You are on page 1of 68

๑๑๐

ความรูภพภูมิจากการสวดมนตภาวนา

 ขาพเจาเปนผูหนึ่งที่ไดความรูจาการสวดมนต
ภาวนา เนื่องดวยขาพเจาสวดมนตอยูเปนประจํา
 พระคาถาบทที่มีพุทธคุณที่ครูบาอาจารยทาน
ทั้งหลายไดกลาววาเปนเลิศนั้น
 ขาพเจาก็ตั้งใจในการสวดมนตภาวนาใน
พระคาถาตางๆ
 หนึ่งในยอดพระคาถานั้น คือ พระคาถา
ยอดพระกัณฑไตรปฎก
 ซึ่งเปนที่มาของการคนควาหาความรูเรื่องภพภูมิ
ตางๆ จากการที่ขาพเจาไดสวดมนตภาวนาจาก
ยอดพระคาถา “ พระกัณฑไตรปฎก ” นี้ทําให
ขาพเจาไดความรูเพิ่มเติม ดังที่ขาพเจาจะกลาวตอไป
ในบทดังกลาวนี้

พระคาถายอดพระกัณฑไตรปฎก
เปนพุทธคุณอันศักดิ์สิทธิ์ ถาผูใดไดสวดมนตภาวนาทุกเชา – ค่ํา ผูนั้นจะไมไป
ตกอบายภูมิ แมกอกรรมทําชั่วก็จะเบาบางลงบาง แมไดบูชาไวกับบานเรือน ก็ปองกัน
อันตรายตางๆ จะภาวนาพระคาถาอื่นๆ สัก ๑๐๐ ปกาล อานิสงคกไ็ มสูงเทาภาวนาพระคาถา
นี้เพียงครั้งหนึ่ง ถึงแมวา พระอินทร พระพรหม ยม ยักษ ที่มีอิทธิฤทธิ์จะเนรมิตแผนอิฐ
เปนทองคํากอเปนเจดียตั้งแตมนุษยโลกสูงขึ้นไปจนถึงพรหมโลก อานิสงคกย็ ังไมเทาภาวนา
พระคาถายอพระกัณฑไตรปฎกนี้แล ฯ
ยอดพระกัณฑไตรปฎกนี้ แมผูใดบริจาคทรัพยสินถวายพระภิกษุสงฆ สามเณร
พุทธศาสนิกชนทั่วไป ถาสวดจนครบ ๗ – ๙ วัน จะดีเลิศ หากสวดไดครบอายุตนแลว
จะบังเกิดโชคลาภทํามาคาขึ้น พนทุกขโศกโรคภัยและภัยพิบัติทั้งปวงจะเสือ่ มหายมลายสิ้น
๑๑๑

บทสวดมนต ( พระคาถายอดพระกัณฑไตรปฎก )
อิติป โส ภะคะวา อะระหัง วัจจะโส ภะคะวา
อิติป โส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ วัจจะโส ภะคะวา
อิติป โส ภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปนโน วัจจะโส ภะคะวา
อิติป โส ภะคะวา สุคะโต วัจจะโส ภะคะวา
อิติป โส ภะคะวา โลกะวิทู วัจจะโส ภะคะวา
อะระหัง ตัง สะระณัง คัจฉามิ
อะระหัง ตัง สิระสา นะมามิ
สัมมาสัมพุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
สัมมาสัมพุทธัง สิระสา นะมามิ
วิชชาจะระณะสัมปนนัง สิระสา นะมามิ
สุคะตัง สะระณัง คัจฉามิ
สุคะตัง สิระสา นะมามิ
โลกะวิทัง สะระณัง คัจฉามิ
โลกะวิทัง สิระสา นะมามิ
อิติป โส ภะคะวา อะนุตตะโร วัจจะโส ภะคะวา
อิติป โส ภะคะวา ปุริสะธัมมะสาระถิ วัจจะโส ภะคะวา
อิติป โส ภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง วัจจะโส ภะคะวา
อิติป โส ภะคะวา พุทโธ วัจจะโส ภะคะวา
อะนุตตะรัง สะระณัง คัจฉามิ
อะนุตตะรัง สิระสา นะมามิ
ปุริสะทัมมะสาระถิ สะระณัง คัจฉามิ
ปุริสะทัมมะสาระถิ สิระสา นะมามิ
สัตถา เทวะมะนุสสานัง สะระณัง คัจฉามิ
สัตถา เทวะมะนุสสานัง สิระสา นะมามิ
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
พุทธัง สิระสา นะมามิ
อิติป โส ภะคะวา รูปะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา
อิติป โส ภะคะวา เวทะนาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา
๑๑๒

อิติป โส ภะคะวา สัญญาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปนโน


อิติป โส ภะคะวา
อิติป โส ภะคะวา สังขาระขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา
อิติป โส ภะคะวา วิญญาณะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา
อิติป โส ภะคะวา ปะถะวีจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา
ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา เตโชจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา
ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา วาโยจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา
ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อาโปจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา
ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อากาสะจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา
ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ยามาธาตุสมั มาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ตุสิตาธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา นิมมานะระติธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา กามาวะจะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา รูปาวะจะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ปะฐะมะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ทุติยะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ตะติยะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา จะตุตถะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ปญจะมาฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อากาสานัญจายะตะนะเนวะสัญญานา
สัญญายะตะนะอะรูปาวะจะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา วิญญาณัญจายะตะนะ เนวะสัญญานา
สัญญายะตะนะอะรูปาวะ จะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อากิญจัญญายะตะนะ เนวะสัญญานา
๑๑๓

สัญญายะตะนะ อะรูปาวะ จะระธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโน


อิติป โส ภะคะวา โสตาปะฏิมัคคะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา สะกิทาคาปะฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อะนาคาปะฏิมัคคะ ธาตุสมั มาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อะระหัตตะปะฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา โสตาอะระหัตตะ ปะฏิผะละธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา สะกิทาคาอะระหัตตะ ปะฏิผะละธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อะนาคาอะระหัตตะ ปะฏิผะละธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปนโน
กุสะลา ธัมมา อิติป โส ภะคะวา อะ อา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ชมภูทีปญจะอิสสะโร กุสะลา ธัมมา นะโม พุทธายะ นะโม ธัมมายะ นะโม สังฆายะ
ปญจะ พุทธา นะมามิหัง อา ปา มะ จุ ปะ ที มะ สัง อัง ขุ สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ
อุ ปะ สะ ชะ สุ เห ปา สา ยะ โส โส สะ สะ อะ อะ อะ อะ นิ เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว
อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ ภุ พะ อิ สวา สุ สุ สวา อิ กุสะลา ธัมมา จิตติวิอตั ถิ
อิติป โส ภะคะวา อะระหัง อะ อา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
สา โพธิ ปญจะ อิสาะโร ธัมมา กุสะลา ธัมมา นันทะวิวังโก
อิติ สัมมาพุทโธ สุ คะ ลา โน ยาวะชีวงั พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
จาตุมะหาราชิกา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา อิติ วิชชาจะระณะสัมปนโน
อุ อุ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตาวะติงสา อิสสะโร
กุสะลา ธัมมา นันทะ ปญจะ สุคะโต โลกะวิทู มะหาเอโอ ยาวะชีวัง
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ยามา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา พรหมมาสัททะ
ปญจะ สัตตะ สัตตาปาระมี อะนุตตะโร ยะมะกะขะ ยาวะชีวัง
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตุสติ า อิสสะโร กุสะลา ธัมมา ปุ ยะ ปะ กะ
ปุริสะทัมมะสาระถิ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ นิมมานะระติ อิสสะโร
กุสะลา ธัมมา เหตุโปวะ สัตถา เทวะมะนุสสานัง ตะถา ยาวะชีวัง
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ปะระนิมมิตะ อิสสะโร กุสะลา ธัมมา สังขาระขันโธ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ พุทธะปะผะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
พรหมมา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา นัจจิปจจะยา วินะปญจะ ภะคะวะตา
ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ
พุทธิลา โลกะลา กะระกะนา เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ ฯ
นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ วิตติ วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ
อัตติ อัตติ มะยะสุ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ
๑๑๔

อินทะสาวัง มะหาอินทะสาวัง พรหมะสาวัง มะหาพรหมะสาวัง


จักกะวัตติสาวัง มะหาจักกะวัตติสาวัง เทวาสาวัง มะหาเทวาสาวัง
อิสิสาวัง มะหาอิสิสาวัง มุนีสาวัง มะหามุนีสาวัง
สัปปุริสาวัง มะหาสัปปุริสาวัง พุทธะสาวัง ปจเจกะพุทธะสาวัง
อะระหัตตะสาวัง สัพพะสิทธิวิชชาธะรานังสาวัง สัพพะโลกา
อิริยานังสาวัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ
สาวัง คุณงั วะชะพะลัง เตชัง วิริยัง สิทธิกัมมัง นิพพานัง
โมกขัง คุยหะกัง ถานัง สีลัง ปญญานิกขัง ปุญญัง ภาคะยัง ตัปปง สุขัง
สิริรูปง จะตุวสี ะติเสนัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ
หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ
สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
นะโม อิติปโส ภะคะวา นะโม พุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง
อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม นะโม ธัมมัสสะ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ
สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม นะโม ธัมมัสสะ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ
สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
นะโม สุปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ นะโม สังฆัสสะ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ
สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สุปะฏิปนโน
ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ วาหะปะริตตัง
นะโม พุทธายะ มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ยาวะ ตัสสะ หาโย นะโม อุอะมะ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา อุ อะมะ อาวันทา นะโม พุทธายะ
นะ อะ กะ ติ นิ สะ ระ นะ อา ระ ปะ ขุ ธัง มะ อะ อุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา

จากบทพระคาถาดังกลาว ทําใหขาพเจาไดพบวา มีชื่อของสวรรคแตละชั้น ทําใหขาพเจาเกิดความ


สงสัยยิง่ นัก จึงอยากหาความรูเพิ่มเติม โดยขาพเจาไดพบหนังสือทางธรรมเลมหนึ่ง ซึ่งไดกลาวเนื้อหา
เกี่ยวกับภพภูมิตางๆ ดังทีข่ าพเจาจะขอกลาวอาง เพื่อเปนความรูแ ละวิทยาทานแกผูอานดังตอไปนี้
๑๑๕

ในพระไตรปฎก ไดกลาวถึงจักรวาลไววา จักรวาลหนึ่งประกอบไปดวย ดวงอาทิตย


ดวงจันทร เขาสิเนรุ มี ๔ ทวีป คือ ชมพูทวีป อปรโคยานทวีป อุตตรกุรุทวีป และปุพพ
วิเทหทวีป มหาสมุทรทั้งสี่ สวรรค ๖ ชั้น คือ จาตุมหาราชิกา ดาวดึงส ยามา ดุสิต
นิมมานรดี ปรนิมมิตวสวัสดี และพรหมโลก
ภูเขาสิเนรุ ( สเมรุ ) เปนศูนยกลางของ
มงคลจักรวาล เปนภูเขาที่ไมสามารถมองเห็นได
ดวยตาเนื้อ เพราะเปนโลกทิพยที่อยูในนิมิต ที่ไมมี
อยูในโลกมนุษย ผูที่จะมองเห็นได จึงจะตองเปน
อริยบุคคลที่มีอภิญญา หรือเปนเทพเทวดาที่มี
ทิพยจักษุ จึงทําใหมนุษยปุถชุ นหรือนักวิทยาศาสตร
ไมอาจมองเห็นได

ดินแดนมนุษย
ดินแดนมนุษย ประกอบไปดวย ๔ ทวีป คือ
๑. อุตตรกุรุทวีป
มีธาตุทองคําตัง้ อยูทางทิศเหนือของภูเขาสิเนรุ แสงสะทอนของธาตุทองคําทําใหทองฟาและมหาสมุทรของ
อมรโคยานทวีปมีสีเหลืองทอง มีปริมณฑลถึง ๘,๐๐๐ โยชน และทวีปนอยอีก ๕๐๐ ทวีป
มนุษยในทวีปนี้ จะมีใบหนาเปนรูปสี่เหลี่ยม มีคุณสมบัติดังนี้
๑) ไมยึดถือในทรัพยสินเงินทองวาเปนของตน
๒) ไมยึดถือในบุตร ภรรยาหรือสามีวาเปนของตน
๓) มีอายุยนื ยาวถึง ๑,๐๐๐ ป และจะไมตายกอนกําหนด
๔) รักษาศีลหาเปนประจํา
๕) เมื่อตายแลวยอมไปเกิดในเทวโลกอยางแนนอน และเมื่อจุติตายจากเทวโลกแลว อาจจะไปเกิดเปนมนุษย ใน
ทวีปอื่นหรือไปเกิดในอบายภูมิก็ได เปนไปตามเหตุปจจัยของวิบากกรรม จะไมไปสูอบายภูมิเฉพาะในภพที่
ถัดไปจากที่กําลังเปนมนุษยอุตตรกุรุอยูเทานั้น
๒.ปุพพวิเทหทวีป
มีธาตุเงินอยูทางทิศตะวันออกของภูเขาสิเนรุ แสงสะทอนของธาตุเงินทําใหทองฟาและมหาสมุทรของอมรโค
ยานทวีปมีสีเงิน มีปริมณฑลถึง ๘,๐๐๐ โยชน ประดับดวยทวีปนอยอีก ๕๐๐ ทวีป
๑๑๖

มนุษยที่อาศัยอยูในทวีปนี้ จะมีใบหนาตอนบนตัดโคงมนลง สวนลางคลายรูปบาตรพระ


มีอายุยืน ๗๐๐ ป และจะไมตายกอนกําหนด
๑.อมรโคยานทวีป
มีธาตุแกวผลึกอยูทางทิศตะวันตกของภูเขาสิเนรุ แสงสะทอนของธาตุแกวผลึกทําใหทองฟาและมหาสมุทรของ
อมรโคยานทวีปมีสีแกวผลึก มีปริมณฑ,ถึง ๗,๐๐๐ โยชน มีทวีปนอยอีก ๕๐๐ ทวีป
มนุษยที่อาศัยอยูในทวีปนี้ จะมีลกั ษณะใบหนากลม คลายวงพระจันทร มีอายุยืน ๕๐๐ ป
โดยที่มีกฎการตายตัววาจะไมตายกอนอายุขัย
๒.ชมพูทวีป
มีธาตุมรกตอยูทางทิศตะวันใตของภูเขาสิเนรุ แสงสะทอนของธาตุมรกตทําใหทองฟาและมหาสมุทรของชมพู
ทวีปมีสีน้ําเงินแถบเขียว มีปริมณฑลถึง ๑๐,๐๐๐ โยชน ประดับดวยทวีปนอยอีก ๕๐๐ ทวีป
มนุษยในชมพูทวีปนี้จะมีใบหนารูปไข มีความสูง ๔ ศอก มีอายุที่ไมแนนอนขึ้นอยูกับ
คุณธรรม สมัยใดมนุษยมีกายวาจาและใจที่เพียบพรอมดวยคุณธรรม เชน สมัยของ
พระพุทธเจา พระวีปสสี มนุษยในชมพูทวีปมีอายุถึง ๘๐,๐๐๐ ป แตถาในสมัยใดมนุษย
มีกายวาจาและใจที่ต่ําทราม ไรซึ่งคุณธรรมอันดีงาม สมัยนั้นมนุษยจะมีอายุขัยลดลงจน
เหลือเพียง ๑๐ ป มนุษยมีรางกายแคระเตี้ยขนาดตองสอยมะเขือ เรียกวา “ ยุคทมิฬ ”
เปนยุคเสื่อมที่สุดของชมพูทวีป
พระพุทธเจาทุกพระองค กอนทีจ่ ะตรัสรู จะตองมาเกิดเปนมนุษยเพื่อบําเพ็ญ
บารมีสามสิบทัศในชมพูทวีปนี้เทานั้น
๑๑๗

คุณสมบัติของมนุษยในชมพูทวีป
๑. มีจิตใจรุงเรืองและกลาแข็ง
จิตใจของมนุษยในชมพูทวีปกลาหาญทั้งในดานดีและดานชั่ว ในดานดีก็บําเพ็ญบารมีบารมีจนสําเร็จ
บรรลุเปนพระพุทธเจา พระปจเจกพุทธเจา อัครสาวก มหาสาวก สงฆสาวก หรือสําเร็จอภิญญาลาภี
หรือฌาณลาภี ตลอดจนเปนพระพุทธเจาจักรพรรดิ์ เปนตน ในดานชั่วก็ทําไดถึงฆาบิดาและมารดา
ฆาพระอรหันต กระทําโลหิตุปบาท และสังฆเภท ซึ่งเปนอันตริยกรรมที่เปนกรรมหนักที่สุดจะตองตก
อเวจีมหานรก
๒. มีความเขาใจในเหตุอันควรและไมควร
มนุษยในชมพูทวีปสามารถที่จะหาเหตุผลของธรรมใดๆ ได เชน การเห็น จะเกิดขึ้นไดเพราะจักขุปสาทกับ
รูปารมณกระทบกัน และรูสภาวะของรูปนามไดตามความเปนจริง
๓. มีความเขาใจในสิ่งที่เปนประโยชนและไมเปนประโยชน
ชาวชมพูทวีปมีความเขาใจวา การทํา การพูด การคิดอยางไรจึงจะเปนประโยชนในชาตินี้ ชาติหนา
หรือทําใหเกิดเปนประโยชนสูงสุด ก็คือทําใหพนทุกขไดอยางเด็ดขาดนั่นเอง
๔. มีความเขาใจในสิ่งที่เปนกุศล และสิ่งที่เปนอกุศล
ชาวชมพูทวีปมีความเขาใจวาการใหทาน รักษาศีล และเจริญวิปสสนาเปนกุศลและควรกระทํา พรอมทั้ง
หลีกเลี่ยงการทํา การพูด การคิดที่เปนไปดวยอํานาจของความโลภ ความโกรธ และความหลง
๕. เชื่อวาชาวชมพูทวีปสืบเชื้อสายมาจากพระเจามนุ
สมัยตนกัป ชาวชมพูทวีปไดเลือกใหมนุ ( พระโพธิสัตว ) ขึ้นเปนกษัตริยทรงพระนามวา
พระเจามหาสัมมตะ ทรงปกครองอยางเที่ยงธรรมดัง่ บิดาปกครองบุตร ทําใหชมพูทวีปเจริญรุงเรือง
ดวยเหตุนี้ ชาวชมพูทวีปจึงไดชื่อวา มนุษย เพราะเปนบุตรของพระเจามนุ
๖. มีจิตใจกลาหาญแนวแนในการทําทาน การรักษาศีล และการเจริญภาวนา
๗. มีสติตั้งมั่นในคุณพระรัตนตรัย
๘. ประพฤติพรหมจรรย จึงสามารถอุปสมบทได ดอกไมประจําทวีป คือชมพู ( ไมหวา )
จึงเรียกวา “ ชมพูทวีป ”
๑๑๘

สาเหตุที่ทําใหมนุษยเกิดมามีความแตกตางกัน
จะพิจารณาจากกรรมและผลของกรรมของมนุษยดงั นี้
๑. อายุสั้น : ไดเคยฆาสัตว
๒. อายุยืน : ไดเคยงดเวนจากการฆาสัตว
๓. มีโรคมาก : ไดเคยทรมานรังแกสัตว
๔. มีโรคนอย : ไดเคยงดเวนจากการทรมานรังแกสัตว
๕. ผิวพรรณทราม : มีความโกรธแคนเก็บไวในใจ
๖. ผิวพรรณงาม : ไมมีความโกรธแคนเก็บไวในใจ
๗. มีอํานาจมาก : มีใจมากดวยความริษยาผูอ ื่น
๘. มีอํานาจมาก : ไมมีใจมากดวยความริษยาผูอื่น
๙. ฐานะยากจน : ไมเคยบริจาคทาน
๑๐ . ฐานะร่ํารวย : เคยบริจาคทานอยูเสมอ
๑๑. เกิดในสกุลต่ํา : ไดเคยถือตัวดูถูกผูอื่น
๑๒. เกิดในสกุลสูง : ไมเคยถือตัวดูถูกผูอื่น
๑๓. มีปญญานอย : ไมชอบขวนขวายถามผูรู
๑๔. มีปญญามาก : ชอบไตถามปญหาแกผูมีปญญา
๑๑๙

ปาหิมพานต ตั้งอยูทางดานเหนือของประเทศ
อินเดียในชมพูทวีป มีภูเขาใหญชื่อวา “ หิมวันตบรรพต หรือ
ภูเขาหิมาลัย ” ที่สูงถึง ๕๐๐ โยชน กวางและยาว ๓,๐๐๐ โยชน
ประดับดวยยอดเขาถึง ๘๔,๐๐๐ ยอด

ชมพูทวีปประกอบดวย สวนที่เปนมหาสมุทร
อยูที่ ๔ สวน เปนแผนดินอยูที่ ๓ สวน และเปนพื้นที่ของ
ปาหิมพานต อยูที่ ๓ สวน รวมเปน ๑๐ สวน

ในเขตปาหิมพานต มีสระน้ําใหญอยูเจ็ดสระ
คือ สระอโนดาต สระกัณฑมุณฑะ สระรถกาฬะ
สระฉันทันตะ สระกุนาละ สระมันทากินิ
สระสีทับปาตะ โดยที่สระอโนดาตมีภูเขาลอมรอบอยูหาเขา
คือ เขาสุทัสสนกูฏ เขาจิตตกูฏ เขากาฬกูฏ
เขาคันธมาทนกูฏ และเขาเกลาสกูฏ

