ้าต้องการ บันทึกค่าที่เกิดจากการคานวณ ค่าต่างๆ ผลลัพธ์จากการคานวณเมื่อต้องการเก็บค่าไว้
เพื่อเรียกใช้ใหม่ สารถบันทึกโดยการใช้ ปุ่ม STO แล้วบันทึกไว้ได้ตั้งแต่ห้องเก็บ A – Z (สังเกต
ตัวพิมพ์อักษรใต้ปุ่มเป็นสีแดง) เช่น เก็บไว้ห้อง A กด STO แล้วกด ปุ่ม (-)

2) การเรียกใช้ค่าจากการบันทึกที่ STO
เมื่อต้องการเรียกค่าที่เก็บบันทึกไว้จากการ STO ไว้ในห้อง เก็บ A – Z กดปุ่ม RCL แล้วกดปุ่ม
ห้องที่เก็บไว้ MATRIX
A B + -  OP
F1 F2 F3 F4 F5 F6

3) การใช้คีย์ตัวเลข หน้าจอ ค่า 1 2 3 4 5

3.1) โหมด ในการวัดมุม DEG กด SHIFT 1  D - R – G

ข้อสังเกต หน้าจอแสดงผล จะปรากฏ อักษร D หรือ R หรือ G


โดย หน้าจอแสดง
DGE RAD GRA DEG (องศา) 360 90
F1 F3 F5 
RED 2 / 2
(เรเดียน)
เช่น หาค่า sin 11 ถ้ากด GRA (เกรด)
400 100
เลือก DGA กด F1 หน้าจอ อักษร D ค่า sin 1 1 = 90
เลือก RAD กด F2 หน้าจอ อักษร R ค่า sin 11 = 1.570796327 =  / 2
(ตรวจสอบค่า  / 2 กด SHIFT EXP /2 และ EXE )
เลือก GRA กด F3 หน้าจอ อักษร G ค่า sin 1 1 = 100 (วงกลม 4 ส่วน ส่วนละ 100)
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 3

3.2) เมนูรูปแบบแสดงผลหน้าจอ กด SHIFT 2  DISPLAY


โดย หน้าจอแสดง
FIX SCI NORM ENG
F1 F3 F5 F6
การเลือกกระทาได้ 2 วิธี
1. กระทาการทางคณิตศาสตร์กับจานวนที่ต้องการ แล้วเลือกรูปแบบที่ต้องการแสดงผล
2. เลือกรูปแบบที่ต้องการแสดงผลก่อน แล้วกระทาการทางคณิตศาสตร์กับจานวนที่ต้องการ
โดย
1) FIX ต้องการคาตอบทศนิยมเท่าไรตามที่กาหนด ให้ใส่จานวนลงไป เช่น
- ถ้าผลคูณ 1.25  1.75 = 2.1875 ถ้าต้องการทศนิยม 2 ตาแหน่ง ให้
กด SHIFT 2 เลือก F1 (หน้าจอปรากฏ PRESS(0-9) ถ้าต้องการ 2 ตาแหน่ง กด 2 และ
EXE ปรากฏผลลัพธ์มีค่า 2.19
- หรือถ้าต้องการระบุคาตอบ 2 ตาแหน่ง SHIFT 2 เลือก F1 หน้าจอปรากฏ PRESS(0-9)
ถ้าต้องการ 2 ตาแหน่ง กด 2 (สังเกตเมื่อกด 2แล้วหาจอจะว่างให้กระทาคณิตศาสตร์ได้ ) แล้ว
หาผลคูณ 1.25  1.75 แล้วกด EXE ปรากฏผลลัพธ์มีค่า 2.19
2) SCI ต้องการกาหนดจานวนตัวเลขทั้งหมดที่ให้แสดงผล ซึ่งรวมทั้งจานวนเต็มและทศนิยม เช่น
- ถ้าผลคูณ 568  432 = 245376 ต้องการผลลัพธ์แสดงจานวนตัวเลข 4 จานวน ให้
กด SHIFT 2 เลือก F3 (หน้าจอปรากฏ PRESS(0-9) ถ้าต้องการตัวเลขโชว์ 4 จานวน
กด 4 และ EXE ปรากฏผลลัพธ์มีค่า 2.45405
3) NORM เป็นการแสดงว่าต้องการกาหนดช่วงของเลขยกกาลัง และจะไม่มีค่าใดๆ แสดงผล
หน้าจอ
- ถ้าผลหาร 1/500 = 0.002 ถ้ากด SHIFT 2 เลือก F4 และ EXE ปรากฏผลลัพธ์มีค่า 2.03
และถ้า ถ้ากด SHIFT 2 เลือก F4 อีกครั้ง และ EXE ปรากฏผลลัพธ์มีค่า 0.002
4) ENG เป็นการแสดงหน่วยวัดสัญลักษณ์ทางวิศวกรรม จะมีคาว่า “ENG” แสดงที่หน้า
จอแสดงผล ในโหมดนี้ค่าใดๆ ที่มากกว่า 4 ตัวจะถูกแปลงเป็นหน่วยทางวิศวกรรม ที่มีค่าเป็น
ทศนิยม 3 ตาแหน่ง เช่น 568  432 = 245376 ถ้ากด SHIFT 2 เลือก F6 และ EXE
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 4

ปรากฏผลลัพธ์มีค่า 245.376k และถ้ากด SHIFT เลือก F6 และ EXE 2 อีกครั้ง ปรากฏ


ผลลัพธ์มีค่า 568  432 = 245376 โดยสัญลักษณ์ คานาหน้า เลขยกกาลัง ดังนี้

สัญลักษณ์ คานาหน้า เลขยกกาลัง


P peta 1015
T tera 1012
G giga 109
M mega 106
k kilo 103
m milli 10-3
 micro 10-6
n nano 10-9
p pico 10-12
f femto 10-15

3.3) เมนูรูปแบบปรับความเข้มของหน้าจอ กด SHIFT 3 ------- > CONTRAST


เป็นการปรับความสว่างหรือมืดของน้าจอ
กด SHIF 3 ปรากฏหน้าจอผล

LIGHT DARK
F1 F6
กด F1 เพื่อปรับความสว่างให้กับตัวอักษร
กด F6 เพื่อปรับให้เข้มขึ้น หากปรับแล้วความเข้มยังไม่เพิ่มแสดงว่าแบตเตอรี่อ่อน
กด PRE เพื่อออกจากเมนูการปรับความเข้ม
การเคลียร์ค่าใดๆ จะไม่กระทบต่อการปรับความเข้มของแสง

3.4 เมนูการเคลียร์ค่าต่างๆ ที่บันทึกในเครื่อง กด SHIFT 4 ------- > CLEAR


การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 5

หน้าจอแสดง
Mcl Scl CALC ARR
F1 F3 F4 F6
หมายเหตุ ทุกครั้งที่เลือกการเคลียร์แบบใดแล้ว จะเคลียร์แบบใหม่ต้องกด SHIFT 4 อีกครั้ง
โดย
1) เลือก Mcl กด F1 เป็นการเคลียร์หน่วยความจาในที่บันทึกไว้ A ถึง Z ซึ่งเกิดจากการ
บันทึกไว้โดยใช้เมนู STO (A-Z) และเคลียร์หน้าจอแสดงผลด้วยเช่นกัน
ข้อสังเกต หลังกด F1 หน้าจอจะว่างเปล่าพร้อมทางาน
2) เลือก Scl กด F3 เป็นการเคลียร์ค่าในหน่วยความจาของสถิติ ซึ่งเกิดจากการบั นทึกไว้การ
ใช้ในเมนู STAT (SHIFT F6) และเคลียร์หน้าจอแสดงผลด้วยเช่นกัน
ข้อสังเกต หลังกด F1 หน้าจอจะว่างเปล่าพร้อมทางาน
3) เลือก CALC กด F4 จะปรากฏข้อความยืนยันการเคลียร์ โดย
กด F1 (YES) เพื่อเคลียร์ค่าในหน่วยความจาของสูตร ซึ่งเกิดจากการบันทึกไว้การใช้ใน
เมนู CALC (SHIFT 5) และเคลียร์หน้าจอแสดงผล
กด F6 (NO) เพื่อยกเลิก
4) เลือก ARR กด F6 จะปรากฏข้อความยืนยันการเคลียร์ โดย
กด F1 (YES) เพื่อเคลียร์ค่าของเมตริกซ์หลังจากการใช้เมนู MATRIX (SHIFT F1) และ
สมการ จากการใช้เมนู EQN (SHIFT F2) และเคลียร์หน้าจอแสดงผล
กด F6 (NO) เพื่อยกเลิก

3.5) เมนูการคานวณ กด SHIFT 5 ------- > CALC


หน้าจอแสดง

f IN OUT CAL SET


F1 F2 F3 F4 F6

F1 (f) เรียกสูตรทั้งหมดที่เก็บในหน่วยความจา มาเลือกใช้


F2 (IN) เก็บสูตรที่แสดงผลอยู่หน้าจอ ลงในหน่วยความจา เก็บได้เพีย ง 1 สูต เพื่อใช้งาน
คานวณ
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 6

F3 (OUT) เรียกสูตรขึ้นมาใช้งาน ออกจากหน่วยความจา


F4 (CAL) คานวณหาค่าตัวแปร จากสูตรที่เขียนขึ้นสุดท้ายที่เก็บในหน่วยความจา
F6 (SET) เก็บสูตรจานวนหลายสูตร ลงในหน่วยความจา
หมายเหตุ F2 (IN) และ F3 (OUT) จะใช้คู่กัน เก็บและเรียกมาใช้
F1 (f) เกิดจากการใช้ F6 (SET) เก็บสูตรจานวนหลายสูตร
สร้างตัวแปรได้ A-Z ยกเว้นตัวแปร L M N และ O
ตัวอย่างการคานวณ
ตัวอย่าง 1 ถ้า Y = 2X2 + 6X + 12 ถ้า X = 7 , Y = ?
ขั้นตอนการคานวณ
1) พิมพ์ Y = 2X2 + 6X + 12
2) กด SHIFT 5 ------- > CALC
3) กด F2 (IN) เก็บสูตรเข้าหน่วยความจาเพื่อใช้งาน
4) กด F3 (OUT) เรียกสูตรจากหน่วยความจาเพื่อใช้งาน
5) กด F4 (CAL) เพื่อคานวณ ค่าที่ปรากฏหน้าจอจะแสดงตามตัวแปรอิสระ ในตัวอย่ างนี้มี
ตัวแปร X เพียงตัวเดียว หน้าจอแสดง

X CAL
F1 F6
แทน X = 7 โดยการ กด 4 แล้ว F1 แล้วกด F6 (CAL) เพื่อคานวณ
หน้าจอปรากฏ
Y = 2X2 + 6X + 12 แสดงสูตรให้ตรวจสอบ
152 ผลลัพธ์ Y = 152

กรณีที่มีหลายตัวแปรอิสระ

ตัวอย่าง 2 ถ้า Y = 2A-3B+4C+5D


ถ้า A = 5, B = 4, C = 15, D = 8, Y = ?
ขั้นตอนการคานวณ
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 7

1) พิมพ์ Y = 2A-3B+4C+5D
2) กด SHIFT 5 ------- > CALC
3) กด F2 (IN) เก็บสูตรเข้าหน่วยความจาเพื่อใช้งาน
4) กด F3 (OUT) เรียกสูตรจากหน่วยความจาเพื่อใช้งาน
5) กด F4 (CAL) เพื่อคานวณ ค่าที่ปรากฏหน้าจอจะแสดงตามตัวแปรอิสระ ในตัวอย่างนี้มี
ตัวแปร 4 ตัวแปร ดังนั้นจะปรากฏ A, B, C, D หน้าจอแสดง
A B C D
F1 F2 F3 F4
แทน A = 5 กด 5 แล้ว F1 B = 4 กด 4 แล้ว F2
C = 15 กด 15 แล้ว F3 D = 8 กด 8 แล้ว F4
เมื่อกรอกครบทุกตัวแปร แล้วกด F6 (CAL) เพื่อคานวณ
หน้าจอปรากฏ
Y = 2A-3B+4C+5D แสดงสูตรให้ตรวจสอบ
98 ผลลัพธ์ Y = 98

