You are on page 1of 20

ขนุน

ชื่ อวิทยาศาสตร์ : Artocarpus heterophyllus Lam.


ชื่ อสามัญ: Jackfruit Tree
ชื่ ออื่น: มะหนุน, หมักหมี้, หมากลาง
วงศ์ : MORACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ไม้ตน้ ขนาดใหญ่ สู ง 15 - 30 ม. ทรงพุม่ รู ปทรงกระบอก มีน้ ายางสี ขาวข้นคล้ายน้ านมทุกส่ วนของลาต้น
ใบ ใบเรี ยงสลับ ใบเดี่ยว รู ปรี ขนาดกว้าง 5-8 ซม. ยาว 10– 15 ซม. โคนใบมน ปลายใบทู่ถึงแหลม เนื้อใบหนา
มันเหมือนแผ่นหนัง ผิวใบด้านบนสี เขียวเข้มเป็ นมัน
ดอก ดอกช่อแบบช่อเชิงลด ดอกแยกเพศอยูบ่ นต้นเดียวกัน ดอกเพศผูเ้ รี ยกว่า "ส่า" มักออกตามปลายกิ่ง ดอก
เพศเมียจะออกตามกิ่งใหญ่และตามลาต้น ยอดเกสร เพศเมียเป็ นหนามแหลม
ผล ผลรวมมีขนาดใหญ่ ส่ วนของเนื้อที่รับประทานเจริ ญมาจากกลีบดอก ส่ วนซังคือกลีบเลี้ยง
ปัตตาเวีย
ชื่ อวิทยาศาสตร์ : Jatropha integerrima Jacq.
ชื่ ออื่น: -
วงศ์ : EUPHORBIACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ไม้พมุ่ สู ง 2-3 ม.

ใบ ใบเรี ยงสลับ ใบเดี่ยว ใบรู ปไข่กลับขนาดใหญ่หรื อหยักรู ปฝ่ ามือตามรอยแฉก กว้าง 5-10 ซม. ยาว 10-13
ซม. โคนใบเว้า หรื อหยักฟันเลื่อย ปลายใบเป็ นติ่งแหลม ขอบใบมีรอยหยัก ใบสี เขียวเข้ม หลังใบสี ค่อนข้างแดง
ก้านใบยาว 4-6 ซม. มีขน มีหูใบเป็ นหนามเล็ก ๆ มียางเหนียวใส
ดอก ดอกช่อ กลีบเลี้ยงสี แดงหรื อชมพู ขนาดเล็ก 5 กลีบ กลีบดอกสี เดียวกับกลีบเลี้ยง เกสรเพศผูเ้ ชื่อมติดกัน
ที่ส่วนโคน สั้น 5 อัน ยาว 5 อัน
เฟื่ องฟ้ า
ชื่ อวิทยาศาสตร์ : Bougainvillea hybrid
ชื่ อสามัญ: Bougainvillea, Paper Flower
ชื่ ออื่น: ดอกโคม (ภาคเหนือ), ดอกต่างใบ (กรุ งเทพฯ), ตรุ ษจีน (ภาคกลาง)
วงศ์ : NYCTAGINACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ไม้พมุ่ รอเลื้อย เนื้อแข็ง ผิวสี เทาหรื อน้ าตาล ลาต้นและกิ่งมีหนามแหลมคม
ใบ ใบเรี ยงสลับ ใบเดี่ยว รู ปไข่ หรื อรู ปรี กว้าง 3-5 ซม. ยาว 4-8 ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรี ยบ
ผิวใบเรี ยบมีท้ งั สี เขียวและสี ด่าง
ดอก ดอกช่อ มีใบประดับสี ต่าง ๆ จานวน 3 กลีบ ส่ วนของดอกเป็ นหลอด มีขนาดเล็กสี ขาว มีกา้ นดอกเล็ก ๆ
และติดอยูก่ ลางแผ่นของใบประดับ หลอดดอกสี เขียว ที่ปลายหลอดดอกคล้ายกลีบมีช้ นั เดียว สี ชมพู เหลืองหรื อ
ขาว เกสรเพศผู ้ 10 อัน มีขนาดไม่เท่ากัน และอยูใ่ นหลอดดอก
ผล ผลขนาดเล็ก มี 5 สัน มีเปลือกแข็งและมีเมล็ดติดกับเปลือก
หูกวาง
ชื่ อวิทยาศาสตร์ : Terminalia catappa L.
ชื่ อสามัญ: Bengal Almond, Indian Almond, Sea Almond, Singapore Almond, Tropical Almond, Olive-Bark
Tree, Umbrella Tree
ชื่ ออื่น: โคน (นราธิวาส), ดัดมือ ตัดมือ (ตรัง), ตาปัง (พิษณุโลก, สตูล), ตาแปห์ (มลายู - นราธิวาส), หลุมปัง
(สุ ราษฎร์ธานี)
วงศ์ : COMBRETACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ตน้ ผลัดใบ สู ง 8–28 ม. เปลือกเรี ยบ เรื อนยอดแผ่กว้างในแนวราบ กิ่งแตกรอบลา
ต้นตามแนวนอนเป็ นชั้น ๆ คล้ายฉัตร
ใบ ใบเรี ยงเวียนสลับถี่ตอนปลายกิ่ง ใบเดี่ยวรู ปไข่กลับ กว้าง 8-15 ซม. ยาว 12-25 ซม. โคนใบสอบแคบเว้า มี
ต่อม 1 คู่ ปลายใบแหลมเป็ นติ่งสั้นๆ เนื้อใบหนา เมื่อแก่เปลี่ยนเป็ นสี สม้ แดง
ดอก ดอกช่อออกตามซอกใบ ขนาดเล็ก สี ขาวนวล มีลกั ษณะเป็ นแท่ง ยาว 8-12 ซม. มีดอกเพศผูอ้ ยูป่ ลายช่อ
ดอกสมบูรณ์เพศอยูบ่ ริ เวณโคนช่อ กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็ นรู ปสามเหลี่ยม 5 แฉก ไม่มีกลีบดอก
เกสรเพศผู ้ 10 อัน
ผล รู ปรี ค่อนข้างแบนทางด้านข้าง ยาว 3-7 ซม. ผลสี แดงเหลืองหรื อเขียว เมื่อแห้งสี ดาคล้ า
หมากผู้หมากเมีย
ชื่ อวิทยาศาสตร์ : Cordyline frutiosa (L.) Gopp.
ชื่ ออื่น: -
วงศ์ : AGAVACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ไม้พมุ่ ขนาดเล็ก สู ง 1-3 ม.
ลักษณะของลาต้นตั้งตรง ไม่มีกิ่งก้านสาขามากนัก

