You are on page 1of 29

เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..

นายอภิ

วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 1 การสร้างเกมด้วยโปรแกรม


Construct 2
ขั้นตอนการสร้างเกม (The Steps)
ขั้นที่ 1 สร้างโปรเจกต์ใหม่ (Create a New Project)

ขั้นที่ 2 ตั้งค่า Layout


2.1 เปลี่ยนชื่อ Layout และ ก าหนดขนาดของ Layout (Change the
Layout Name and Size) ดังนี้
1. Click ที่ว่างบน Layout
2. ใน Layout Properties ตรงช่อง Name ให้เปลี่ยนชื่อจาก
Layout 1 เป็นชื่อว่า Battle Ground
3. ตรง Layout Size ให้เปลี่ยนค่าเดิมจาก 1708, 960 เป็น
10000, 2000 ซึ่งจะมีหน่วยวัดเป็น pixel
เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ

วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 2


2.2 การท าภาพพื้นหลังของเกม (Set the Background Image)
1. ให้ Double click บริเวณพื้นที่ว่างๆ บน Layout จะมีหน้าต่าง
The Insert New Object Dialog เป็น pop up โผล่ข้ึนมา
2. Double click รูป ที่ช่ อ
ื ว่า Tiled Background Object.

3. เคอร์เซอร์เมาส์ของเราจะกลายเป็นรูปเครื่องหมายบวก

จากนั้นให้Click ลงไปบนพื้นที่ว่างของ Layout


4. จะปรากฏหน้าต่างแก้ไขรูปภาพขึ้นมา
เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ
วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 3

5. ให้Click ที่ปุ่ม Folder

6. ไปเปิดเอารูปภาพพื้นหลังที่เราเตรียมไว้แล้วกดปุ่ม ปิดหน้าต่างนี้
ไป

เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ


วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 4 7. เราจะเห็นรูปพื้นหลังปรากฏบน Layout กดปุ่ม
CTRL + หมุนปุ่มกลางเมาส์ เพื่อซูมภาพเข้าออก ให้เห็นขนาดภาพที่ง่ายใน
การท างาน

8. Click

ที่รูปพื้นหลัง จากนั้นไปก าหนดต าแหน่ง Position 0,0 และ Size


ขนาด 10000,2000

9. กดปุ่ม CTRL + 0 เพื่อปรับขนาดเป็น 100%

2.3 จัดการเลเยอร์(Set the Layers)


1. Click ที่ Layers Tab
2. Click ที่ Layer 0 ซึ่งเราจะใช้เลเยอร์นี้เป็นเลเยอร์ใส่ฉากหลัง
3. Click ที่รูปกุญแจ เพื่อล็อคเลเยอร์พ้ น
ื หลังนี้ไว้
เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ
วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 5

จากนั้นให้ท าการเปลี่ยนชื่อเลเยอร์
1. Click ที่รูปดินสอ
2. เปลี่ยนชื่อจาก Layer 0
เป็นชื่อว่า
Background

ให้ท าการเพิ่มเลเยอร์โดยการกดปุ่มเครื่องหมายบวก +
เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ
วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 6 หลังจากนั้นให้เปลี่ยนชื่อเลเยอร์ด้านบน ชื่อว่า Main

ขั้นที่ 3 ตั้งค่าขนาดงาน (Change the


Window Size)

Window size คือขนาดหน้าจอที่ใช้


แสดงผล ให้ท าการ
เปลี่ยนขนาดหน้าจอดังนี้
1. ในหน้าต่าง Project ให้Click ที่ New
project
เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วย
โปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นาย
อภิวัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 7 2. ในหน้าต่าง
Properties ตรงช่อง Window Size ให้
เปลี่ยนค่าตัวเลขเป็น 2000,1024

ขั้นที่ 4 แทรก Object ต่างๆ ในเกม (Insert The Objects)


จากที่เราได้รู้วิธีแทรก Object มาแล้วในการแทรกพื้นหลังแบบ tiled
background ทีนี้ก็ให้ใช้วิธีเดียวกันใน การแทรกวัตถุตัวอื่นๆเพิ่มเข้า Object ที่
ให้เพิ่มเข้ามาอีก ได้แก่

1. แทรก Object เมาส์ เพื่อใช้Click เมาส์ในการยิง


2. แทรก Object แป้นพิมพ์ เพื่อใช้ส าหรับการควบคุมการเคลื่อนที่
ของตัว Player ด้วยปุ่ม AWSD 3. แทรก Object แบบ Sprite เช่น ตัว
Player ตัวศัตรู ระเบิด กระสุน เลือด เวลา