หมายเหตุ หาต้องการ check ค่าตัวแปร ที่แทนถูกต้องหรือไม่ กด RCLและกด F1 หรือ F2


หรือ F… ที่เป็นการแทนป้อนข้อมูลแทนตัวแปร หรือถ้าต้องการเปลี่ยนค่าตัวแปร
เช่นจาก เปลี่ยนค่าตัวแปร B = 4 เป็น B = -20 ให้ กด -20F2
กรณีที่มีหลายสูตร ต้องการบันทึกหรือเรียกใช้
ตัวอย่าง 3 มีสูตร 4 สูตรดังนี้
1) Y = 2A2 + B
2) Y = (2C  D)/E
3) Y= 2X2+4X + 2
4) Y = C  D/E
ขั้นตอนการบันทึกและเรียกใช้
การบันทึก ------ F6 --- > SET
1) กด SHIFT 5 ------- > CALC
2) พิมพ์สูตร Y = 2A2 + B
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 8

3) กด F6 --- > SET เก็บสูตรจานวนหลายสูตร ลงในหน่วยความจา


4) พิมพ์สูตร Y = (2C  D)/E แล้ว กด F6
ข้อสังเกต หลังกด F6 ในสูตรที่ 2 แล้วจะพบว่า มีสัญลักษณ์ (ลูกศร) ปรากฏบรรทัด
ล่างของ SET
5) พิมพ์สูตร Y = Y= 2X2+4X + 2 แล้ว กด F6
6) พิมพ์สูตร Y = C  D/E แล้ว กด F6
การเรียกใช้ ------ F1 --- > f
1) กด SHIFT 5 ------- > CALC
2) กด F1 จะปรากฏ สูตรแสดงหน้าจอ ให้เลือกใช้ โดย กดปุ่ม หรือ (สังเกต
บรรทัดล่างของ SET)
3) เมื่อต้องนาสูตรใดมาใช้งาน ให้บันทึกใน F2 (IN) ก่อน แล้ว
4) เรียกสูตรออกมาใช้ โดยใช้ F3 (OUT) และคานวณ กด F4 (CAL) เหมือน
ตัวอย่าง 1 และ ตัวอย่าง 2
เช่น ถ้าต้องการคานวณสูตร Y = (2C  D)/E โดย C = 12, D = -5, E = 2, Y = ?
1) กด SHIFT 5 ------- > CALC
2) กด F1 กดปุ่ม หรือ
3) เมื่อเลือก สูตรตามที่ต้องการ Y = (2C  D)/E ที่แสดงหน้าจอได้แล้ว ให้ กด F2
(IN)
4) กด F3 (OUT) เรียกสูตรมาใช้งาน
5) กด F4 (CAL) เพือ่ คานวณ แล้วแทนค่าตัวแปร เช่นเดียวกับตัวอย่าง 2
แทน C = 12 โดยกด 12F1 , D = -5 โดยกด -5 F2 , E = 2 โดยกด 2 F3 แทนครบทุก
ตัวแปร แล้วกด F6 (CAL) เพื่อคานวณ
หน้าจอปรากฏ

Y = (2C  D)/E แสดงสูตรให้ตรวจสอบ


-60 ผลลัพธ์
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 9

1.2 การคานวณค่า ทางสถิติ

เมนูการคานวณ กด SHIFT F6 ------- > STATISTICS


แสดงหน้าจอ
STATISTICS
SD LR
F1 F6

เมนู F1 เพื่อแสดงเมนูทางสถิติ เลือกการหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน จะมี SD แสดงที่หน้าจอ


F1 (DT) ป้อนข้อมูล
F3 (CL) ลบข้อมูล
F4 (;) ป้อนข้อมูล หลายค่า
F6 (CAL) แสดงเมนู การคานวณ SD
ผลลัพธ์ของ SD
กด F6 (CAL) ใช้คีย์ต่อไปนี้ในการทางาน
F1 ( 𝑥 ) หาค่าเฉลี่ย
F3 (𝜎𝑛) หาค่า Population Deviation
F4 (𝜎𝑛-1) หาค่า Population Deviation
F6 (∑) แสดงเมนู การหาผลรวม
ใช้ คีย์ ดังนี้ F1 ( ∑ 𝑥 2 ) หาผลรวมกาลังสอง
F3 ( ∑ 𝑥) หาผลรวม
F5 (n) หาจานวนของข้อมูล

แสดงหน้าจอ
STATISTICS
SD LR
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 10

F1 F6

เมนู F6 เพื่อแสดงเมนูทางสถิติ แสดงจานวนคู่ของการหาค่าถดถอย จะมี LR แสดงที่หน้าจอ


F1 (DT) ป้อนข้อมูล
F3 (CL) ลบข้อมูล
F4 (;) ป้อนข้อมูล หลายค่า
F6 (CAL) แสดงเมนู การคานวณ SD
ผลลัพธ์ของ LR
กด F6 (CAL) ใช้คีย์ต่อไปนี้ในการทางาน
F1 ( 𝑥 ) หาค่าเฉลี่ย
F2 (𝜎𝑛) หาค่า Population Deviation ของ x
F3 (𝜎𝑛-1) หาค่า Population Deviation ของ x
F4 (∑) แสดงเมนู การหาผลรวมของx
ใช้ คีย์ ดังนี้ F1 ( ∑ 𝑥 2 ) หาผลรวมกาลังสองของx
F3 ( ∑ 𝑥) หาผลรวมของx
F5 (n) หาจานวนของข้อมูลของx
F5 (𝑦 ) แสดงเมนู การคานวณของ y
F6 (R) แสดงเมนู Regression
ใช้ คีย์ ดังนี้ F1 (A) หาค่าคงที่ของ A จากสูตร y = A+Bx
F2 (B) หาค่าคงที่ของ B จากสูตร y = A+Bx
F3 (r) แสดงสัมประสิทธิ์ r
F4 (𝑥 ) กดคีย์หลังจากการป้อนข้อมูลของ y
จะคืนค่าประมาณของ x
F5 (𝑦) กดคีย์หลังจากการป้อนข้อมูลของ x
จะคืนค่าประมาณของ y
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 11

1.3 การใช้เครื่องคิดเลข CASIO  - 5500LA ในการหาคุณภาพของเครื่องมือและ


การวิเคราะห์ข้อมูล
การทาวิจัย ผู้วิจัยควรตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือที่สร้างว่ามีคุณภาพหรือไม่ ก่อนที่จะ
นาไปเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัย การหาคุณภาพของเครื่องมือมีความแตกต่างกันไปตามลักษณะ
ของเครื่องมือ หัวข้อนี้ ผู้เขียนขอให้รายละเอียดเกี่ยวกับการหาคุณภาพของเครื่องมือในงานวิจัย โดย
ใช้ เครื่องคิดเลข CASIO  - 5500 LA ในการหาคุณภาพของเครื่องมือ ดังนี้
1. การหาความเที่ยงตรง
2. การหาความเชื่อมั่น
ความเที่ยงตรง (Validity)
ความเที่ยงตรงหมายถึง เครื่องมือนั้นสามารถวัดในสิ่งที่ต้องการวัดได้ถูกต้อง แม่นยา
ความเที่ยงตรงในการวัดจาแนกตามคุณลักษณะหรือจุดประสงค์ที่ต้องการวัด แบ่งได้เป็น 3
ประเภทใหญ่ ๆ คือ ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง
(Construct Validity) และ ความเที่ยงตรงตามเกณฑ์ (Criterion – Related Validity) โดยมี
รายละเอียดดังนี้
ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา หมายถึง เครื่องมือที่สามารถวัดได้ตามเนื้อหาที่ต้องการวัด และ
ในการพิจารณาความเที่ยงตรงชนิดนี้จะใช้การวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล (Rational Analysis)
การหาความเที่ยงตรง ส่วนใหญ่การหาความเที่ยงตรงของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย จะ นิยม
ใช้ 2 วิธี คือการให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณา และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนจาก
เครื่องมือที่สร้างขึ้นกับคะแนนจากเครื่องมือที่เป็นมาตรฐานอยู่แล้ว
1. การให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณา
- การวิเคราะห์ดัชนีความสอดคล้อง เป็นการหาดัชนีความสอดคล้องระหว่างคาถาม
รายข้อกับเนื้อหาที่ต้องการวัด จะใช้สูตร IOC (Index of Item Objective
Congruence) มีขั้นตอนดังนี้
1) นาเครื่องมือรวบรวมข้อมูลกับวัตถุประสงค์ให้ผู้เชี่ยวชาญ 3 – 5 คน
พิจารณาว่าเครื่องมือสอดคล้องกับเนื้อหาหรือไม่ โดยกาหนดคะแนน
ความเห็นดังนี้
+1 แน่ใจว่าเครื่องมือนั้นสอดคล้องกับเนื้อหา
0 ไม่แน่ใจว่าเครื่องมือนั้นสอดคล้องกับ เนื้อหา
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 12

-1 แน่ใจว่าเครื่องมือนั้นไม่สอดคล้องกับเนื้อหา
นาคะแนนของผู้เชี่ยวชาญแต่ละคนมาคานวณจากสูตรดังนี้

IOC = 
R
n

เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้องระหว่างเครื่องมือนั้นสอดคล้องกับ เนื้อหา


 R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
n แทน จานวนผู้เชี่ยวชาญ
2) กาหนดเกณฑ์การยอมรับว่าเครื่องมือนั้นสอดคล้องกับ เนื้อหาจากค่า IOC
ตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป
ตัวอย่างการคานวณ
ผลคะแนนการประเมินของผู้เชี่ยวชาญหาดัชนีความสอดคล้องระหว่างคาถามรายข้อกับ
เนื้อหา ที่ต้องการวัด ดังนี้
ผู้เชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญ คะแนน คะแนน
จุดประสงค์ ข้อที่
คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 รวม เฉลี่ย (IOC)
1 1 0 0 1 0.33
2 1 -1 0 0 0
1 3 1 1 1 3 1
4 1 1 0 2 0.67
5 0 1 1 2 0.67

จงหาค่า IOC (Index of Item Objective Congruence)


STATISTICS
กด SHIFT F6
SD LR
F1 F6 กด SHIFT 4 CLEAR กด F3 เพื่อล้างข้อมูล
กด F1 (SD)
ป้อนข้อมูลข้อที่ 1 กด 1 F1 (DT)
กด 0 F1 (DT)
กด 0 F1 (DT)
กด F6 (CAL)
กด F1 ( X ) กด EXE ได้คาตอบ 0.33
จากนั้นก็ ป้อนข้อมูลข้อที่ 2 ต่อไป จะได้คาตอบที่แสดงดังใน
ตาราง
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 13

- การวิเคราะห์ดัชนีความเหมาะสม เป็นการหาดัชนีความเหมาะสมระหว่างคาถาม
รายข้อกับเนื้อหา โดยนาแบบวัดไปให้ผู้เชียวชาญประเมินอย่างน้อย 3 คน
ประเมินอย่างอิสระเช่นเดียวกับการหาดัชนีความสอดคล้อง แต่ให้คะแนนโดยใช้
มาตราประเมินค่า 5 ระดับแบบ Likert Scale ถ้าใช้ตัวเลข 1 ถึง 5 ให้คัดเลือก
คาถามที่มีค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 3.5 ขึ้นไป และกาหนดให้ค่าเบี่ยงเบนมา ตรฐานมีค่าไม่
เกิน 1 (ค่าต่าสุดคือ 0 ) ทั้ง 2 กรณี หากค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเกิน 1 แสดงว่า
คาถามข้อนั้นผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นแตกต่างกันมาก สาหรับกรณีที่ใช้ 1 ถึง 5
ระดับของการประเมินความเหมาะสมจะเป็นดังนี้
5 หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด 4 หมายถึง เหมาะสมมาก
3 หมายถึง เหมาะสมปานกลาง 2 หมายถึง เหมาะสมน้อย
1 หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด
จากคะแนนประเมินที่ผู้เชี่ยวชาญให้คะแนนนาไปหาค่าเฉลี่ย ( X )
และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S)
∑𝑋 ∑( 𝑥−𝑥 )2
โดยที่ X = และ S =
N 𝑁
x หมายถึง คะแนนประเมินของผู้เชี่ยวชาญแต่ละคน
X หมายถึง คะแนนเฉลี่ยของคะแนนประเมินผู้เชี่ยวชาญ
N หมายถึง จานวนผู้เชี่ยวชาญ
ตัวอย่างการคานวณ
ผลการการประเมินของผู้เชี่ยวชาญการวิเคราะห์ดัชนีความเหมาะสมของผู้เชี่ยวชาญ 5 คน ปรากฏ
ข้อมูลดังนี้
คะแนนประเมินความเหมาะสมของผู้เชี่ยวชาญ
คาถามข้อที่ S
คนที่1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 X

