You are on page 1of 19

ยกระดับประสิทธิผลโดยรวมเครื องจักรโดยผ่านการปรับปรุงเฉพาะเรื อง

Enhance Overall equipment effectiveness (OEE) Through Focus Improvement Pillar

Chanchai Pornsirirung
Thailand Productivity Institute

ค่าประสิทธิผลโดยรวมของเครื องจักร OEE


 การวัดประสิทธิผลโดยรวมของเครื องจักร (Overall Equipment
Effectiveness : OEE) เป็ นตัวชี Bวัดที
ครอบคลุมถึงการวัดประสิทธิภาพและ
การวัดประสิทธิผลการทํางานของเครื องจักร
 ทีมาของOEE : เริ มมีการใช้ ตงแต่
ั B ปี 1960s
เป็ นตัววัดทีสําคัญของระบบ TPM
 วัตถุประสงค์ของวัดค่าการวัดประสิทธิผลโดยรวมของเครื องจักร
 ช่วยในการประเมินประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของเครื องจักร
 นํามาใช้ ในการปรับปรุงเครื องจักรให้ มีประสิทธิผลโดยรวมสูงสุด

2
16 Major Losses in Manufacturing Plant 16 Losses

Manpower Materials Tools


Energy
YAĞ
Elk
Fuel-Oil LPG

Raw material

Plant Product
Raw Material
Machine

LOSSES
TPM $
33

Shutdown loss 1 Production adjustment loss 2 Breakdown 3 Set up & Adjustment 4

Idling Time & 5 Reduce Speed 6 Defect & Rework 7 Start up loss 8
Minor Stoppage

ความสูญเสียหลัก 16 ประการ (16 Major losses)


Management loss 9 Motion loss 10 Line organization loss 11 Lack of automated system
12

Measurement& adjustment loss Yield loss Energy loss


14 15 Jig-Die & Tool loss 16
13

44
ความสูญเสียหลัก 6 ประการทีมีผลต่อเครื องจักร 6 Big Losses

1 Breakdown 2 Set up & Adjustment 3 Idling Time & Minor Stoppage

4 Reduce Speed 5 Defect & Rework 6 Start up loss

5
5

ประสิทธิผลโดยรวมของเครื องจักร OEE


( Overall Equipment Effectiveness : OEE )

เป็ นตัวชี Bวัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลการทํางานของเครื องจักร


ซึงมีตวั แปรหลัก 3 ค่า คือ
๏ อัตราการเดินเครื อง ( Availability )
๏ ประสิทธิภาพการเดินเครื อง ( Performance Efficiency )
๏ อัตราคุณภาพ ( Quality Rate )

OEE = Availability x Performance Efficiency x Quality Rate

6
ประสิท ธิผ ลโดยรวมของเครื8 อ งจัก ร( Overall Equipment Effectiveness ;OEE )
A เวลาทังหมด
B ( Total Available Time )

B เวลารับภาระงาน ( Loading Time ) เวลาหยุดตามแผน


(Planned Downtime )
Downtime Breakdowns
C เวลาเดินเครื อง ( Operating Time )
Losses Setup / Adjustment

อัตราการเดินเครื อง ( Availability ) OEE

คือ การแสดงความพร้ อมของเครื องจักรในการทํางาน


เป็ นการเปรี ยบเทียบระหว่างเวลาเดินเครื อง ( Operating Time )
กับ เวลารับภาระงาน ( Loading Time )
อัต ราการเดิน เครื8 อ ง = เวลารั บ ภาระงาน - เวลาทีเครื องจักรหยุด
เวลารั บ ภาระงาน
= เวลาเดิน เครื8 อ ง
เวลารั บ ภาระงาน
เวลาที8เ ครื8 อ งจัก รหยุด * เครื องจักรหยุด ( Machine Breakdowns )
* การปรับตังB และ ปรับแต่ง ( Setups and Adjustments )
8
ประสิท ธิผ ลโดยรวมของเครื8 อ งจัก ร(Overall Equipment Effectiveness ;OEE)
A เวลาทังหมด
B ( Total Available Time )
เวลาหยุดตามแผน
B เวลารับภาระงาน ( Loading Time )
(Planned Downtime )
Downtime
C เวลาเดินเครื อง ( Operating Time ) Breakdowns
Losses
Setup / Adjustment