ซึ่งการ
แทรก Object นอกจากจะใช้วิธีการที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว เรายังสามารถแทรก
Object ได้อีกวิธีหนึ่ง คือการเปิดไฟล์รูปจากที่เก็บในเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้ว
จับลากมาวางใส่ใน Layout เลยก็ได้ ทั้งแบบมีภาพเดียว หรือ ไฟล์ภาพที่มีเป็น
ภาพชุดต่อเนื่อง
เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ
วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 8 การน าภาพเข้ามาใน Layout จากที่เก็บไฟล์แบบมี
ภาพเดียว

หรือ น าเข้าแบบเป็นภาพชุดต่อเนื่องหลายภาพ
ซึ่งเมื่อเรา Double Click ดูจะเห็นภาพมีลักษณะเป็นภาพต่อเนื่อง

เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ


วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 9 ขั้นที่ 5 เปลี่ยนชื่อของ Sprite ที่เราน าเข้ามา (Rename
the Sprites)
ให้ท าการเปลี่ยนชื่อ sprites แต่ละตัวให้เป็นชื่อ Player, Enemy,
Blood, Blast1, Blast2, Bullet1, Bullet2 ตามล าดับ โดยการ Click ที่ตัว
sprite แล้วไปท าการเปลี่ยนชื่อตรงที่ Properties Bar
ชื่อ ความหมาย

Player ตัวผู้เล่น หรือตัว Player

Enemy ตัวศัตรู

Blast1 ระเบิดตรงปลายกระบอกปืนของ
Player เมื่อยิงปืน

Blast2 ระเบิดตรงปลายกระบอกปืนของตัว
ศัตรู เมื่อยิงปืน

Bullet1 กระสุนที่ยิงออกจากปลายปืนของ
Player

Bullet2 กระสุนที่ยิงออกจากปลายปืนของตัว
ศัตรู

Blood เลือดกระจาย เมื่อตัวศัตรูโดนกระสุน


ปืน

ขั้นที่ 6 ปรับแต่งค่า Object ให้มีประสิทธิภาพ (Efficiency)


จัดการตัว Sprite ที่ช่ อ ื ว่า Bullet2 ดังนี้
1. Double click ที่ตัว Bullet2
2. Click ที่ปุ่ม ครอบตัด หรือ Crop
ส่วนตัว Sprite ที่เป็นแบบ animation อย่างเช่นตัว Blood นั้น ให้กดปุ่ม
Shift ค้างไว้ก่อน แล้วจึงกดปุ่ม Crop เพื่อให้มีผลกับภาพทุกๆเฟรม
เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ

วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 10

ขั้นที่ 7 การควบคุมการเคลื่อนที่ของตัว Player (Control


the Player Movement) 1. Click ที่ตัว Player แล้วไป

Click ที่ Behaviors


2. Click ที่ปุ่ม +
3. Double click ที่ตัว 8 Direction
เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ

วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 11 จากนั้นให้เพิ่ม Behaviors อีก 2 ตัว ได้แก่ Scroll to

กับ Bound to Layout แล้วท าการทดสอบการท างาน โดยการกดปุ่ม Run

layout

ท าการปรับตัว Player ให้อยูใ่ นแนวนอน โดยการ Double click ที่ตัว Player


จะเห็นจุดและเส้นสีน้ าเงินตรงกลาง ภาพ ซึ่งจะแสดงเป็นมุม 0 องศา

ซึ่งเราจะต้องท าการหมุนตัว Player โดยการ Click ที่ปุ่ม หมุนตามเข็มนาฬิกา


ให้ตัว Player หมุนไปทิศทางตามภาพ
และให้ไปท าการหมุนภาพของตัวเลือดที่ช่ อ ื ว่า Blood แบบนี้ด้วยเช่นกัน
เมื่อเราทดสอบการเคลื่อนที่ของตัว Player ตอนนี้จะเห็นว่าเคลื่อนที่ช้า เราจึง
ต้องมาปรับความเร็วในการเคลื่อนที่เสีย ใหม่ โดยไปปรับที่ค่า Properties ของ
8 Direction behavior ให้เป็น
Max speed 800, Acceleration 2000,Deceletion 4000
เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ

วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 12

เริม
่ ก าหนด Event เพื่อควบคุมการท างานปุ่ม AWSD จากการกดปุ่มแป้นพิมพ์
ดังนี้
1. Click ไปที่แท็ป Event sheet แล้ว Double click ที่ว่างของ Event sheet แล้ว
Double click ที่ปุ่มรูปแป้นพิมพ์