ใบ ใบเรี ยงเวียนสลับบริ เวณส่ วนยอดของลาต้น ใบเดี่ยว รู ปยาวรี กว้าง 5-10 ซม. ยาว 12-20 ซม. ปลายใบ
แหลม ผิวใบมีสีแดงเขียวหรื อสี แดงม่วง ก้านใบยาว
ดอก ดอกช่อยาวประมาณ 30 ซม. ออกบริ เวณส่ วนยอดของลาต้น ดอกย่อยมีกลีบเลี้ยงและกลีบดอกอย่างละ 6
กลีบ ดอกมีเป็ นสี ม่วงแดงหรื อสี ชมพูสลับด้วยสี เหลือง ดอกมีขนาดยาวประมาณ 1 ซม.
ผล ผลมีลกั ษณะเป็ นรู ปทรงกลม ฉ่ าน้ า มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.5 ซม. ภายในมีเมล็ด 1-3 เมล็ด
สุ พรรณิการ์
ชื่ อวิทยาศาสตร์ : Cochlospermum religiosum (L.) Alston
ชื่ อสามัญ: Yellow cotton, Silk Cotton Tree
ชื่ ออื่น: ฝ้ายคา
วงศ์ : COCHLOSPERMACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ไม้ตน้ ผลัดใบ สูง 7-15 ม. เปลือกเรี ยบ กิ่งก้านคดงอ
ใบ ใบเรี ยงเวียนสลับ ใบเดี่ยว รู ปหัวใจ โคนใบเว้าขอบเป็ นคลื่น ปลายใบแยกเป็ น 5 แฉกแหลม ขอบใบมีขน
สั้นนุ่ม ใบแก่ร่วงเปลี่ยนเป็ นสี ออกแดง
ดอก ดอกช่อสี เหลืองออกที่ปลายกิ่ง บานทีละดอก กลีบดอกบางมี 5 กลีบ เมื่อบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 6-8 ซม.
เกสรเพศผูส้ ี เหลืองจานวนมาก โค้งขนาดไม่เท่ากัน รังไข่มีขน
ผล ผลรู ปไข่กลับ กว้าง 2.5-3.0 ซม. ยาว 5-7 ซม. เมื่อแก่แตก 3-5 พู ภายในมีเมล็ดรู ปไตสี น้ าตาล หุม้ ด้วย
ปุยขาวคล้ายปุยฝ้าย
กระท้ อน
ชื่ อวิทยาศาสตร์ : Sandoricum koetjape Burm.f. Mer.
ชื่ อสามัญ: Santol
วงศ์ : MELIACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ไม้ตน้ สู ง 6 – 8 ม. เปลือกลาต้นชั้นนอกมีสีเทา มีจุดสี ขาวเป็ นวงบริ เวณลาต้น ผิวเรี ยบ เปลือกไม่หลุดออก มี
ยางสี แดงหรื อสี น้ าตาล
ใบ ใบเรี ยงสลับ ใบประกอบแบบนิ้วมือ มี 3 ใบย่อย ใบย่อยรู ปไข่หรื อรู ปรี โคนใบกลมหรื อมน ปลายใบเรี ยว
แหลม ขอบใบเรี ยบเป็ นคลื่น ผิวใบเป็ นคลื่น มีไขนวลปกคลุม ด้านล่างเส้นใบนูนเด่น ใบมีสีเขียว เมื่อแก่จะมีสี
เหลือง แล้วค่อย ๆ แดง แล้วจะร่ วงหล่น ก้านใบมน
ดอก เป็ นช่อตั้ง เกิดตามปลายกิ่ง
ผล ผลเดี่ยวแบบผลสด เมื่อแก่มีสีเขียวเข้ม เมื่อสุ กมีสีเหลืองผิวขรุ ขระ เนื้อนิ่ม ฉ่ าน้ า รสหวานอมเปรี้ ยว เมล็ด
กลมรี มีเยือ่ หุม้ สี ขาวเกิดมาจากเปลือก
ชบา
ชื่ อวิทยาศาสตร์ : Hibiscus rosa-sinensis L.
ชื่ ออื่น: -