A = ( 7/8) x100 = 87.5 %

ประสิท ธิผ ลโดยรวมของเครื8 อ งจัก ร(Overall Equipment Effectiveness ;OEE )


A เวลาทังหมด
B ( Total Available Time )

เวลารับภาระงาน ( Loading Time ) เวลาหยุดตามแผน


B (Planned Downtime )
Downtime
C เวลาเดินเครื อง ( Operating Time ) Breakdowns
Losses
Setup / Adjustment
เวลาเดินเครื องสุทธิ Speed
D (Net Operating Time) Losses Idling / Minor Stoppages
Speed Losses

10
ประสิทธิภาพการเดินเครื อง ( Performance Efficiency ) OEE
คือ การแสดงสมรรถนะเครื องจักรในการทํางาน เป็ นการ
เปรี ยบเทียบระหว่างเวลาเดินเครื องสุทธิ ( Net Operating Time ) กับ เวลา
เดินเครื อง ( Operating Time )
ประสิทธิภาพ = อัตราความเร็วในการทํางาน x อัตราการทํางานสุทธิ
การเดินเครื อง
= เวลามาตรฐาน x จํานวนชิ Bนงานทีผลิตได้ x รอบเวลาจริ ง
รอบเวลาจริ ง เวลาเดินเครื อง
= เวลามาตรฐาน x จํานวนชิ Bนงานทีผลิตได้
เวลาเดินเครื อง
= เวลาเดินเครื องสุทธิ
เวลาเดินเครื อง
11

ประสิท ธิผ ลโดยรวมของเครื8 อ งจัก ร(Overall Equipment Effectiveness ;OEE )


A เวลาทังหมด
B ( Total Available Time )
เวลาหยุดตามแผน
B เวลารับภาระงาน ( Loading Time )
(Planned Downtime )
Downtime
C เวลาเดินเครื อง ( Operating Time ) Breakdowns
Losses
Setup / Adjustment
เวลาเดินเครื องสุทธิ Speed
D (Net Operating Time) Losses Idling / Minor Stoppages
Speed Losses

P = ( 6/7) x100 = 85.7 %

12
ประสิท ธิผ ลโดยรวมของเครื8 อ งจัก ร(Overall Equipment Effectiveness ;OEE )
A เวลาทังหมด
B ( Total Available Time )
เวลาหยุดตามแผน
B เวลารับภาระงาน ( Loading Time )
(Planned Downtime )
Downtime
C เวลาเดินเครื อง ( Operating Time ) Breakdowns
Losses
Setup / Adjustment
เวลาเดินเครื องสุทธิ Speed
D (Net Operating Time) Losses Idling / Minor Stoppages
Speed Losses
E จํานวนชิ Bนงานทังหมด
B
Defect and Rework
Quality Startup Losses
F จํานวนชิ Bนงานดี
Losses

13

อัตราคุณภาพ ( Quality Rate ) OEE

คือ การแสดงความสามารถในการผลิตของดีตรงตาม
ข้ อกําหนดของเครื องจักร ต่อ จํานวนของทีผลิตได้ ทงหมด
ัB

อัต ราคุณภาพ = จํานวนชินP งานที8ผ ลิต ได้ - จํานวนชินงานเสีย


จํานวนชินP งานที8ผ ลิต ได้
= จํานวนชิชินP งานดี
จํานวนชินP งานที8ผ ลิต ได้

จํานวนชินP งานเสีย * งานเสีย ( Defects )