1 5 5 2 2 4 3.6 1.35
2 4 5 3 3 3 3.6 0.80
3 3 4 5 4 4 4.0 0.63
4 3 5 4 4 3 3.8 0.74
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 14

จงหา ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของคาถามแต่ละข้อ
STATISTICS
SD
F1
LR
F6
กด SHIFT F6
กด SHIFT 4 CLEAR กด F3 เพื่อล้างข้อมูล
กด F1 (SD)
ป้อนข้อมูลข้อที่ 1 กด 5 F1 (DT) กด 5 F1 (DT) กด 2 F1 (DT)
กด 2 F1 (DT) กด 4 F1 (DT)
กด F6 (CAL)
กด F1 ( X ) กด EXE ได้คาตอบ 3.6
กด F2 ( 𝜎𝑛 ) กด EXE ได้คาตอบ 1.35
จากนั้นก็ ป้อนข้อมูลข้อที่ 2 ต่อไป จะได้คาตอบที่แสดงดังในตาราง

ความเที่ยงตรง ตามโครงสร้าง (Construct Validity) หมายถึง คุณภาพของเครื่องมือที่


สามารถวัดได้ตรงตามลักษณะหรือตามทฤษฎี หลักการต่างๆ ที่สร้างเครื่องมือหรือไม่ โดยปกติจะ
ตรวจสอบในกรณีที่เก็บรวบรวมข้อมูลที่มีตัวแปรแฝง เช่น เจตคติ ความเชื่อ ค่านิยม เชาว์ปัญญา
เพื่อตรวจสอบว่าเครื่องมือหรือแบบวัดนั้นวัดคุณลักษณะได้ตรงตามทฤษฎี หรือหลักการที่สร้างขึ้น
ในคุณลักษณะหรือไม่
การคานวณค่าความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง โดยเปรียบเทียบจากเครื่องมือที่วั ดใน
คุณลักษณะเดียวกันที่เป็นมาตรฐานแล้ว นั้นคือนาเอาเครื่องมือที่จะหาค่าความเที่ยงตรงตาม
โครงสร้าง กับเครื่องมือที่วัด ในคุณลักษณะเดียวกันที่ เป็นมาตรฐานแล้ว ไปสอบกลุ่มตัวอย่าง
เดียวกันก็ จะได้ ข้อมูลออกมา 2ชุดแล้วหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของข้อมูลทั้ง 2 ชุด ก็ จะได้ค่า
ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง
ตัวอย่างการคานวณ แบบทดสอบความเป็นผู้นาฉบับหนึ่งนาไปสอบกับนักเรียนกลุ่มหนึ่งได้
คะแนน X ในขณะเดียวกันนักเรียนกลุ่มนี้สอบด้วยข้อสอบมาตรฐาน วัดความเป็นผู้นาได้คะแนน
Y จงหาค่าความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง
นักเรียน คะแนน X คะแนน Y
1 10 7
2 7 8
3 8 8
4 10 9
5 10 10
6 7 10
7 11 10
8 12 12
9 12 13
10 13 13
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 15

กด SHIFT F6
กด SHIFT 4 CLEAR กด F3 เพื่อล้างข้อมูล
กด F6 (LR)
ป้อนข้อมูล 10 , 7 F1 (SD) 7 , 8 F1 (SD) 8 , 8 F1 (SD) 10 , 9 F1 (SD) 10 , 10 F1 (SD)
7 , 10 F1 (SD) 11 , 10 F1 (SD) 12 , 12 F1 (SD) 12 , 13 F1 (SD) 13 , 13 F1 (SD)
กด F6 (CAL) กด F6 (R)
กด F3 (r) คาตอบ 0.725 แบบทดสอบค่าความเที่ยงตรงตามโครงสร้างเป็น 0.725

ความเที่ยงตรงเกณฑ์ หมายถึง คุณภาพของเครื่องมือรวบรวมข้อมูลที่เอาผลการวัดไปหา


ความสัมพันธ์กับเกณฑ์ที่ต้องการ เช่น เกณฑ์เกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์หรือผลการเรียนในปัจจุบัน
เกณฑ์เกี่ยวกับผลการทางานหลังจากเรียนสาเร็จไปแล้ว เพื่อไว้ในการพยากรณ์ ดังนั้นจึงจาแนก
เป็น 2 ชนิดคือ
ความเที่ยงตรงเชิงสภาพ (Concurrent Validity) หมายถึง ความเที่ยงตรงที่เอาผลการวัด
ของแบบประเมิน ที่สร้างขึ้นไปหาความสัมพันธ์กับเกณฑ์ ในสภาพ ถ้าผลปรากฎว่ามี ความสัมพันธ์
กันสูง ก็แสดงว่าแบบทดสอบมีความเที่ยงตรงเชิงสภาพสูง
ความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์ (Predictive Validity) หมายถึง ความเที่ยงตรงที่ได้มาจาก
เอาผลการวัดของแบบทดสอบที่สร้างขึ้นไปคานวณหาความสัมพันธ์กับเกณฑ์ในอนาคต ซึ่งอาจจะ
เป็นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในปลายปี เกรดเฉลี่ยเมื่อจบการศึกษา GPA
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 16

r xy คือ ค่าความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์ของข้อสอบที่เป็นตัวพยากรณ์
N คือ จานวนนักเรียน หรือ จานวนข้อมูล
X คือ คะแนนชุดที่เป็นตัวพยากรณ์
Y คือ คะแนนชุดที่เป็นตัวเกณฑ์
ตัวอย่างการคานวณ
ในการสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อคะแนนวิชาวิทยาศาสตร์ (X) และเกรดเฉลี่ย GPA ของนักเรียน
10 คน ดังตารางข้างล่างนี้ จงหาค่าความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์
X 1 3 4 5 8 11 12 14 17 25
GPA 2.50 1.75 2.00 2.50 1.75 2.50 2.75 3.00 3.00 3.25

STATISTICS
กด SHIFT F6
SD LR
F1 F6 กด SHIFT 4 CLEAR กด F3 เพื่อล้างข้อมูล
กด F6 (LR)
ป้อนข้อมูล 1 , 2.50 F1 (SD) 3 , 1.75 F1 (SD) 4 , 2.00 F1 (SD)
5 , 2.50 F1 (SD) 8 , 1.75 F1 (SD) 11 , 2.50 F1 (SD)
12 , 2.75 F1 (SD) 14 ,3.00 F1 (SD) 17 , 3.00 F1 (SD)
25 , 3.25 F1 (SD)
กด F6 (CAL) กด F6 (R)
กด F3 (r) คาตอบ 0.7714 ค่าความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์เป็น 0.7714

ความเชื่อมั่น (Reliability)
ความเชื่อมั่นของเครื่องมือรวบรวมข้อมูลหมายถึงเป็นคุณสมบัติของเครื่องมือรวบรวม
ข้อมูลในด้านความสามารถในการวัดสิ่งต่างๆ ที่ต้องการวัดได้อย่างคงที่แน่นอน หรือ คงเส้นคงวา
(Consistency) ซึ่งมีหลายวิธี ถ้าเป็นเป็นแบบทดสอบ หมายถึง ความคงที่ของคะแนนที่ได้จากการ
สอบนักเรียนคนเดียวกันหลายครั้งในแบบทดสอบชุดเดิมซึ่งก็คือคุณสมบัติของแบบทดสอบที่
สามารถให้คะแนนแก่ผู้สอบได้อย่างคงที่แน่นอนหรือพูดง่าย ๆ คือวัดกี่ครั้งก็ได้คาตอบที่คงที่
เหมือนเดิม
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 17

เกณฑ์ในการพิจารณาความเชื่อมั่นนั้น Garett เสนอว่า


ถ้ามีค่าตั้งแต่ .00 - .20 แสดงว่า มีความเชื่อมั่นต่ามาก
ถ้ามีค่าตั้งแต่ .21 - .40 แสดงว่า มีความเชื่อมั่นต่า
ถ้ามีค่าตั้งแต่ .41 - .70 แสดงว่า มีความเชื่อมั่นปานกลาง
ถ้ามีค่าตั้งแต่ .71 – 1.00 แสดงว่า มีความเชื่อมั่นสูง
แนวคิดในการหาค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบ แบ่งแนวคิดในการหาค่าความเชื่อมั่นของ
ข้อสอบแบ่งได้เป็น 2 แนวคิดใหญ่ๆ ดังนี้
1. แนวคิดการหาค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบจากค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบ Pearson
Product Moment การหาความเชื่อมั่นของข้อสอบโดยอาศัยแนวคิดนี้ ยังมีวิธีหาได้หลายวิธี ดังนี้
1.1 การใช้ข้อสอบคู่ขนาน Parallel Form Method สร้างข้อสอบขึ้นมา 2 ฉบับให้
มีลักษณะคู่ขนานกัน แล้วนาข้อสอบ แล้วนาข้อสอบทั้ง 2 ฉบับนี้ไปสอบกับนักเรียนกลุ่มเดียวกัน
ในเวลาเดียวกัน หรือ เวลาต่างกันก็ได้ จากนั้นนาคะแนน 2 ชุดไปหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
โดยใช้สูตรของ Pearson ก็จะได้ความเชื่อมั่นของข้อสอบตามต้องการ
1.2 การใช้ข้อสอบฉบับเดียวสอบซ้า Test Retest Method ใช้ข้อสอบฉบับที่จะหา
ค่าความเชื่อมั่นไปสอบกับนักเรียนกลุ่มเดิม 2 ครั้ง ในเวลาที่ต่างกัน ช่วงระยะเวลาที่เว้นไว้นั้นไม่
ควรให้นานเกินไปไม่ควรให้เกิน 6 เดือน ระยะที่เหมาะสมควรเป็น 1 สัปดาห์ ถึง 1 เดือน เมื่อได้
คะแนนมา นาเอาคะแนน ทั้ง 2 ชุด ไปหาค่าความเชื่อมั่น โดยใช้สูตรของ Pearson ก็จะได้ความ
เชื่อมั่นของข้อสอบตามต้องการ
1.3 การใช้ข้อสอบฉบับที่จะหาค่าความเชื่อมั่นสอบกับนกัเรียนคร้งเดียวแล้วนามา
แบ่งครึ่งข้อสอบ Split Half สาหรับวิธีการแบ่งครึ่งข้อสอบนั้น อาจจะ แบ่งเป็น คะแนนข้อคี่ – ข้อคู่
คะแนนข้อสอบครึ่งแรก – ครึ่งฉบับ หลัง หรือ แบ่งโดยการสุ่ม เป็นต้น แล้วนาคะแนนที่ได้จากการ
แบ่งครึ่งทั้งสองส่วน มาหาค่าความเชื่อมั่นของ Pearson Product Moment แต่ถ้าจะหาค่าความ
เชื่อมั่นของข้อสอบทั้งฉบับก็ขยายความเชื่อมั่นโดยใช้สูตรของ Spearman Brown
2𝑟𝑥𝑥
𝑟𝑡𝑡 =
1+ 𝑟𝑥𝑥

𝑟𝑡𝑡 คือ ค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบทั้งฉบับ


𝑟𝑥𝑥 คือ ค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบครึ่งฉบับ
การหาค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบโดยการแบ่งครึ่งข้อสอบโดยใช้สูตรของ Spearman Brown ได้
นั้น จานวนข้อของข้อสอบทั้งสองส่วนจะต้องเท่ากัน ต่อมา Horst ได้เสนอสูตรขยายความเชื่อมั่น
ของข้อสอบ กรณีแบ่งข้อสอบ มีจานวนข้อเท่ากันหรือไม่ เท่าก็ได้
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 18

[𝑟𝑥𝑥 2 + 4𝑝𝑞 1−𝑟 2 − 𝑟 ]


𝑟𝑥𝑥 𝑥𝑥 𝑥𝑥
𝑟𝑡𝑡 = 2
2𝑝𝑞 1−𝑟𝑥𝑥

𝑟𝑡𝑡 คือ ค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบทั้งฉบับ


𝑟𝑥𝑥 คือ ค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบที่ได้จากการแบ่งข้อสอบออกเป็น 2
ส่วน
𝑝 คือ สัดส่วนของจานวนข้อในส่วนแรก
𝑞 คือ สัดส่วนของจานวนข้อในส่วนหลัง

Rulon ได้เสนอสูตร หาค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบโดยการแบ่งครึ่งข้อสอบที่ไม่ต้องหาค่าความ