เขาสุทัสสนกูฏเต็มไปดวยทอง
โคงเปนวง ภายในมีสันฐานเหมือนปากกา
ยื่นออกไปคลุมสระอโนดาต เขาจิตตกูฏ เต็มไปดวย
สรรพรัตนะ เขากาฬกูฏ เต็มไปดวยหินเขียว
ดั่งดอกอัญชัน เขาคันธมาทนกูฏ เต็มไปดวยปาไม
ที่อบอวลไปดวยกลิ่น ทั้ง ๑๐ คือ กลิ่นราก กลิ่นแกน
กลิ่นกระพี้ กลิ่นใบ กลิ่นเปลือก กลิ่นกะเทาะเปลือก
กลิ่นรส กลิ่นดอก กลิ่นผล และกลิ่นลําตน
๑๒๐
หนาแนนไปดวย โอสถนานัปการ
เขาเกลาสกูฏที่เต็มไปดวยเงิน เมื่อฝนตกน้ําจะไหล
จากภูเขาทั้ง ๕ รวมกันเขาสูสระอโนดาต และเปน
เพราะภูเขาทั้ง ๕ ลอมรอบสระอยูเปนชะโงก แสงจันทร
และแสงอาทิตยจึงสองไมถึงสระอโนดาต จึงไดชื่อวา
“ อโนตัตระ ” แปลวา ไมถูกแสงสองใหรอน

สระอโนดาต มีทาอาบน้ําสําหรับองคพระสัมมาสัมพุทธเจา พระปจเจก


พุทธเจา และยังมีทาลงเลนน้ําของพวกเทวดาและยักษ ที่ดานขางของสระทั้ง ๔ ดาน
มีทางหรือมุขสําหรับแมน้ํา ๔ สายไหลออกไปได คือ สีหมุข หัตถีมุข อัสสมุข อุสภมุข
๑๒๑

ดานสีหมุขที่แมน้ําไหลออก มีสีหะอาศัยอยูเปนจํานวนมาก สวนแมน้ําที่


ฝงแมน้ําที่ไหลออกมาทางดานหัตถีมุข อัสสมุข และอุสภมุข ก็มี ชาง มา และโค
อาศัยมากกวาสัตวอื่นๆ
๑๒๒

ที่เขาไกรลาสมีเมืองกินนร กินนรี

ที่เขาจิตรกูฏมีคูหาทองเปนที่อยูของสุวรรณหงส
๑๒๓

ขุนเขาสิเนรุ ( สุเมรุ ) เปนผืนแผนดินแรกที่โผล


ปรากฏขึน้ มาของโลกธาตุทเี่ กิดขึ้นใหม ภายหลังจากที่โลกธาตุได
ถูกทําลายไป ซึ่งการทําลายของโลกธาตุนนั้ ถูกทําลายไปจนถึง
เทวโลกและพรหมโลกในชั้นสุภกิณหาอันเปนตติยภูมิสาม
ซึ่งแผนดินที่โผลขึ้นมาเปนครั้งแรกนี้เปนที่ตั้งของเทวดาชั้น
ดาวดึงสาภูมิ สวนภูมิที่อยูส ูงขึ้นไปจากยอดเขาสิเนรุ
คือ ยามา ดุสติ นิมมานรดี ปรนิมมิตาสวัสดี ตอจากนัน้ ก็เปน
ภูมิของรูปพรหม ๑๖ ชั้น และอรูปพรหม ๔ ชั้น
๑๒๔

เขาสิเนรุสูง ๑๖๘,๐๐๐ โยชน แตจมอยูในสีทันดรมหาสมุทรอยูครึ่งหนึ่ง วัดรอบเขา ( เสนรอบวง )


ได ๒๕๒,๐๐๐ โยชน พื้นดินบนยอดเขาประกอบไปดวยรัตนะทั้ง ๗ มีแกวมรกต แกวมุกดา แกวประพาฬ แกวมณี
แกววิเชียร เงินและทอง ตามไหลเขาทั้งสี่ดาน ดานตะวันออกเปนเงิน ดานตะวันตกเปนแกวผลึก ดานใตเปน
แกวมรกต ดานเหนือเปนทอง น้ําในมหาสมุทร อากาศ ตนไม ใบไม ที่อยูในดานนัน้ จะเปนสีของไหลเขานั้นๆ
ตอนกลางเขาสิเนรุ เปนที่อยูของเทวดาชัน้ จาตุมหาราชิกาภูมิ รอบเขาทั้ง ๔ เปนที่สถิตย
ของทาวมหาราชทั้ง ๔ คือ
ทาวธตรัฏฐ ประจําอยู ในทิศตะวันออก
ทาววิรุฬหก ประจําอยู ในทิศใต
ทาววิรุฬปกข ประจําอยู ในทิศตะวันตก
ทาวกุเวร ( ทาวเวสสุวรรณ ) ประจําอยูทิศเหนือ

โดยที่มหาราชทั้ง ๔ เปนเทวดาชัน้ หัวหนา ทําหนาที่ปกครอง ดูแลเทวดาในชั้น


จาตุมหาราชิกาภูมิทั้งหมด รวมทั้งมนุษยโลกดวย ตอนกลางเขาสิเนรุมีชานบันไดเวียน ๕ รอบ
ลงมาจนถึงตอนใตของพื้นที่มหาสมุทรสีทันดร คือ
ชั้นที่ ๑ เปนที่อยูของ พญานาค
ชันที่ ๒ เปนที่อยูของ ครุฑ
ชั้นที่ ๓ เปนที่อยูของ กุมกัณฑเทวดา
ชั้นที่ ๔ เปนที่อยูของ ยักษเทวดา
ชั้นที่ ๕ เปนที่อยูของ เทวดาจาตุมหาราชิกา ๔ องค
รอบๆ เขาสิเนรุ มีแนวเทือกเขาทิพยที่มีความสูงลดหลั่นกันลงไป 7 ชัน้ ลอมรอบอยู
๑๒๕

เรียกวา สัตตบรรพ
รอบที่ ๑ แนวภูเขาชื่อวา ยุคันธร
รอบที่ ๒ แนวภูเขาชื่อวา อีสธร
รอบที่ ๓ แนวภูเขาชื่อวา กรวิกะ
รอบที่ ๔ แนวภูเขาชื่อวา สุทัสสนะ
รอบที่ ๕ แนวภูเขาชื่อวา เนมินธร
รอบที่ ๖ แนวภูเขาชื่อวา วินตกะ
รอยที่ ๗ แนวภูเขาชื่อวา อัสสกัณณะ
ยังมีภูเขาจักรวาล เปนภูเขาที่กั้นระหวางจุฬโลกธาตุ

แดนที่อยูของเทวดา หมายถึง ภูมิที่ผูอาศัยจะมี


ความสุขและความเพลิดเพลินอยูในกามคุณทั้ง ๕
อันไดแก รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัสอันประณีต
เทวดาที่เปนเทพบุตรหรือเทพธิดา จะมีลักษณะความ
เปนหนุมเปนสาวอยูตลอดอายุขัย โดยที่เทพบุตรจะมี
อายุความเปนหนุมดูเหมือนเด็กหนุมที่มีอายุ ๒๐ ป
ตลอดจนสิ้นอายุขัย สวนเทพธิดาก็เชนกัน จึงทําให
ไมมีเด็กและคนแกบนสวรรค
เทวดาทั้งหลายยอมไมเหมือนกับมนุษย เทวดาเหลานั้น
ไมมีเสนเอ็นที่รางกาย พิวพรรณทิพย และโภคสมบัติไพบูลย
ของเทพเหลานั้นมีมากเพิ่มขึ้นทุกวัน สรรพสิ่งบนสวรรคลวน
เปนทิพย เชน วิมาน เครื่องนุงหมเครื่องแตงกาย อาหาร
แมรางกายของเทวดาก็เปนทิพย ที่เรียกวา “ อทิสสมานกาย ”
คือ มองไมเห็นดวยตาเนื้อของมนุษย ดังนั้น เมื่อเทวดานึกอยาก
ไดอะไร ก็จะปรากฏสิ่งนั้นๆ ขึ้นมาในทันที สวนการเกิดของ
เทวดานั้น ก็เกิดขึ้นมาเองไมตองอาศัยอยูในครรภแมเหมือน
มนุษย เปนการเกิดแบบ “ โอปปาติกําเนิด ” คือเกิดแลว
จะกลายเปนหนุมสาวในทันที เปนอุปปตติเทวะหรือเทวดา
โดยกําเนิด
๑๒๖

ประเภทของเทวดา
๑. อุปปตติเทวะ เปนเทวดาโดยกําเนิด
เชน เทวดา พรหม
๒. สมมุติเทวะ เปนเทวดาโดยสมมติ
เชน พระมหากษัตริย พระราชินี
พระราชโอรส พระราชธิดา
๓. วิสุทธิเทวะ เปนเทวดาที่บริสุทธิ์จาก
อาสวะกิเลสทั้งปวง คือ พระอรหันต

สวรรคชั้นที่ ๑ ( จาตุมหาราชิกาภูมิ )
เปนสวรรคชั้นตน ตั้งอยูตอนกลางของเขาสิเนรุ สูงพนจากทวีปทั้งสี่ของมนุษย สูงพนจาก
ปาหิมพานตและภูเขาหิมาลัย มีเทวดาผูเปนใหญเปนมหาราชอยูทั้ง ๔ องค
๑. ทาวธตรัฏฐ ปกครองเทวดาคนธรรพ ( ภูต )

มีปราสาทเปนวิมานอยูบนยอดเขาสุทัสสนะ
อยูทางทิศตะวันออกเขาสิเนรุ
( ถัดออกไปเปนปุพพวิทหทวีป )
๑๒๗

เทวดาคนธรรพ : กําเนิดในตนไมที่มีกลิ่นหอม เรียกวา “ นางไม ” หรือ “ แมยานาง ”


ชอบรบกวนผูที่นําไมไปใชปลูกบานเรือนใหเจ็บปวย
เทวดาคนธรรพ : มี ๓ ประเภท คือ คนธรรพชั้นสูง คนธรรพชั้นกลาง และคนธรรพชั้นลาง
คนธรรพชั้นสูง : มีวมิ านอยูในสวรรคชั้นจาตุมหาราชิกา เชน ปญจสิขเทพบุตร มีเทพธิดาประจํา
อยูในวิมาน
คนธรรพชั้นกลาง : เกิดอยูในปาหิมพานต มีวมิ านอยูในตนไม และเปนบริวารของ คนธรรพชนั้ สูง
คนธรรพชั้นลาง : อยูบนพื้นมนุษย สิงอยูในตนไมจําพวกไมหอม เชน นางตะเคียน นางตานี เปนตน
คนธรรพมีความถนัดในการดนตรี การละคร ระบํารําฟอน ศิลปะ วรรณกรรม กวีนิพนธ
เมื่อมีเทวสมาคมครั้งใด คนธรรพมักทําหนาที่ขับกลอมใหความสําราญแก หมูทวยเทพทั้งหลาย
คนธรรพนี้เมื่อครั้งยังเปนมนุษยทําบุญเจือดวยกามคุณ

เทวดาคนธรรพ จะสถิตยอยู ในตนไมตลอดไป แมวาผูใด ใครจะตัดตนไมที่ทานสถิตยอยูนั้น


ไปทําบานเรือน ทําเรือ ทําแพ ทําเครื่องใชไมสอย ทานก็จะสถิตยตามไปดวย ซึ่งตางกับรุกขเทวดา
ที่อาศัยอยูในตนไม ถาตันไมนั้นถูกตัดตายเสีย ก็จะยายจากตนไมนั้นไปอาศัยในตนอื่นแทน
วิทยาธร : เปนพวกที่ทรงความรูในศาสตรตางๆ มีศิลปศาสตร ๑๘ ประการ เชน โหราศาสตร
แพทยศาสตร วิทยาศาสตร เปนตน พวกนี้เหาะได มีเวทมนตร คาถา อาคมตางๆ วิทยาธรมีรูปราง
หลากหลาย อยูแบบเดี่ยวก็มี อยูเปนหมูเปนกลุมก็มี กุมภัณฑมรี ูปรางแปลก หนาตาพองๆ เปนยักษ
ประเภทหนึ่งแตไมนากลัวเหมือน ยักษ ไมมีเขี้ยว ผมหยิกๆ ผิวดํา ทองโต พุงโร กุมภัณฑมีตั้งแตชั้นสูง
จนถึงชั้นลาง มีหนาที่ลงไปทรมานสัตวนรกในยมโลก
๑๒๘

๒. ทาววิรุฬหกะ ปกครองกุมกัณฑเทวดา

มีปราสาทเปนวิมานอยูบน
ยอดเขาเนมินธร อยูทางทิศใตของ
เขาสิเนรุ ( ถัดไปเปนชมพูทวีป )

เทวดาคนกุมภัณโฑ กุมภัณฑี : เรียกวา รากษส หรือ ปูโสมเฝาทรัพย เปนเทวดาที่รักษา


สมบัติตางๆ เชน แกว แหวน เงิน ทอง อัญมณีตา งๆ รักษาปา ภูเขา แมน้ํา ถามีผูลวงเกินก็จะ
ใหโทษตางๆ แกผูที่ลวงเกินนั้น
ครุฑ : จัดเปนเทวดาประเภทหนึ่ง อยูในการปกครองของทาววิรุฬหก ผูปกครองสวรรค
ชั้นจาตุมหาราชิกา ดานทิศใต เหตุที่มาเกิดเปนครุฑเพราะทําบุญเจือดวยโมหะ
ครุฑ : มีกําเนิดทั้ง ๔ แบบ คือ โอปปาติกะ ชลาพุชะ อัณฑชะ และสังเสทชะ มีที่อยูต ั้งแตพื้นมนุษย
ปาหิมพานต ปาไมงิ้ว จนถึงชั้นจาตุมหาราชิกา ( ปาไมงิ้วอยูชั้นที่สองรอบภูเขาสิเนรุ สวนชั้นที่หนึ่ง
อยูในมหาสมุทรสีทันดร เปนที่อยูของพญานาค )
ครุฑชั้นสูง : เกิดแบบโอปปาติกะ มีขนสีทอง มีเครื่องประดับแบบเทพบุตรเทพธิดา มีชีวิตอยู
เหมือนเทวดา แปลงกายได จะเสวยสุทธาโภชน คื ออาหารทิพยแบบเทวดา
ครุฑ : บางประเภทผูกเวรกับนาค ก็จะกินนาคเปนอาหาร บางประเภทก็กินผลไมหรือเนื้อสัตว
ครุฑบางประเภทผูกเวรกับสัตวนรกในยมโลก ก็จะสมัครใจไปเปนเจาหนาที่ลงทัณฑสัตวนรก
๑๒๙

เทวดาทั้ง ๓ ประเภท เปนเทวดาชั้นลาง มีวิมานอยูบนพื้นดินเดียวกันกับที่มนุษย อาศัยอยู เรียกชื่อ


ตามที่อยู แตถือวาเปนชาวสรรคชั้นจาตุมหาราชิกาดวย
ภุมมเทวา : เปนเทวดาที่อาศัยอยูบนพื้นมนุษย อยูตามจอมปลวก เนินดิน ใตดิน ภูเขาแมน้ํา
บาน เจดีย ศาลา ซุมประตู เปนตน บางองคมีวิมานเปนของตน บางองคก็ไมมี ตองอาศัยวิมาน
ขององคอื่นอยู
รุกขเทวา : เปนเทวดาที่อาศัยอยูตามกิ่งไมหรือยอดไมตางๆ ซึ่งสูงขึ้นไปกวาพวก ภุมมเทวา
มีทั้งที่มีวิมานและไมมีวมิ านเปนของตน อากาสเทวา เปนเทวดาที่มีวิมานอยูกลางอากาศ
สูงขึ้นไปจากพื้นดินประมาณ ๑ โยชน (ประมาณ ๑๖ กิโลเมตร)

๓. ทาววิรปู กษ : ปกครองนาคเทวดา


มีปราสาทเปนวิมานอยูบน
ยอดเขาวินตกะ อยูทางทิศตะวันตกของ
เขาสิเนรุ ( ถัดไปเปนอมรโคยานทวีป )

นาโค นาคี : เทวดานาค เปนเทวดาที่มีคาถาอาคม ขณะที่ทอ งเที่ยวในโลกมนุษยชอบแปลงรางเปน


คน สัตวตางๆ ชอบลงโทษพวกสัตวนรก
พญานาค : เปนราชาแหงงู จัดเปนเดรัจฉานดวย เพราะมีลําตัวไปทางขวางและไมสามารถบรรลุ
ธรรมได แตก็จัดอยูฝายสุคติภูมิ อยูส วรรคชั้นจาตุมหาราชิกา นาคแบง ออกเปน 4 ตระกูลใหญ คือ
ตระกูลวิรูปกษ : พญานาคตระกูลสีทอง
ตระกูลเอราปถ : พญานาคตระกูลสีเขียว
ตระกูลฉัพพยาปุตตะ : พญานาคตระกูลสีรุง
ตระกูลกัณหาโคตมะ : พญานาคตระกูลสีดํา
พญานาค : เกิดไดทั้ง ๔ แบบ คือ แบบโอปปาติกะเกิดแลวโตทันที แบบสังเสทชะ เกิดจาก
เหงื่อไคล สิ่งหมักหมม แบบชลาพุชะเกิดจากครรภ แบบอัณฑชะเกิดจากฟองไข พญานาคชั้นสูงเกิด
๑๓๐

๔. ทาวกุเวร ( ทาวเวรสุวรรณ ) : ปกครองเทวดายักษ

มีปราสาทเปนวิมานอยูบน
ยอดเขาอัสสกัณณะ อยูทางทิศเหนือของ
เขาสิเนรุ ( ถัดไปเปนอุตตรกุรุทวีป )

ยักโข ยักขินี : เทวดายักษ ชอบเบียดเบียนสัตวนรก


ยักษ : ผูที่เขาบูชาเซนสรวง หรือผูทาํ ความพยายามใหเขาบูชาเซนสรวง ยักษมีหลายระดับ
ตั้งแตยักษชั้นสูง ยักษชนั้ กลาง ยักษชั้นลาง มีความละเอียดประณีตแตกตางกันตามกําลังบุญ
ถายักษชั้นสูง : จะมีวมิ านเปนทอง มีรูปราง
สวยงาม มีเครื่องประดับ มีรัศมี แตผิวจะดํา ดําอม
เขียว อมเหลือง ดําแดงก็มี แตวาดําเนียน มีอาหาร
ทิพย มีบริวารคอยรับใช ปกติไมเห็นเขี้ยว เวลา
โกรธจึงจะมีเขี้ยวงอกออกมา

ยักษชั้นกลาง : สวนใหญจะเปนบริวารคอยรับ
ใชของยักษชนั้ สูง

ยักษชั้นต่ํา : ที่บุญนอยก็จะมีรูปรางนาเกลียด
ผมหยิก ตัวดํา ตาโปน ผิวหยาบ เหมือนกระดาษ
ทราย นิสัยดุราย
๑๓๑

ยักษชั้นต่ํา : ที่บุญนอยก็จะมีรูปรางนาเกลียด
ผมหยิก ตัวดํา ตาโปน ผิวหยาบ เหมือนกระดาษ
ทราย นิสัยดุราย

ยักษ : เกิดได ๓ แบบ คือ เกิดแบบโอปปาติกะ เกิดแลวโตทันที ชลาพุชะ เกิดในครรภ และสังเสทชะ


เกิดในเหงื่อไคล ที่อยูของยักษ ก็มีอยูตามถ้ํา ตามเขา ในน้ํา ในดิน พื้นมนุษย ในอากาศ และมีวิมาน
อยูที่เขาสิเนรุในสวรรคชนั้ จาตุมหาราชิกา พวกยักษจะอยูในการปกครองของทาวเวสสุวรรณ
หรือทาวกุเวรมหาราชผูป กครองสวรรคชั้นจาตุมหาราชิกาดานทิศเหนือ เหตุที่มาเกิดเปนยักษ
เพราะทําบุญเจือดวยความโกรธ มักหงุดหงิดรําคาญใจ

มหาราชทั้ง ๔ มีหนาที่ปกครองมนุษย เรียกวา “ ทาวจตุโลกบาล ” การนิมิตกายของเทวดา


ที่อยูใกลชิดกับมนุษยมากที่สุด เพราะเทวดาจาตุมหาราชิกาบางพวกก็อาศัยอยูในโลกมนุษย บางครั้ง
เทวดาก็นิมิตกลายเหมือนมนุษยแตมีกลิ่นหอม เพือ่ มาฟงธรรมกับอริยบุคคล
สรรพสัตวที่จะมีโอกาสเกิดเปนเทวดา ชั้นจาตุมหาราชิกานั้น จะตองมีหริ ิและโอตตัปปะ
อันเปนภูมิธรรมของเทวดา รักษาศีลหา ใหถึงพรอม และประกอบกุศลกรรมบทสิบ เชน การทําทาน
ใสบาตร ฟงธรรม การปฏิบัติธรรมเปนตน

เทวดาที่อยูในอํานาจของทาวจตุโลกบาล
เปนเทวดาที่ไมมีปราสาท หรือวิมานเปนของตนเอง ตองไปอาศัยตามสถานที่ตางๆ ในวิมาน
ของตน คือ
๑. ปพพตัฏฐเทวดา เปนเทวดาที่อาศัยอยูตามภูเขา
๒. อากาสัฏฐเทวดา เปนเทวดาที่อาศัยอยูในอากาศ มีวมิ านในอากาศ ภายในและภายนอกของวิมาน
ประกอบไปดวยรัตนะ๗ ชนิด ซึ่งเกิดจากกุศลกรรม คือ แกวมรกต แกวมุกดา แกวประพาฬ แกวมณี
แกววิเชียร เงินและทอง โดยวิมานเหลานี้จะหมุนไปรอบๆ เขาสิเนรุ
๑๓๒