2. Double click ที่ปุ่ม Key is Down


3. Click ที่ <click to choose>
4. กดปุ่ม W ที่แป้นพิมพ์ 1 ครั้ง
5. Click ที่ปุ่ม OK
6. Click ที่ปุ่ม done
เมื่อก าหนดเสร็จแล้วจะเห็นภาพ ดังนี้

เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ


วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 13 จากนั้นมาก าหนด Action ดังนี้
1. Click ที่ Add action
2. Double click ที่ Player
3. Double click ที่ Simulate control
4. เลือกเป็น Up
5. Click ปุ่ม Done
เราท า Action ให้ปุ่ม W เสร็จเรียบร้อยแล้ว จากนั้นให้ท าแบบ
เดียวกันกับปุ่ม A, S, D ให้ครบทุกปุ่ม 1. A 🡪 Left
2. S 🡪 Down
3. D 🡪 Right
จากนั้นให้ทดสอบการท างานโดยการกดปุ่ม F5 ที่แป้นพิมพ์

ขั้นที่ 8 ก าหนดจุดชี้ไปตามต าแหน่งของเมาส์ ( Point the Player


Towards the Mouse’s Position)

ขั้นที่ 9 ก าหนดจุดหมุนของตัว Player เมื่อเคลื่อนเมาส์ (Fix the Pivot Point)


1. Double click ที่ตัว Player
เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ
วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 14 2. Click ที่ปุ่ม set origin and image points จะมองเห็น
จุดเล็กๆ ตรงกลางภาพ
3. Click เมาส์ที่ตรงหัวของ Player เพื่อให้จุดหมุนอยู่ตรงกลางหัวของ Player
4. Click ปิดหน้าต่างแก้ไขภาพนี้
ขั้นที่ 10 การยิง ( How to Shoot)
แนวคิดในการท าเอเฟกในการยิง เมื่อ Click ปุ่มซ้ายเมาส์จะมีระเบิด
และกระสุนยิงออกจากปลายกระบอก ปืน หลังจากนั้นระเบิดจะจางหายไป
ส่วนตัวกระสุนจะวิ่งออกไป ถ้ากระสุนวิ่งออกนอกจอไปแล้ว ก็ให้ท าลายตัวมัน
เองไป แต่ถ้าลูกกระสุนไปโดนศัตรูก็ให้ลบกระสุนออกไปและให้เกิดเลือด
กระจาย
10.1 ใส่Behaviors ให้กับ Object

ก าหนดให้กับตัวลูกกระสุน Bullet1 กับ Bullet2


1. โดยการใส่ Behaviors แบบ Bullet และก าหนด speed 3000

2. ใส่Behaviors แบบ Destroy outside layout เพื่อลบกระสุนเมื่อ


พ้นออกจากหน้าจอ
เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิวัฒน์
วงศ์กัณหา หน้า 15
หลังจากนั้นตัวระเบิด Blast1 และ Blast2 ให่ใส่
Behaviors แบบ Fade ก าหนดเวลาในการเฟด 0.03 วินาที

สุดท้ายก าหนด Behaviors ให้ตัวเลือด Blood แบบ Fade


เช่นเดียวกัน ก าหนดเวลา ในการเฟด 2 วินาที

และก าหนด Behaviors ให้กับตัว Timer เป็นแบบ Timer

10.2 ก าหนดจุด Image Point และ Origin Point


เพื่อให้เวลายิงแล้วกระสุนออกตรงปลายปืน เราจึงต้องมาก าหนด
จุด Image point เพิ่มเข้าไป ดังนี้ 1. Double click ที่ตัว Player
2. Click ปุ่ม Image Point และ Origin Point
3. Click เครื่องหมาย +
4. Click ตรงปลายกระบอกปืน เพื่อให้ Image Point อยู่ ณ ต าแหน่ง
ปลายกระบอกปืนนี้
เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ
วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 16
หลังจากนั้นให้ท าการแบบเดียวกันนี้ กับลูกกระสุนปืนและ

ระเบิด ให้จุดอยู่ต าแหน่งดังในภาพนี้

เหตุผลก็คือ เมื่อมีการยิงกระสุนออกไปแต่ละครั้ง จะให้มีแสง


ระเบิดปรากฏที่ปลายกระบอกปืน
เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ
วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 17 10.3 ก าหนด Event
ท าการเพิ่ม Event การคลิกเมาส์ ดังนี้