เชื่อมั่นของข้อสอบครึ่งฉบับก่อน ซึ่งมีสูตร ดังนี้
𝑆𝑑2
𝑟𝑡𝑡 = 1 -
𝑆𝑡2
𝑟𝑡𝑡 คือ ค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบทั้งฉบับ
𝑆𝑑2 คือ ความแปรปรวนของผลต่างของคะแนนครึ่งฉบับแรกกับครึ่ง
หลัง
𝑆𝑡2 คือ ความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบับ
Guttman ได้เสนอสูตรหาค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบโดยแบ่งครึ่งข้อสอบ ที่ไม่ต้องหาค่าความ
เชื่อมั่นของข้อสอบครึ่งฉบับก่อน
𝑠𝑥2 +𝑠𝑦2
𝑟𝑡𝑡 = 2 [ 1 - ]
𝑠𝑡2
𝑟𝑡𝑡 คือ ค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบทั้งฉบับ
𝑆𝑥2 คือ ความแปรปรวนของคะแนนครึ่งฉบับแรก
𝑆𝑦2 คือ ความแปรปรวนของคะแนนครึ่งฉบับหลัง
𝑆𝑡2 คือ ความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบับ
ตัวอย่างการคานวณ
ข้อสอบเลือกตอบแบบทาถูกให้ 1 คะแนน ทาผิด 0 คะแนน ฉบับหนึ่งมี 9 ข้อ นาไปสอบกับ
นักเรียน 10 คน ได้คะแนนดังตารางข้างล่างนี้ จงหาค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบฉบับนี้
นักเรียนคนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ข้อคี่ 2 3 0 2 0 1 2 1 1 4
ข้อคู่ 1 3 1 1 0 1 1 0 4 2
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 19

กด SHIFT F6
STATISTICS
SD LR กด SHIFT 4 CLEAR กด F3 เพื่อล้างข้อมูล กด F6 (LR)
F1 F6
ป้อนข้อมูล 2 , 1 F1 (SD) 3 , 3 F1 (SD) 0 , 1 F1 (SD) 2 , 1 F1 (SD)
0 , 0 F1 (SD) 1 , 1 F1 (SD) 2 , 1 F1 (SD) 1 ,0 F1 (SD) 1 , 4 F1 (SD)
4 , 2 F1 (SD) กด F6 (CAL) กด F6 (R) กด F3 (r) คาตอบ 0.39
5 4
จากนั้นนาค่า 𝑟𝑥𝑥 ที่คานวณได้ ไปแทนค่าในสูตร Horst โดยค่า p = r =
9 9
แล้วค่าออกมาเท่ากับ 0.5668
ข้อสอบฉบับนี้มีค่าความเชื่อมั่น 0.5668

𝑆𝑇2
2. แนวคิดการหาค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบจากค่า
𝑆𝑋2
การหาค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบโดยอาศัยแนวคิด นี้จะใช้ข้อสอบฉบับที่จะหาค่าความ
เชื่อมั่นไปสอบกับนักเรียนเพียงครั้งเดียว ก็หาค่าความเชื่อมั่นได้เลย โดยไม่ต้องแบ่งครึ่งข้อสอบ
การหาค่าความเชื่อมั่นของข้อสอบตามแนวคิดนี้มีหลายสูตร ดังนี้
2.1 Kuder Richardson
ใช้สูตร KR.20 หรือ KR.21 ซึ่งสูตรทั้งสองนี้ต้องตรวจให้คะแนนใน
ลักษณะที่ทาถูกได้ 1 คะแนน ทาผิดได้ 0 คะแนน
 k

 k    pi q i 
KR.20 , rtt =   1 
i 1

 k  1  S2 
 

 k   X(k  X) 
KR.21 , rtt =   1 
 k 1   kS2 

rtt คือ ความเที่ยงตรงของเครื่องมือรวบรวมข้อมูล


k คือ จานวนข้อในเครื่องมือรวบรวมข้อมูลที่นามาคานวณ
S2 คือ ความแปรปรวนของคะแนนรวมในแต่ละคน
p คือ สัดส่วนคนทาถูกในแต่ละข้อ
q คือ สัดส่วนคนทาผิดในแต่ละข้อ โดย q = 1 – p
X คือ ค่าเฉลี่ยของคะแนนทั้งฉบับ
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 20

การคานวณสูตร KR.21 ง่ายกว่า KR.20 แต่ในปัจจุบันนิยมใช้สูตรตามวิธีการ


ของ Cronbach เพราะใช้กับเครื่องมือรวบรวมข้อมูลแบบใดก็ได้และสามารถให้
คะแนนลักษณะใดก็ได้

2.2 The Coefficient of Alpha ∝


เป็นการพัฒนาจากสูตร KR.20 ในรูปของสัมประสิทธิ์แอลฟา ( -
Coefficient) ซึ่งสามารถตรวจให้คะแนนลักษณะใดก็ได้เช่นให้คาตอบ 0 หรือ
1 และแบบให้ประเมินค่าเป็น 1, 2, 3, 4, 5 เป็นต้นแล้วนามาหาค่าความเชื่อมั่น
ดังนั้นสูตรนีจ้ ึงใช้หาความเชื่อมั่นของ แบบสอบถามได้เช่นกัน เนื่องจากแบบ
ประเมินส่วนใหญ่ที่ใช้กันจะมีมาตราวัดตั้งแต่ 2 ค่า ขึ้นไป
 n

 
 k   i 1 
Si2 
สูตร  =   1  2 
 k 1   S 
 
2
n
 n 
 x   xi
2
i 
Si2 = i 1
  i 1 
n  n 
 
 

เมื่อ  คือ สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น


xi คือ คะแนนประเมินของแต่ละผู้ตอบแบบประเมินในแต่ละข้อ
X คือ คะแนนผลรวมทุกข้อที่ประเมินของแต่ละผู้ตอบแบบประเมิน
k
ซึ่ง x =X
i 1
i

n คือ จานวนผู้ตอบแบบประเมิน
k คือ จานวนข้อของแบบประเมิน
Si2 คือ คะแนนความแปรปรวนเป็นรายข้อ
S2 คือ คะแนนความแปรปรวนของคะแนนรวมของผู้ทาแบบประเมิน
แต่ในทางปฏิบัตินั้นถ้าสามารถวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมการคานวณทาง
คอมพิวตอร์ จะสะดวกรวดเร็วและถูกต้องมากขึ้น ค่า  จะใช้ได้ดีต้องมี
ค่ามากกว่า 0.70 จึงจะถือว่าเครื่องมือรวบรวมข้อมูลนั้นมีความเชื่อมั่น
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 21

2.3 Hoyt‘s ANOVA Procedure) การหาค่าความเชื่อมั่น โดยวิธีนี้เหมาะสาหรับ


เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลประเภทตรวจให้คะแนนต่างๆ กันในแต่ละข้อ
เช่น แบบทดสอบอัตนัย ใช้วิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวน โดยมีสูตร
MSE
rtt = 1
MSp
เมื่อ r tt คือ ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ
MSE คือ คะแนนความแปรปรวนของความคลาดเคลื่อน (Error)
MSP คือ คะแนนความแปรปรวนระหว่างผู้ตอบ (Between People)

1.4 การใช้เครื่องคิดเลข CASIO  - 5500LA ในการวิเคราะห์ข้อมูล


ผู้เขียนขอให้รายละเอียดเกี่ยวกับการหาวิเคราะห์ในงานวิจัย โดยใช้ เครื่องคิดเลข
CASIO  - 5500 LA ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ย (Mean)
2. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
3. การหาค่าถดถอย ( Linear Regression )
ค่าเฉลี่ย (Mean)
เป็นค่าที่ใช้คานวณหากรณีที่ข้อมูลเป็นเชิงปริมาณ อยู่ในระดับ ข้อมูลแบบช่วง หรือ
ข้อมูลแบบอัตราส่วน เป็นการค่าเฉลี่ยเป็นที่นิยมใช้กันมาก นิยมเรียกว่าสั้นๆ ว่า ค่าเฉลี่ย ในทาง
สถิติ เนื่องจากข้อมูลมีทั้งประชากร และตัวอย่าง จึงใช้สัญลักษณ์ต่างกัน ถ้าเป็นค่าเฉลี่ยของ
ประชากรใช้  ค่าเฉลี่ยของตัวอย่างใช้ X
กรณีข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่
N

x i
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของประชากร (  ) = i 1

N
n

x i
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของตัวอย่าง ( X ) = i 1

n
N

 x หมายถึง ผลรวมของค่าสังเกตคนที่ 1 ถึงคนที่ N


i 1
i

 x หมายถึง ผลรวมของค่าสังเกตคนที่ 1 ถึงคนที่ n


i 1
i

N หมายถึง จานวนค่าสังเกตทั้งหมดในประชากรหรือจานวนประชากร
n หมายถึง จานวนค่าสังเกตทั้งหมดในกลุ่มตัวอย่างหรือจานวนกลุ่มตัวอย่าง
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 22

กรณีข้อมูลมีการแจกแจงความถี่
ตารางแจกแจงความถี่ที่ข้อมูลแต่ละชั้นมีค่าสังเกตเพียงค่าเดียว
ให้  เป็นค่าเฉลี่ยรวมของประชากร และ X เป็นค่าเฉลี่ยรวมตัวอย่าง
k

f x i i
 = i 1
, k คือ จานวนกลุ่มย่อยของประชากร
N
k

f x i i
X = i 1
, k คือ จานวนกลุ่มย่อยของตัวอย่าง
n
ตารางแจกแจงความถี่ที่มีการจัดแบบมีอันตรภาคชั้น
k

f x i i
= i 1

N
k

f x i i
X = i 1

n
xi คือ ค่าจุดกึ่งกลางของชั้น, k เป็นจานวนชั้น

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)


ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นการวัดการกระจายวิธีหนึ่งซึ่งนิยมใช้กันมาก เพราะ
(1) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นวิธีการวัดการกระจายของข้อมูลซึ่งใช้ค่า สังเกตทุกค่ามา
คานวณ
(2) มีความละเอียดถูกต้อง น่าเชื่อถือได้ที่สุด และสามารถนาไปใช้ในทางสถิติขั้นสูงต่อไปได้
(3) ขจัดปัญหาเรื่องการใช้ค่าสัมบูรณ์
(4) มีวิธีลัดในการคานวณ ทาให้การคานวณทาได้สะดวกและรวดเร็ว

ความหมายของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ รากที่สองที่ไม่เป็นจานวนลบ ของค่าเฉลี่ยของกาลังสองของ
ผลต่างระหว่างค่าในข้อมูลกับค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลนั้น ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานมีหน่วย
เช่นเดียวกับค่าเฉลี่ย คือหน่วยของค่าสังเกต
สัญลักษณ์ที่ใช้ ถ้าเป็นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร  (อ่านว่า ซิกมา (Sigma))
ถ้าเป็นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่างใช้ คือ S, S.D.
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 23

การหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(1) กรณีที่ข้อมูลไม่ได้ถูกจัดเป็นอันตรภาคชั้น
ถ้า x1, x2, x3,..., xN เป็นข้อมูลจากประชากร ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิต เท่ากับ  หา
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร (  ) ได้
N

x  
2
i
 = i 1
N
ถ้า x1, x2, x3,..., xN เป็นข้อมูลจากตัวอย่าง ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิต เท่ากับ X
หาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวอย่าง (S.D.) ได้

x  X
n
2
i
S.D. = i 1
n 1
  n  
2

1  n 2 
  xi 
1  n 2  i 1  
หรือ S.D. =  
n  1  i 1
x i  nX 2  =  xi  n 
n  1  i 1

 
 
 
(2) การหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากตารางแจกแจงความถี่
ให้ xi แทนจุดกลางชั้นของแต่ละอันตรภาคชั้น
fi แทนความถี่ของแต่ละอันตรภาคชั้น
X แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิตของตัวอย่าง
 แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิตของประชากร k จานวนชั้น
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร (  )
k k

 fi (xi  )2 f x i
2
i
 = i 1
= i 1
 2
N N
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง (S.D.)
k

 f (x i i  X)2
S.D. = i 1
n 1
  k  
2

   fi x i  
1  k 
f i x i   i 1  
1  k
หรือ S.D. =  
n  1  i 1
fx i 2  nX 2  =  
n  1 i 1
2

 n
 
 
 
