You are on page 1of 7

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 8 การบวกจำนวนนับที่มีผลบวกไม่ เกิน 100

และการลบจำนวนนับที่มีตัวตั้งไม่ เกิน 100


แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 7
เรื่อง การบวกจำนวนสองหลักกับจำนวนสองหลัก : 2

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 เวลาเรี ยน 1 ชัว่ โมง

มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วดั
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน
ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้
ตัวชี้วดั
ค 1.1 ป.1/4 หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและประโยคสัญลักษณ์
แสดงการลบของจำนวนนับไม่เกิน 100 และ 0

จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. อธิ บายการหาผลบวกของจำนวนสองหลักกับจำนวนสองหลัก (K)
2. บวกจำนวนสองหลักกับจำนวนสองหลัก (P)
3. มีความกระตือรื อร้นในการร่ วมกิจกรรม (A)

สาระสำคัญ

การบวกจำนวนสองหลักกับจำนวนสองหลัก ใช้วธิ ี บวกจำนวนในหลักเดียวกันเข้าด้วยกัน

สาระการเรียนรู้

การบวกจำนวนสองหลักกับจำนวนสองหลัก
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่ อสาร
2. ความสามารถในการคิด
- การคิดวิเคราะห์
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
มุ่งมัน่ ในการทำงาน

คำถามสำคัญ

นักเรี ยนจะเลือกใช้วิธีคิดแบบใดในการหาผลบวกของจำนวนสองหลักกับจำนวนสองหลัก เพราะอะไร

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นสังเกต รวบรวมข้ อมูล (Gathering)


•••••••••••••••••
1. นักเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็น โดยใช้ค ำถามกระตุน้ ความสนใจ ดังนี้
• นักเรี ยนจะเลือกใช้วิธีคิดแบบใดในการหาผลบวกของจำนวนสองหลักกับจำนวนสองหลัก เพราะอะไร
2. นักเรี ยนทบทวน เรื่ อง การบวกจำนวนสองหลักกับจำนวนสองหลัก โดยนักเรี ยนเล่นเกม “ใครอยูต่ รงไหน”
โดยผูแ้ ทนนักเรี ยน 10 คน ออกมายืนหันหลังให้กระดานหันหน้าเข้าหาเพื่อน ๆ ในชั้นเรี ยน แต่ละคนสวมมงกุฎ
ตัวเลข/เครื่ องหมายบนศีรษะ โดยแต่ละคนจะไม่ทราบว่าตนเองได้ตวั เลขหรื อเครื่ องหมายอะไร
นักเรี ยนพิจารณาแถบโจทย์ที่ติดบนกระดาน เพื่อน ๆ ในชั้นเรี ยนร่ วมกันเลือกผูแ้ ทนนักเรี ยนที่มีมงกุฎ
ตัวเลข/เครื่ องหมายที่ตรงกับแถบโจทย์ให้มายืนเรี ยงกัน แล้วผูแ้ ทนนักเรี ยนที่เหลือหาผลบวก ผูแ้ ทนนักเรี ยนที่เป็ นโจทย์
บอกว่า ผูแ้ ทนนักเรี ยนคนใดจะได้ออกมายืนเป็ นผลบวก
นักเรี ยนและครู ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
ตัวอย่างแถบโจทย์
35 + 12 =
ตัวอย่างบัตรตัวเลข/เครื่ องหมาย
4 5 3 0 1 7 2 6 = +
3 5 + 1 2 = 4 7
3. นักเรี ยนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการบวกจำนวนสองหลักกับจำนวนสองหลัก จากแหล่งการเรี ยนรู ้
ที่หลากหลาย เช่น การสนทนากับเพื่อนในชั้นเรี ยน การสังเกต

ขั้นคิดวิเคราะห์ และสรุ ปความรู้ (Processing)


•••••••••••• ••••• •• •
4. จากกิจกรรมข้อ 2. โดยใช้ค ำถามกระตุน้ ความคิด ดังนี้
• นอกจากการหาผลบวกโดยการเขียนจำนวนสองหลักในรู ปกระจาย แล้วบวกในแนวตั้งแล้ว มีวิธีการ
หาผลบวกแบบอื่นอีกหรื อไม่ (มี) คือวิธีใด (การหาผลบวกในแนวตั้ง)
ครู เขียนแสดงการบวกในแนวตั้งบนกระดาน ประกอบการตอบคำถามของนักเรี ยน ดังนี้
• จากแถบโจทย์ในกิจกรรมข้อ 2. จำนวนที่น ำมาบวกกันคือจำนวนอะไร (35 กับ 12)
• 35 เป็ นจำนวนที่มีกี่หลัก (สองหลัก คือ หลักหน่วยและหลักสิ บ)
• 12 เป็ นจำนวนที่มีกี่หลัก (สองหลัก คือ หลักหน่วยและหลักสิ บ)
• เมื่อนำมาหาผลบวกตามแนวตั้ง มีวิธีการอย่างไร
(เขียนจำนวนให้ตรงหลัก แล้วเริ่ มบวกจากหลักหน่วยก่อน)
• ได้ผลบวกเท่าใด (47)
หลักสิ บ หลักหน่วย
3 5
+
1 2
4 7
35 + 12 = 47
จากนั้นผูแ้ ทนนักเรี ยน 1 คน ออกมาเขียนแสดงการบวกจำนวนในแนวตั้ง โดยวิธีบวกในแนวตั้ง
บนกระดาน ดังนี้
35
+
12
47
35 + 12 = 47
นักเรี ยนและครู ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
5. นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการบวกจำนวนสองหลักกับจำนวนสองหลักว่า สามารถหาคำตอบได้
โดยการเขียนจำนวนสองหลักในรู ปกระจาย แล้วบวกในแนวตั้ง และการบวกในแนวตั้ง โดยนำจำนวนในหลักเดียวกัน
บวกกัน เริ่ มบวกจากจำนวนในหลักหน่วยก่อน แล้วจึงหาผลบวกของจำนวนในหลักสิ บและนำมารวมกัน