ข้อสังเกตคือ ให้ก าหนด Layer 1 เพราะว่า Layer 0 เป็น Background


เมื่อทดสอบเกมแล้วทดสอบยิง จะปรากฏภาพแบบนี้

ซึ่งยังไม่สมบูรณ์ในการยิง ดังนั้นเราจึงต้องมาก าหนดค่า Instance


Variable เพิ่มเข้าไป 1. Click ที่ตัว Player
2. Click ที่ Instance Variable
3. Click เครื่องหมาย +
4. พิมพ์ name: fire_ready ก าหนด type: Boolean และ initial value:
true.
5. Click ปุ่ม OK
เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ
วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 18 แล้วให้ท าการเพิ่มเงื่อนไขที่ 2 ลงไปในการคลิก
เมาส์ ดังภาพ

โดยมีข้ันตอน ดังนี้
1. Double click ตรงช่องใต้ Event เมาส์
2. Double click ที่ player จะมี dialog box ปรากฏขึ้นมา
3. พิมพ์ค าว่า “boo” ตรงบริเวณกล่องค้นหที่เป็นรูปแว่นขยาย
4. Double click ที่ boolean instance variable set จะมี
dialog box ปรากฏขึ้นมา 5. เลือก fire_ready.
6. Click ที่ปุ่ม done
จากนั้นเพิ่ม Action เข้าไป ดังภาพ

ซึ่ง Toggle นี้จะเป็นการสลับค่าระหว่าง True กับ False


เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ
วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 19 ขั้นที่ 11 ก าหนด Event เมื่อเกิดการชน (Set a
Collision Event)

ก าหนดขั้นตอน ดังนี้
Condition: Bullet 1 | on collision with another object > Object:
Enemy
Action: Enemy | Destroy
Bullet1 | Destroy
ขั้นที่ 12 ก าหนดค่าให้กับตัวศัตรู (Make your Enemy Stronger)
ปกติเมื่อตัวศัตรูโดนลูกกระสุนยิงถูกเพียงนัดเดียวก็ตาย เราจะ
มาก าหนดค่าให้มันตายยากขึ้น 12.1 เพิ่ม Instance Variables
2 ค่าคือ
1. Instance Variables ตัวศัตรู name: health, type:
number, initial value: 100 2. Instance Variables ตัว Bullet1
name: power, type: number, initial value: 10 ซึ่งเราต้องการให้
ศัตรูเวลาโดนกระสุนแต่ละนัดแล้ว ให้ค่าพลังศัตรูลดลงทีละ 10
12.2 ท าการแก้ไขค่าเมื่อกระสุนชนกับตัวศัตรูให้เป็นดังภาพ

12.3 ก าหนดค่าการตายไปของตัวศัตรู (Destroy the Enemy)

ดังนี้
Condition: Enemy | Compare instance variable >
instance variable: health, comparison: less or equal, value:
0
Action: Enemy | Destroy

ขั้นที่ 13 ก าหนดค่าเลือด (Add Some Blood)


1. ก าหนด image point ให้อยูใ่ นต าแน่งด้านหน้าของลูกกระสุน ดังภาพ
เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิวัฒน์
วงศ์กัณหา หน้า 20
2. จาก

นั้น Double click ตัวเลือด Blood ขึ้นมา ลองกดปุ่ม Preview ดูตัวอย่างภาพกา

รท างาน
จะเห็นว่าเลือดกระจายช้าเกินไป ให้ท าการเปลี่ยนค่า Speed

ของ Blood จาก 5 เป็น เป็น 24


เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ
วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 21 3. จากนั้นไปเพิ่ม Action เข้าไปอีก ดังภาพ
ดังนี้
Bullet1 | spawn another object > Object: blood,
layer: 1, image point: 1 หากทดสอบงานแล้ว เห็นว่าเลือดมี
ขนาดใหญ่เกินไปก็ให้ปรับลดขนาดให้พอเหมาะลงได้

ขั้นที่ 14 ก าหนดบริเวณพื้นที่การชน (Fix Collision Area)

1. Double click ที่ตัวกระสุน


2. Click ปุ่ม polygon
3. ปรับจุด หรือลบจุด หรือเพิม่ จุดให้เป็นดังภาพ

หลังจากนั้น ให้ท าแบบเดียวกันนี้กับตัว Bullet2 ตัว Player และตัว Enemy


เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ
วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 22

ขั้นที่ 15 การท าให้ศัตรูเคลื่อนที่(Make Your Enemy Smarter)