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 24

(2) การหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากตารางแจกแจงความถี่
ให้ xi แทนจุดกลางชั้นของแต่ละอันตรภาคชั้น
fi แทนความถี่ของแต่ละอันตรภาคชั้น
X แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิตของตัวอย่าง
 แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิตของประชากร
k จานวนชั้น
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร (  )
k k

 fi (xi  )2 f x i
2
i
 = i 1
= i 1
 2
N N
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง (S.D.)
k

 f (x i i  X)2
S.D. = i 1
n 1
  k  
2

   fi x i  
1  k 
f i x i   i 1  
1  k
หรือ S.D. =  
n  1  i 1
fx i 2  nX 2  =  
n  1 i 1
2

 n
 
 
 
ตัวอย่างการคานวณ
ผลการทดลองใช้สื่อชุดศึกษาด้วยตนเอง หัวข้อ พันธะเคมี กับนักเรียน 12 คน และทดสอบความรู้
จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน ดังนี้
25 18 22 19 22 21 20 16 16 25 24 18
จาหาค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
กด SHIFT F6
กด SHIFT 4 CLEAR กด F3 เพื่อล้างข้อมูล
กด F1 (SD)
ป้อนข้อมูล กด 25 F1 (DT) กด 18 F1 (DT) กด 22 F1 (DT)
กด 19 F1 (DT) กด 22 F1 (DT) กด 21 F1 (DT) กด 20 F1 (DT) กด 16
F1 (DT)กด 16 F1 (DT) กด 25 F1 (DT) กด 24 F1 (DT) กด 18 F1 (DT)
กด F6 (CAL)
กด F1 ( X ) กด EXE ได้คาตอบ 20.5
กด F2 ( 𝜎𝑛 ) กด EXE ได้คาตอบ 3.06
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 25

สรุปได้ คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินความรู้หัวข้อ พันธะเคมี เท่ากับ 20.5 คะแนน จากคะแนน


เต็ม 30 คะแนน มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.06
ตัวอย่างการคานวณ ข้อมูลผลการสอบวิชาเคมี คะแนนเต็ม 30 คะแนน มีจานวนนักเรียน 40 คนที่
เข้าสอบ จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน
คะแนนสอบ (xi) จานวน(fi)
21 5
24 7
25 6
26 9
27 2
28 7
29 3
30 1
รวม 40

STATISTICS กด SHIFT F6
SD LR
F1 F6 กด SHIFT 4 CLEAR กด F3 เพื่อล้างข้อมูล
กด F1 (SD)
ป้อนข้อมูล กด 21 F4 ( ;) 5 F1 (DT) กด 24 F4 ( ;) 7 F1 (DT)
กด 25 F4 ( ;) 6 F1 (DT) กด 26 F4 ( ;) 9 F1 (DT) กด 27 F4 ( ;) 2 F1
(DT) กด 28 F4 ( ;) 7 F1 (DT) กด 29 F4 ( ;) 3 F1 (DT)
กด 30 F4 ( ;) 1 F1 (DT)
กด F6 (CAL)
กด F1 ( X ) กด EXE ได้คาตอบ 25.6
กด F2 ( 𝜎𝑛 ) กด EXE ได้คาตอบ 2.37

สรุปได้ คะแนนเฉลี่ยผลการสอบวิชาเคมี เท่ากับ 25.6 คะแนน จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน มี


ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.37
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 26

ตัวอย่างการคานวณ
ข้อมูลในตารางต่อไปนี้ เป็นช่วงคะแนนที่นักเรียนทาการทดสอบวิชาฟิสิกส์นักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 4 จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน จงหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน
วิธีทา
อันตรภาคชั้น ความถี่ (fi) จุดกึ่งกลางชั้น(xi)
7 – 18 6 12.5
19 – 30 10 24.5
31 – 42 13 36.5
43 – 54 8 48.5
55 – 66 5 60.5
67 – 78 6 72.5
2
79 - 90 84.5
รวม 50

กด SHIFT F6
STATISTICS กด SHIFT 4 CLEAR กด F3 เพื่อล้างข้อมูล
SD LR
F1 F6 กด F1 (SD)
ป้อนข้อมูล กด 12.5 F4 ( ;) 6 F1 (DT) กด 24.5 F4 ( ;) 10 F1 (DT)
กด 36.5 F4 ( ;) 13 F1 (DT) กด 48.5 F4 ( ;) 8 F1 (DT)
กด 60.5 F4 ( ;) 5 F1 (DT) กด 72.5 F4 ( ;) 6 F1 (DT)
กด 84.5 F4 ( ;) 2 F1 (DT)
กด F6 (CAL)
กด F1 ( X ) กด EXE ได้คาตอบ 41.78
กด F2 ( 𝜎𝑛 ) กด EXE ได้คาตอบ 19.95

สรุปได้ คะแนนเฉลี่ยผลการสอบวิชาเคมี เท่ากับ 41.78 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน มี


ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 19.95
หมายเหตุ ถ้าการแจกแจงความถี่ที่มีชั้นแรกหรือชั้นสุดท้ายเป็นช่วงเปิด จะไม่สามารถหาค่าเฉลี่ย
เลขคณิตได้
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 27

1.5 การถดถอยเชิงเส้น Linear Regression


การวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ตัว
แปร 2 ลักษณะ คือ ตัวแปรที่ทาหน้าที่เป็นตัวแปรตาม1 (Dependent Variable) เขียนแทนด้วย
สัญลักษณ์ Yซึ่งเป็นตัวแปรสุ่ม (Random Variable) และตัวแปรที่ทาหน้าที่เป็นตัวแปรอิสระ2
(Independent Variable)เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ X ซึ่งเป็นตัวแปรคงที่ (Non–Random Variable or
Fixed Variable) โดยศึกษาว่า ตัวแปร X มีอิทธิพลสามารถกาหนดตัวแปร Y อย่างไร นั่นคือ ถ้าตัว
แปร X เปลี่ยนแปลงไป 1หน่วย แล้วจะทาให้ตัวแปร Y เปลี่ยนแปลงไปกี่หน่วย หรือเป็นการศึกษา
เพื่อประมาณหรือพยากรณ์ค่าของตัวแปร Y จากตัวแปร X ที่มีความสัมพันธ์กัน
การวิเคราะห์การถดถอย3ในที่นี่จะกล่าวถึงเฉพาะการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้น
(เส้นตรง) (Linear Regression Analysis) เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาการวิเคราะห์การถดถอย ขั้น
สูงต่อไป โดยจะกล่าวถึงการวิเคราะห์การถดถอย 2 แบบ ได้แก่
1. การวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย (Simple Regression) เป็นการวิเคราะห์การถดถอยที่มี
ตัวแปร 2 ตัวแปร คือ ตัวแปรตาม 1 ตัวแปร และตัวแปรอิสระอีก 1 ตัวแปร
2. การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression) เป็นการวิเคราะห์การถดถอยที่มี
ตัวแปรมากกว่า 2 ตัวแปร คือ ตัวแปรตาม 1 ตัวแปร และตัวแปรอิสระมากกว่า 1 ตัวแปร

แผนภาพการกระจายแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง X และ Y
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 28

สมการการถดถอยหรือสมการการทานาย (Regression Equation or Predicted Equation)


เมื่อ x กับ y มีความสัมพันธ์เชิงตรง การทานายค่า y จาก x หรือการทานาย ค่า x จาก y จะ
ใช้สมการถดถอยเชิงเส้นตรง และเส้นตรงที่ได้จะเรียกว่า เส้นถดถดย (Regression line) ในการ
ทานายนิยมที่จะใช้ตัวแปรใดตัวแปรหนึ่งเป็นตัวทานาย อีกตัวแปรหนึ่ง เช่น ใช้คะแนนความถนัด
ทานายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นต้น ตัวแปรที่ใช้ทานายอาจถือได้ว่าเป็นตัวแปรอิสระ (x)
ส่วนตัวแปรที่ถูกทานายถือได้ว่าเป็นตัวแปรตาม (y) ดังนั้นในที่นี้จะกล่าวถึงสมการถดถอยที่ทานาย
ค่า y ด้วยค่า x ดังนี้
สมการการถดถอย ŷ = A + Bx
โดยที่ ŷ คือ ค่าของ yที่ได้จากการทานาย
A คือ ค่าคงที่
B คือ สัมประสิทธิ์การถดถอย (regression coefficient)
x คือ ตัวแปรที่ใช้ทานาย

สมการ A = y -b x
B=  2  2
Sy N XY- X Y
สมการ B = rxy หรือ
Sx N X  ( X)
ตัวอย่างการคานวณ
ในการสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อคะแนนวิชาวิทยาศาสตร์ (X) และเกรดเฉลี่ย GPA ของนักเรียน
10 คน ดังตารางข้างล่างนี้
X 1 3 4 5 8 11 12 14 17 25
GPA 2.50 1.75 2.00 2.50 1.75 2.50 2.75 3.00 3.00 3.25

จากข้อมูล
1. จงสร้างสมการการถดถอย
2. ถ้านักเรียนคนหนึ่งสอบคัดเลือกเข้าได้คะแนนวิชาวิทยาศาสตร์ 10 คะแนน จงหา GPA ที่
นักเรียนคนนี้น่าจะได้
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 29

กด SHIFT F6
STATISTICS
SD
F1
LR
F6
กด SHIFT 4 CLEAR กด F3 เพื่อล้างข้อมูล
กด F6 (LR)
ป้อนข้อมูล 1 , 2.50 F1 (SD) 3 , 1.75 F1 (SD) 4 , 2.00 F1 (SD) 5 , 2.50
F1 (SD) 8 , 1.75 F1 (SD) 11 , 2.50 F1 (SD) 12 , 2.75 F1 (SD) 14 ,3.00
F1 (SD) 17 , 3.00 F1 (SD) 25 , 3.25 F1 (SD)
กด F6 (CAL) กด F6 (R)
กด F1 (A) EXE คาตอบ 1.9489
กด F2 (B) EXE คาตอบ 0.0551
ตอบข้อที่ 1
แทนค่า B และ A ลงใน สมการการถดถอย ŷ = A + Bx
จะได้ ŷ = 1.9489 + 0.0551x
ตอบข้อที่ 2
คะแนนวิชาวิทยาศาสตร์ 10 คะแนน จงหา GPA
กด 10 F5 ( ŷ )EXE คาตอบ 2.5
ถ้าคะแนนวิชาวิทยาศาสตร์ 10 คะแนน จะได้ GPA เท่ากับ 2.50

การหาค่าของ yที่ได้จากการทานาย จากสมการถดถอย ประยุกต์ใช้ เมนูการคานวณ


กด SHIFT 5 ------- > CALC
หน้าจอแสดง
f IN OUT CAL SET
F1 F2 F3 F4 F6

F1 (f) เรียกสูตรทั้งหมดที่เก็บในหน่วยความจา มาเลือกใช้


F2 (IN) เก็บสูตรที่แสดงผลอยู่หน้าจอ ลงในหน่วยความจา เก็บได้เพียง 1 สูตร
เพื่อใช้งานคานวณ
F3 (OUT) เรียกสูตรขึ้นมาใช้งาน ออกจากหน่วยความจา
F4 (CAL) คานวณหาค่าตัวแปร จากสูตรที่เขียนขึ้นสุดท้ายที่เก็บในหน่วยความจา
F6 (SET) เก็บสูตรจานวนหลายสูตร ลงในหน่วยความจา
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 30

ตัวอย่างการคานวณ
จากสมการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ŷ = 27.768 + 0.073A + 0.493B
A = คะแนนการคิดวิเคราะห์
B = คะแนนความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
จงคานวณค่าพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
คน คะแนนการ คะแนน ผลสัมฤทธิ์ทางการ ค่าพยากรณ์
ที่ คิดวิเคราะห์ ความสามารถในการ เรียนกลุ่มสาระการ ผลสัมฤทธิ์ทางการ
A คิดอย่างมี เรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรียนกลุ่มสาระการ
วิจารณญาณ y เรียนรู้วิทยาศาสตร์
B ŷ
1 45 40 50 50.773
2 35 30 45 45.113
3 50 45 55 53.603
4 57 40 52 51.649
5 60 50 56 56.798

STATISTICS
SD LR
กด SHIFT 5 ------- > CALC
F1 F6
พิมพ์สมการ Y = 27.768 + 0.073A + 0.493B
กด F2 ( IN ) กด F3 ( OUT )
กดF4 ( CAL )
ป้อนข้อมูลคนที่ 1 45 F1 ( A ) 40 F2 ( B ) กด F6 ( CAL)
คาตอบคือ 50.773
จากนั้นป้อนข้อมูล คน 2 – 5 ต่อ ไป จะได้ข้อมูลทางตาราง
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 31