* งานซ่อม ( Rework )
14
ประสิท ธิผ ลโดยรวมของเครื8 อ งจัก ร( Overall Equipment Effectiveness ;OEE )
A เวลาทังหมด
B ( Total Available Time )
เวลาหยุดตามแผน
B เวลารับภาระงาน ( Loading Time )
(Planned Downtime )
Downtime
C เวลาเดินเครื อง ( Operating Time ) Breakdowns
Losses
Setup / Adjustment
เวลาเดินเครื องสุทธิ Speed
D (Net Operating Time) Losses Idling / Minor Stoppages
Speed Losses
E จํานวนชิ Bนงานทังหมด
B
Defect and Rework
Quality Startup Losses
F จํานวนชิ Bนงานดี
Losses
Q = ( 5/6) x100 = 83.3 %
15

ประสิท ธิผ ลโดยรวมของเครื8 อ งจัก ร(Overall Equipment Effectiveness ;OEE )


A เวลาทังหมด
B ( Total Available Time )
เวลาหยุดตามแผน
B เวลารับภาระงาน ( Loading Time )
(Planned Downtime )
Downtime
C เวลาเดินเครื อง ( Operating Time ) Breakdowns
Losses
เวลาเดินเครื องสุทธิ Speed Setup / Adjustment
D (Net Operating Time) Losses Idling / Minor Stoppages
Speed Losses
E จํานวนชิ Bนงานทังหมด
B
Defect and Rework
Quality Startup Losses
F จํานวนชิ Bนงานดี
Losses
OEE = อัต ราการเดิน เครื8 อ ง x ประสิท ธิภ าพการเดิน เครื8 อ ง x อัต ราคุณภาพ
( Availability ) ( Performance Efficiency ) ( Quality Rate )
OEE = A x P x Q = .875 x .857 x .833 x 100 = 62.46 % 16
ตัวอย่างที1. จงหาค่า OEE ของโรงงานแห่งหนึงซึงทํางานวันละ 8 ชัวโมง
* ข้ อมูลการหยุดของเครื องจักร
* พักเบรค 10 นาที
* ประชุมตอนเช้ าก่อนการผลิต 5 นาที
* ทําความสะอาดก่อนเลิกงาน 5 นาที
* เครื องจักรเสีย 20 นาที
* เปลียนแม่พิมพ์ 30 นาที
* ปรับแต่งเครื องจักร 10 นาที
* รอบเวลามาตรฐาน = 0.5 นาที / ชิ Bน
* ข้ อมูลคุณภาพ
* จํานวนทีผลิตได้ ทั Bงหมด 600 ชิ Bน
* มีของเสีย 20 ชิ Bน และ งานซ่อม 40 ชิ Bน

ST-C-PD-005
17

ประสิท ธิผ ลโดยรวมของเครื8 อ งจัก ร (Overall Equipment Effectiveness ;OEE )

18
การคํานวณค่า OEE ตามประเภทของกระบวนการผลิต OEE
 กระบวนการผลิตแบบต่อเนือง(Continuous Production Process)
หาOEE ทังB Line
กระบวนการบรรจุนํ Bาลงในขวด

Raw Material ล้ างขวด เติมนํ Bา


ยิงวันที หีบห่อ จัดเรี ยง Finish Goods
&ปิ ดฝา

• ชิ Bนงานผ่านเข้ าเครื องจักรตามลําดับ (One-Piece Flow)


• เมือมีเครื องจักรเครื องใดหยุดจะทําให้ กระบวนการผลิตหยุดทังB Line
• งานส่วนของพนักงาน เช่น ป้อนชิ Bนงาน ถอดชิ Bนงาน คุมเครื องแก้ งาน ปรับตังเครื
B อง
• คํานวณ OEE ของทังB Line

19

การคํานวณค่า OEE ตามประเภทของกระบวนการผลิต OEE


 กระบวนการผลิตแบบไม่ตอ่ เนือง(Intermittent Production Process)
M/C OEE M/C OEE M/C OEE