๓. ขีฑฑาปโทสิกเทวดา เปนเทวดาที่เพลินในเกมกีฬา จนลืมทานอาหารแลวจุติตายไป


๔. มโนปโทสิกเทวดา เปนเทวดาที่จุติเพราะความโกรธ
๕. สีตวลาหกเทวดา เปนเทวดาที่ทําใหเกิดอากาศเย็น
๖. อุณหวลาหกเทวดา เปนเทวดาที่ทําใหเกิดอากาศรอน
๗. จันทิมเทวปุตตเทวดา เปนเทวดาที่อยูในดวงจันทร
๘. สุริยเทวปุตตเทวดา เปนเทวดาที่อยูในดวงอาทิตย
๙. กุมมัฏฐเทวดา เปนเทวดาที่อยูบนพื้นดิน
ใตพื้นดิน แมน้ํา มหาสมุทร บานเรือน ซุม ประตู เจดีย ศาลา เปนตน
๑๐. รุกขเทวดา เปนเทวดาที่อาศัยอยูตามตนไม
ความเปนอยูของเทวดาสวรรคชั้นจาตุมหาราชิกา สวรรคของอากาสัฏฐะเทวดา ประกอบดวย
เทพนครสี่นคร ตั้งอยูในทิศทั้ง ๔ แหงเชิงเขาสิเนรุ คือ สวรรคชั้นนี้อยูในโลกมนุษยนี้เอง
เพราะตั้งอยูเชิงเขาสิเนรุ แตวาลอยอยูในอากาศ มีทาวมหาราชเปนทาวจตุโลกบาล ปกครองแตละนคร
เทพนครบนสวรรคตางมีอาณาเขตกวางใหญไพศาล
มีกําแพงทองทิพยลอมรอบ ประกอบดวยรัตนะเจ็ด
มีแกวมรกต แกวมุกดา แกประพาฬ แกวมณี
แกววิเชียร เงินและทอง บานประตูประดับดวยแกว
วิเศษงามวิจิตรตระการตา เหนือกําแพงแตละประตูมี
ปราสาททองงดงามยิ่ง ภายในกําแพงเมืองมีปราสาทแกว
มากมาย ตั้งเรียงรายเปนระเบียบ ปราสาทนี้ก็คือ วิมาน
ของเทวดา ณ ภาคพื้นของเทพนครทั้ง ๔ เปนแผน
ทองคํา ยามเมื่อเทพกาวเหยียบยางลงบนพื้นทองนั้นจะ
รูสึกออนนุมยุบตัวลง แตพอยกเทาขึ้นพื้นที่ตรงนั้นก็ยก
ตัวเหมือนเดิม ปานประหนึ่งเหยียบลงบนพรม
๑๓๓

เทวดาในชั้นจาตุมหาราชิกานี้ มีอายุยนื มีวรรณะงดงามดวยบุญ ผานุงมีรศั มีแผ ไปสิบสองโยชน


เทวดามากดวยสุข เพราะไดทิพยสุข และทิพยสมบัติ ยอมเลนระเริง ยอมรัก และยอมยินดีดวย
กามคุณหา เทพธิดาปรากฏเหมือนอายุ ๑๖ ป เทพบุตรก็เหมือนอายุ ๒๐ ป เทวดาในชั้นนี้ จะมีอายุขัย
เทากับ ๕๐๐ ปทิพย หรือ เทากับ ๙ ลานปโลกมนุษย ( ๑ วันในสวรรคชั้นจาตุมหาราชิกา เทากับ ๕๐ ป
โลกมนุษย )

สวรรคชั้นที่ ๒ ( ดาวดึงสาภูมิ )
ดาวดึงสาภูมิ เปนสวรรคชั้นที่ ๒ หมายถึง ภูมิอนั เปนที่เกิดของบุคคลมีจาํ นวน ๓๓ คน
เปนพื้นแผนดินแรกที่ปรากฏขึ้นในโลกกอนแผนดินอื่น
ณ หมูบานอจลคาม นครมคธ มีบุคคลกลุมหนึ่งชื่อวา
“ คณะสหบุญญการี ” คือ คณะที่ทําบุญรวมกัน
อยูดวยกัน ๓๓ คน เปนชายทั้งสิ้น มีหัวหนาคณะชื่อ
“ มฆมานพ ” คณะที่ไดชวยกันทําความสะอาดถนน
ในหมูบานเพื่อใหสัญจรไดสะดวก ตั้งโรงเลี้ยงน้ําเพื่อให
ชาวบานไดอาศัยดื่มกิน และยังไดสรางศาลาสุธรรมา
ตามชื่อของภรรยาคนหนึ่งในสี่ของมาฆมาณพที่มีสวน
ในการยกชอฟา ภรรยาอีกสองคน คือ นางสุนันทนา
และนางสุจิตรา ไดมีการชวยในการขุดสระโบกขรณี
และสรางสวนดอกไม แตนางสุชาดาภรรยาคนที่ ๔ คิดวา
บุญกุศลที่มฆมาณพไดกระทําไวแลวก็เหมือนเปนของนาง
นางจึงไมไดสรางกุศลอะไร
ครั้งเมื่อชายทัง้ ๓๓ คนเสียชีวิตลง ก็ไดไปเกิดเปนเทวดาภูมชิ ั้นที่ ๒ โดยมฆมานพผูเปนหัวหนาไดไป
บังเกิดเปนพระอินทร เพื่อนอีก ๓๒ คน ไดเกิดเปนเทวดาชัน้ ผูใหญ ภรรยาทั้งสามของมฆมานพก็ไดไปเกิดบน
สวรรค ชัน้ ที่ ๒ มีเพียงนางสุชาดามิไดสรางกุศล จึงไปเกิดเปนนกยางที่ลําธารแหงหนึ่ง
เมื่อพระอินทรและสหายไปบังเกิดสวรรคชนั้ ที่ ๒ บนสวรรคชั้นนีไ้ ดมี พวกบุพเทพ ( เทพผูเกิดอยูกอน )
และยังไมไดชอื่ วาดาวดึงส โดยมี ทาวเวปจิตติ เปนหัวหนา เทพพวกอยูกอนได จัดพิธีสักการะตอนรับพวก
เทพใหม โดยแจกดอกปทุมทิพย และแบงความเปนราชาและแบงบานเมืองใหปกครองกึ่งหนึง่ และจัดประชุม
เลี้ยงอยางเต็มที่ ทาวสักกะยังไมพอพระหฤทัยที่จะไดปกครองสวรรคเพียงกึ่งเดียว จึงนัดเหลาสหายมิใหดื่มสุรา
แตพวกเทพเจาถิ่นเดิมไดดื่มสุรากันจนเมานอนหมดสติไป พระอินทรจึงสั่งใหเหลาเทพผูมาใหม ชวยกันจับพวก
เทพผูอยูกอนที่มีบุญนอยกวา เหวี่ยงลงไปยังเชิงเขาสิเนรุ
๑๓๔

เมื่อเทวดาเหลานั้น สรางเมาไดสติขึ้นมาไมเห็นสวรรค พากันกลาวขึน้ วา “ โอ ! รายจริงพวกเราพากัน


ฉิบหาย เพราะโทษที่ดื่มสุราจนเมามาย บัดนี้พวกเราจะไมดื่มสุราอีกแลว บัดนี้เราไมไดเปนเทวดาแลว พวกเรา
เปนอสูร เพราะพวกเราเปน “ อสุรา ” ( ผูไมดื่มสุรา ) เมืองใหมนี้จึงชื่อวา “ อสุรภพ ” หรือ แปลวา ไมเปนใหญ
รุงเรืองเหมือนสุระ ( เทพ ) หรือ อสุร แปลวา “ เปนขาศึกตอสุระ ( เทพ ) ”
ดังนัน้ ทานทาวสักกเทวราช และเหลาเทพผูมาใหมจึงไดครอบครองสวรรคชั้นที่ ๒ นีท้ ั้งหมด สวรรคชั้นนี้
จึงไดชื่อวา “ ดาวดึงส ” ที่ตั้งของสวรรคชั้นดาวดึงส ตัง้ อยูในอากาศ ซึ่งเปนแผนดินที่อยูเหนือยอดเขาสิเนรุ
มีวิมานทิพย ( อทิสสมานกาย ) มองไมเห็นดวยตาเนื้อ มีลักษณะกลม กวาง ๘๔,๐๐๐ โยชน มี สุทสั สะนคร
เปนมหานครที่อยูของพระอินทร ( ทาวสักกะ ) ซึ่งกวางรอยโยชน มีกําแพงลอมรอบอยู ๔ ชั้น มีประตู
ดานละ ๒๕๐ ประตู โดยมีสวนมหาวันเปนที่ประทับสําราญพระราชอิริยาบถของพระอินทร และมีวิมารรายลอม
สวนมหาวันอยู ๑,๐๐๐ วิมาน
ตรงกลางสุทัสสะมหานครมี เวชยันตปราสาท เปนทิพยประดับ
ประดาดวยแกวรัตนะ ๗ ชนิด เปนที่ประทับพระอินทร
ทิศตะวันตก มีสวนชื่อ จิตรลดา กวาง ๕๐๐ โยชน มีสระ
โบกขรณีสองแหง คือ สระวิตรา และจุฬจิตา เปนรมณีสถาน
สําหรับพักผอนของเทวดาบนสวรรคชั้นดาวดึงส
ทิศเหนือ มีสวนชื่อ มิสสกวัน กวาง ๕๐๐ โยชน มีสระโบกขรณี
สองแหง คือ สระ สวนธัมมา และสวนธันมา
ทิศใต มีสวนชื่อ ผารุสกวัน กวาง ๗๐๐ โยชน มีสระโบกขรณี
สองแหง คือ สวนภัทรา และสุธัมมา
ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีสวนสองแหง คือ สวนปุณฑริกะ
และมหาวัน ที่สวนปุณฑริกะมีตนปาริชาติสูง ๑๐๐ โยชน
แผกิ่งกานออกไป 500 โยชน เมื่อออกดอกจะสงกลิ่นหอม
ไปไกลถึง ๑๐๐ โยชน

ที่ใตตนปาริชาติมี แทนบัณฑุกัมพลศิลาอาสน กวาง ๕๐ โยชน ยาว ๖๐ โยชน หนา ๑๕ โยชน มีสีแดงเหมือน


ดอกชบา ยุบไดเวลานั่ง พองเมื่อเวลาลุกขึ้น เปนทีป่ ระทับของพระอินทร หนาแทนศิลาอาสนมีศาลาฟงธรรมชื่อ
ศาลาสุธัมมา มีเจดียมรกตชือ่ จุฬามณี สูง ๑๐๐ โยชน ประดวยแกว ๗ ประการมีกําแพงทองคําลอมรอบอยู ๔ ทิศ
ยาวทิศละ ๑๖๐,๐๐๐ วา เปนที่บรรจุ พระเกศธาตุคือ มวยพระเกศา ( มวยผม ) ของพระพุทธเจา เทวดาในสวรรค
หกชั้นตางมาบูชาพระเจดียน ี้อยูเปนประจํา
๑๓๕

เทวดาผูปกครองสวรรคชั้นดาวดึงส
พระอินทร ( สักกะเทวราช ) มีรางทิพยสีเขียว เปนผูปกครองเทวดาชัน้ ดาวดึงส และชั้นจาตุมหาราชิกา
ประทับอยู ณ ปราสาทเวชยันต มีราชรถเปนพาหนะเทียมอาชาไนย ๑,๐๐๐ ตัว ชือ่ วา เวชยันต และมีนายสารถี
ชื่อมาตุลีเทพบุตร

ผูที่จะมาเกิดเปนพระอินทร ตองประกอบดวยคุณธรรม ๗ ประการ


๑. เลี้ยงดูบิดามารดา
๒. เคารพตอผูใหญในตระกูล
๓. กลาววาจาออนหวาน
๔. ไมกลาวคําสอดเสียด
๕. ไมมีความตระหนี่
๖. มีความซื่อสัตย
๗. ระงับความโกรธได
๑๓๖

การบรรลุธรรมของพระอินทร
จากกุศลกรรมของพระอินทร เชน ใหความเกื้อกูลแกพระเวสสันดร การใสบาตรแก
พระมหากัสสปเถระที่พึ่งออกจากนิโรธสมาบัติ และการฟงธรรมเทศนา ( สักกปณหสูตร )
จากพระพุทธเจา ทําใหพระอินทรสําเร็จเปนพระอริยบุคคลชั้นโสดาบัน แลวพระอินทรก็จุติ
( เสียชีวิต ) ตอหนาพระพักตรองคพระสัมมาสัมพุทธเจา แลวทรงอุบัติ ( เกิด ) ขึ้นทันที
กลายเปนทาวสักกะเทวราช และเมือ่ จุติจากสวรรคชั้นดาวดึงสแลว จะมาเกิดเปนพระจักรพรรดิ์
ในโลกมนุษยและจะสําเร็จเปนพระสกิทาคามีบุคคล เมื่อเสียชีวิตจากโลกมนุษยแลว จะกลับไปเกิด
บนสวรรคชนั้ ดาวดึงสอีกครั้ง และจะไดบรรลุธรรมเปนพระอนาคามี เมือ่ จุติแลว จะไปบังเกิด
ในพรหมโลกชั้นสุทธาวาสตามลําดับ คือ อวิหา อตัปปา สุทัสสา สุทัสสี และเขาพระนิพพานที่
อกนิฏฐาภูมิเปนชาติสุดทาย

เทวดาที่อยูใตการปกครองของพระอินทร
๑. กุมมัฐะเทวดา : พระอินทรและเทวดาชั้นผูใหญ ๓๒ องค พรอมทั้งบริวารเทวอสุรา
มี ๕ จําพวก ที่อาศัยอยูใตภูเขาสุเนรุ จนถึงตอนใตของพื้นที่มหาสมุทรสีทันดรคือ
ชั้นที่ ๑ เปนที่อยูของ พญานาค
ชั้นที่ ๒ เปนที่อยูของ ครุฑ
ชั้นที่ ๓ เปนที่อยูของ กุมกัณฑเทวดา
ชั้นที่ ๔ เปนที่อยูของ ยักษเทวดา
ชั้นที่ ๕ เปนที่อยูของ เทวดาจาตุมหาราชิกาสี่องค
๑๓๗

๒. อากาสัฏฐะเทวดา : เทวดาที่อยูในวิมานลอยไปในอากาศ ตั้งแตเหนือพื้นดินยอดภูเขา


สิเนรุ ตลอดจนจรดขอบจักรวาล

ความเปนอยูของเทวดาในสวรรคชั้นดาวดึงส
เทพดาวดึงส อยูดวยฐานะ ๑๐ ประการ คือ อายุ วรรณะ สุข ยศ อายตนทั้งหกอัน มีรูป รส
กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ อันเปนทิพย เทวดาในชั้นดาวดึงส เปนผูเสวยทิพยสมบัติจากกุศลกรรม
ในอดีตชาติ ความเปนอยูของเทวดาในชั้นดาวดึงส มีความเปนไปคลายกับในโลกมนุษย คือ มีหนาที่
ของแตละพระองค เชน มีนักรอง นักดนตรี เปนเทพบุตร เทพธิดา จึงมีความรักเปนคูครองกัน
เทวดามีอายุขัย เทากับ ๑๐๐ ปทิพย เทากับ ๓๖ ลานปโลกมนุษย
( ๑ วันสวรรคชั้นดาวดึงส เทากับ ๑๐๐ ปโลกมนุษย )

การเกิดขึ้นของเทวดาบนสวรรคชั้นดาวดึงส
ดาวติงสาเทวดาปฏิสนธิ ( เกิด ) ดวย โอปปาติกะกําเนิด คือ บังเกิดเติบโตในทันที
รางกายอวัยะสมบูรณ มีรางกายเปนทิพย ( ละเอียด ) เรียกวา อทิสสมานกาย คือ มนุษยไมสามารถ
มองเห็นดวยตาเนื้อ เมื่อจะบังเกิดเปนบุตรธิดาแหงเทวดา ก็ยอมบังเกิดขึน้ เปนนางฟาที่แนนอน
ถาเปนไวยาวัจกรยอมบังเกิดขึ้นในวิมาณ
๑. เทวดาผูเกิดใหมที่สรางกุศลไวมาก : จะมีปราสาทวิมานเปนของตนเอง วิมาณนั้นจะมี
วิจิตรพิสดารเพียงใดขึ้นอยูกับอํานาจของกุศลวิบากที่เขาเคยไดทําไว
๑๓๘

๒. เทวดาผูที่เกิดใหมที่สรางกุศลไวนอย : ไมอาจมีวิมานเปนของตนได ตองไปอาศัยเกิดใน


วิมานของเทวดาองคอื่น ฐานะของเทวดาพวกนี้จึงขึ้นอยูกับสถานที่เกิด
ผูที่ไปเกิดบนตักของเทวดาองคใด ก็ตองเปนบุตรธิดาของเทวดาองคนั้น จึงเรียกชื่อวา
เทวบุตร เทวธิดา
หญิงที่ไปเกิดบนแทนบรรทมของเทวดาองคใด ก็ตองเปน บาทบริจาริกา ของเทวดา
องคนั้น
ที่เกิดใกลแทนบรรทมของเทวดาองคใด ก็ตองเปนพนักงานรับใช ของเทวดาองคนั้น
ผูที่เกิดในปราสาทของเทวดาองคใด ก็ตองเปนบริวารของเทวดาองคนั้น
ผูใดไปเกิดในระหวางแดนตอแดนของวิมานทั้งหลาย พระอินทรจะเปนผูพิจารณา
ตัดสินใจวาเขาจะไปเปนบริวารของเทวดาองคใด หรือจะตัดสินใหเปนบริวาร
พระอินทรก็ได
สถานที่สําคัญบนสวรรคชั้นดาวดึงส
๑. ศาลาสุธรรมาเทวสถาน
เทวดาบนสวรรคแมวาจะมีทิพยสมบัติปรารถนาสิ่งใดก็ได ก็ยงั มจิตศรัทธาในการฟงธรรม
ศาลาสุธรรมาเปนสถานที่ฟงธรรมของเหลาเทพบนสวรรคชั้นดุสิต โดยมีพระอินทรเปน
ประธานในการประชุม ศาลาสุธรรมา ประกอบดวยรัตนะ ๗ ชนิด สูง ๗ โยชน วัดโดยรอบ
๑,๒๐๐ โยชน พื้นเปนแกวลึก เสาเปนทองคํา คานระแนงประดิษฐดวยแกวประพาฬ ชอฟา
ใบระกาและลวดลายอันวิจิตรตกแตงดวยเงิน ตรงกลางศาลามีธรรมาสน สูง ๑ โยชน
ประดิษฐดวย รัตนะทั้ง ๗ ปกกั้นดวยเศวตฉัตร สูง ๓ โยชน ดานขางธรรมาสนเปนที่
๑๓๙

ประทับพระอินทร ถัดไปเปนที่ประทับเทวดาชั้นผูใหญเรียงไปตามลําดับ และถัดไป


เทวดาตามลําดับบุญวาสนา เมื่อไดเวลาฟงธรรม พระอินทรที่ประทับอยู ณ ปราสาท
เวชยันตจะเปาสังขวิชยุตตระยาว ๑๒๐ ศอก ดังกังวานไปทั่วทั้ง มหานครสุทัสสนะ
เมื่อเหลาเทพเทวดาไดยินเสียงสังข ก็จะพากันมาปรากฏที่ศาลาสุธรรมา

๒. พระเกศจุฬามณีเจดีย
พระเกศจุฬามณีเจดีย สรางขึ้นดวยแกวอินทนิล ยอดพระเจดียประดิษฐดวยทองคําบริสุทธิ์
ประดับดวยแกวรัตนะทั้ง ๗ องคเจดีย สูง ๘๐,๐๐๐ วา มีกําแพงทองคําลอมรอบ ๔ ทิศ
ยาว ๑๖๐,๐๐๐ วา องคพระเจดียเปนที่ประดิษฐานสิ่งสําคัญในพุทธศาสนา ๒ สิ่ง
๑๔๐

พระเกศโมฬี : เมื่อครัง้ พระโพธิสัตวเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ ทรงมากัณฐะ


เสด็จขามแมน้ําอโนมา เสด็จลงจากหลังมา ประทับยืนบนลานทรายทองทรง
เปลื้องอาภรณประทานแก นายฉันนะ แลวทรงพระขรรคแสดงดาบดวยพระหัตถขวา
จับพระจุฬา ( ยอดพระเกศา ) กับพระโมฬี ( มุนพระเกศาทั้งหมดหรือมวยผม )
ดวยพระหัตถซาย ทรงตัดดวยพระขรรคแสงดาบ ทรงอธิฐานบรรพชาวา
“ ถาจะตรัสรู เปนสมเด็จพระสัพพัญุตญาณเจาแลว ขอใหมวยพระเกศโมฬี
จงลอยขึ้นไปบนนภากาศเถิด อยาไดจงตกลงสูพื้นปฐพีเลย ”
พระอินทรทรงทอดพระเนตรดวยทิพยจักษุ จึงทรงนําผอบทองคํามารองรับ
พระจุฬา พระโมฬี ปน มณีและเครื่องรัดเกลาของพระโพธิสัตวไว แลวทรงนําขึ้น
ไปบนสวรรคชั้นดาวดึงส และสรางพระเกศจุฬามณีเจดีย เปนที่บรรจุพระเกศธาตุ
ขององคพระสัมมาสัมพุทธเจา

พระทันตธาตุเขี้ยวแกว ( ขวาบน ) : ภายหลังถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ


ของพระพุทธองค กําลังจะเกิดสงครามระหวางกษัตริย เพื่อแยงชิงพระบรม
สารีริกธาตุ โทณพราหมณไดพูดเจรจากับกษัตริยเหลานั้นวา พระศาสดาทรงตรัส
สอนในเรื่องความอดทน และตองการใหปรองดองกัน ไมสงเสริมใหเกิดสงคราม
เมื่อตกลงกันไดแลว โทณพราหมณ ผูร ับหนาที่แบงสรรพระบรมสารีริกธาตุ
และไดแบงพระบรมสารีรกิ ธาตุออกเปน ๘ สวน ถวายแกพระมหากษัตริยแหง
๑๔๑

แควนตางๆ แตพราหมณไดแอบนําพระบรมธาตุเขี้ยวแกวเบื้องขวาบน ซอนไวใน


ผาโพกศีรษะ ฝายพระอินทรทรงทอดพระเนตรดวยทิพยจักษุ ทรงเห็นวา
โทณพราหมณไมควรที่จะเก็บพระเขีย้ วแกวนี้ไวบนเมืองมนุษย จึงไดอัญเชิญ
พระบรมธาตุเขี้ยวแกวจากในผาโพกศีรษะของโทณพราหมณ ลงสูผอบทองคําทิพย
แลวอัญเชิญมาประดิษฐานไวที่พระเกศจุฬามณีเจดียบนสวรรคชั้นดาวดึงส

พระเขี้ยวแกวของพระพุทธเจา มีอยู ๔ องค คือ


พระเขี้ยวแกวเบื้องขวา ๒ องค คือ ขางบน กับ ขางลาง
พระเขี้ยวแกวเบื้องซาย ๒ องค คือ ขางบน กับ ขางลาง
พระเขี้ยวแกวเบื้องซายทั้ง ๒ องคนั้น องคหนึ่งประดิษฐานอยูที่ เมืองแคนดี้ ประเทศ
ศรีลังกา สวนอีกองคหนึ่งประดิษฐานอยูที่เพระเจดีเจาเหียน วัดหลิงกวง นครปกกิ่ง
พระเขี้ยวแกวขวาเบื้องขวาทั้ง ๒ องคนั้น องคหนึ่งประดิษฐานอยูที่พระเกศจุฬามณีเจดีย
บนสวรรคชั้นดาวดึงส สวนอีกองคหนึ่งประดิษฐานอยูในเมืองนาคพิภพ พระเกศจุฬา
มณีเจดีย จึงเปนสถานที่สําคัญที่เทวดาบนสวรรคที่หกชั้น มาประชุมสักการะบูชาอยูเปน
ประจํา เพราะเทวดาในชั้นอื่นๆ ที่สูงขึ้นไปก็สามารถลงมาบูชาพระเจดียนี้ได แมเทวดาใน
ชั้นจาตุมหาราชิกาก็สามารถขึ้นไปได เพราะเทวดาชั้นจาตุมหาราชิกาเปนผูเฝา ประตูทั้ง ๔
ทิศของสวรรคชั้นดาวดึงส
๑๔๒

สวนสวรรค : สวนสวรรคเปนอุทยานทิพยบนสวรรคชั้นดาวดึงส เปนรมณียสถาน


สําหรับพักผอนรื่นเริง สนุกสนาน ของเหลาเทวดาบนสวรรคชั้นดาวดึงส ซึ่งจะหาที่ใดบนโลกมนุษย
เปรียบเทียบได เพราะมีสระโบกขรณีทิพย มีนา้ํ ใสประหนึ่งแกว มีกอนศิลาทิพย มีแทนที่นั่ง
อันออนนุม พรอมดวยปุบผาชาติ ซึ่งมีกลิ่นหอมนานาพรรณ
สวนนันทวัน อยูทิศตะวันออกของสวรรคชั้นดาวดึงส
สวนจิตลดา อยูทิศตะวันตกของสวรรคชั้นดาวดึงส
สวนมิสกวัน อยูทิศเหนือของสวรรคชนั้ ดาวดึงส
สวนปารุสกวัน อยูทางทิศใตของสวรรคชนั้ ดาวดึงส

ตนกัลปพฤกษ ( ตนปาริชาติ ) : ตนปาริชาติ หรือ ตนกัลปพฤกษ ( ตนทองหลาง )


ขนาดใหญ ขึ้นอยูกลางอุทยานปุณฑริกวัน ภายในศาลาสุธรรมา เปนตนไมทิพย ๑๐๐ ป จะออกดอก
ครั้งหนึ่ง เมือ่ ดอกบานสะพรั่งแลว รัศมีของดอกจะเปนสีแดงสองสวางไป ๕๐๐ โยชน สงกลิ่นหอม
ไปไกล ๑๐๐ โยชน หากเทวดาองคใดปรารถนาจะไดดอก ดอกปาริชาติก็จะหลนลงสูมือของเทพบุตร
หรือเทพธิดาองคนั้น โดยไมตองเด็ด
ดอกปาริชาติ : จะมีลมกันตนะ คอยดูแลรักษา คือ
ลมสัมปฏิจฉนะ : คอยรองรับดอกไม ไมใหลวงหลนสูพ ื้นดิน
ลมปเวสนะ : คอยพัดพาเอาดอกที่แหงเฉาออกไป
ลมสันถกะ : คอยพัดดอกไม ไมใหไปกองในที่เดียวกัน
๑๔๓

บัณฑุกัมพลศิลาอาสน : เปนแทนศิลาที่ประทับของพระอินทร เปนศิลาที่ปูลาด


ดวยผากัมพลสีเหลือง อยูใตตนปาริชาติภายในอุทยานปุณฑริกวัน มีลักษณะพิเศษ คือ จะออนนุม
เวลานั่งลงไป แตเวลาลุกขึ้นนั่งก็จะฟูเดงขึ้นมาตามเดิม เมื่อเกิดเหตุการณอันใดขึน้ แทนที่นั่งนี้
จะรอนและแข็งกระดาง หรือที่เรียกกันวา “ ที่นั่งพระอินทรรอ น ” ทําใหพระอินทรตองทรง
ทอดพระเนตรดวยทิพยจักษุมายังโลกมนุษย เมือ่ ทรงทราบสาเหตุนั้นแลว ก็มักจะเสด็จลงมาชวย

บุพนิมิต ๕ : เทวดาในสวรรคชั้นดาวดึงส เมื่อถึงเวลาที่ตองจุติ ( เสียชีวิต )


ยอมเกิดบุพนิมิต ๕ ประการ คือ
ดอกไมแหงเฉา
ผาเศราหมอง
เหงื่อไหลจากรักแรทั้งสองขาง
ผิวพรรณหมอง
เทวดาไมตั้งอยูเทวอาสน
ชวง ๗ วันกอนที่เทวดาจะจุติ สรีระอัตภาพจะทรุดโทรม เหงือ่ ไหลเปนหยดๆ ฟนหัก
ผมหงอก ไมกระสันในเทวโลก เมื่อเวลาใกลจะเสียชีวิต จะหายใจไมออก
กระสับกระสาย ไมยินดีในอาสนะของตน
๑๔๔

สวรรคชั้นที่ ๓ ( ยามาภูมิ )
ยามาภูมิ เปนเทวดาภูมิชั้นที่ ๓ แปลวา “ เปนภูมิที่อยูของเทวดาทั้งหลายที่ปราศจากความ
ยากลําบาก และมีความสุขเปนทิพย ” โดยมีพระสยามเทวาธิราช หรือพระสุยามะ หรือยามะ
เปนผูปกครอง

ที่ตั้งของสวรรคชั้นยามาภูมิ
ยามาภูมิ เปนภูมิที่ปราศจากความลําบาก และถึงความสุขดวยความเปนทิพย ตั้งอยูในอากาศ
สูงกวายอดเขาสิเนรุ ๔๒,๐๐๐ โยชน มีบริเวณแผกวางออกไปเสมอกําแพงจักรวาล มีวมิ านที่เปนที่อยู
ของเทวดาปรากฏอยูตลอดทั่วบริเวณ เนื่องจากเปนภูมิที่ตั้งอยูในอากาศ จึงมีแตเทวดาพวก
อากาสัฏฐะเทวดาจําพวกเดียว
ความเปนอยูของเทวดาบนสวรรคชั้นยามา
เทพยามาเสวยสุขดวยทิพยฐานะสิบ คือ อายุ วรรณะ สุข ยศ ความเปนใหญ รูป รส
กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ มีอายุขัย ๒,๐๐๐ ทิพย เทากับ ๑๔๔ ลานปมนุษย ( ๑ วัน สวรรคยามา เทากับ
๒๐๐ ปโลกมนุษย )
บนสวรรคชนั้ ยามาไมมีแสงพระจันทร และแสงพระอาทิตย เพราะอยูสูงกวาพระอาทิตย
และพระจันทรมาก เหลาเทวดามองเห็นกันไดดวยแสงรัศมีทสี่ องออกมาจากตัวของเทวดา แตละ
องคที่สองไดไกลถึง ๑๒ โยชน แมทิพยสมบัติตางๆ เชน ปราสาทเวชยันต ศาลาสุธรรมา สวนอุทยาน
ตางๆ ก็ลวนมีรัศมีแสงสวางดวยกันทั้งสิ้น สวนการรับรูกลางวัน กลางคืนก็สังเกตจากดอกไมทิพย
เวลาที่ดอกไมทิพยบานก็แสดงวาเปนเวลากลางวัน เวลาที่ดอกไมทิพยหุบก็แสดงวาเปนเวลากลางคืน
๑๔๕

สาเหตุที่ทําใหเทวดาชั้นยามาตองจุติ ( เสียชีวิต )
๑. สิ้นอายุ : อายุขัยของเทพชั้นยามา เทากับ ๒,๐๐๐ ปทิพย เมื่อเทวดาองคใด มีอายุขัยครบ
กําหนดก็ตองจุติ แลวก็จะไดไปเกิดในเทวโลกชั้นสูงๆ ขึ้นไป
๒. สิ้นบุญ : คือ อายุยังไมสิ้น แตบุญที่ทําไวสิ้นแลว หรือหมดบุญที่ทําไวแลว จึงตองจุติ เชน
เทวดาบางองคทําทานเพียงครั้งเดียวก็ไดมาเกิดบนสวรรคชั้นยามา แตเมือ่ บุญที่ทําไวหมด จึงตอง
จุติเร็ว เทวดาจึงมีการทําบุญตออายุ เชน การฟงเทศนฟงธรรม เทวดาชั้นยามา จึงลงมาฟงธรรมที่
ศาลาสุธรรมาในสวรรคชนั้ ดาวดึงส
๓. สิ้นอาหาร : เทพบุตร เทพธิดา ที่บริโภคกามคุณมากจนไมมีบริโภคอาหาร ในทีส่ ุดก็จุติ
๔. ความโกรธ : เทพบางองคชอบโกรธ เห็นเทวดาองคอื่น มีทิพยสมบัติมากกวาก็โกรธ เห็นองค
อื่นสวยงามงดงามกวาก็อิจฉา เมื่อโกรธบอยๆ ก็ตอ งจุติ

สวรรคชั้นที่ ๔ ( ดุสิตาภูมิ )
ดุสิตาภูมิ เปนเทวดาภูมิชั้นที่ ๔ แปลวา “ เปนภูมิที่ปราศจากความรอนใจ มีความยินดีแชมชื่น
ใจในทิพยสมบัติของตนอยูเปนนิจ ” สวรรคชั้นดุสิตนี้ เปนสวรรคที่ประเสริฐกวาสวรรคทุกชั้น
เพราะเปนที่สถิตยของพระโพธิสัตวทุกพระองค กอนที่จะจุติลงมาเกิดเปนมนุษย และตรัสรู
ในพระชาติสุดทาย

ที่ตั้งของสวรรคชั้นดุสิต
ตั้งอยูทามกลางอากาศ สูงจาก
ชั้นยามาขึ้นไป ๔๒,๐๐๐ โยชน มีบริเวณ
แผกวางออกไปเสมอขอบจักรวาล
เทวดาที่อยูในภูมินี้พวก อากาสัฏฐเทวดา
พวกเดียว มีทาวสันดุสิตเทวราชเปน
ผูปกครอง
๑๔๖

ความเปนอยูของเทวดาบนสวรรคชั้นดุสิต
เทวดาบนสวรรคชั้นดุสิต อยูดวยฐานะสิบประการ คือ อายุ วรรณะ สุข ยศ อายตนอันมี
รูป รส กลิน่ เสียง โผฏฐัพพะเปนทิพย เทวดาชั้นดุสิตมีวิมาน ทิพยสมบัติและรางกายสวยงาม
ประณีตมากวาเทวดาในชั้นยามามาก มีอายุขัย ๔,๐๐๐ ปทิพย เทากับ ๕๗๖ ลานมนุษย ( ๑วัน สวรรค
ชั้นดุสิตเทากับ ๔๐๐ ป โลกมนุษย )

พระโพธิสัตวทุกพระองค กอนที่จะมาบังเกิด
ในมนุษยโลก และจะไดตรัสรูเปนพระพุทธเจานั้น
ยอมบังเกิดในชั้นดุสิตภูมินี้ เปนภพสุดทาย
และในขณะที่พระโพธิสัตวศรีอาริยเมตไตรยก็สถิตยอยู
ตลอดจนผูที่มาบังเกิดเปนอัครสาวก
พุทธมารดา พุทธบิดา ก็ยอมจุติจากดุสิตาภูมิ
มาบังเกิดในโลกมนุษยนี้เชนกัน

ความโกลาหลบนสวรรค
ความโกลาหลบนสวรรคนั้น มีอยู ๓ สมัย คือ สมัยเมื่อโลกจะวินาศ สมัยเมื่อพระเจา
จักรพรรดิ์จะเกิด สมัยเมื่อพระพุทธเจาจะอุบัติ
ครั้นเมื่อเทพทั้งปวงไดเห็นบุพนิมิต ๕ ประการ บังเกิดขึ้นแก พระโพธิสัตวเทพ
ก็เกิดความโกลาหลครัง้ ใหญ เพราะทราบวา พระพุทธเจากําลังจะอุบัติ จึงไปเฝาทูล
อาราธนาพระโพธิสัตวเทพใหจุติลงไป ตรัสรูเปนองคพระสัมมาสัมพุทธเจา พระโพธิสัตว
ก็จะตรวจดูสถานะ ๕ ประการ คือ กาล ทวีป ตระกูล มารดา กําหนดอายุวาจะเหมาะ
แกการที่จะลงมาตรัสรูหรือไม
กาล : กาลเวลาแหงอายุขัยของมนุษย ถาสมัยใดมนุษยมีอายุขัยมากเกินกวา
หนึ่งแสนปขึ้นไป หรือต่ํากวา หนึ่งรอยปลงมา ก็ไมใชกาลที่พระองคจะลงมาตรัสรู เพราะ
ในสมัยที่มนุษยมีอายุมากเกินไป ก็จะไมเห็นไตรลักษณ และในยุคสมัยที่มนุษยมีอายุนอย
เกินไป ก็อาจจะมีกิเลสหนามากจนไมอาจเห็นธรรม แตในยุคปจจุบัน ( พระโพธิสัตวจุติ )
เปนยุคที่มนุษยมีอายุขัยหนึ่งรอยปพอดี จึงเหมาะเปนกาลที่พระองคจะลงมาตรัสรูได
๑๔๗

ทวีป : ชมพูทวีป เหมาะที่จะลงมาตรัสรู


ประเทศ : ทรงเห็นมัชฌิมประเทศ คือ ทองถิ่นรวมกลางชมพูทวีป ปจจุบัน
อยูในประเทศอินเดีย ปากีสถาน เนปาล โดยพระองคประสูติที่ประเทศเนปาลเปนที่เหมาะ
ตระกูล : ทรงเห็นสักยราชตระกูลของพระเจาสุทโธทนะ เหมาะแกการเปน
พระบิดาได
พระมารดา : ทรงเห็นพระนางสิริมหายามามีพระบารมี เหมาะแกการเปน
พระราชมารดาได ทั้งพระนางก็จะมีชนมชีพอีก ๗ วัน นับจากพระโพธิสัตวประสูติ ทําให
ผูอื่นไมอาจจะอาศัยคัพโกทรบังเกิดไดอีก
ครั้นพระโพธิสัตว ทรงเห็นสถานะทั้ง ๕ ประการนี้ครบถวนแลว จึงทรงรับ
อาราธนาของเหลาเทวดา พวกเทวดาก็จะนําโพธิสัตวเทพไปยังสวนนันทวัน และตักเตือน
ใหระลึกถึงกุศลกรรมที่ทรงบําเพ็ญมาสีอสงไขยแสนมหากัป เทพพระโพธิสัตวก็จุติลงใน
ขณะนั้น ลงมาปฏิสนธิในพระครรภของพระนางสิริมหามายา
บุพนิมิต ๕ ประการ
ที่เกิดแกพระโพธิสัตว เวลาใกลจุติ
๑. ทิพยบุปผา ( ดอกไม ) ที่ประดับพระวรกายเหี่ยวเฉา
๒.ทิพยภูษา ( ผา ) ทรงมีสีหมองคล้ําลง
๓.พระเสโท ( เหงื่อ ) ไหลจากพระกัจฉะ ( รักแร ) ทั้งสองขาง
๔.พระสรีกาย ( ผิวพรรณ ) หมอง ปรากฏอาการชรา
๕.มีพระหฤทัย ( เหนื่อยหนายจากเทวโลก ) ไมทรงยินดีที่จะสถิตยในทิพยอาสน
๑๔๘

สวรรคชั้นที่ ๕ ( นิมมานรดีภูมิ )
นิมมานรดีภมู ิ เปนเทวดาภูมิชั้นที่ ๕ เทวดาที่เกิดอยูในภูมินี้ ยอมมีความสุขเพลิดเพลินใน
กามคุณทั้ง ๕ ที่ตนสามารถเนรมิตขึ้นมาไดเองตามใจปรารถนาของตน

ที่ตั้งของสวรรคชั้นนิมมานรดี
นิมมานรดีภมู ินี้ ตั้งอยูทา มกลางอากาศ
สูงจากชั้นดุสิตภูมิ ไป ๔๒,๐๐๐ โยชน เทวดาที่
อยูในภูมินี้ มีเทวดาอากาสัฏฐเทวดาจําพวกเดียว
มีทาวสุนิมมิตตเทวราชเปนผูปกครอง

ความเปนอยูของเทวดาบนสวรรคชั้นนิมมานรดี
เทวดานิมมานรดี อยูดวยฐานสิบประการ คือ อายุ วรรณะ สุข ยศ ความเปนใหญ รูป รส
กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ เปนทิพย เทวดาบนสวรรคชั้นนิมมานรดี มีวมิ าน ทิพยสมบัติและกาย
สวยงามประณีตมาก มีอายุขัย ๘,๐๐๐ ปทิพย หรือ เทากับ ๒,๓๐๔ ลานปมนุษย ( ๑ วัน ในสวรรคชั้น
นิมมานรดีเทากับ ๘๐๐ ปโลกมนุษย )

สวรรคชั้นที่ ๖ ( ปรนิมมิตวสวัตตีภูมิ )
ปรนิมมิตวสวัตตีภูมิ เปนเทวดาภูมิชั้นที่ 6 ที่เทวดามีความสุขความเพลิดเพลินในกามคุณ
ทั้ง ๕ เมื่อปรารถนาใครเสวยกามคุณเมือ่ ใดเทวดาองคอื่นที่รูใจ จะคอยปรนนิบัติโดยเนรมิตใหตาม
ความตองการ
ที่ตั้งของสวรรคชั้นปรนิมมิตวสวัตตี
ปรนิมมิตวสวัตตีภูมิ เปนยอดภูมิแหง
สวรรคทั้งหลาย ตั้งอยูทามกลางอากาศ สูงจากชั้น
นิมมานรดีขนึ้ ไป ๔๒,๐๐๐ โยชน เทวดาบนภูมินี้
มีพวกอากาสัฏฐเทวดาพวกเดียว
ทาวปรมินมิตวสวัตตีเทวราช เปนผูปกครอง
และมีอํานาจปกครองเทวดาทั้ง ๖ ชั้น
๑๔๙

ความเปนอยูของเทวดาบนปรนิมมิตวสวัตตี
เทพปรนิมมิตวสวัตตี อยูดวยฐานสิบประการ คือ อายุ วรรณะ สุข ยศ ความเปนใหญ รูป
รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ อันเปนทิพย เทพปรนิมมิตวสวัตตี มีวิมาน ทิพยสมบัติ และรางกาย
สวยงามประณีตมาก มีอายุขัย ๑๖,๐๐๐ ปทิพย หรือ เทากับ ๙,๒๑๖ ลาน ปมนุษย ( ๑ วัน ในสวรรคชั้น
ปรนิมมิตวสวัตตี เทากับ ๑,๖๐๐ ปโลกมนุษย )

สวรรคชั้นปรนิมมิตวสวัตตี แบงเปน ๒ เขตแดน คือ


แดนเทวดา : มีทาวปรนิมมิตวสวัตตีเทวราชปกครอง
แดนมาร : เปนที่อยูของมาร มีปรนิมมิตวสวัตตีพญามาร เปนผูปกครองมาร
ทั้ง ๕ ประเภท คือ
กิเลสมาร มาร คือ กิเลส
ขันธมาร มาร คือ ขันธ ๕
อภิสังขารมาร มาร คือ บุญบาป
เทวปุตตมาร มาร คือ เทวบุตร
มัจจุราช มาร คือ ความตาย
เทวดาและมารบนสวรรคชั้นปรนิมมิตวสวัตตี ตางปกครองกันเองไมขึ้นแกกัน ตางอาศัยกัน
อยูอยางสงบสุข และไมไดเปนศัตรู กันเหมือนอยางเทวดาในชั้นดาวดึงสที่ทําสงครามกับพวกอสุร
พญามารปรนิมมิตวสวัตตี เปนมารทีผ่ จญพระพุทธเจา เพื่อที่จะแยงโพธิบัลลังกที่ประทับนั่ง
ของพระองคในวันตรัสรู เพราะพญามารไมประสงคใหใครหลุดพนจากกองกิเลสหรืออํานาจของมาร
เชน ตัณหา ราคะ โทสะ โมหะ
๑๕๐