1.6 การคานวณ MATRIX ---- > SHIFT F1


เมื่อต้องการหาค่าตัวแปรที่ใช้การศึกษาในการวิจัยและหาค่าสถิติ เช่น การหาค่าคงที่ใน
สมการถดถอยเชิงเส้น ซึ่งการได้มาของค่าคงที่ เมื่อจัดเป็นระบบสมการเชิงเส้น การหาค่าตัวแปร
หลายตัวแปร ต้องอาศัยความรู้พื้นฐานของ MATRIX ซึ่งการคานวณเมตริกซ์ค่อนข้างยุ่งยาก แต่
ถ้าใช้เครื่องคิดเลข รุ่น fx 5500 LA จะสามารถคานวณได้อย่างรวดเร็ว แต่มีข้อจากัดสามารถ
คานวณได้เมตริกซ์ขนาด 5  5 ซึ่งวิธีการดังนี้ MATRIX
A B + -  OP
F1 F2 F3 F4 F5 F6
เมื่อกด SHIFT F1 จะปรากฏหน้าจอแสดงผล
MATRIX
A B + -  OP
F1 F2 F3 F4 F5 F6

ฟังก์ชันจะทางาน จะแทนโดยการกด F1 F2 F3 F4 F5 F6 โดยที่


F1 (A) แสดงเมตริกซ์ A
F2 (B) แสดงเมตริกซ์ B
F3 (+) การบวกเมตริกซ์ A และเมตริกซ์ B
F4 (-) การลบเมตริกซ์ A และเมตริกซ์ B
F5 (  ) การคูณเมตริกซ์ A และเมตริกซ์ B
OP ใช้เมนูถัดไป (มี option อื่นๆ อีก)
หมายเหตุ เมื่อต้องการลบข้อมูลที่บันทึกใน MATRIX ใช้ SHIFT4 เลือก ARRAY ERASE แล้วกด F6

1. การกาหนดขนาดเมตริกซ์ และการป้อนข้อมูล
1 2 1 1 0 1 
ตัวอย่างที่ 1จงป้อนข้อมูล 3 2 1 ลงในเมตริกซ์ A และข้อมูล 1 1 0  ลงในเมตริกซ์ B
   
1 2 5  0 1 1
1) เมื่อกด SHIFT F1 ปรากฏหน้าจอพร้อมทางาน MATRIX
2) กด F1 เลือกเมตริกซ์ A ให้กาหนดขนาดของ MATRIX ก่อน โดยกด F6 เครื่องจะ
กาหนดค่าเริ่มต้น (2  2) โดยขนาดของเมตริกซ์ คือ (ROW  COLUMN) = (m 
n) กด 3 F1 และกด 3 F2 หลังกดแล้วหน้าจอจะแสดง A(m  n) = A(3  3)
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 32

แสดงได้ว่ากาลังจะดาเนินใช้เมตริกซ์ A ในขนาด (3  3) ซึ่งอยู่ในรูปเมตริกซ์


11 12 13 
 21 22 23
 
31 32 33
3) เมื่อได้ขนาดแล้ว กด PRE เครื่องจะกลับมาพร้อมให้กรอกข้อมูล
4) กรอกข้อมูล แถวแรก 11 12 13 กรอก 1F1 2F2 -1F3
F1 F2 F3
5) กรอกข้อมูล แถว 2 ให้ กด 21 22 23 กรอก 3F1 2F2 -1F3
F1 F2 F3

6) กรอกข้อมูล แถว 3 ให้ กด 31 32 33 กรอก 1F1 2F2 5F3


F1 F2 F3
7) การอ่าน หรือ ต้องการตรวจสอบว่าข้อมูลว่ากรอกถูกต้องหรือไม่ ไปที่ ปุ่ม
ถ้ากรอกข้อมูลผิด ค่าใด ให้กรอกใหม่ ใน F1 หรือ F2 หรือ F3
หมายเหตุ 1. การกรอกข้อมูลที่เป็นค่าลบ ให้ระวังค่า ควรกด AC ก่อน หรือ กด (-)
2. ถ้ากรอกข้อมูล เมตริกซ์ A เสร็จแล้ว กด PRE ก่อนจะกรอก เมตริกซ์ B
3. เมื่อกรอกข้อมูลในเมตริกซ์เสร็จแล้ว เมื่อต้องการคานวณค่า ต้องกด PRE ทุกครัง้
1 0 1 
ดาเนินการป้อนข้อมูลข้อมูล 1 1 0  ลงในเมตริกซ์ B
 
0 1 1

ดาเนินการเช่นเดียวกับกากรอกข้อมูลในในเมตริกซ์ A

2. การใช้โอเปอร์เรชันคณิตศาสตร์กับเมตริกซ์
สามารถที่จะบวก ลบ คูณเมตริกได้
2.1 การ บวก และ ลบ เมตริกซ์
ตามนิยาม เมตริกซ์ที่บวก หรือ ลบ ต้องมีขนาดเท่ากัน
A = a ij  mn , B = bij  mn
1 2 1 1 0 1 
2.2 จากข้อ 1 จงหาค่า 3 2 1 + 1 1 0  และ
   
1 2 5  0 1 1
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 33

1 2 1 1 0 1 
และ 3 2 1 - 1 1 0 
1 2 5  0 1 1

1  1 20 1  1   2 2 0
การบวกตามทฤษฏี  3  1 2  (1) 1  0  =  4
 1 1
1  0 2 1 5  (1)   1 3 4 
1  1 20 1  1   0 2 2 
การลบตามทฤษฎี 3  1 2  (1) 1  0  =  2
 3 1
1  0 2 1 5  (1)   1 1 6 

2.3 เมื่อป้อนข้อมูลครบถูกต้องต้องการคานวณ กลับมาที่หน้าจอแสดงผล (กด PRE)


MATRIX
A B + -  OP
F1 F2 F3 F4 F5 F6

2.4 การบวก กด F3 เรียกดูผลลัพธ์โดยกด ซึ่ง ถ้าต้องการ


เรียงตามลาดับ ใช้ แต่ผลลัพธ์ดูได้แต่ละค่า เช่น หน้าจอแสดง
2 แสดงว่าที่แถว 1 หลัก 1
11 12 13 ได้ค่า 2

ผลลัพธ์ทั้งหมดเมื่อกด ได้
11 12 13  2 20
ผลบวก รูปเมตริกซ์  21 22 23 4 1 1
  
31 32 33  1 3 4 
11 12 13  0 2 2 
ผลลบ รูปเมตริกซ์  21 22 23 2 3 1
  
31 32 33   11 6 
 15 20 18  10 12 8 
ฝึกปฏิบัติ ถ้า A =  23 36 12  , B =  25 8 10
 
 14 25 24  18 12 23 
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 34

จงหาผลลัพธ์ของ A +B และ A - B
 5 8 10   25 32 26 
(เฉลย A +B =  48 44 22 ,A-B =  2 28 2 
   
 32 37 47   4 13 1 

3. การคูณเมตริกซ์
3.1 การคูณ เมตริกซ์ กับ เมตริกซ์
ถ้า A = a ij  mn , B =  bij  np ถ้า A B = cij  mp

ข้อสังเกต จากนิยามการคูณ AB จะคูณได้ก็ต่อเมื่อจานวนหลักของเมตริกซ์ A ต้องเท่ากบ


จานวนแถวของเมตริกซ์ B
ขนาดของตังตั้ง ขนาดของตัวคูณ ขนาดของผลคูณ
m n np m p

 a11 a12 ... a1n   b11 b12 ... b1p   c11 c12 ... c1p 
a  b b 22 ... b 2p  c 
 21 a 22 ... a 2n   21  21 c 22 ... c 2p 
 . . . .   . . . .   . . . . 
     
 . . . .   . . . .   . . . . 
 . . . .   . . . .   . . . . 
     
 a m1 a m 2 ... a mn   b n1 a n 2 ... a np  c m1 c m2 ... c mp 

c11 = a11b11 + a12b21+…+a1n bn1

 3 4 
1 2 1  
ตัวอย่างที่ 2 กาหนดให้ A=  4 0 2 และ 1 5  จงหา
   2 2 
ขนาดของ A คือ 2  3 และ ขนาดของ B คือ 3  2
(1)(3)  (2)(1)  (1)(2) (1)(4)  (2)(5)  (1)(2)  3 8 
AB = (4)(3)  (0)(1)  (2)(2) (4)(4)  (0)(5)  (2)(2)  = 8 12
   
ขั้นตอน
1. ล้างข้อมูลในหน่วยความจา SHIFT4 เลือก ARRAY ERASE แล้วกด F6
2. กาหนดขนาดของ เมตริกซ์ A คือ 2  3 แล้วป้อนข้อมูล เช่นเดียวกับตัวอย่าง
ที่ 1
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 35

3. กาหนดขนาดของ เมตริกซ์ B คือ 3  2 แล้วป้อนข้อมูลเช่นเดียวกับตัวอย่าง


ที่ 1
4. เมื่อป้อนข้อมูลครบแล้ว กด PRE กลับมาหน้าจอ

MATRIX
A B + -  OP
F1 F2 F3 F4 F5 F6
5. แล้วกด F5
6. ผลลัพธ์ ตรวจสอบทุกค่าได้ รูปเมตริกซ์ 
11 12  3 8 
 8 12
21 22  
2 3  1 0 1 
ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลลัพธ์ของ  0 1 3 1 1 +  2 3 0 
  0 2 1  
1 3    0 0 2 
 

ตัวอย่างข้อนี้ต้องทา 2 ขั้นตอน เพราะ เครื่องคิดเลข กาหนดเมตริกซ์การคานวณ มีเพียง A และ B


ขั้นตอนที่ 1 หาผลคูณก่อน
1) ล้างข้อมูลในหน่วยความจาก่อน SHIFT4 เลือก ARRAY ERASE แล้วกด F6
2) กดฟังก์ชันเมตริกซ์ SHIFT F1
2 3 
3) ป้อนขนาดเมตริกซ์ A ขนาด 3  2 เสร็จแล้วป้อนข้อมูล  0 1 ลงในเมตริกซ์ A
 
1 3 
4) กด PRE
3 1 1
5) ป้อนขนาดเมตริกซ์ B ขนาด 2  3 เสร็จแล้วป้อนข้อมูล 0 2 1
 
ลงในเมตริกซ์ B
6) กด PRE
7) กด F5 (หาผลคูณ A  B) ได้
2 3  6 0 3 
 0 1 3 1 1 =  0 2 1
  0 2 1  
1 3     3 5 4 
8) เมื่อได้ผลคูณแล้ว หาจอแสดงผลจะมี เมตริกซ์ C ขึ้นมา กด F6 เพื่อบันทึกผลลัพธ์
ผลคูณไปเก็บไว้ที่ เมตริกซ์ C
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 36

9) ย้ายผลลัพธ์จากเมตริกซ์ C กลับไปแทนที่ เมตริกซ์ A โดยกด F1


ขั้นที่ 2 หาผลบวก
1 0 1 
10) ป้อนขนาดเมตริกซ์ B ขนาด 3  3 เสร็จแล้วป้อนข้อมูล  2 3 0 
 
 0 0 2 
ลงในเมตริกซ์ B
11) กด PRE
12) กด F3 หาผลบวก ได้ผลลัพธ์
 6 0 3  1 0 1  7 0 4 
 0 2 1 +  2 3 0  =  2 5 1
     
 3 5 4   0 0 2   3 5 6 
4. โอเปอร์เรชันอื่นๆ
จากหน้าจอแสดงผลหลัก

MATRIX
A B + -  OP
F1 F2 F3 F4 F5 F6
กด(OP) F6 หน้าจอแสดงผล

MATRIX
kA At A A-1 A B C
F1 F2 F3 F4 F5 F6
ฟังก์ชันต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันที่สามารถทางานได้ในเมนูเมตริกซ์
F1 (kA) หาผลคูณสเกลาร์ของเมตริกซ์ A
F2 (At) หาทรานสโพสเมตริกซ์ A
F3 ( A ) หาดีเทอร์มินันท์ของเมตริกซ์ A
F4 (A-1) หาอินเวอร์สของเมตริกซ์ A
F5 (A B) การสลับเมตริกซ์ A เป็น B และ B เป็น A
F6 (C) ดูเมตริกซ์ C
หมายเหตุ การใช้ฟังก์ชัน F1 ถึง F6 จะกระทาในเมตริกซ์ A เท่านั้น
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 37