เครื องฉีด เครื องพิมพ์สี บรรจุหีบห่อ


Raw Material WIP WIP Finish Goods

IN OUT IN OUT IN OUT

กระบวนการผลิตชิ Bนส่วนพลาสติก

• ชิ Bนงานผ่านเข้ าเครื องจักรแต่ละเครื องและมี WIP ระหว่างกระบวนการผลิต


• เมือมีเครื องจักรเครื องใดหยุดจะไม่มีผลกระทบต่อเครื องจักรอีนๆจนกระทัง WIP
ระหว่างกระบวนการผลิตหมด
• คํานวณ OEE ของแต่ละเครื องจักร

20
การคํานวณค่า OEE ตามประเภทของกระบวนการผลิต OEE

 กระบวนการผลิตแบบกระบวนการ (Process Industry)


หาOEE ทังกระบวนการผลิ
B ตนํ Bาเบียร์ หาOEE กระบวนการบรรจุ

กระบวนการผลิตนํ Bาเบียร์
Raw Material กระบวนการบรรจุ Finish Goods
Buffer
จุดเป็ น Bottle Neck

• คํานวณหาค่า OEE ของกระบวนโดยใช้ จดุ ทีเป็ น Bottle Neck ของกระบวนการ

21

การบันทึกข้ อมูลด้ วยวิธีการแบบเดิม ( Manual) MES


Production Plan

Data
Production

Data Entry
Collect all paper
Data Production

22
Manufacturing Execution System (MES) MES
Manufacturing Execution System (MES) : เป็ นระบบคอมพิวเตอร์ ทีใช้ ในโรงงานผลิต
สินค้ า เพือติดตามและบันทึกข้ อมูลการแปรสภาพวัตถุดิบเป็ นสินค้ าสําเร็จรูป MES จะ
แสดงข้ อมูลทีช่วยในการตัดสินใจ เข้ าใจสภาวะปั จจุบนั
หาจุดทีเหมาะสมของกระบวน Level 4 Establishing the basic plant schedule production , material
use , delivery , and shipping . Determining inventory levels
การ ทีทําให้ เกิดการปรับปรุง
Level 3 Work flow / Control raw material to end products.
ผลิตภาพทีสูงขึ Bน Maintaining records &optimizing the production process.

Level 2 Monitoring , supervisory control and


automated control of production process.
Level 1 Sensing the production process ,
manipulating the production process

Reaction Time
Day / Month
Seconds / Minutes /Hours /shift

Milliseconds / Seconds

23

Manufacturing Execution System (MES) MES


Production Performance Analysis : สร้ างสารสนเทศทีเป็ นประโยชน์จากการเก็บ
รวบรวมข้ อมูลเกียวกับสถานะปั จจุบนั ของการผลิต เช่น งานระหว่างทํา (WIP) และ
ประสิทธิภาพการผลิตของช่วงเวลาทีผ่านมา เช่นประสิทธิผลโดยรวมของเครื องจักร
( Overall Equipment Effectiveness : OEE ) รวมถึงตัวชี Bวัดทีสําคัญด้ านการผลิตของ
โรงงาน Real Time OEE Analysis Mobile OEE Alert Real Time Machine Status Monitoring

Cloud Local Sever

IOT Gateway

HMI Ethernet Ethernet Ethernet HMI Ethernet


HMI
HMI

PLC PLC PLC


PLC
CNC Machine Metal Stamping Machine
Plastic Injection Machine Laser Cutting Machine