ปฏิบัติอยางไรจึงจะเกิดในสวรรคชั้นตางๆ
สวรรคชั้นจาตุมหาราชิกา : จะตองมีหิริและโอตัปปะ อันเปนภูมิธรรมของเทวดา
รักษาศีลหาใหถึงพรอม และการประกอบกุศลกรรมบถสิบ เชน การทําทาน ใสบาตร ฟงธรรม การ
ปฏิบัติธรรม ดังพุทธพจนในทานสูตร “ ในการใหทานนั้น บุคคลบางคนมีความหวังในทาน มีจติ
ผูกพันใหทานโดยมุงหวังสะสม ใหทานโดย คิดวาเมื่อตายไปแลวจะไดเสวยผลแหงทานนี้ เขาผูนนั้
ครั้นใหทานแลวตายไป ยอมเขาถึงสวรรคชั้นจาตุมหาราชิกา บางคนในโลกนี้ทําบุญดวยการใหทาน
มีประมาณยิง่ มาก ทําบุญดวยการรักษาศีลประมาณยิ่ง เขาผูนั้นเมื่อตายไป ยอมเขาถึงสวรรคชั้น
จตุมหาราช ”
สวรรคชั้นดาวดึงส : การใหทานนั้น ถาใหทานแลวไม ไดหวังผล แต ใหทานโดย
คิดวาการใหทานเปนการดี เขาใหทานแลว เมื่อตายไป ก็ไปบังเกิดในสวรรคชั้นดาวดึงส
สวรรคชั้นยามาภูมิ : การใหทานนั้น ถาใหทานแลวไมคิดวา การใหทานเปนการดี
แตเขาใหทานโดยคิดวา มารดา บิดา ปู ยา ตา ยาย เคยใหเคยทํากันมา เราไมควรทําใหเสียประเพณี
เขาจึงใหทาน เมื่อเขาตายไป ก็ ไปบังเกิดในสวรรคชั้นยามาภูมิ
สวรรคชั้นดุสิตาภูมิ : ในการใหทานนั้น เขาใหทานโดยไมคิดวา มารดา บิดา ปู
ยา ตา ยาย เคยใหเคยทํากันมา เราจึงไมควรทําใหเสียนประเพณี แตใหทานโดยคิดวา เราหุงหากิน
แตสมณพราหมณเหลานีไ้ มไดหุงกิน เราหุงหากินได จะไมใหทานแกสมณะหรือพราหมณผูไมไดหุง
กินไมควร เขาจึงใหทาน เมื่อเขาตายไปก็ไปบังเกิดในสวรรคชนั้ ดุสิตาภูมิ
สวรรคชั้นนิมมานรดี : บางคนในโลกนี้ยอมใหขาว น้ํา เปนตน แกสมณะหรือ
พราหมณ เขายอมมุงหวังสิ่งที่ตนไดถวายไป คือ เขาไดยินวาเทพชั้นนิมมานรดี มีอายุยืน มีวรรณะ
มากไปดวยความสุข เขาจึงคิดวา เมื่อเราตายไปแลว ขอใหเราไปเกิดในสวรรคชั้นนิมมานรดี เขาตัง้ ใจ
เชนนั้นแลว เขายอมไปเกิดในที่นั้นได อยางนี้เรากลาว สําหรับผูถือศีล ไมใชสําหรับผูทศุ ีล ความตั้งใจ
ของผูมีศีลยอมสําเร็จได เพราะเปนของบริสุทธิ์
สวรรคชั้นปรนิมมิตวสวัตตีภูมิ : บางคนในโลกนี้ยอมหขาว น้ํา เปนตน แกสมณะ
หรือพราหมณ เขายอมมุง หวังสิ่งที่ตนไดถวายไป คือ เขาไดยินวาเทพชั้นปรนิมิตวสวัตตีภูมิ มีอายุ
ยืนยาว มีวรรณะ มากไปดวยความสุข เขาจึงคิดวา เมื่อเราตายไปแลว ขอใหเราไปเกิดในสวรรคชั้น
ปรนิมมิตววัตตีภูมิ เขาตั้งใจไวเชนนั้น เมื่อเขาตายไป ยอมไปเกิดในที่นั่นได อยางนี้เรากลาวสําหรับ
ผูมีศีล ไมใชสําหรับผูทุศลี ความตั้งใจยอมสําเร็จได เพราะเปนของบริสุทธิ์
๑๕๑

พรหมมี ๒ ประเภท คือ


๑. รูปพรหม : เปนพรหมที่มีรูปราง ( ขันธ ๕ ) กับจิตใจ ( วิญญาณ ) คือ มีทั้งรูปและนาม
แตเปนอทิสมานกายหรือกายทิพย
๒. อรูปพรหม : เปนพรหมที่ไมมีรูปรางกาย มีแตจิตใจ ( วิญญาณ ) มีเพียงนามขันธ
( ขันธ ๔ )
ผูที่จะเกิดเปนพรหมจะตองบําเพ็ญกุศลคุรุกรรม และขณะจะสิ้นใจนั้นจะตองกําลัง
อยูในฌาณ
รูปพรหม ๑๖ ชั้น
อกนิฏฐา
สุทัสสี
สุทัสสา
อตัปปา
อวิหา สุธาวาสภูมิ ๕

เวหัป อสัญญ จตุตถฌานภูมิ๒

ปริตตสุภา อัปปมาณสุภา สุภกิณณหา ตติฌานภูมิ ๓

ปริตรตาภา อัปปมาณาภา อาภัสสรา ทุติฌานภูมิ ๓

ปาริสัชชา ปุโรหิตา มหาพรหม ปฐมฌานภูมิ ๓

ปฏิบัติอยางไรจึงจะเกิดในชั้นพรหมโลก
ในการใหทานนั้น เขาใหทานโดยไมไดคิดวา เมื่อเราใหทานอยางนี้ จิตจะเกิด
ความปลื้มใจและโสมนัส แตใหทานโดยคิดวา เปนเครื่องปรุงแตงจิตใจ เขาจึงใหทาน
เมื่อเขาตายไป ก็จะไปบังเกิดในชั้นพรหมโลก
๑๕๒

การใหทานแลวเปนเครื่องปรุงแตจิต จนเปนเหตุใหเขาเจริญสมถภาวนา จนไดฌาณ


เมื่อเขาตายไป ขณะนั้นยังอยูในฌาณ จึงจะไปเกิดในพรหมโลกได
รูปาวจรภูมิ ๑๖ แบงเปน ๔ ชั้น คือ
ชั้นที่ ๑ : ปฐมฌาณภูมิ ๓
ชั้นที่ ๒ : ทุติฌาณภูมิ ๓
ชั้นที่ ๓ : ตติยฌาณภูมิ ๓
ขั้นที่ ๔ : จตุตถฌาณภูมิ ๗
ปฐมฌาณภูมิ ๓
ปฐมฌาณภูมิ ๓: ตั้งอยูทามกลางอากาศ สูงขึ้นไปจากชั้นปรนิมมิตวสวัตตี๕,๕๐๘,๐๐๐ โยชน
ทั้ง ๓ ภูมินี้ตั้งอยูในระดับเดียวกัน พรัง่ พรอมดวยรัตนะทั้ง ๗ ปราสาทวิมาน สวน สระโบกขรณีและ
ตนกัลปพฤกษ แบงขอบเขตเปน ๓สวน สวนหนึ่งเปนที่อยูของมหาพรหม มีทาวมหาพรหมที่เปนใหญ
ในปฐมภูมิทงั้ ๓ เพียงองคเดียวสวนหนึ่งเปนที่อยูของพรหมปุโรหิตา มีพรหมอาศัยอยูเปนจํานวนมาก
สวนหนึ่งเปนที่อยูของ พรหมปาริสชั ชา ที่มีพรหมอาศัย อยูเปนจํานวนมากเชนกัน

เมื่อเวลาที่โลกถูกทําลายดวยไฟ น้ํา หรือ ลม ปฐมฌาณภูมิ ยอมถูกทําลายไปดวยทุกครั้ง


และเวลาที่โลกเริ่มตน สรางขึ้นมาใหมปฐมฌาณภูมิก็ตั้งขึ้น โดยมีทาวมหาพรหมองคเดียวบังเกิด
ขึ้นกอน ตอมาพรหมปุโรหิตา และพรหมปาริสชั ชา จึงเกิดขึ้ตามมา
๑๕๓

พรหมปาริสชชาภูมิ : กอนที่ผูเพิ่งจะไดปฐมฌาณใหมๆ จะสิ้นใจเสียชีวิต


ไดกําหนดจิตเขาไป อยูใ นปฐมฌาณ ดวยอํานาจของปฐมฌาณที่ยังมีกําลังออนอยู จะนําผูนั้นไป
สูพรหมปาริสัชชาภูมิ เปนพรหมชั้นสามัญธรรมดา เปนพรหมที่เปนบริษทั บริวาร คอยรับใชพรหม
ที่เปนหัวหนา อายุขัยของพรหมภูมินี้ เทากับ ๑/๓ มหากัลป
พรหมปุโรหิตาภูมิ : กอนผูไดปฐมฌาณ จะสิ้นใจเสียชีวิต ไดกําหนดจิตเขาไป
ในปฐมฌาณ ดวยอํานาจของปฐมฌาณที่มีกําลังปานกลาง เนื่องจากยังไมชํานาญในการเขาปฐมฌาณ
จะนําผูนั้นไปสู พรหมปุโรหิตาภูมิ เปนพรหมที่เปนที่ปรึกษาในกิจการงานของพรหมที่เปนหัวหนา
และเปนผูนําในกิจการทั้งหลายของทาวมหาพรหม อายุขัยของพรหมในภูมนิ ี้ เทากับ ๑/๒ มหากัลป
มหาพรหมาภูมิ : กอนผูไดปฐมฌาณ จะสิ้นใจเสียชีวิต ไดกําหนดจิตเขาไปใน
ปฐมฌาณ ดวยอํานาจของปฐมฌาณที่มีกําลังแรงกลา เนื่องจากเปนผูที่มีความชํานาญ ในการเขา
และออกปฐมฌาณเปนอยางดี จะนําผูนั้นไปสู มหาพรหมาภูมิ ผูเปนหัวหนาในปฐมฌาณภูมิ
เรียกวา “ ทาวมหาพรหม ” อายุขัยของมหาพรหมาภูมิ เทากับ ๑ มหากัลป
ทุติยฌาณภูมิ ๓
ทุติยฌาณภูมิ : ตั้งอยูทามกลางอากาศ สูงจากชัน้ ปฐมฌาณภูมิ ขึ้นมา๕,๕๐๘,๐๐๐ โยชน
ทั้ง ๓ ภูมินี้ ตั้งอยูในระดับเดียวกัน แบงขอบเขตออกเปน ๓ สวน สวนหนึ่งเปนที่อยูของ
อาภัสสราพรหม มีฐานะเทากับทาวมหาพรหม ในปฐมภูมิฌาณ เปนใหญในทุติฌาณภูมิทั้ง ๓
สวนหนึ่งเปนที่อยูของ อัปปมาณาภาพรหม มีฐานะเทียบเทากับพรหมปาริสัชชาในปฐมฌาณภูมิ
พรหมปริตรตาภูมิ : กอนที่ผูพึ่งไดทุติยฌาณจะสิ้นใจ ไดกําหนดจิตเขาไปใน
ทุติยฌาณ ดวยอํานาจของทุติยฌาณที่สามารถละองคฌาณ คือ วิตกและวิจารได แตดวยกําลัง
ออนอยู จะนําผูนั้นไปสูพรหมปริตรตาภูมิ เปนพรหมชั้นสามัญธรรมดา อันเปนพรหมที่เปน
บริษัทวาร คอยรับใชพรหมที่เปนหัวหนา อายุขัยของพรหมในภูมินี้เทากับ 2 มหากัลป
พรหมอัปปมาณาภาภูมิ : กอนทีผ่ ูไดทุติยฌาณจะสิ้นใจ ไดกําหนดจิตเขาไปใน
ทุติยฌาณ ที่สามารถละองคฌาณ คือ วิตกและวิจารได แตดวยกําลังปานกลาง เนื่องดวยยังไมมี
ความชํานาญในการเขาทุติยฌาณ จะนําไปสู พรหมอัปปมาณาภูมิ เปนพรหมที่เปนที่ปรึกษาใน
กิจการงานพรหมที่เปนหัวหนา เปนผูนําในกิจการทั้งหลายของทาวอาภัสสราพรหม อายุขัยของ
พรหมในภูมนิ ี้ เทากับ ๔ มหากัลป
๑๕๔

พรหมอาภัสสราภูมิ : กอนที่ผูไดทุติยฌาณจะสิ้นใจ ไดกําหนดจิตเขาไปใน


ทุติยฌาณ ดวยอํานาจของทุติยฌาณ ที่สามารถละองคฌาณ คือ วิตกและวิจารได และมีกําลัง
แรงกลา เนือ่ งจากเปนผูที่มีความชํานาญ ในการเขาและออกทุติยฌาณ จะนําผูนั้นไปสูพรหม
อาภัสสราภูมิ เปนหัวหนาของเหลาเทพในทุติยฌาณภูมิ เทียบเทา ทาวมหาพรหมในปฐมภูมิฌาณ
มีอายุขัยเทากับ ๘ มหากัลป

ตติยฌาณภูมิ ๓
ตติยฌาณภูมิ ๓ : ตั้งอยูทามกลางอากาศ สูงจากชั้นทุติยฌาณภูมิขึ้นมา ๕,๕๐๘,๐๐๐ โยชน
ทั้ง ๓ ภูมินี้ตั้งอยูในระดับเดียวกัน แบงขอบเขตออกเปน ๓ สวน คือ สวนที่อยูของสุภกิณณพรหม
ผูมีฐานะเทากับทาวมหาพรหม ในปฐมภูมิฌาณ เปนใหญในตติยฌาณภูมิทั้ง ๓ สวนที่อยูของ
อัปปมาณสุภพรหม ผูมีฐานะเทากับพรหมปุโรหิตา ในปฐมฌาณภูมิ และสวนที่เปนที่ตั้งของ
ปริตตสุภพรหม ผูมีฐานะเทียบเทากับพรหมปาริสัชชาในปฐมฌาณภูมิ
พรหมปริตตสุภาภูมิ : กอนผูเพิ่งไดตติยฌาณจะสิ้นใจ ไดกาํ หนดจิตเขาไป
ในตติยฌาณ ดวยอํานาจของตติยฌาณที่สามารถละองคฌาณ คือ ปติได แตเนื่องดวยยังมีกําลัง
ออนอยู จะนําผูนั้นไปสู พรหมปริตตสุภสุภาภูมิ เปนพรหมชัน้ สามัญธรรมดา อันเปนพรหม
ที่เปนบริวาร คอยรับใชพรหมที่เปนหัวหนา อายุขยั ๑๖ มหากัลป
๑๕๕

พรหมอัปปมาณสุภาภูมิ : กอนที่ผูไดตติยฌาณจะสิ้นใจ ไดกําหนดจิตเขาไป


ตติยฌาณ ดัวยอํานาจของตติยฌาณที่สามารถละองคฌาณ คือ ปติได แตเนื่องดวยยังมีกําลัง
ปานกลาง เนื่องดวยไมมีความชํานาญในการเขาตติยฌาณ จะนําผูนั้นไปสูพรหมอัปปมาณสุภาภูมิ
เปนพรหมที่เปนที่ปรึกษาในกิจการงานของพรหมที่เปนหัวหนา และเปนผูนําในกิจการทั้งหลาย
ของทาวสุภกิณหาพรหม อายุเทากับ ๓๒ มหากัลป
พรหมสุภกิณหาภูมิ : กอนผูไดตติยฌาณจะสิ้นใจตาย ไดกําหนดจิตเขาไป
ในตติยฌาณ ดวยอํานาจของตติยฌานที่สามารถละองคฌานได คือ ปติได และมีกําลังแรงกลา
เนื่องจากเปนผูมีความชํานาญ ในการเขาตติยฌาณ จะนําเขาไปสู พรหมสุภกิณหาภูมิ เปนพรหม
ที่เปนหัวหนาในตติยฌาณภูมิ เทียบเทากับ ทาวมหาพรหมในปฐมภูมิฌาณ อายุขัยของพรหมใน
ภูมินี้ เทากับ ๖๔ มหากัลป

จตุตถฌาณภูมิ ๗
จตุตถฌาณภูมิ๗ : เปนที่เกิดของผูที่เจริญสมถกรรมฐาน ทําสมาธิจนบรรลุถึงจตุตถรูปฌาณ
จตุตถรูปฌาณ มี ๒ แบบ คือ อุเบกขา เอกัคคตา เปนที่อาศัยของเวหัปผลาพรหม อสัญญสัตตพรหม
และพรหมอนาคามี ในสุทธาวาสภูมิ ๕
๑๕๖

เวหัปผลาภูมิ : กอนที่ผูเพิ่งจะไดจตุตถฌาณใหมๆ จะสิ้นใจ ไดกําหนดจิตเขาไปอยู


ในจตุตถฌาณ ที่สามารถละองคฌาณ คือ สุขลงไดเหลือแตอุเบกขาเปนเอกัคคตา แตเนื่องดวยยังมี
กําลังออนอยู จะนําผูนั้นไปสู พรหมเวหัปผลาภูมิ ซึ่งเปนพรหมที่มีผลไพบูลย เพราะพนจากอํานาจ
อันตรายใดๆ เมื่อคราวที่โลกถูกทําลายดวยไฟนั้น ยอมทําลายไปจนถึงปฐมฌาณภูมิ ๓ เมื่อถึงคราวที่
โลกถูกทําลายดวยน้ํา ปฐมภูมิ ๓ และทุติยภูมิ ๓ ถูกทําลายลงไป ครั้นเมื่อโลกถูกทําลายดวยลม
ปฐมภูมิ ๓ ทุติยภูมิ ๓ และตติยภูมิ ๓ ก็ทําลายลงไปทั้ง ๙ ภูมิ บรรดาพรหมที่อาศัยอยูในภูมิเหลานั้น
ตองถึงการสิ้นอายุขัยลงไปดวย วิมานและทิพย สมบัติของพรหมทั้งหลาย ก็ถูกทําลายลงไปเชนกัน
สวนเวหัปผลาภูมิที่อยูในจตุตถฌาณภูมิ พนจากการถูกไฟ น้ํา ลมทําลาย บรรดาพรหมที่เกิด
และอาศัยอยูในภูมินี้ จึงมีอายุขัยอยูจนเต็ม ๕๐๐ มหากัลป เพราะอํานาจของจตุตถฌาณที่เกิดพรอม
ดวยอุเบกขาเวทนา
อสัญญีสัตตาภูมิ : กอนที่ผูไดจตุตถฌาณจะสิ้นใจ ไดกําหนดจิตเขาไปอยูใน
จตุตถฌาณ ดวยอํานาจของตติยฌาณที่สามารถละองคฌาณ คือ ปติได แตเนื่องดวย ยังมีกําลัง
ปานกลาง เพราะยังไมมีความชํานาญในการเขาออกจากจตุตถฌาณ จะนําผูนั้นไปสู พรหมอสัญญี
สัตตาภูมิ อันเปนภูมิที่ปฏิสนธิกรรมชรูปอยางเดียว คือ รูปพรหมที่มแี ตรูปอยางเดียว ไมมีนามขันธ
เรียกวา พรหมลูกฟก จะอยูนิ่งเหมือนพระพุทธรูป โดยจะมีอริ ิยาบถตางๆ ขึ้นอยูกบั ตอนที่สิ้นใจวา
อยูในทาไหน เมื่อไปเกิดเปนอสัญญีสัตตาพรหม ก็จะนําอยูในทานั้น 500 มหากัลป แลวนามขันธจึง
จะเกิดขึ้น เพื่อนําผูนั้นไปเกิดในภพชาติใหม
เวหัปผลาภูมิและอสัญญีสัตตาภูมิ ตั้งอยูทามกลางอากาศ สูงจากชั้นตติยฌาณภูมิขึ้นมา
๕,๕๐๘,๐๐๐ โยชน พรั่งพรอมดวยรัตนะทั้ง ๗ วิมาน สวน สระโบกขรณี และตนกัลปพฤกษ
พรหมใน ๒ ภูมินี้ มีอายุขัย 500 มหากัลป และเห็นกันและกันได โดยไมตองเนรมิตกายใหหยาบ
แตถาพรหมตางภูมิกัน พรหมที่อยูชนั้ สูงกวาสามารถเห็น พรหมที่อยูชั้นทีต่ ่ํากวาได สวนพรหมที่อยู
ชั้นต่ํากวาไมสามารถมองเห็น พรหมที่อยูในชั้นที่สูงกวาได

สุทธาวาสภูมิ ๕ : พระอนาคามีบุคคล เปนผูที่มีความบริสุทธิ์จาก สักกายทิฏฐิ


( ความเห็นผิดวามีตัวตน ) วิกิจฉา ( ความลังเลสงสัยในพระรัตนตรัย ) สีลัพพตปรามาส ( ความยึดมั่น
ในศีลและพรตนอกพระพุทธศาสนา ) กามราคะ ( ความยินดีติดใจในกามคุณอารมณ ) และปฏิฆะ
( ความขัดเคืองใจรูปราคะ ) ดวยอํานาจของวิปสสนาปญญา
๑๕๗