3.2 การคูณเมตริกซ์ กับ สเกลาร์


ตัวอย่างที่ 4 ถ้า A= 
1 2
 จงหาค่า 4A
4 0
4A = 
4 8

16 0
ขั้นตอน
1) ล้างข้อมูลในหน่วยความจาก่อน SHIFT4 เลือก ARRAY ERASE แล้วกด F6
2) กดฟังก์ชันเมตริกซ์ SHIFT F1
3) กด F6 (OP)

MATRIX
A B + -  OP
2) หน้าF1
จอแสดงF2 F3 F4 F5 F6

MATRIX
kA At A A-1 A B C
F1 F2 F3 F4 F5 F6
3) กด 4 F1 เป็นการแทนค่า k = 4 หลังกด F1 แล้ว ผลลัพธ์จะปรากฏค่าออกมาทันที
4A = 
4 8

16 0
4) กด F6 เพื่อบันทึกผลลัพธ์ผลคูณไปเก็บไว้ที่ เมตริกซ์ C
5) ย้ายผลลัพธ์จากเมตริกซ์ C กลับไปแทนที่ เมตริกซ์ A โดยกด F1 (C --> A)

3.3 การหา At (ทรานสโพสเมตริกซ์ A)


ตามทฤษฎี ทรานสโพสเมตริกซ์ คือกับ Row เป็น Column และ Column เป็น Row
 4 8
At = 
4 16
ตัวอย่าง จงหา A = 16 0 , 
  8 0 
ขั้นตอน
 4 8
1) ถ้าข้อมูลใน เมตริกซ์ A = 16 0 จากการทาข้อ 3.2 มาแล้ว
 
2) กด PRE เลือก F6 (OP)
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 38

11 12  4 16
3) กด F2 แล้วตรวจสอบข้อมูล เมตริกซ์ รูป At 21 22 คือ 8 0 
   
3.4 การหา A (ดีเทอร์มินันท์ของเมตริกซ์ A )
ทฤษฏี
 a11 a12 
ถ้าเมตริกซ์ A มีขนาด 2  2 ; A =  
a 21 a 22 
-
 a11 a12 
หาดีเทอร์มินันท์ของเมตริกซ์ของ A ( A ) = a  = a11a22 – a12a21
 21 a 22 
+
 a11 a12 a13 
ถ้าเมตริกซ์ A มีขนาด 3  3 ; A = a a 22 a 23 
 21
 a 31 a 32 a 33 

- - -
 a11 a12 a13  a11 a12
A = a 21 a 22 a 23  a 21 a 22 = (a11a22 a33+a12a23a31+ a13a21a32)– (a31a22 a13+a32a23a11+
a 31 a 32 a 33  a 31 a 32
a33a21a12)

+ + +
ถ้าหาเมตริกซ์ขนาดอื่นทานองเดียวกัน
 4 8
ตัวอย่าง ถ้า A = 16 0 จงหา A
 
ขั้นตอนการคานวณ
 4 8
1) ถ้า A = 16 0 (ใช้ข้อมูลเดิมในข้อ 3.2)
 
2) กด PRE เลือก F6 (OP)
3) กด F3 แล้วตรวจสอบผลลัพธ์ A = -128
ฝึกปฏิบัติ
2 0 7
ถ้า A =  1 3 9  จงหา A
 
 4 6 8
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 39

(เฉลย A = -282)
3.5 การหา A-1 (อินเวอร์สของเมตริกซ์ A)
1
ทฤษฏี a เป็นจานวนจริงใดๆ และ a≠ 0 แล้ว และ อินเวอร์สการคูณของ a คือ a-1 (a-1 = )
a
แล้ว a a-1 = 1
และถ้าเป็นเมตริกซ์ A A-1 = I เรียก I ว่าเมตริกซ์เอกลักษณ์
 1  1
0 16   4 8 
0
16 
เช่น A = 
4 8
= 
1 0
 , A-1 =  , 16 0  1  
16 0 1 1     1  0 1 
 8 32   8 32 
 d b 
ถ้า A = 
a b 1
 แล้ว , A-1 =  c a 
c d  ad  bc  
ขั้นตอนการคานวณ
1. ถ้ากาหนด A = 
4 8
 จงหาค่าของ , A-1
16 0
2. เมื่อป้อนข้อมูลใน เมตริกซ์ A เสร็จแล้ว
3. กด PRE เลือก F6 (OP)
 1
0 16 
4. กด F4 ได้ผลลัพธ์รูปเมตริกซ์ 
11 12 
 , A-1 =  
21 22 1 1 
 8 32 
ฝึกปฏิบัติ
4 
ก. ถ้า A = 
3 4 3
 จงหา A-1 (เฉลย A-1 =  2 )
2 3  3 
 6 2 3 1 2 3
ข. ถ้า A =  1 1 0  จงหา A-1 (เฉลย A-1 = 1 3 3  )
  
 1 0 1  1 2 4 
3.6 การสลับเมตริกซ์ A เป็น B และ B เป็น A
เมื่อข้อมูลในเมตริกซ์ A และ B ถ้าต้องการสลับเมตริกซ์ A เป็น B และ B เป็น A ให้กด
F5 ซึ่งมีสัญลักษณ์ (A B)
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 40

การประยุกต์ใช้เมตริกซ์

ขั้นตอนการใช้เครื่องคานวณ Casio fx-5500LA


ในการใช้เมตริกซ์ คานวณหาสมการถดถอยและการทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ ANOVA
ในการสร้างสมการถดถอยจะมีตัวแปรอิสระตั้งแต่ 1 ตัวแปรขึ้นไป ดังนั้นในการแก้สมการหาค่าตัวคงที่
หรือค่าสัมประสิทธ์การถดถอยจึงจาเป็นอาศัยพื้นฐานของเมตริกซ์ โดยศึกษารูปแบบการถดถอยเชิงเส้นตรง
แบบพหุ ตัวแปรอิสระ k ตัว แบบเมตริกซ์ ดังนี้
Y = X  +
โดยที่ Y เป็นเวคเตอร์ของค่าสังเกตของตัวแปรตาม
 เป็นเวคเตอร์ของพารามิเตอร์ในตัวแบบ
X เป็นเมตริกซ์ของค่าสังเกตของตัวแปรอิสระ
 เป็นเวคเตอร์ของค่าคลาดเคลื่อน
 Y1  1 X 11 . . . X 1k   0 
Y  1 X 21 . . . X 2k     1 
 2     2 .
. .   
 ,  =  
. . . . . .
Y =  ,X =   , = . 
. . . . . . . .
      .
. . . . . . .   .   
Yn  n1 1 X n1 . . . X nk  n( k 1)   k  ( k 1)1  n  n1

  N(0,  2 I)
ซึ่งรูปแบบเมตริกซ์ดังกล่าว นามาใช้ในรูปแบบการถดถอยเชิงเส้นตรง Y = X  + 
เขียนในรูปแบบ
การถดถอยเชิงเส้นตรงในรูปแบบเมตริกซ์ดังนี้
Y1  1 X 11 . . . X 1k   0 
Y  1 X 21 . . . X 2k     1 
 2    2  . 
 .  = . . . . . .   . + . 
. . . . . . .   .   
      .
. . . . . . .   .   
Yn  1 X n1 . . . X nk    k   n 

ข้อสมมติของเวคเตอร์ของความคลาดเคลื่อน  ได้ว่า
Y = N(X  ,  2 I) นั่นคือ E(Y) = X  และ V(Y) = V(  ) = 2I และ E(  ) = 0
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 41

สมการถดถอยในรูปแบบเมตริกซ์
การสร้างสมการถดถอยจะเริ่มจากการหาค่าประมาณ bj ของพารามิเตอร์ j โดยหา
เวคเตอร์ของตัวประมาณ b ขนาด k + 1
SSE = ee = (Y-Xb) (Y-Xb) = YY - 2bXY + bXXb

SSE
หาค่า b ที่ทาให้ SSE ที่มีค่าน้อยที่สุด นั่นคือ = 0 ได้สมการ
b
XX b = XY
ดังนั้น b = (XX )-1 XY

ความแปรปรวนของ b = (XX )-1  2

b0 
b 
 1
b = . (XX ) =
.
 
.
bk  ( k 1)1

 n

X i1 X i2 ... X 
ik

  X i1 X X X X X
2
i1 i1 i2 ... i1 ik 
 . . . ... . 
 
 . . . ... . 
 . . . ... . 
 
 X ik X  ik  ( k1)( k1)
2
i1 X ik . ... X
  Yi 
 
  X i1Yi 
 . 
และ XY =  
 . 
 . 
 X Y
 ik k  ( k 1)1

เช่น สมการถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย k = 1 จากสมการ Ŷ = b0 + b1 X


การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 42

(XX ) =
 n

 x  , XY =   Y 
 x x   XY 
2

สมการถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ k = 2 จากสมการ Ŷ = b0 + b1 X + b2 X

 n

X X 1 2 

 Y 
 
(XX ) =  X1 X X X , XY =   X 1Y 
2
1 1 2
 X 2 X X X 2   X 2Y 
 1 2 2   

การนาหลักการเมตริกซ์มาประยุกต์ใช้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่าง สมมิติว่านักวิชาการการเกษตรผู้หนึ่งต้องการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลผลิตของข้าว
พันธุ์หนึ่งกับปริมาณน้าฝน (นิ้ว) จึงเก็บรวบรวมข้อมูลได้ดังนี้
ผลผลิต (ถัง/ไร่) ปริมาณน้าฝน
Y X XY Y2 X2
1 40 10 400 1,600 100
2 50 20 1,000 2,500 400
3 50 10 500 2,500 100
4 70 30 2,100 4,900 900
5 65 20 1,300 4,225 400
6 65 20 1,300 4,225 400
7 80 30 2,400 6,400 900
รวม 420 140 9,000 26,350 3,200

จากข้อมูล
1) จงสร้างสมการถดถอย
2) จงทดสอบว่า ปริมาณน้าฝน มีส่วนในการอธิบายการผันแปรต่อผลผลิต ที่ระดับ
นัยสาคัญทางสถิติ .05
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 43

วิธีการ
สมการการถดถอย Ŷ = b X
จาก หา b = (XX)1 (XY) ให้ set เครื่อง โดย clear ข้อมูลในเครื่องออกให้หมด โดย
กด shift เลือก ARR (F6) Yes เสร็จ แล้วเตรียม (PRE)เครื่องเป็น เมตริกซ์
1) (XX) =
 n  X 
 X X  2

ให้ set เป็นเมตริกซ์ A และ set ขนาดของ เมตริกซ์ A ขนาด 2 2


 7 140 
แทนค่า ; (XX) = 140 3200 กรอกข้อมูลลงใน เมตริกซ์ A
 
 Y 
2. (XY) =  
  XY 
ให้ set เป็นเมตริกซ์ B และ set ขนาดของ เมตริกซ์ A ขนาด 2 1
 420 
แทนค่า ; (XY) = 9000 กรอกข้อมูลลงใน เมตริกซ์ B
 
3. หา A1 (ไปที่ OP เลือก F4) กด F4 จะได้ A1 แล้ว Save เป็น C (กด F6)
แล้ว เปลี่ยน C A (กด F1) ได้ค่าเมตริกซ์ A = (XX)1
4. กด PRE (เตรียมเครื่อง) แล้วกด F5 ( เป็นการคูณ ระหว่าง A B) ผลที่ได้เป็นค่า ของ b
Save เป็น C (กด F6) แล้ว เปลี่ยน C A
โดยขนาดนี้ เมตริกซ์ A คือค่าของ b = 
30 

1.5
****** ถึงขั้นตอนนี้แล้ว จะเขียนสมการถดถอยได้ Ŷ = 30 + 1.5X ******

ขั้นต่อไป เป็นการสร้างตาราง ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน


MSR
การทดสอบ ANOVA , F =
MSE
SSE = SST - SSR
( Y) 2
SST =  Y - 2

n
( Y) 2 SSR
SSR = bXY  , MSR = ; k จานวนตัวแปรอิสระ
n k
SSE
MSE = ; n จานวนข้อมูล
n  k 1
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 44