OEE & Machine Down Time Monitoring


24
Department OEE
Machine OEE
8 เสาหลักของระบบ TPM ( TPM Pillars)

Plant OEE
Focus Improvement

Real Time OEE Monitoring


การปรับปรุ งเฉพาะเรื8 อง

Downtime
Autonomous Maintenance
การบํารุ งรักษาด้วยตนเอง

Planned Maintenance
การบํารุ งรักษาเชิงวางแผน

Education & Training

Output
8 Pillars

การฝึ กอบรมและพัฒนาทักษะ
TPM

Initial Phase Management


การจัดการควบคุมช่วงเริ8 มต้น

Quality Maintenance
การบํารุ งรักษาเชิงคุณภาพ

Defect
Admin. & Support Dept.
การทํา TPM ในสํานักงาน

Safety & Environment Mgt


การบริ หารความปลอดภัยและสิ8 งแวดล้อม

MES
TPM
26

25
การปรับปรุงงานเฉพาะเรื อง ( Focus Improvement Pillar ) FI Pillar
สามารถแบ่งได้ เป็ น 4 ระดับ
1. การปรั บ ปรุ งระดับ บริษัท เป็ นปรับปรุงงานตามกลยุทธ์ของบริ ษัท ซึงมี
ความสําคัญและ ความเร่งด่วนสูง ใช้ งบประมาณสูง เกียวข้ องกับหลาย
หน่วยงาน
2. การปรั บ ปรุ งระดับ หัวหน้ าแผนก เป็ นกิจกรรมปรับปรุงงานของพนักงาน
ระดับหัวหน้ าแผนกและสมาชิกภายในหน่วยงานหรื อหลายหน่วยงาน
Department
3. กิจ กรรมกลุ่ม ย่ อ ย เป็ นกิจกรรมปรับปรุงงาน Manager
ของพนักงานในสายการผลิต Section
4. ระดับ บุค คล เป็ นการปรับตามระบบกิจกรรมข้ อเสนอแนะ Manager

Small Group

27

การดําเนินการปรับปรุงเฉพาะเรื อง ( FI Steps) FI Pillar


 PDCA
 OEE สํารวจสภาพ  กิจกรรม/ผู้รับผิดชอบ/เวลา

ปั จ จุบ นั และ จัด ทําแผน


กําหนดหัวข้ อ ตังP เป้ าหมาย ดําเนิน การ
ปรั บ ปรุ ง
 ศึกษาขันตอนการทํ
B างาน
 ข้ อมูลปั จจุบน

 แยกแยะปั ญหา
 แผนผังก้ างปลา

Focus Improvement  Why- Why Analysis


 เครื องมืออืนๆ
กําหนดมาตรฐาน
และขยายผล การปรับปรุงเฉพาะเรื อง วิเ คราะห์ แ ละ
กําหนดวิธ ีก าร
 ผลลัพธ์ เชิงปริ มาณ
 จัดลําดับก่อน-หลัง
แก้ ไ ข
 จัดทํามาตรฐานและควบคุม  เปรี ยบเทียบก่อน-หลัง และเป้าหมาย
 แบ่งตามหน่วยงาน
 นํามาตรฐานไปขยายผล

การติด ตามผล ดําเนิน การแก้ ไ ข

28
การดําเนินการปรับปรุงเฉพาะเรื อง ( FI Steps) FI Pillar
ขันตอนการทํ
B างาน รายละเอียด
(Operation) (Description)
 ลักษณะของสายการผลิต
1. ปาดหยาบผิวหน้ า
10 2. เจาะรูเพลา
3. กลึงปลอก Process Flow
4. คว้ านหยาบรูลกู สูบ/รูเพลา
5. คว้ านละเอียดรูลกู สูบ/รูเพลา Finished
Raw Material OP.10 OP. 20 OP. 30 OP.40
6. ปาดละเอียด WIP WIP WIP Good
7. ทําเกลียวฝาสูบ/ขาสปริ ง IN OUT IN OUT IN OUT IN OUT
8. ลบคม
1. ปาดละเอียดหน้ ากระบอสูบ
20
2. กัดร่อง เครื องจักร Operation 10 Operation 20 Operation 30 Operation 40
3. ปาดผิวหน้ าOut Board Pad
4. ลบคม OEE 70 % 75 % 82 % 62 %
Standard time 0.6 นาที/ชิ Bน 0.5 นาที/ชิ Bน 0.6 นาที/ชิ Bน 0.4 นาที/ชิ Bน
30 1. ขัดละเอียดรูลกู สูบบน-ล่าง
2. ตะไบทําความสะอาด Est. Output/Hour 70 ชิ Bน 90 ชิ Bน 82 ชิ Bน 93 ชิ Bน