พระอนาคามี ในขณะที่กําลังจะละสังขารจากโลกมนุษยอยูใ นปญจมฌาณ ยอมบังเกิด


ณ สุทธาวาสภูมิ ๕ ตามอํานาจของอินทรีย ๕ ประการ คือ
สัทธินทรียแกกลา ยอมบังเกิดใน อวิหาภูมิ
วิริยินทรียแกกลา ยอมบังเกิดใน อตัปปาภูมิ
สตินทรียแกกลา ยอมบังเกิดใน สุทัสสาภูมิ
สมาธินทรียแกกลา ยอมบังเกิดใน สุทัสสีภูมิ
ปญญินทรียแกกลา ยอมบังเกิดใน อกนิฏฐาภูมิ
สวนบุคคลอื่นที่ไดปญจมฌาณ แตไมใชพระอนาคามีบุคคล ก็ไมสามารถบังเกิดในภูมนิ ี้ได
อวิหาภูมิ : ตั้งอยูทามกลางอากาศ สูงจากชั้นเวหัปผลาภูมิและอสัญญสัตตาภูมิขึ้นไป
๕,๕๐๘,๐๐๐ โยชน พรอมดวยรัตนะทั้ง ๗ วิมาน สวน สระโบกขรณี และตนกัลปพฤกษ เปนภูมิของ
พรหมที่จะไมละทิ้งสถานที่ของตนเลย จนกวาจะหมดอายุขยั ( อายุขัย ๑,๐๐๐ มหากัลป )
อวิหาพรหมนี้ มีสัทธินทรียแกกลา อวิหาพรหมเมื่อจุติจะไมเกิดซ้ําภูมิเดิมอีก แตจะอุบัติใน
พรหมชั้นสูงๆ ขึ้นไป หรือถาบําเพ็ญเพียรจนสําเร็จเปนพระอรหันต ก็จะดับขันธเขาสูป รินิพพาน
ในภูมินี้
อตัปปาภูมิ : ตั้งอยูทามกลางอากาศ
สูงจากชั้นอวิหาภูมิขึ้นไป๕,๕๐๘,๐๐๐ โยชน พรอมดวย
รัตนะทั้ง ๗ วิมาน สวน สระโบกขรณี และตน
กัลปพฤกษ อตัปปาพรหม มีอายุขัย ๒,๐๐๐ มหากัลป
อตัปปาภูมิ เปนภูมิที่อยูของพรหมที่มแี ตความสงบ
รมเย็น ไมเดือดรอนใจ เพราะนิยมเขาฌาณ หรือเขา
ผลาสมาบัติอยูเสมอ อตัปปาพรหมมีวิริยนทรียแกกลา
มีอายุขัย ๒,๐๐๐ มหากัลป จุติแลวจะไมเกิดซ้ําในภูมิ
เดิมอีก แตจะไปอุบัติเกิดในพรหมชั้นสูงๆ ขึ้นไป
หรือถาบําเพ็ญเพียรจนสําเร็จเปนพระอรหันต
ก็จะดับขันธ เขาสูปรินิพพานในภูมินี้
๑๕๘

สุทัสสาภูมิ : ตั้งอยูทามกลางอากาศ สูงจากอตัปปาภูมิขึ้นไป ๕,๕๐๘,๐๐๐ โยชน


พรั่งพรอมดวยรัตนะทั้ง ๗ วิมาน สวน สระ โบกขรณี และตนกัลปพฤกษ สุทัสสาพรหม
ทั้งหลายยอมบริบูรณ ดวยจักษุทั้ง ๔ มีปราสาทจักขุ ( ตาเนื้อ ) ทิพพจักขุ ( ตาทิพย ) ธัมมจักขุ
( โสดาปตติมรรค สกทาคามีมรรค อนาคามีมรรค ) และปญญาจักขุ ( ญาณจักขุ )
สุทัสสาพรหมมีสตินทรียแ กกลา มีอายุขัย ๔,๐๐๐ มหากัลป จุติแลวจะไมเกิดซ้ําในภูมิเดิมอีก
แตจะไปอุบัติเกิดในพรหมชั้นสูงๆ ขึน้ ไป หรือหากบําเพ็ญเพียรจนสําเร็จเปนพระอรหันต ก็จะดับ
ขันธเขาสูปรินิพพานในภูมินี้
สุทัสสีภูมิ : ตั้งอยูทามกลางอากาศ สูงจากสุทสั สาภูมิขึ้นไป ๕,๕๐๘,๐๐๐ โยชน
สุทัสสีพรหม มีปราสาทจักขุ ทิพยจักขุ ปญญาจักขุ แกกลายิ่งกวาสุทัสสพรหม แตมีธัมมจักขุ
เสมอกัน สุทัสสีพรหมมีสมาธินทรียแกกลา อายุขัย ๘,๐๐๐ มหากัลป จุติแลวจะไมเกิดซ้ําในภูมิ
เดิมอีก แตจะไปอุบัติเกิดในพรหมชั้นสูงๆ ขึ้นไป หรือถาบําเพ็ญเพียรจนสําเร็จเปนพระอรหันต
ก็จะดับขันธเขาสูปรินิพพานในภูมินี้
อกนิฏฐาภูมิ : ตั้งอยูทามกลางอากาศ สูงจากสุทัสสีภูมิขึ้นไป๕,๕๐๘,๐๐๐ โยชน
พรั่งพรอมดวยรัตนะทั้ง ๗ วิมาน สวน สระโบกขรณี และตนกัลปพฤกษ อกนิฏฐาพรหม
มีอายุขัย ๑๖,๐๐๐ มหากัลป อกนิฏฐากูมิ เปนภูมทิ ี่สูงสุดในสุทธาวาสภูมิ เปนพรหมที่มีคุณธรรม
สูงสุด เปนผูที่มีปญาอินทรียแกกลากวาอินทรียอื่น เมื่อบรรลุเปนพระอรหันตแลว ก็จะนิพพาน
ในภูมินี้ สวนพรหมเบื้องต่ําทั้ง ๔ คือ อวิหาพรหม อตัปปาพรหม สุทัสสาพรหม และสุทัสสี
พรหม เมื่อยังไมไดบรรลุเปนพระอรหันต สิ้นอายุขัยลงแลว จะตองไปบังเกิดในสุทธาวาสภูมิ
เบื้องบนขึ้นไป
พระเจดียผาขาว ( ทุสสะเจดีย )
พระเจดียผาขาว เปนเจดียที่บรรจุพระภูษาคฤหัสถของพระโพธิสัตว ในขณะที่ทรงออก
ผนวช ขณะนั้นฆฏิการพรหมในชั้นอกนิฏฐพรหมไดนําบริขาร ๘ มาถวายพระโพธิสัตว และประคอง
ผาขาวทรงของพระองคมาถึงนิฏฐสุทธาวาสพรหม แลวเนรมิตพระเจดียขาวขึ้นมา เพื่อประดิษฐาน
ผาขาวเครื่องทรงของพระโพธิสัตว พระเจดียผาขาว เปนเจดียแกวที่มีรศั มีงามสุกใส สูง ๙๖,๐๐๐ วา
นับเปนเทวสถานที่สําคัญทางพุทธศาสนาที่พรหมสักการะบูชาอยางไมขาดสาย
๑๕๙

อรูปาวจรภูมิ ๔
ผูที่เห็นโทษของการมีรางกายวาเปนทุกข เชน ทุกขจาก โรคภัยไขเจ็บ จึงเพียรเจริญสมถ
ภาวนาจนไดปญจมรูปฌาณ แตก็ไมปรารถนาที่จะมีรูปรางกาย จึงบําเพ็ญสมถภาวนาตอจนได
อรูปฌาณ เมื่อสิ้นชีวิตลง ดวยกําลังของ อรูปฌาณ สมาธิ จิตก็จะไปปฏิสนธิใน อรูปพรหม ๔
ตามความละเอียดของจิตและกําลัง อรูปพรหม ๔ เปนภูมิที่มีแตอากาศอันวางเปลา เปนที่พํานัก
ของพรหมทีไ่ มมีรูปกาย มีแตนามขันธ ๔ ที่เกิด ดับติดตอกันโดยไมมีระหวางกั้น ตั้งแตปฏิสนธิ
เปนตนไป
อากาสานัญจายตนภูมิ : กอนที่ผูไดปฐมอรูปฌาณจะสิ้นใจ ไดกําหนดจิตเขาไป
อยูในปฐมอรูปฌาณ โดยกําหนดเอาอากาศที่อยูในปฏิภาคนิมิตมาเปนอารมณ โดยภาวนาวา
“ อากาศมีไมสิ้นสุด ” ดวยอํานาจของปฐมอรูปฌาณ จะนําผูนนั้ ไปสูอากาสานัญจายตนภูมิ
มีอายุขัย ๒๐,๐๐๐ มหากัลป
วิญญานัญจายตนภูมิ : กอนที่ผูไดทุติยอรูปฌาณจะสิ้นใจ ไดกําหนดจิตเขาไป
อยูในทุติยอรูปฌาณ ดวยการพิจารณา “ จิตที่เขาไปรูอากาศไมมีที่สิ้นสุด ในอากาสานัญจาย
ตนฌาณ ” ดวยอํานาจของทุติยอรูปฌาณจะนําผูนั้นไปสูวิญญานัญจายตนภูมิ ซึ่งอยูสูงจาก
อากาสานัญจายตนภูมิ ๕,๕๐๘,๐๐๐ โยชน วิญญานัญจายตนพรหม มีอายุขัย ๔๐,๐๐๐ มหากัลป
อากิญจัญญายตนภูมิ : กอนที่ผูไดตติยอรูปฌาณจะสิ้นใจ ไดกําหนดจิตเขาไปใน
ตติยอรูปฌาณ ดวยการพิจารณา ความไมมีอะไร ดวยอํานาจของอรูปฌาณที่ ๒ จะนําผูนั้นไปสู
อากิญจัญญายตนภูมิ อยูส ูงขึ้นจากวิญญานัญจายตนภูมิ ๕,๕๐๘,๐๐๐โยชน อากิญจัญญายตนพรหม
มีอายุขัย ๖๐,๐๐๐มหากัลป เมื่อพระพุทธเจาตรัสรูแลว ดําริที่จะโปรดทานอาฬารดาบส แตเมื่อทรง
สองทิพยจักษุฌาณ ทรงประจักษวาทานจุติไปเสวยอากิญจัญญายตนภูมิ ตั้งแต ๗ วันกอนที่
พระโพธิสัตวจะทรงตรัสรู
เนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ : กอนที่ผูไดจตุตถอรูปฌาณจะสิ้นใจ ไดกําหนดจิต
เขาไปสูจตุตถอรูปฌาณ ดวยการพิจารณาสัญญาที่เขาไปรู ในบัญญัติอารมณวา มีก็ไมใช ไมมีก็ไมใช
ดวยอํานาจของจตุตถอรูปฌาณที่สูงสุด จะนําผูนั้นไปสูแนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ เนวสัญญานา
สัญญายตนภูมิ สูงจากอากิญจัญญายตนภูมิ ๕,๕๐๘,๐๐๐ โยชน มีอายุขัย ๘๔,๐๐๐ มหากัลป
๑๖๐

ตามที่ไดกลาวมาแลวขางตน
ถึงแมวาผูเขียน จะไมเคยไดไปทองดินแดนสวรรค
หรือ ชั้นพรหมโลก อาจจะเพราะบุญของขาพเจา
ยังไมถึง ที่จะไดไปสัมผัสกับสิ่งเหลานั้น แตขาพเจา
ก็เชื่อวา สวรรคหรือนรก มีจริง เพียงแตเราไดเคยไป
สัมผัสกับสิง่ เหลานั้นหรือไม เพราะวาขาพเจาเอง
ก็เคยไปแดนนรกมาแลว จากการที่เคยสมาธิ และเกิด
นิมิตหลังจากนั้น ตามที่จะไดกลาวตอไป
จากที่ขาพเจาเคยสมาธิ และบริกรรมพระคาถา จนจิตสงบไปอยูในระดับหนึ่ง
ตอมาขาพเจาก็นิมิตเห็นตัวเอง เหมือนอยูที่ใดซักที่หนึ่ง บรรยากาศที่นั้นดูมืดครึ้ม เหมือนถ้ํา
หรือใตดิน ซึ่งขาพเจาเองก็ไมแนใจ จากภาพที่ปรากฏในนิมิตนั้น มีผูคนมากมายเขาแถว
เปนตอนทั้งชายหญิง เพื่อรออะไรบางอยาง ซึ่งขาพเจาก็ไมแนใจ ขาพเจาก็อยูในแถวนั้นดวย
ก็ไมรูเหมือนกันวามาเขาแถวรออะไรเหมือนกัน ทุกคนก็คอยๆเดินตอๆกันไปจนถึงจุดหมาย
ปลายทาง สักพักขาพเจาก็เห็นภาพ เหมือนมีภูขาลูกใหญ ซึ่งทุกคนก็ตางมุงหนาไปในที่
แหงนั้น ขาพเจาก็ไมเขาใจวาทําไมทุกคนตองเดินไปที่แหงนั้น ขาพเจาก็เดินตามไปดวย
เชนกัน เมื่อถึงจุดหมายปลายทาง ก็ตางเห็นวาทุกคนพยายามปนปายภูเขานั้น เหมือนใหไต
ขึ้นไปเรื่อยๆ ทุกคนก็มีหนาที่ตองไตขึ้นไป ชวงที่ใหกาวแตละกาวมันก็ดูหางกันมาก
ดูนากลัว แตทุกคนก็ตองไตและปนปายขึ้นไป สุดทายก็มาถึงเวลาที่ขาพเจาตองปนปายบาง
ขาพเจามองไปขางหลัง ก็เห็นมีบุคคลอื่นๆ ตอจากขาพเจาที่ตองปนปายดวยเชนกัน
ขาพเจาก็ปนปายภูเขา ขึ้นไปทีละขั้น ทีละขั้น แตละขั้นก็คอยๆ หางกันมากขึ้นเรื่อยๆ
อันที่จริงขาพเจาก็ไมรูวาทําไมพวกเราตองมาปนปายภูเขาสูงนี้ แตเหมือนวาตองทําแบบนั้น
ขาพเจาก็ปนปายจนเกือบ จะถึงปลายสุดของยอดภูเขา มองไปขางลางก็ดูนากลัวมาก
แอบมองคนขางๆ ก็เห็นทุกคนก็ปนปาย ภูเขาเหมือนขาพเจาเชนกัน เพราะถึงปลายทาง
ของสุดยอดภูเขา ขาพเจารูสึกเหนื่อยลา และมิอาจกาวขาปนปายตอไปไดอีก เพราะวาชวง
ขาที่ใหขาพเจาปนปายนั้น รูสึกวามันสูงและหางเกินกวาที่ขาพเจาจะกาวตอไปได ขาพเจาก็
๑๖๑

ตัดสินใจอะไรจะเกิดก็เกิด สงสัยเราคงปนไดเทานี้ ขึ้นไปก็ไมได ลงก็ไมไดคงเสียชีวิตแลว


แนแท ดวยจิตที่กําลังคิดอยูนั้น อยูดีๆ ก็มีความรูสึกเหมือนมีใครซักคนหนึ่งอยูดานหลัง
ขาพเจา หิว้ รางกายของขาพเจาเหาะขามยอดภูเขา ขาพเจารูสึกเหมือนตัวเองเบาหวิว
และแอบมองไปดานหลัง รูสึกวาทานนั้นจะเปนชายรูปรางใหญ กํายํา ผิวสีคล้ํา และเห็น
เหมือนนุงผาโจงกระเบงสีแดง แตใสเสื้อหรือไมขาพเจาจําไมได เพราะเห็นไมไดทั้งหมด
ถูกทานหิ้วไว มีความรูสึกเหมือนตัวเราเบามากทานหิ้วไว เมื่อขามอีกฝงได ก็รูสึกดีใจ
แตก็มองเห็นทุกคนตาง ก็ตองปนปายอยูเชนเดิม ซักพักเห็นชายชราผูหนึ่ง กําลังปนปายถึง
ยอดเขาเหมือนขาพเจา ก็เริ่มไมไหวแลวเชนกัน ขาพเจาจึงคิดวา คงไมเปนไร ถาทานชาย
ผูนั้นมาชวยก็คงจะดี ซักพักขาพเจาก็เห็นทานชายที่นุงผาแดง หิ้วรางกายของชายชราผูนั้น
เหาะขามมาดวยเชนกัน ในใจขาพเจาคิดวาชายชราผูนั้นคงรอดและขามฝงมาไดแนนอน
อยางขาพเจา แตอยูดีๆ ขาพเจาก็เห็นรางกายของลุงชายชราผูนั้นหลนลงมา ขณะหิ้วรางกาย
ขามฝงยอดภูเขา ตกลงมาสูพื้น ขาพเจาก็ตกใจก็เหตุการณนั้น แลวมองบริเวณที่ลุงชายชรา
ผูนั้นตกลงไป ก็พบวารางกายของลุงชายชราผูนั้น ถูกเหล็กแหลมมากมายในพื้นดินทิ่มทะลุ
รางกายติดกับกับรางของคุณลุงผูนั้นโลหิตทวมรางกายของคุณลุงผูนั้น เปนภาพที่นากลัวมาก
ขาพเจาก็สะดุงออกจากพะวังในสมาธิ ดวยตอนนั้น ขาพเจาเอง ก็ไมรูวาสิ่งทีข่ าพเจาเห็น
หมายถึงอะไรกันแน จนกระทั่งขาพเจา ไดไปอานพบในหนังสือธรรมะเกี่ยวกับเรื่องของ
นรกอบายภูมิ วาสิ่งที่ขาพเจาเห็นนั้นเปนนรกภูมิ มหานรกขุมที่ ๗ มหาตาปปะนรก คือ
นรกที่บุคคล เชื่อวาธรรมเปนของไมดี ไมมีประโยชน แตกลับเห็นวาอธรรมเปนของดีมี
ประโยชน เรียกวา มิจฉาทิฏฐิบุคคล ซึ่งมีความผิด ๑๐ ประการ ดังที่ตัวผูเขียนเองก็มี
วิบากกรรมในเรื่องหนาที่การงาน ไมเปนที่รักแกหัวหนางาน หรือทําเรื่องใดๆ ก็มักจะ
ประสบกับปญหาอยูตลอดเวลา พยายามทําความดีกับผูใด ก็ไมเกิดประโยชน เขาไมชอบ
หนาอิจฉาริษยาดูถูกเหยียดหยาม ซึ่งเปนผลมาจากกรรมของเราที่ทําในอดีตชาติ จากการดู
ถูกหรือกลาวลวงเกิน พระรัตนตรัย หรือผูทรงศีล ดวยความรูเทาไมถึงการณเมื่อในอดีตชาติ
ที่ผานมาแลว ซึ่งผูเขียนเคยไดรับฟงจากบุคคลที่เปนผูทรงฌาณ เคยกลาวบอกกับขาพเจาไว
เรื่องที่ขาพเจาไดเห็นนี้ ก็เปนหนึ่งในนรกภูมิ หากขาพเจาสิ้นชีวิต ก็ตองพบกับนรภูมิ
มหานรกขุมที่ ๗ เพราะเรื่องที่เราทําผิดพลาดในเรื่องของธรรม ไมใชเรื่องของธรรม
๑๖๒

เรื่องของพระรัตนตรัย ที่ขาพเจาอาจจะเคยกลาวลวงเกินไวแลวในอดีต อาจจะเปนสวนหนึ่ง


ที่พระพุทธองค ตองการใหขาพเจาไดเห็นกับประจักษตาตัวเอง ในผลของกรรม
และการกระทํานั้น ของเราที่ทําไว แลวเราตองมาชดใชในที่แหงนี้ หากเราหมดบุญ
หรือทําผิดก็ตองชดใชกรรม ขาพเจาจึงเชื่อวานรก และสวรรคมีจริงดังที่ขาพเจาพบอยู
กรรมเปนเรื่องของการกระทํา ทําอยางไรก็ตองชดใชอยางนั้น มีอาจแกกรรมได
ไมมีอะไรใหญเกินกรรม แตสามารถสรางบุญกุศลและสรางบารมี เพื่อลดแรงกรรม
หรือเลื่อนกรรมใหเบาบางลงไดเทานั้น แตไมสามารถแกกรรมไดทั้งหมด เพราะฉะนั้น
ถาไมอยากมีกรรมที่ไมดี ติดตัวเราไปทุกภพทุกชาติ ก็ควรหมั่นสรางความดี คิดดี ทําดี
ละเวนความชั่ว ทุกสิ่งทุกอยางทั้งกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม และสรางบุญกุศล
ทั้งทานบารมี รักษาศีล ปฏิบัติธรรมเจริญสมาธิ ใหจดิ ผองใส บริสุทธิ์
ถวายแดพระรัตนตรัยและองคพระสัมมาสัมพุทธเจา เพื่อใหหลุดพนจากความทุกขทั้งปวง
เขาสูแดนพระนิพพาน ตามคําสอนของพระพุทธองค ซึ่งผูเขียนจะขอกลาวตอไปในเรื่อง
ของอบายภูมิตามที่จะขอกลาวดังนี้