1. เพิม่ image point ตรงปลายกระบอกปืนของตัวศัตรู


2. ใส่ behaviors 3 อย่างเข้าไปในตัวศัตรู

เพื่อก าหนดเส้นทางให้ศัตรูเคลื่อนที่หาตัวผู้เล่น

เพื่อให้ตัวศัตรูหันหน้าไปตามทิศทางที่ก าลังเคลื่อนที่ไป

(Turret เป็นเหมือนหอคอยบนป้อม) เพื่อให้ศัตรูหยุด


เมื่อชนขอบ Layout
3. หลังจากเพิ่ม Behaviors แล้วให้ก าหนดค่าต่างๆ ดังนี้
เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ
วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 23 จากนั้นให้ก าหนด Event ดังนี้

ขั้นที่ 16 เพิ่มพลังชีวิตของ Player (Add Player’s Health and Set


Another Collision Event) เพิ่ม instance variable ชื่อว่า Health ให้
กับตัว Player เท่ากับ 1000
เพิม่ instance variable ชื่อว่า Power ให้กับกระสุนของตัวศัตรู คือ Bullet2
เท่ากับ 5

ขั้นที่ 17 สร้างตัวศัตรูเพิ่มหลายๆตัว (Create More Enemy)


โดยการกดปุ่ม Ctrl แช่ไว้ แล้วใช้เมาส์ลากรูปตัวศัตรูออกมา รวมทั้งหมดจ านวน
5 ตัว
เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ
วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 24
ขั้นที่ 18 จัดการวางต าแหน่งของ Object (Clean Up The Layout)
วาง ลูกกระสุน เลือด ระเบิด เวลา ให้อยู่นอก Layout

ขั้นที่ 19 จัดการรูปแบบการแสดงผล (Creating a Heads-up Display (HUD))


เพื่อใช้ในการแสดงคะแนน เวลา หรือพลังชีวิต
การก าหนดค่าตัวแปร Score
1. คลิกเมาส์ขวาตรงที่ว่างบน Event sheet เลือก Add global variable

เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิวัฒน์


วงศ์กัณหา หน้า 25
พิมพ์ช่ อ
ื score ให้ค่าเริ่มต้นเท่ากับ 0

2. Click ปุ่ม OK
การก าหนดการแสดงผล Score ให้ตรึงบน Layer ตลอดเวลา ไม่เคลื่อนที่ไปมา
1. ให้เพิ่ม Layer ขึ้นมา แล้วก าหนดชื่อว่า HUD
2. ก าหนดค่า 0,0 ในช่อง Parallax

3. แทรกวัตถุ Text ตั้งชื่อว่า Score วางไว้มุมซ้ายบนของจอ


4. เปลี่ยนชื่อจาก Text ให้เป็นเลข 0 ก าหนดขนาดตัวอักษร และสีตัวอักษรเป็นสี
เหลือง

เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ


วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 26 แล้วก าหนดค่าใน Event sheet

Add
Action: System | Add to > variable: Score, Value: 100
Score | Set Text > Text: Score

ขั้นที่ 20 การเกิดศัตรูข้ึนมาใหม่ (Respawn the Enemy)


เมื่อเรายิงศัตรูตายลง ก็จะให้มีศัตรูตัวใหม่เกิดขึ้น โดยมีเงื่อนไขว่า ในทุกๆ 5 วินา
ทีถ้าจ านวนตัวศัตรูมีน้อยกว่า 5 ให้มี ศัตรูเกิดขึ้นใหม่

ดังนี้
Condition: System | Every X seconds > Interval (seconds): 3
Action: System | Create object > Object to
create: Enemy, Layer: 1, X:random(layoutwidth) | Y:
random(layoutheight) Add Condition: System | compare two
values > First value: Enemy.count, Comparison:Less than, Second
value: 5

ขั้นที่ 21 การเกิด Player ขึ้นมาใหม่ (Respawn the Player)


เมื่อตัว Player โดนยิงจนตายลงไป ก็จะให้มีตัว Player เกิดขึ้นใหม่เช่นเดียวกัน

1. ใส่ Behaviors แบบ Flash ให้กับตัว Player


2. ก าหนด Action ให้ตัว Player

ดังนี้
Action: System | Wait, seconds: 2.
System | Create object, object to create: Player, Layer 1, X:
Enemy.X + 500, Y: Enemy.Y Player | Flash, ‘On’ time: 0.1 ‘Off’
time: 0.1, Duration: 1.0
เมื่อตัว Player ตาย ให้รอ 2 วินาที เพื่อให้มี Player ตัวใหม่เกิดขึ้นมา
เอกสารประกอบการสร้างเกมด้วยโปรแกรม Construct 2 เรียบเรียงโดย..นายอภิ
วัฒน์ วงศ์กัณหา หน้า 27 และนี่คือ Event sheet ทั้งหมด เมื่อเสร็จสมบูรณ์แล้ว
ดังนี้

You might also like