1. รี ดผิว/ขนาดความโตรูเพลา
ข้ อมูล OEE เฉลียของเดือน มกราคม-เมษายน Bottle Neck
40 2. Pack ลงPallet
29

การดําเนินการปรับปรุงเฉพาะเรื อง ( FI Steps) FI Pillar


1. กําหนดหัวข้ อการปรับปรุง
• หัวข้ อความสูญเสียจาก 6 Losses
• สอดคล้ องกับความรับผิดชอบของระดับและหน่วยงาน
• สอดคล้ องกับเป้าหมายของบริ ษัท

ค่า OEE ของ Operation 10


100.0%

79.2%
80.0%
70.0% 69.9%
66.6%
63.1%
60.0% OEE
Availabil ity

40.0% Performance
Quality

20.0%

0.0%
B/M Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec

B/M Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec
Availability 87.7% 94.3% 79.3% 90.5% 85.6%
Minor Stoppage
Performance 80.5% 84.6% 79.9% 73.9% 82.8%
Performance Efficiency
Quality 99.3% 99.3% 99.5% 99.5% 98.7%
Reduce Speed
OEE 70.0% 79.2% 63.1% 66.6% 69.9%

30
การดําเนินการปรับปรุงเฉพาะเรื อง ( FI Steps) FI Pillar
2. สํารวจสภาพปั จจุบนั และตังเป้
B าหมาย
• ศึกษาหลักการขันตอนการทํ
B างาน
OP 10
• หาข้ อมูลความสูญเสียในปั จบุ นั
• จําแนกแยกแยะประเด็นของหัวข้ อปั ญหา ST 1 ST 2 ST 3 ST 4 ST 5 ST 6 ST 7 ST 8

• ตังเป้
B าหมาย

จํานวนครังB /10,000 ชิ Bน พาเรโตแสดงการหยุดเล็กๆน้ อยของแต่ละStation %สะสม


100.0
70
60 80.0
50 60.0
40
จํานวนครังB หยุดเล็กๆน้ อย 40.0
30 26 24 % สะสม
20 15 20.0
10 8 5 สะสม

0 0 0 0 0.0
Station 3 Station 4 Station 7 Station 2 Station 6 Station 1 Station 5 Station 8

จากการเก็บข้ อมูลความถีของการหยุดเล็กๆน้ อยๆ เป้าหมาย


ทีStation3และStation4มีเพียงสาเหตุเดียวคือการเปลียนInsert ลดลง 50 %

31

การดําเนินการปรับปรุงเฉพาะเรื อง ( FI Steps) FI Pillar


3. จัดทําแผนดําเนินการ
สิงทีต้ องทํา ระยะเวลา
กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ พฤษภาคม กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน
สํารวจข้ อมูล นาย ก. ข.
วิเคราะห์หาสาเหตุ สมาชิก
กําหนดแนวทางแก้ ไข สมาชิก
ดําเนินการปรับปรุงและ สมาชิก
ตรวจสอบ
กําหนดมาตรฐาน สมาชิก

ใครทํา

32
การดําเนินการปรับปรุงเฉพาะเรื อง ( FI Steps) FI Pillar
4. วิเคราะห์ และ กําหนดวิธีการแก้ ไข

33

การดําเนินการปรับปรุงเฉพาะเรื อง ( FI Steps) FI Pillar


5. ดําเนินการปรับปรุง
 หัวข้ อการปรับปรุง : เปลียนInsertบ่อย
มาตรการแก้ ไข มิถนุ ายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม เปลียนInsert รุ่น SPG. 322
จากบริ ษัท AA เป็ น BB
1. จัดหาInsert มาทําการทดลอง