อบายภูมิ : ทุคติภูมิ หมายถึง ภูมิอันเปนที่อยูแหงสัตว จําพวกที่ทํากุศลไดยาก


มี ๔ ภูมิ คือ
๑. นิรยภูมิ เปนภูมิของสัตวนรก
๒. เปตติภูมิ เปนภูมิของเปรต
๓. อสุรกายภูมิ เปนภูมิของอสุรกาย
๔. ดิรัจฉานภูมิ เปนภูมิของสัตวเดียรัจฉาน
ภูมิของสัตวนรก - นริยภูมิ : ภูมิของสัตวนรก หมายถึง ที่อยูของสัตวที่ตองถูกทรมาน
จนหาความสุขไมได แบงแยกเปน ๒ ภูมิ คือ
๑. มหานรก ไดแก นรกขุมใหญ ๘ ขุม
๒. อุสสทนรก ไดแก นรกขุมยอมจากมหานรก เรียกวา จุฬนรก
๑๖๓

มหานรกมีประตูอยู ๔ ทิศ แตละทิศมีอุสสทนรก ๔ ขุมยอม มหานรกขุมหนึ่งๆ จะมี


๑๖ ขุมยอย มหานรก ๘ ขุมใหญ จึงมี อุสสทนรก หรือจุฬนรก อันเปนนรกขุมยอย
ทั้งสิ้น ๑๒๘ ขุมยอย
การพิจารณาโทษของทานพญายม
ในมหานรก พระยายมราช เปนผูทรง
ธรรมยิ่ง มีเครื่องประดับเปนสีทอง มีแกวมณี
เปนเครื่องประดับทั้งเสื้อและผานุง หนาตา
อิ่มเอิบสวยงาม ผิวเนื้อละเอียดคอนขางเหลือง
ทรงพรหมวิหารสี่ มีอารมณดียิ้มแยมแจมใสอยู
ตลอดเวลา ทานพิจารณาความดวย ความสัจ
ซื่อยุติธรรม โดยผูตายยอม จะตองไปพบกับ
พระยายมราชกอน เพื่อใหทานพิจารณาบาป
บุญคุณโทษที่ผูตายไดกระทําไวกอนตาย

โดยบุญที่ผูตายไดทําขณะที่เปนมนุษย เทวดาจะบันทึกอยูในแผนทองคําสุก เมื่อพระยายมราช


ทานไดพิจารณาแลว พญายมก็จะชี้ใหผูตายนั้นขึ้นไปบนสวรรค อันมีวมิ านเปนทองคํา ที่ประดับดวย
แกว ๗ ประการ และมีนางฟาเปนบริวารแลมีบริโภคเปนทิพย แตหากผูตายไดทําบาปกรรม อันใดไว
เทวดาก็จะตราบัญชี รายชื่อผูนั้นลงใน แผนหนังสุนัข เมื่อทานพระยายมราชพิจารณาเห็นแลว
ก็จะไตถามผูเสียชีวิตถึงความผิดเหลานั้น ถาผูเสียชีวิตไมปฏิเสธ ก็จะใหยมบาลนําผูนั้น ลงไปชดใช
กรรมเสวยทุกขอยูในนรกตามความหนักเบา ของบาปกรรมที่ผูเสียชีวิตนั้นไดกระทําไวกอนตาย
ผูเสียชีวิตที่ไดกระทําทั้งบุญและบาป พระยายมราชก็จะพิจารณาทั้งบุญและบาปพรอมกันไป
โดยหากวาบุญมีน้ําหนักมากกวาฝายบาป ผูเสียชีวิตนั้นก็จะไดไปเสวยบุญในสวรรคกอน เมือ่ หมดบุญ
แลวก็จะตองลงมารับโทษในนรกตอไป แตหากวาฝายบาปมีน้ําหนักมากกวา ผูเสียชีวิตนั้นยอมตองไป
ชดใชกรรมในนรกกอน จึงจะไดไปเสวยผลบุญบนสวรรคในโอกาสตอไป
สวนผูที่กระทําบุญและบาปเสมอกัน พระยายมราชและเทพยดาถือตามบัญชีนั้น ใหผูเสียชีวิต
เปนยมราชเปนยมบาลอยู ๑๕ วัน มีสมบัติทิพยดุจเทวดา และตกนรกอีก ๑๕ วัน จนสิ้นแหงบาปกรรม
๑๖๔

มหานรก กรรมที่นําไปสูมหานรก เศษของกรรม


สัญชีวะนรก ทํารายรังแกผูที่ต่ําตอยกวาหรือฆาผูอื่น อายุสั้น
กาฬสุตตะนรก ฆานักบวช ภิกษุ สามเณร ดาบส ผูทุศีล อายุสั้น
สังฆาตะนรก ทรมานสัตวที่ตนกําลังใชประโยชน ทุกขทรมานกอนตาย
ขาราชบริพารที่รับสินบนเพื่อตัดสินลงโทษ ดวยโรคภัยไขเจ็บตางๆ
ผูบริสุทธิ์ เชน อัมพฤกษ อัมพาต
จุฬโรวะนรก ผูจุดไฟเผาปาเพื่อจับสัตวปา ชาวประมง ทรมานกอนตายดวย
ที่ใชไฟฟา ใชยาพิษ เพื่อจับปลาหรือ โรคภัยไขเจ็บตางๆ
บุคคลที่ขังสัตวไวฆา หรือบุคคลที่เสพ เชน โรคภูมแิ พ โรคมะเร็ง
สุราจนเมาทํารายผูอื่น
มหาโรรุวะนรก ผูลักทรัพยสมบัติของบิดา มารดา จะตองถูกลักขโมยทรัพยสิน
ครูอาจารย ภิกษุ สามเณร จนทานไดรับ เงินทองอยูเปนนิจ ถึงแม
ความลําบาก ประกอบกิจการคาจนรุงเรือง
ก็มีเหตุใหหมดตัว
ตาปนะนรก บุคคลที่เผาบานเรือน กุฏิ โบสถ มีเหตุใหถูกผูอ ื่น หรือภัย
วิหาร ศาลาการเปรียญ ธรรมชาติเผาบานเรือนของตน
มหาตาปนะนรก มิจฉาทิฏฐิบคุ คล โงเขลา เบาปญญา
อเวจีมหานรก ผูทําปญจานันตริยกรรม อายุสั้น ถูกใหราย ปายสี
ถูกนินทาวาราย ถูกพูดจา
สอเสียดใหตองเจ็บใจ
อยูเปนนิจ
๑๖๕

มหานรก
มหานรกขุมที่ ๑ ( สัญชีวะนรก )
บุคคลที่เกิดเปนสัตวนรกชดใชกรรมในมหานรกขุมนี้ ไดแก
๑. บุคคลที่เบียดเบียนผูที่ต่ําตอยกวา บุคคลที่มีกําลังอํานาจมากกวา ชอบเบียดเบียน
ทํารายรังแกผูที่ต่ําตอยกวา หรือผูที่ไมมีทางที่จะตอสู หรือพวกที่ไมคิดที่จะตอสู
ดวยความไมเปนธรรม
๒. บุคคลผูที่เปนโจรปลน และทําลายบานเรือนทรัพยสินผูอื่น หรือบุคคลผูฆ าผูอื่น

การรับกรรมของสัตวนรก
สัตวนรกจะตองถูกนายนิรยบาล
ประหารดวย ดาบ มีด พรา หอก หลาน
แหลน แมจะถูกฟนจนเสียชีวิตแลว ก็ตอง
กลับฟน ขึ้นมาอีกและตองถูกฟนใหเสียชีวิต
ลงไปอีก เปนเชนนี้ อยูต ลอดเวลา
เพราะบาปกรรมเกาเลี้ยงไวใหตองมีชวี ิตอยู
เพื่อเสวยทุกขตอไปจนกวาจะสิ้นกรรม
นรกสัญชีวะอยูเหนือที่สุด และอเวจีมหานรกอยูใ ตที่สุดของมหานรกทั้งหลาย อายุขัยของ
สัตวสัญชีวะนรก ๕๐๐ ปนรก เทากับ ๑,๖๒๐,๐๐๐ ลานปมนุษย ( ๑ วัน ในสัญชีวะนรก เทากับ
๙ ลานปมนุษย ) สัตวนรกที่ชดใชกรรมจากการฆาผูอื่นในสัญชีวะนรกนี้ จนสาสมแกกรรมนั้นแลว
ถาไดมีโอกาสเกิดมาเปนมนุษยดวย เหตุปจจัยเพราะบุญเกาที่เคยทําไวมีโอกาสสงผล แตเนื่องจาก
มีเศษของกรรมจากการฆาผูอื่นยังคงตามสงอยู จะทําใหเปนบุคคลอายุสั้น

มหานรกขุมที่ ๒ ( กาฬสุตตะนรก )
ผูที่เกิดเปนสัตวนรก เพื่อชดใชกรรมในมหานรกขุมนี้ ไดแก บุคคลที่เบียดเบียนหรือฆา
นักบวช ภิกษุ สามเณร ดาบส ผูทุศลี หรือเพชฌฆาตที่ทําหนาประหารบุคคล ภิกษุ สามเณร
ผูทุศีล
๑๖๖

การรับกรรมของสัตวนรก
กาฬสุตตะนรกมีกําแพงทั้ง ๔ ดาน
เปนเหล็ก พืน้ ทั้งหมดก็เปนเหล็กที่ถูกไฟเผา
จนแดงโชนอยูตลอดเวลา สัตวนรกนั้น
จะตองถูกยมบาลจับใหนอนลงไปกับพื้นที้
รอนจนแดงฉาน จากนัน้ ยมบาลจะนําเชือก
เสนดําที่ทําดวยเหล็กที่ถูกไฟเผาจนโชน โดย
ยมบาลทานหนึ่งจับทางหัวเชือก
อีกทานหนึ่งจับทางหางเชือกตีทาบลงบนตัวของสัตวนรก ตามความยาวบาง ตามขวางบาง
เพื่อใหเกิดเปนรอยสําหรับตัดดวยขวาน จอบ มีด เลื่อยจนขาด แมสัตวนรกนั้น จะถูกตีและตัด
ใหเสียชีวิตแลว ก็ตองกลับฟนขึ้นมาอีก และตองถูกตีถูกตัดใหเสียชีวิตลงอีก เปนเชนนีอ้ ยูตลอด
เวลาจนกวาจะสิ้นกรรม อายุขัยของสัตวนรกขุมนี้ เทากับ ๑,๐๐๐ ปนรก เทากับ ๑๒,๙๖๐,๐๐๐
ลานปมนุษย ( ๑ วัน ในกาฬสุตตะนรก เทากับ ๓๖ ลานปมนุษย )

มหานรกขุมที่ ๓ ( สังฆาตะนรก )
บุคคลที่เกิดมาเปนสัตวนรก เพื่อชดใชกรรมที่มหานรกขุมนี้ ไดแก บุคคลที่ทรมานสัตว
เชน ชาง มา วัว ควาย ฯลฯ หรือ บุคคลที่เบียดเบียนรังแกสัตวที่ตนกําลังใชประโยชน โดยไมมี
ความเมตตาสงสารสัตว หรือ พวกนายพรานลาสัตว หรือ บุคคลผูฆาสัตวเหลานั้น รวมถึงขาราช
บริพารที่มีหนาที่ตัดสินตามตัวบทกฏหมาย แตกลับรับสินบนเพื่อตัดสินลงโทษผูบริสุทธิ์
การรับกรรมของสัตวนรก
สังฆาตะนรกนี้ นอกจากจะมีกําแพงทั้ง 4 ดานเปนเหล็ก พื้นทั้งหมดก็เปนเหล็กที่ถูกไฟเผา
จนแดงโชนอยูตลอดเวลา แลวยังมีภเู ขาเหล็กที่รอ นจนโชนแดงกลิ้งไปกลิ้งมา โดยยมบาลเอาหอก
ดาบแทงสัตวนรก จนรางกายขาดวิ่น มีเลือดและน้ําหนองไหลยอยดุจดังวัว ควาย ชาง มา ที่ถูก
ทรมาน โดยที่รางของสัตวนรกยังจะตองถูกภูเขาเหล็กที่สูงใหญอันมีเปลวไฟลุกโพลง กลิ้งเขาหา
กันบดขยี้ทับอยางแรง ดังเขาหีบออยจนรางแหลกละเอียดเปนจุณไป แตสัตวนรกนั้นก็กลับฟนคืน
ชีพขึ้นมาใหม วิ่งหนีภูเขาเหล็กนั้นพื้นเหล็กที่รอนนั้น วิ่งไปเจอยมบาลตีดวยคอนอันใหญบาง
หอกบาง แลวก็ถูกภูเขาเหล็กกลิ้งเขามาบดทับจากทั้งสองดาน จนรางกายแหลกละเอียดเปนจุณไปอีก
๑๖๗

อายุขัยสัตวนรกขุมนี้ คือ ๒,๐๐๐ ปนรก เทากับ ๑๐๓,๖๘๐,๐๐๐ ลานปมนุษย ( ๑ วัน สังฆาตะ


นรก เทากับ ๑๔๕ ลานปมนุษย )

มหานรกขุมที่ ๔ ( จุฬโรรุวะนรก )
บุคคลที่ตองเกิดเปนสัตวนรก เพื่อเสวยทุกขในมหานรกขุมนี้ ไดแก บุคคลที่จุดไฟเผาปา
เพื่อจับสัตวที่อาศัยอยูในปานั้น หรือ ชาวประมงที่ลากชักอวน ใชไฟฟา ใชยาพิษเพื่อจับปลา หรือ
บุคคลที่ขังสัตวไวฆา หรือ บุคคลที่เสพสุราจนเมาแลว ทํารายผูอื่น
การรับกรรมของสัตวนรก
จุฬโรรุวะนรกมีกําแพงเหล็กทั้ง ๔ ดาน
พื้นทั้งหมดเปนเหล็กที่ถูกไฟเผาจนแดงโชน
บริเวณตรงกลางของนรกมีดอกบัวเหล็กที่ใหญมาก
มีไฟเผาจนรอนโชน สัตวนรกนั้นจะตองถูกยมบาล
ไลแทงใหขึ้นไปนั่งบนดอกบัว เอาขาหยอนลงไปใน
ระหวางหลีบ หัวจุมลงไปในโคนของกลีบดอกบัว
กลีบดอกบัวที่รอนโชนก็งับหัวสัตวนรก ดวยความ
ทุกขทรมานทําใหตองรองไหออกมาดวย เสียงอัน
ดังอยูตลอดแตเสียงไมอาจลอดออกมาได เพราะหัว
ถูกกลีบดอกบัวงับเอาไว
อายุขัยสัตวนรกขุมนี้ คือ ๔,๐๐๐ ปนรก เทากับ ๘๒๙,๔๔๐,๐๐๐ ลานปมนุษย ( ๑ วัน
จุฬโรรุวะนรก เทากับ ๕๗๖ ลานปมนุษย

มหานรกขุมที่ ๕ ( มหาโรรุวะนรก )
บุคคลที่ตองเกิดเปนสัตวนรก เพื่อเสวยทุกขในมหานรกขุมนี้ ไดแก บุคคลที่ลักทรัพยสมบัติ
ของบิดา มารดา ครูบาอาจารย ภิกษุ สามเณร ดาบส แมชี จนทานไดรับความลําบาก หรือบุคคล
ที่ลักเครื่องสักการะบูชา เชน พระพุทธรูป รวมถึงพวกกกรรมการวัด บางคนที่ชอบลักเงินทําบุญ
ของวัด ประเภทที่วา วัดครึ่งหนึ่ง กรรมการครึง่ หนึ่ง
๑๖๘

การรับกรรมของสัตวนรก
มหาโรรุวะนรก มีกําแพงเหล็กทั้ง ๔ ดาน พื้นที่เปนเหล็กที่ถูกไฟเผาจนแดงโชน บริเวณกลาง
ของนรกมีดอกบัวเหล็กที่ใหญมาก มีไฟเผาจนรอนโชน บริเวณรอบๆ ดอกบัวมีแหลนหลาว ปกเอา
ปลายขึ้น สัตวนรกตองถูกยมบาลไลแทงใหขึ้นไปนั่งบนดอกบัว เอาขาหยอนลงไปในระหวางหลีบ
หัวจุมลงไปในโคนของกลีบดอกบัว กลีบดอกบัวที่คมเปนกรดรอนโชนก็งับหัวสัตวนรก สัตวนรก
พยายามดิ้นใหหลุด ก็ยิ่งถูกกลีบดอกบาดจนรางหลนลงมายังพื้น ปกเขากับแหลนหลาวเหล็กเบื้องลาง
สุนัขนรกที่ยมบาลเลี้ยงไว ก็กัดแทะกินจนเหลือแตกระดูก รางสัตวนรกก็ฟนชีพขึ้นมาอีกดวยแรง
กรรม ยมบาลก็เอาหอกไลแทงใหขึ้นไปอยูบนดอกบัวอีก ดวยความทุกขทรมานทําใหสตั วนรกตอง
รองไหออกมาดวยเสียงอันดังอยูตลอดเวลา
อายุขัยสัตวนรกนี้ เทากับ ๘,๐๐๐ ปนรก หรือ ๖,๖๓๕,๕๒๐,๐๐๐ ปมนุษย ( ๑ วัน ๑ คืน ในมหา
โรรุวะนรก เทากับ ๒,๓๐๕ ลานปมนุษย )

มหานรกขุมที่ ๖ ( ตาปนะนรก )
บุคคลที่ตองไปเกิดเปนสัตวนรก เพื่อเสวยทุกขในมหานรกขุมนี้ ไดแก บุคคลที่เผาบานเรือน
กุฏิ โบสถ วิหาร ศาลาการเปรียญ

การรับกรรมของสัตวนรก
สัตวนรก จะถูกยมบาลเสียบตรึงไวดวยหลาวเหล็กอันรอนแดง แลวตั้งรางนั้นขึ้นไว ดวยเปลว
ไฟที่รอนแรงทําใหเนื้องหนังของสัตวนรก หลุดหลนลงมา สุนัขนรกตัวใหญโตมาก ก็กระโดดเขามา
กัดกินเนื้อเหลานั้น จนในที่สุดสัตวนรกทนทรมานอยูบนหลาวไมไหว ก็หลนลงมายังพื้นเหล็กรอน
เบื้องลาง สุนัขนรกก็วิ่งเขามากัดกินรางสัตวนรกนั้น จนเขาถึงกระดูก จนสัตวนรกนั้นเหลือแตกระดูก
แตสัตวนรกที่เหลือแตกระดูกนั้น ก็ฟน คืนชีพกลับมามีเนื้อมีหนังอีก และถูกยมบาลนําหอกเสียบตั้ง
รางไวอีก จนกวาจะหมดกรรมที่ทําไว
อายุขัยสัตวนรกขุมนี้ คือ ๑๖,๐๐๐ ปนรก เทากับ ๕๓,๐๘๔,๑๖๐,๐๐๐ ลานปมนุษย
( ๑ วัน ในตาปะนรก เทากับ ๙,๒๑๖ ลานปมนุษย )
๑๖๙

มหานรกขุมที่ ๗ ( มหาตาปะนรก )
บุคคลที่ตองเกิดเปนสัตวนรก ในมหานรกขุมนี้ ไดแก มิจฉาทิฏฐิบุคคล ที่เชื่อวาธรรมเปนของ
ไมดี ไมมีประโยชน แตกลับเห็นวาอธรรมเปนสิ่งดีมีประโยชน
การรับกรรมของสัตวนรก
โดยที่สัตวนรกถูกไฟนรกเผาไหมอยูตลอด
เวลา ตองถูกยมบาลเอาหอกไลแทงใหไตขึ้นไปบน
ภูเขาที่กําลังรอนโชนแดง สัตวนรกทนความรอน
ไมได ก็ตกลงไปเสียบยังหลาวเหล็กรอนที่ยมบาล
ปกเอาคมหงายขึ้น แตดวยบาปกรรมหลอเลี้ยงไว
ทําใหสัตวนรกไมตาย ตองปนไตขึ้นไปบนภูเขาที่
กําลังรอนแดง แลวตกลงไปสูหลาวเหล็กที่ปกอยู
เบื้องลาง วนเวียนอยูเชนนี้ ตลอดไปจนหมด
กรรม อายุขยั ของสัตวนรกขุมนี้เปนเวลา เทากับ
ครึ่งอันตรกัปของมนุษย
มิจฉาทิฏฐิ ความเห็นผิด ๑๐ ประการ ที่นําสูม หาตาปะนรก
๑. บุญที่ทําแลว ไมมีผล
๒. การบูชาพระรัตนตรัย ไมมีผล
๓. การตอนรับเชื้อเชิญ ไมมีผล
๔. ผลของกรรมดีกรรมชั่ว ไมมีผล
๕. คุณของมารดา ไมมี
๖. คุณของบิดา ไมมี
๗. ชาตินี้ ไมมี
๘. ชาติหนา ไมมี
๙. โอปาติกสัตว ไดแก เทวดา พรหม เปรต อสุรกาย และสัตวนรก ไมมี
๑๐. สมณพราหมณผูปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ จนประจักษแจงสัจธรรมดวยตัวเอง
และประกาศใหผูอื่นรูได ไมมี
๑๗๐

เหตุที่มิจฉาทิฏฐิเปนกรรมหนัก เพราะการเชื่อวาธรรมเปนของไมดี แตเห็นวาอธรรม


เปนสิ่งที่ดี จะทําใหผูนั้นไมเกรงกลัวตอบาปกรรมใดๆ จนสามารถที่จะทํากรรมใดๆ
โดยไมมีความผิดชอบชั่วดี

มหานรกขุมที่ ๘ ( อเวจีมหานรก )
ผูที่เกิดเปนสัตวนรก เพื่อเสวยทุกขในมหานรกขุมนี้ ไดแก ผูท ี่กระทําปญจานันตริยกรรม
ฆาบิดา มารดา ฆาพระอรหันต ทํารายพระพุทธเจาใหหอพระโลหิต ทําสังฆเภท ( ยุยงสงฆให
แตกแยกกัน ) และผูที่ทําลายเจดีย พระพุทธรูป ตนโพธิ์ที่พระพุทธเจาตรัสรู โดยคิดประทุษราย
และผูติเตียนพระอริยสงฆ