จาก SST =  Y2 - 
( Y) 2
n
( 420 ) 2
แทนค่า SST = 26,350 - เมื่อถึงขั้นตอนนี้แล้ว
7
( 420 ) 2
5. ให้เก็บค่า ที่คานวณได้ 25200 โดย กด STO แล้วเลือกที่เก็บ ตามอักษรสีชมพู A – Z
7
สมมติเลือกเก็บที่ A โดยกด STO และกด A
6. คานวณได้ SST = 1150 เก็บไว้ที่ B โดยกด STOและกด B
( Y) 2
7. จาก SSR = bXY  เรียกหาเมตริกซ์ A (ซึ่งคือค่า b ) เปลี่ยน เมตริกซ์ A เป็น
n
At แล้ว Save เป็น C (กด F6) แล้ว เปลี่ยน C A
8. กด F5 ( เป็นการคูณ ระหว่าง A B ซึ่งขนาดนี้ค่าของเมตริกซ์ B ยังเป็นค่าของ ( X Y ) และให้
สังเกตถ้าขนาด เมตริกซ์ไม่สามารถคูณกันได้เครื่องขึ้นคาว่า “ Dim ERROR”
9. เมื่อกด F5 แล้วค่าที่ได้ เป็นค่าของ bX Y = 26100 ให้เก็บค่าไว้ โดย กด STOและกด C
6. คานวณหาค่า SSR โดย ซึ่งต้องกด RCLและกด C - RCL และกด A
7. ได้ค่าSSR = 900 ที่ได้ เก็บบันทึกไว้ โดย กด STOและกด D
8. คานวณหาค่า SSE = SST - SSR โดยเรียกค่า SST ซึ่งเก็บไว้ที่ B โดยกด RCLและกด B แล้ว
ลบด้วย RCL และกด D (SSR) ได้ค่า SSE = 250 ที่คานวณได้ เก็บบันทึกไว้
9. นาค่า SST SSR และ SSE ที่คานวณได้ไว้ในตารางแล้วคานวณหาค่า MSR MSE และ ค่า F
ต่อไป ได้ตาราง ANOVA ดังนี้
SOV df SS MS F - ratio
Regression 1 900 900 18
Error 5 250 50
Total 6 1150

F.05,1,5 = 6.61

สรุปได้ว่า ปริมาณน้าฝน มีส่วนในการอธิบายการผันแปรต่อผลผลิต ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ


.05
**************************
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 45

ตัวอย่าง จากข้อมูลจงสร้างสมการถดถอยแบบพหุ
i Y X1 X2 Y2 X12 X22 X1Y X2Y X1X2
1 10 1.3 9 100 1.69 81 13 90 11.7
2 6 2 7 36 4 49 12 42 14
3 5 1.7 5 25 2.89 25 8.5 25 8.5
4 12 1.5 14 144 2.25 196 18 168 21
5 10 1.6 15 100 2.56 225 16 150 24
6 15 1.2 12 225 1.44 144 18 180 14.4
7 5 1.6 6 25 2.56 36 8 30 9.6
8 12 1.4 10 144 1.96 100 16.8 120 14
9 17 1 15 289 1 225 17 255 15
10 20 1.1 21 400 1.21 441 22 420 23.1
รวม 112 14.4 114 1,488 21.56 1522 149.3 1,480 155.3

สมการถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ k = 2 จากสมการ Ŷ = b0 + b1 X + b2 X
 n

X X1 2 

 Y 
 
(XX ) =   X 1 X X X1
2
1 2  , XY =   X 1Y 
 X 2 X X X 2   X 2Y 
 1 2 2   
และ b = (XX )-1 XY
 10 14.4 114   112 
แทนค่า ; (XX ) = 14.4 21.56 155.3 , XY = 149.3
 
 114 155.3 1,522 1,480
 8.3013  4.0213  0.2155
หา (XX ) =  4.0213 2.1230 0.0846 
-1

 0.2155 0.0846 0.0079 


 8.3013  4.0213  0.2155  112   16.4064 
ดังนั้นได้ค่า b =  4.0213 2.1230 0.0846  149.3 =  8.2476
 0.2155 0.0846 0.0079  1,480  0.5851 

ได้สมการถดถอยแบบพหุ
Ŷ = 16.4064 – 8.2476X1 + 0.5851X2
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 46

EQUATION
1.7 การแก้สมการ ---- > SHIFT F2 X2 AX=b
F1 F2

เมื่อกด SHIFT F2 หน้าจอปรากฏ


EQUATION
X2 AX = b
F1 F2

F1 (X2 ) แก้สมการควอตราติก หรือสมการกาลังสอง


F2 (AX = b) แก้ระบบสมการหาค่าตัวแปร
1. สมการควอตราติก เป็นสมการในรูป ax2 + bx + c = 0
 b  b 2  4ac
โดยหาค่า x จากสูตร x =
2a
 b  b 2  4ac
ถ้า b2  4ac > 0 ได้คาตอบ เป็นจานวนจริง x = และ x = b  b 2  4ac
2a 2a

ถ้า b2  4ac < 0 ได้คาตอบ เป็นจานวนจินตภาพ x = b  b 2  4ac


i
2a 2a

และ b  b 2  4ac
i
2a 2a
i= 1
ขั้นตอนการคานวณโดยใช้เครื่องคิดเลขดังนี้
ตัวอย่าง จงหาค่า x จากสมการ 5x2 + 4x - 1 = 0
ขั้นตอน EQUATION
1) กด SHIFT F2 ปรากฏหน้าจอ X2 AX = b
F1 F2

ax2 + bx + c = 0
2) หน้าจอ กด F1 จะปรากฏ
a b c x
F1 F2 F 3 F5

3) ป้อนข้อมูล a = 5 กด 5F1 , b = 4 กด 4F2, c= -1 กด AC แล้ว -1F3


ข้อควรสังเกต การป้อนค่าที่เป็นลบให้กด AC ก่อน
4) คานวณค่าผลลัพธ์ ค่า x กด F5 ปรากฏค่า
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 47

ค่าแรก 0.2 + 0i หมายถึง x = 0.2


กด ค่าที่สอง -1 + 0i หมายถึง x = -1
แสดงว่าค่า x มีค่าเท่ากับ 0.2 และ -1
หมายเหตุ ถ้าต้องการป้อนหาสมการใหม่ ให้กด PRE

ฝึกปฏิบัติ จงหาค่า x จากสมการ 3x2 + 6x - 2 = 0 ( เฉลย x = 0.29 และ – 2.29)


สมการ 5x2-2x +3 = 0 ( เฉลยประมาณ x = 0.2+0.748i และ 0.2-
0.748i)
*********************
2. ระบบสมการเชิงเส้น ( เครื่องสามารถแก้สมการได้ตัวแปร เพียง 4)
ตัวอย่าง จงแก้สมการ
2x1 + 3x2- x3 = 15
3x1 - 2x2+2x3 = 4
5x1 +3x2-4x3 = 9
ขั้นตอนการคานวณ
1) กด SHIFT F2 หน้าจอปรากฏ
EQUATIO
X2 AX = b เครื่องจะกาหนดค่า n = 2
F1 F2
AX =b n =2
2) กด F2 จะปรากฏ n Ab X
F1 F2 F5

F1 (n) จานวนตัวแปร (จานวนสมการและตัวแปรต้องเท่ากัน)


F2 (Ab) ป้อนข้อมูลค่าคงที่ของตัวแปร (ต้องกดหลังจากป้อนค่า n ใน F1 แล้ว)
F5 (X) ผลลัพธ์ที่ต้องการคานวณ (ต้องกดหลังจากป้อนค่า ตัวแปร ใน F2 แล้ว)
AX =b n =2
จากตัวอย่างเมื่อหาจอแสดง n Ab X ให้กด 3 F1 (หมายถึง n =3 (ตัวแปรมี3ตัว))
F1 F2 F5

AX =b n =3
สังเกตหน้าจอจะเปลี่ยนค่า n=2 เป็น n=3 n Ab X
F1 F2 F5
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 48

2) กด F2 หน้าจอจะให้ป้อนข้อมูลลักษณะแบบเมตริกซ์

11 12 13 b1 ป้อนค่าคงที่ สมการที่ 1
F1 F2 F3 F4 2 F1 3F2 -1 F3 15F4

ป้อนเสร็จ กด
21 22 23 b2 ป้อนค่าคงที่ สมการที่ 2
F1 F2 F3 F4 3 F1 -2F2 2F3 4F4

ป้อนเสร็จ กด
31 32 33 b3 ป้อนค่าคงที่ สมการที่ 3
F1 F2 F3 F4 5F1 3F2 -4 F3 9F4

3) ตรวจสอบว่าป้อนถูกต้องหรือไม่ โดยกด
ถ้าถูกต้องกดPRE AX =b n =3
4) หน้าจอจะกลับมาที่ n Ab X ให้กด F5
F1 F2 F5
5) ผลลัพธ์ 2 5 แสดงว่าX2 = 5
แสดงว่าX1 = 2
X1 X2 X3 X1 X2 X3
F1 F2 F3 กด F1 F2 F3

4 แสดงว่าX3 = 4
กด
X1 X2 X3
F1 F2 F3

หมายเหตุ การล้างข้อมูลในหน่วยความจา กด SHIFT4 เลือก ARR (F6)

ฝึกปฏิบัติ จงหาค่า x1, x2, x3 ในสมการต่อไปนี้


5x1 + 6x2-2 x3 =12
8x1 - 5x2+4x3 = 8
7x1 +3x2-1x3 = 10
(เฉลย x1= 8 , x2= 2 2 , x3 = 3 5 )
9 7 63
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 49

1.8 การคานวณ อินทิเกรต ---- > SHIFT F3

เมื่อกด SHIFT F3 จะปรากฏหน้าจอแสดงผล

INTEGRATION
f OUT a b  dx n
F1 F2 F3 F4 F5 F6

ความหมาย
F1 (f) ป้อนฟังก์ชันที่มีตัวแปร X ที่ต้องการอินทิเกรต
เมื่อกด F1 แล้วจะปรากฏผล

X IN X เป็นการพิมพ์ฟังก์ชันที่มี X เป็นตัวแปร
F1 F2 IN เมื่อพิมพ์ฟังก์ชัน X แล้ว กด F2 บันทึกฟังก์ชัน

F2 (OUT) เรียกฟังก์ชันที่ต้องการอินทิเกรต
F3 (a) ค่าเริ่มต้นของอินทิเกรต
F4 (b) ค่าสิ้นสุดของอินทิเกรต
F5 (  dx ) ดาเนินการอินทิเกรต
F6 (n) กาหนดค่าอินทิเกรต (ถ้าหากไม่กาหนดเครื่องจะกาหนดให้ )
กด PRE เตรียมพร้อมใหม่

5
ตัวอย่าง จงหาค่าของ  (2x 2  3x  5)dx
2

5
2x 3 3x 2  2  53 3  52   2  23 3  22 
ตามทฤษฎี ได้   5x =    5  5    5 2 
3 2 2  3 2   3 2 

= 94.5
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 50

ขั้นตอน
1) กด SHIFT F3 จะปรากฏหน้าจอแสดงผล

INTEGRATION
f OUT a b  dx n
F1 F2 F3 F4 F5 F6

2) กด F1 (f) ปรากฏหน้าจอ X IN พิมพ์ฟังก์ชัน 2x 2  3x  5 โดยถ้าพิมพ์ X กด


F1 F1 F2

3) เมื่อพิมพ์ ฟังก์ชัน 2x 2  3x  5 เสร็จแล้ว กด F2(IN) บันทึกฟังก์ชันเข้าหน่วยความจา


4) หน้าปรากฏเตรียมพร้อมคานวณ
f OUT a b  dx n
F1 F2 F3 F4 F5 F6
5) กด 2F3 ( a ค่าเริ่มต้นของอินทิเกรต)
6) กด 5F4 (b ค่าสิ้นสุดของอินทิเกรต)
7) กด F2 (OUT เรียกฟังก์ชันที่ทางาน)
8) กด F5 ดาเนินการอินทิเกรต ได้ผลลัพธ์  dx = 94.5

10
ฝึกปฏิบัติ 1. จงหาค่าของ  (4x 4  2x 3  x 2  2)dx (เฉลย 82469)
5
8
2. จงหาค่าของ  (x3  x 2 )(2x  3)dx (เฉลย 11521)
3

********************************************
การใช้เครื่องคิดเลขในการวิเคราะห์ข้อมูล 51

เอกสารอ้างอิง

พิชญ์สินี ชมภูคา. (2550). สถิติเพื่อการวิจัย. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่.
_______. (2551). การวิเคราะห์การถดถอย. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่.
CASIO  - 5500LA. User’s Guide.

You might also like