6. นักเรี ยนฝึ กทักษะการบวกจำนวนในแนวตั้ง โดยผูแ้ ทนนักเรี ยนออกมาแสดงการบวกในแนวตั้ง


ครั้งละ 2 คน ดังตัวอย่าง
43 + 15 = 32 + 17 =

43 32 +
+
15 17
58 49
43 + 15 = 58 32 + 17 = 49
นักเรี ยนและครู ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง

ขั้นปฏิบัติและสรุ ปความรู้ หลังการปฏิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • • • • • • •
7. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน แต่ละกลุ่มจะได้รับแถบโจทย์กลุ่มละ 1 ข้อ ร่ วมกันแสดงวิธีหาผลบวก
ในแนวตั้งลงในกระดาษเปล่า จากนั้นรวมกลุ่มที่ได้รับแถบโจทย์เดียวกัน เพื่อแลกเปลี่ยนผลงานกัน เพื่อร่ วมกันตรวจ
สอบและแก้ไขให้ถูกต้อง
ตัวอย่างแถบโจทย์
• 56 + 23 =
• 61 + 37 =
• 42 + 26 =
• 74 + 25 =
8. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปสิ่ งที่เข้าใจเป็ นความรู ้ร่วมกัน ดังนี้
การบวกจำนวนสองหลักกับจำนวนสองหลัก ใช้วิธีบวกจำนวนในหลักเดียวกันเข้าด้วยกัน

ขั้นสื่อสารและนำเสนอ (Applying the Communication Skill)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • •
9. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานการแสดงวิธีหาผลบวกในแนวตั้งหน้าชั้นเรี ยน โดยมีนกั เรี ยนและครู
ร่ วมกันตรวจสอบความถูกต้อง

กิจกรรมนี้สร้างเสริ มทักษะศตวรรษที่ 21 ด้านการสื่ อสาร

10. นักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปเกี่ยวกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำงาน


ที่มีแบบแผน

ขั้นประเมินเพือ่ เพิม่ คุณค่าบริการสั งคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)


• • • • • • • • • • • • • • • • •• • • • • • • • • • • • • • •
11. นักเรี ยนนำความรู้ที่ได้ไปช่วยสอนเพื่อนที่ยงั ไม่เข้าใจเกี่ยวกับการบวกจำนวนสองหลักกับจำนวนสองหลัก
ให้เข้าใจยิง่ ขึ้น
12. นักเรี ยนประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรู ้สึกหลังการเรี ยนและหลังการทำกิจกรรม
ในประเด็นต่อไปนี้
• สิ่ งที่นกั เรี ยนได้เรี ยนรู้ในวันนี้ คืออะไร
• นักเรี ยนมีส่วนร่ วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• เพื่อนนักเรี ยนในกลุ่มมีส่วนร่ วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• นักเรี ยนพึงพอใจกับการเรี ยนในวันนี้ หรื อไม่ เพียงใด
• นักเรี ยนจะนำความรู้ที่ได้น้ ี ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทัว่ ไป
ได้อย่างไร
จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการทำงานทุกขั้นตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่ สงั คม
เกิดประโยชน์ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง สำหรับการทำงานในครั้งต่อไป

สื่ อการเรียนรู้ /แหล่ งการเรียนรู้

1. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐาน คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1


ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
2. แบบฝึ กหัด รายวิชาพื้นฐาน คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
3. ชุดกิจกรรมการเรี ยนรู้พฒั นาการคิดวิเคราะห์ คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 เล่ม 2
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
4. แถบโจทย์ บัตรตัวเลข
5. มงกุฎตัวเลข/เครื่ องหมาย
6. แหล่งการเรี ยนรู้ท้ งั ภายในและภายนอกโรงเรี ยน

การประเมินการเรียนรู้

1. ประเมินความรู ้ เรื่ อง การบวกจำนวนสองหลักกับจำนวนสองหลัก (K) ด้วยแบบทดสอบ


2. ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านมุ่งมัน่ ในการทำงาน (A) ด้วยแบบประเมิน

แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)

แบบประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน 4 3 2 1
กระบวนการ มีการกำหนดบทบาท มีการกำหนดบทบาท มีการกำหนดบทบาท ไม่มีการกำหนด
ทำงานกลุ่ม สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้ าหมาย มีการชี้แจงเป้ าหมาย ไม่มีการชี้แจงเป้ าหมาย และไม่มีการชี้แจงเป้ า
การทำงาน มีการปฏิบตั ิ อย่างชัดเจนและปฏิบตั ิ อย่างชัดเจน หมาย สมาชิก
งานร่ วมกัน งานร่ วมกัน ปฏิบตั ิงานร่ วมกัน ต่างคนต่างทำงาน
อย่างร่ วมมือร่ วมใจ แต่ไม่มีการประเมิน ไม่ครบทุกคน
พร้อมกับการประเมิน เป็ นระยะ ๆ
เป็ นระยะ ๆ
ข้ อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา

ลงชื่อ______________________________
(_____________________________)
ตำแหน่ง______________________________

บันทึกหลังการสอน

ผลการจัดการเรี ยนการสอน

ปั ญหา/อุปสรรค

แนวทางแก้ไข

ครู ผสู ้ อน___________________________


(__________________________)
วันที่บนั ทึก___________________________

You might also like