2. ออกแบบ/หาตําแหน่งติดตังB
หัวจ่ายนํายาหล่อเย็น
3. ติดตังหั
B วจ่ายนํ Bายาหล่อเย็นเพิม

4. ร่วมกับ KKF เรื องSlagและ


ขนาดของDia. Cyl.Bore Cylinder Bore ทีต้ องการลด
เนื Bองานหล่อเพือยืดอายุการใช้
: Plan : Actual งานของ Insert

การติดตังหั
B วจ่ายนํ Bายาหล่อ
เย็นเพือลดความร้ อนของมีด
Insert ที STA. 3H. , 4H.
34
การดําเนินการปรับปรุงเฉพาะเรื อง ( FI Steps) FI Pillar
6. ติดตามผลการปรับปรุง

แสดงผลเปรี ยบเทียบการหยุดเล็กๆน้ อยของStation3&4 ค่า OEE ของ Operation 10


100.0%

79.2% 81.4%
76.7% 79.0% 77.5% 78.0%
80.0% 73.3%
35 จํานวนครังB /10,000 ชิ Bน
70.0%
63.1%
66.6%
69.9%

60.0%

30 26 24 40.0%

25
20.0%

20
0.0%

15 12 B/M Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec

ก่อน 11
ก่อน
OEE Availability Performance Quality

10
หลัง หลัง B/M Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec
5 Availability 87.7% 94.3% 79.3% 90.5% 85.6% 87.9% 91.5% 92.1% 90.2% 90.8% 90.8%
0 Performance 80.5% 84.6% 79.9% 73.9% 82.8% 83.8% 84.2% 86.1% 86.2% 87.0% 89.8%
Station 3 Station 4 Quality 99.3% 99.3% 99.5% 99.5% 98.7% 99.5% 99.6% 99.6% 99.7% 98.7% 99.8%
OEE 70.0% 79.2% 63.1% 66.6% 69.9% 73.3% 76.7% 79.0% 77.5% 78.0% 81.4%

Process Flow
เครื องจักร Operation 10 Operation 20 Operation 30 Operation 40
OEE 79 % 75 % 82 % 62 %
Finished Standard time 0.6 นาที/ชิ Bน 0.5 นาที/ชิ Bน 0.6 นาที/ชิ Bน 0.4 นาที/ชิ Bน
Raw Material OP.10 OP. 20 OP. 30 OP.40
WIP WIP WIP Good Est. Output/Hour 79 ชิ Bน 90 ชิ Bน 82 ชิ Bน 93 ชิ Bน
ข้ อมูล OEE เฉลียของเดือน สิงหาคม-ตุลาคม
IN OUT IN OUT IN OUT IN OUT

35

การดําเนินการปรับปรุงเฉพาะเรื อง ( FI Steps) FI Pillar


7. กําหนดมาตรฐานและขยายผล
จัดทําแผนและดําเนินการขยายผลการปรับปรุง
กําหนดมาตรฐาน
 กําหนดSpec ของInsert สายการผลิต Line no. 1 Line no. 2 Line no. 3 Line no. 4
หัวข้ อการปรับปรุง
 กําหนดDimension ของ เปลียนรุ่นของInsert
Cylinder Bore ติดตังหั
B วจ่ายนํ Bายา
 กําหนดแผนการตรวจสอบ หล่อเย็นเพิม

ระบบนํ Bายาหล่อเย็น รุ่นของชิ Bนงาน


หัวข้ อการปรับปรุง Model AA Model BB Model CC Model DD

แก้ ปัญหา Slag


ออกแบบลดขนาด
ของCyl. Bore
: Plan : Completed : No Need

36
สถาบันเพิมผลผลิตแห่งชาติ
( THAILAND PRODUCTIVITY INSTITUTE )
www.ftpi.or.th Tel. 02-619-5500 Fax. 02 - 619 - 8071
ชาญชัย พรศิริรุ่ง เบอร์ ตอ่ 573
chanchai@ftpi.or.th

37

You might also like