การรับกรรมของสัตวนรก
อเวจีมหานรกนี้ มีกําแพงเหล็กรอนโชน
ทั้ง ๖ ดาน คือ ดานขางทั้ง ๔ และดานบนและ
ดานลางอีก ๒ ดาน โดยที่สัตวนรก ถูกยมบาลตรึง
ไวดวยหลาวเหล็กรอนโชนแดง โดยถูกปลายหอกที่
ฝงอยูกําแพงดานบน เสียบตั้งแตหัวทะลุกนไปปก
ยังกําแพงดานลาง ดานหนาก็ถูกหอกที่ฝงอยูตรง
กําแพงดานหนา เสียบทะลุอกปลายหอกไปปกยัง
กําแพงดานหลัง ดานขางก็เชนเดียวกัน ทั้งมือ
ทั้งเทา ทั้งตัว ถูกเสียบดวยหอกหลายสิบเลม

จนรางกายของสัตวนรกดิ้นไมได และยังถูกไฟนรกเผาไหมอยูตลอดเวลา แมกระทั่งกระดูก


ยังถูกเผาจนแดงฉาน แตสัตวนรกก็ไมสิ้นชีวิต ตองทนทุกขทรมานจนกวาจะสิ้นกรรม เปนขุมนรก
ที่สัตวนรกถูกทรมานมากที่สุด อายุขัยของสัตวนรกขุมนี้เทากับหนึ่งอันตรกัป
พระเทวทัตก็กําลังทุกขทรมานอยูในอเวจีมหานรกในขณะนี้ เพราะโทษของการทําสังฆเภท
และทําพระพุทธเจาใหหอ พระโลหิต
๑๗๑

นรกขุมยอย ( อุสสทะนรก )
เมื่อสัตวนรก ไดเสวยทุกขอยูในมหานรกตามควรแกกรรมแลว ก็ยังไมพน จากนรก ตองมา
เสวยทุกขในอุสสทะนรก อันเปนนรกขุมยอย หรือนรกขุมบริวารของนรกขุมใหญตอไปอีก
จนกวาจะหมดกรรม

นรกขุมยอย กรรมที่นํามาสูนรกขุมยอย เศษกรรม


คูถะนรก เสวยกรรมตอจากอเวจีมหานรก เกิดเปนเปรต
และบุคคลที่ฉอราษฎรบงั หลวง อสุรกาย
สัตวเดียรัจฉาน
กุกกุลนิรยนรก เสวยกรรมตอจากคูถะนรก เกิดเปนเปรต
อสุรกาย
สัตวเดียรัจฉาน
สิมพลิวะนรก เสวยกรรมตอจากกุกกุลนิรยนรก เกิดเปนเปรต
รวมถึงชายหญิงที่คบชูกัน อสุรกาย
สัตวเดียรัจฉาน
เวรตรณีนรก เสวยกรรมตอจากสิมพลิวะนรก เกิดเปนเปรต
รวมถึงหญิงที่ชอบทําลายลูกใน อสุรกาย
ครรภของตน สัตวเดียรัจฉาน

มหานรกแตละขุมมีประตูอยู ๔ ทิศ
แตละทิศมีอุสสทนรก ๔ ขุมยอย
มหานรกขุมหนึ่ง จึงมี ๑๖ ขุมยอย
มหานรก ๘ ขุมใหญ จึงมี อุสสทนรก
หรือจุฬนรก อันเปนนรกขุมยอย
ทั้งสิ้น ๑๒๘ ขุมยอย
๑๗๒

นรกขุมยอยที่ ๑ ( คูถะนรก )
สัตวนรกทั้งหลาย ที่ยังมีอกุศลกรรมเหลืออยู ถึงแมจะพนจากอเวจีมหานรกแลว ก็ยังไมหลุด
พน ตองเสวยทุกขตอไป คือ ตองถูกเบียดเบียนใหอยูในนรกอุจจาระเนาที่อยูติดกับอเวจีมหานรก
รวมถึงบุคคล ที่ฉอราษฎรบังหลวง โกงกินทรัพยสมบัติของประเทศชาติบานเมือง เมื่อเขาเสียชีวิต
ไปแลวยอมจะตองเสวยทุกขชดใชบาปกรรมที่ไดทําไวในนรกอุจจาระเนา อันเปนนรกขุมบริวาร
ของอเวจีมหานรก
การรับกรรมของสัตวนรก
สัตวนรกขุมนี้ อาศัยอยูในแมน้ําใหญ ที่เต็มไปดวยอุจจาระ เหล็กเนาเหม็นเหมือนถานเพลิง
แมจะอยูไกลถึง ๑๐๐ โยชน ก็ยังเหม็น สัตวนรกตองกินอุจจาระเหล็กรอนเนาเหม็นตางขาวตางน้ํา
หนอนนรกปากเหล็กตัวใหญมากที่อยูในอุจจาระเนา เมื่อเห็นสัตวนรกก็พากันกัดกิน หนอนตัวที่ใหญ
กวาก็เขารัดรางสัตวนรกไว แลวก็กัดเขาไปกัดกินเนื้อหนังอยูดานนอก หนอนตัวเล็กก็จะเจาะเขาทาง
รูจมูกบาง รูหูบาง เขาไปกัดกินดานใน กัดกินลําไส มาม ตับ ปอด ไต หัวใจ จนหมดสิ้นอวัยวะ
ภายใน สัตวนรกทั้งรอน ทั้งเหม็น ทัง้ เจ็บปวดทรมานทุกชิ้นสวน แลวปรากฏเปนรางใหมขึ้น
ดังเดิมอีก ตองทนทุกขทรมานอยูอยางนี้จนกวาจะหมดสิ้นกรรมที่เขาไดกระทําไว

นรกขุมยอยที่ ๒ ( กุกกุลนิรยนรก )
สัตวทั้งหลาย ที่ยังมีอกุศลกรรมเหลือยู แมจะพนจากนรกอุจจาระเนาแลว ก็ยังไมหลุดพน
จากนรก ยังตองเสวยทุกขตอไป คือ ตองถูกเบียดเบียนใหอยูใ นนรกขี้เถารอน ซึ่งอยูตดิ ตอกับนรก
อุจจาระเนานั่นเอง
การรับกรรมของสัตวนรก
สัตวนรกขุมนี้ ตองถูกขี้เถารอน ที่เปนเถาเสนใยเหล็กแดงที่ถูกเผาไฟแดงโชนจน รอนจัด
เขารัดรึงหุมรางเอาไวอยูตลอดเวลา สัตวนรกตองทนทุกขทรมานอยูเชนนั้น จนกวาจะสมควร
แกกรรม
นรกขุมยอยที่ ๓ ( สิมพลิวะนรก )
สัตวนรกทั้งหลาย ที่ยังมีอกุศลกรรมเหลืออยู ถึงแมจะพนจากนรกขี้เถารอนแลว ก็ยังไม
หลุดพน ตองเสวยทุกขตอไปในนรกปาไมงิ้ว ซึ่งอยูติดกับนรกขี้เถารอนนั่นเอง และชายหรือหญิง
ที่คบชูกับสามีหรือภรรยาของผูอื่น เมื่อเสียชีวิตไปแลวยอมเสวยทุกขในนรกปาไมงิ้วเชนกัน
๑๗๓

การรับกรรมของสัตวนรก
ในปางิ้วนี้ มีตนงิ้วขึ้นอยูมากมาย ตนงิ้ว
สูงเปนโยชน และหนามบนตนงิ้วนั้นก็เปนเหล็ก
แดงรอนเปนเปลวไฟสุก หนามงิ้วนั้น ยาว ๑๖
องคุลีนรก มีความเปนกรด และมีลักษณะเปน
สปริง คือ เมื่อสัตวนรกปนขึ้นไปแลวก็จะสปริง
ดีดหนามออกมา ที่โคนตนงิ้ว ยมบาลจะเอา
หอกดาบหลาวแหลน อันคมไลแทงเหลาสัตว
นรกเพศชาย ใหปนตนงิว้ ขึ้นไปยังปลายตนงิ้ว
ที่มีสัตวนรกเพศหญิงที่เปนชูกันรออยู

ไดรับความทุกขทรมานอยางสาหัส เมื่อเหลาสัตวนรกเพศชายปนใกลจะถึงปลายตนงิ้ว
สัตวนรกเพศหญิงก็ถูกยมบาลเอาหอกไลแทงใหตอง ปนลงมาที่โคนตนงิ้ว สลับไปมาอยูเชนนี้
โดยที่สัตวนรกหญิงชายมิไดมีโอกาสพบกัน

นรกขุมยอยที่ ๔ ( เวตตรณีนรก )
สัตวนรกทั้งหลาย ที่ยังมีอกุศลกรรมเหลืออยู ถึงแมจะพนจากนรกปางิ้วแลว ก็ยังไมหลุดพน
ยังตองเสวยทุกขตอไป ในนรกที่เต็มไปดวยน้ําเค็มที่มีหนามหวาย ซึ่งอยูต ิดกับนรกปาไมงิ้วนั่นเอง
และหญิงที่ชอบทําลายลูกในครรภของตน เมื่อตายแลวยอมไปเสวยทุกขในนรกที่เต็มไปดวยน้ําเค็ม
ทีมีหนามหวาย
การรับกรรมของสัตวนรก
สัตวนรกถูกยมบาลใชหอกดาบหลาวไลแทง ใหกระโดดหนีลงไปในแมน้ําใหญที่เต็มไปดวย
น้ําเค็มที่มีหนามหวายเหล็กที่ใหญเทาจอบเสียมและรอนจนแดงโชนลุกเปนไฟไหมตัวสัตวนรก
และตัวสัตวนรกก็ขาดหอย เมื่อขวากเหล็กนั้นเสียบเขารางสัตวนรกดั่งเสียบปลา ใตขวากเหล็กในน้ํา
เค็มนั้นยังมีใบบัวหลวงเหล็กแดงรอนเปนเปลวไฟดังคมมีด สัตวนรกบางตนตกลงไปรางยอมขาดวิ่น
บัดเดี๋ยวน้ํานั้นก็กลายเปนไฟกรดเผาไหมรางนั้น สัตวนรกบางตนก็ดําน้ําหนีลงไปใตน้ํา โดยคิดวาจะ
พบน้ําเย็น ก็ถูกคมมีดหงายที่อยูใตน้ํารางกายขาดวิ่นทุกสวน รองไหลั่นจนขาดใจเสียชีวิต แตดวยแรง
บาปกรรมที่เหลาเลี้ยงไว สัตวนรกก็ฟนขึ้นมาใชกรรมตอไปจนกวาจะหมดสิ้นกรรม
๑๗๔

ยมโลกนรก
นอกจากอุสสทนรกแลว ยังมี ยมโลกนรก อีก ๑๐ ขุม ตั้งอยูร อบๆ อุสสทนรกทั้ง ๔ ทิศ
ทิศละ ๑๐ ขุม ผูที่ทํากรรมหนักๆ ไวตอนเปนมนุษยเมื่อตายแลว จึงตองรับกรรมที่มหานรก
จากนั้นไปรับกรรมตอ อีกที่อุสสทนรกและยมโลกนรก ยมโลกนรกทั้ง ๑๐ ขุมนีม้ ี ชื่อเรียกดังนี้

๑. ขุมที่หนึ่ง โลหกุมภีนรก นรกน้ํารอน


๒. ขุมที่สอง สิมพลีนรก นรกตนงิ้ว
๓. ขุมที่สาม อสินขนรก นรกที่สัตวนรกมีเล็บมือ เล็บเทาที่แหลมคม
๔. ขุมที่สี่ โพทกนรก นรกน้ําทองแดง
๕. ขุมที่หา อโตตุฬนรก นรกกอนเหล็กทองแดง
๖. ขุมที่หก ปสสกปพพตนรก นรกภูเขาใหญ
๗. ขุมที่เจ็ด โลหกุมภีนรก นรกอดน้ํา
๘. ขุมที่แปด สีตโลสิตนรก นรกน้ําเยือกเย็น
๙. ขุมที่เกา สุขนรก นรกสุนัขนรก
๑๐. ขุมที่สิบ ยันตปาสาณนรก นรกเขากระทบกัน
โลกันตนรก ( นรกนอกจักรวาล )
โลกันตนรก เปนนรกขุมพิเศษ เพราะอยูนอกจักรวาลตั้งอยู ระหวางชองวางของขอบ
จักรวาลตั้งอยูระหวางชองวางของขอบจักรวาลทั้ง ๓ ที่เชื่อมตอกัน ซึ่งมีแตความมืดสนิท ดวงจันทร
และดวงอาทิตยสองสวางไปไมถึง สัตวนรกที่เกิดในนรกโลกันตมีรางกายใหญโตสูง ๓ คาวุต มีเล็บ
เทายาวใชเกาะตามขอบจักรวาล หอยโหนตัวประดุจคางคาวอยูตลอดเวลา เมื่อแตะถูกพวกเดียวกัน
ก็คิดวาเปนอาหารเพราะมองไมเห็นกัน จึงไลปล้ําตะปบกันเองจนตกลงมาในทะเลน้ํากรดที่เย็นยะเยือก
สัตวนรกก็ละลายเปนจุณเหมือนกอนแปงที่ตกลงไปในน้ําที่เค็มจัด แตเพราะอํานาจกรรม
ยังไมหมด จึงตองเวียนวายตายเกิดเปนสัตวนรกเกาะขอบจักรวาลอีก จนชั่วพุทธันดร
บาปกรรมที่นําไปสูโลกันตนรก
๑.ไมเชื่อเรื่องบุญบาป ไมเชื่อเรื่องสวรรคนรก แลวทําบาปเปนประจํา
๒.ประทุษรายตอผูทรงศีล ทรงธรรม
๓.ทํารายบิดามารดา โดยปราศจากความกตัญูกตเวที
๑๗๕

ภูมิของเปรต ( เปตติภูมิ )
เปรตภูมิ คือ ภูมิของสัตวที่มีความเดือดรอน เพราะอดอยากหิวโหย ไมมีทอี่ ยูอาศัย แตอาศัย
อยูที่ทั่วๆไป เชน ตามปา เขา เหว เกาะแกง ทะเล มหาสมุทร ปาชา เปนตน
เปรตเปนสัตว ที่จะไดรับผลของกรรมนอยกวาสัตวที่เกิดในนรก และเปรตกําเนิดโดย
โอปปาติกะ คือ ผุดเกิดขึ้นทันที ในเปตวัตถุอรรถกถา เปรตมี ๔ ประเภท
๑. ปรทัตตุปชีวกเปรต
เปนเปรตที่เลี้ยงชีพ โดยอาหารที่ผูอื่นอุทิศสวนกุศลให เปนเปรตประเภทเดียวที่รับสวน
บุญที่เขาอุทิศใหได เพราะเกิดในบริเวณบานเรือน และใกลชดิ กัมมนุษยมากที่สุด เชน บางคนเมื่อ
ใกลจะเสียชีวิต มีความอาวรณในทรัพยสิน ญาติพี่นอง เมื่อเสียชีวิตก็เกิดใหมเปนเปรตอยูในบริเวณ
บานเรือนนั้นเอง บางครั้งจะแสดงตนใหญาติพี่นองไดเห็น ที่ชาวบานเรียกวา “ วิญญาณ ”
หรือ “ เปรต ” นั่นเอง
๒.ขุปปปาสิกเปรต
เปนเปรตที่อดอยาก หิวขาวหิวน้ําอยูเปนนิจ ไมมีเรี่ยวแรง ตองนอนอยูเหมือนคนใกลเสียชีวิต
๓.นิชฌามตัณหิกเปรต
เปรตที่ถูกไฟเผาใหเรารอนอยูเสมอ
๔.กาลกัญจิกเปรต
เปนเปรตพวกอสุรกาย หรือ พวกอสุรา
บาปกรรมที่นําไปสูเปรตภูมิ
บุคคลผูมีเจตนาละเมิดในศีล ๕ เจตากระทําอกุศลกรรมบถ ๑๐ เมื่อพนจากมหานรกและนรก
ขุมยอยแลว ตองไปเกิดในเปรตภูมิ อันเปนเหตุใหเปนเครื่องขวางกั้นจากมรรคผลนิพาน คือ หมด
โอกาสที่จะทําบุญ รักษาศีล และเจริญภาวนาใหถึงพระนิพพานได เพราะตองรับกรรมอยางทนทุกข
ทรมานตลอดเวลา

อสุรภูมิ ( ภูมิของอสุรกาย )
ภูมิของอสุรกาย เปนหมูส ัตวที่มีความเปนอยูฝดเคือง เครื่องอุปโภคบริโภคขาดแคลนแรนแคน
ทุกขยากลําบากกาย มี ๓ ประเภท
๑๗๖

๑. เทวอสุรา คือ อสุรกายที่มีความเปนอยูตรงขามกับเทวดา


๒. เปติอสุรา คือ อสุรกายที่เปนพวกเปรต
๓. นิรยอสุรา คือ อสุรกายที่เปนสัตวนรก
บาปกรรมที่นําไปสูอสุรภูมิ
ผูใดมีเจตนาละเมิดศีล ๕ หรือเจตนากระทําอกุศลกรรมบท ๑๐ เมื่อไดเสวยทุกขจนพนจาก
มหานรก นรกขุมยอยและภูมิของเปรตแลว ยอมตองไปกําเนิดยังอสุรภูมิ เปนเหตุใหขวางกั้นจาก
มรรคผลนิพพาน
๑. เทวอสุรกาย ๖ พวก
เวปจิตติอสุรกาย
ราหุอสุรกาย
สุพลิอสุรกาย
ปหารอสุรกาย
สัมพรตีอสุรกาย
วินิปาติกอสุรกาย
๒. เปรตอสุรกาย ๓ พวก
กาลกัญจิกเปรตอสุรกาย
เปนเปรตอสุรกายที่มีรางกายสูงใหญ ไมคอยมีแรงเพราะอดอยาก ตาโปนออกมา
เหมือนตาปุ สีกายคลายใบไมแหง มีปากเล็กเทารูเข็มอยูบนกลางศีรษะ หิวน้ําอยูตลอดเวลา
เดินหาน้ําอยูตามลําธาร แตจะมองเห็นน้ําขาวเหมือนหินออนเพราะกรรมบันดาล แมจะกินน้ํา
ก็กินไดไมอิ่มเพราะปากเทารูเข็ม
เวมานิกเปรตอสุรกาย
เปนเปรตอสุรกายที่เสวยทุกขในเวลากลางวัน แตเสวยสุขเหมือนเทวดาบนสวรรค
ชั้นดาวดึงส ในเวลากลางคืน เพราะทําบุญเจือบาป เชน การนําเงินที่ไดจากการขโมยหรือการทุจริต
ไปทําบุญ
อาวุธกเปรตอสุรกาย
เปนเปรตที่ตองฆากันเองดวยอาวุธ พวกนักเลงหรืออันธพาลที่ชอบทํารายผูอื่น
เมื่อตายไปแลว นอกจากจะตองรับโทษในมหานรก แลวยังตองมาเกิดเปนเปรตพวกนี้
๑๗๗

๓.นิรยอสุรกาย
เปนสัตวอสุรกาย ทีม่ ีรูปรางใหญโตเหมือนคางคาวยักษ เกาะอยูตามขอบจักรวาลที่มดื มิด
เมื่อพบพวกเดียวกันก็จะโผเขากัดกินกันเองตามความหิว ก็จะพลัดตกลงไปในน้ํากรดละลายหาย
เปนจุณแตดวยบาปกรรมที่ยังใชไมหมด ก็ตองปรากฏกายขึ้นมาใหม

ดิรัจฉานภูมิ ( ภูมิของสัตวเดียรัจฉาน )
ภูมิของสัตวเดียรัจฉาน : ภูมขิ องสัตวที่เปนไปขวางจากมรรคผล หรือขวางกั้นมรรคผล
คือ หมดโอกาสที่จะทําบุญ รักษาศีล เจริญภาวนาใหถึงพระนิพพานได เพราะตองทําบาปโดย
อาศัยชีวิตสัตวอื่นในการดํารงชีพ เชน เสือ สิงโต นก ปลา
สัตวเดียรัจฉาน มีความเปนอยูในโลกมนุษย ๓ ประการ คือ
๑. กามสัญญา คือ รูจักเสวยกามคุณ
๒. โคจรสัญญา คือ รูจักกิน รูจักนอน
๓. มรณาสัญญา คือ รูจักกลัวตาย

สัตวเดียรัจฉาน จะไมมีธรรมสัญญา คือ ไมมีความรูจักผิดชอบ ชั่ว ดี กุศล อกุศล เวนแต


พระโพธิสัตวจึงมีธรรมสัญญาได สัตวเดียรัจฉาน มี ๔ ประเภท
๑. สัตวที่ไมมีขาเลย เชน ปลา งู ไสเดือน เปนตน
๒. สัตวที่มี ๒ ขา เชน นก เปด ไก เปนตน
๓. สัตวที่มี ๔ ขา เชน ชาง มา วัว ควาย เปนตน
๔. สัตวที่มขี ามาก เชน กุง ปู แมงมุม ตะขาบ เปนตน

บาปกรรมที่นําไปสูดิรัจฉานภูมิ
บุคคลผูทศุ ีล เมือ่ เสวยทุกขจนพนจากมหานรก นรกขุมยอย ภูมิของเปรต
และอสุรภูมิแลว ยอมตองไปกําเนิดยังดิรจั ฉานภูมิ

You might also like