วงศ์ : MALVACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ไม้พมุ่ ขนาดกลาง สู ง 2-4 ม. ลาต้นเป็ นไม้เนื้ออ่อน ส่ วนเปลือกนั้นจะเหนียวมาก เป็ นเมือกลื่น
ใบ ใบเรี ยงสลับ ใบเดี่ยว รู ปไข่ กว้าง 5-9 ซม. ยาว 7-12 ซม. โคนใบมนหรื อกว้าง ปลายใบแหลม ขอบใบหยัก
มนหรื อ จักฟันเลื่อยหรื อเว้าเป็ น 3 พู แผ่นใบบาง สี เขียวเข้ม ก้านใบยาว 2-4 ซม. มีหูใบแบบ free lateral stipule
ดอก ดอกเดี่ยวออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง กลีบดอกชั้นเดียวถึงดอกซ้อน เส้นผ่านศูนย์กลาง 7-15 ซม. กลีบ
เลี้ยง 5 กลีบ สี เขียว กลีบดอก 5 กลีบ มีสีต่าง ๆ เช่น แดง ชมพู ส้ม ขาว เหลือง ปลายกลีบดอกมนและกลม ก้าน
เกสรเพศเมียและเพศผูเ้ ชื่อมกันเป็ นหลอดยาว โผล่พน้ กลีบดอก
ผล ผลเดี่ยวแบบ capsule สี น้ าตาล เมื่อแก่จะแห้งและแตกเป็ น 5 แฉก
พลูด่างยักษ์
ชื่ อวิทยาศาสตร์ : Epipremnum aureum (Lindl. & Andre’) G.S.Bunting
ชื่ อวงศ์ : ARECACEAE
ชื่ อพืช : พลูด่างยักษ์
ประเภท :ไม้เลื้อย
ลาต้ น : ทอดเลื้อยไปตามพื้นหรื อเกาะพันกับต้นไม้ใหญ่หรื อหลักเสาอื่น ๆ เมื่อแก่มีเนื้อไม้ กิ่งก้านสี เขียวอ่อนอม
เหลือง มักมีขีดตามยาวสี เหลืองหรื อสี ขาว
ใบ: ใบเดี่ยวออกเรี ยงสลับ เมื่อยังเล็กรู ปหัวใจถึงรู ปไข่ เมื่อโตเต็มที่ใบมีขนาดใหญ่ข้ ึนและเปลี่ยนเป็ นรู ปขอบ
ขนานแกมรู ปไข่ โคนใบรู ปหัวใจ ขอบใบทั้งสองด้านหยักลึกแบบขนนกคล้ายใบฉี กก้านใบสั้น
ประโยชน์ /สรรพคุณ: ปลูกเป็ นไม้ประดับ
มะม่ วง
ชื่ อวิทยาศาสตร์ : Mangifera indica L.
ชื่ อสามัญ: Mango
ชื่ ออื่น: หมากม่วง
วงศ์ : ANACARDIACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ไม้ตน้ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สู ง 10-30 ม. ลาต้นตรง เรื อนยอดกลม ทึบ
ใบ ใบเรี ยงเวียนสลับ ใบเดี่ยว รู ปรี โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรี ยบ ก้านใบยาว 1.5-6 ซม.
ดอก ดอกช่อสี นวล ออกเป็ นช่อที่ปลายกิ่ง ยาว 18-30 ซม. กลีบดอกมี 5 กลีบ ยาว 3.5-4 มม. เกสรสี แดงเรื่ อ ๆ
ผล ผลเดี่ยว ผลดิบมีสีเขียวเมื่อสุ กเปลี่ยนเป็ นสี เหลือง หรื อเหลืองส้ม มีเมล็ดภายใน 1 เมล็ด
ปี บ
ชื่ อวิทยาศาสตร์ : Millingtonia hortensis L.
ชื่ อสามัญ: Cork Tree, Indian Cork
ชื่ ออื่น: กาสะลอง กาดสะลอง (ภาคเหนือ), เต็กตองโพ่ (กะเหรี่ ยง-กาญจนบุรี)
วงศ์ : BIGNONIACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ไม้ตน้ สู ง 5-20 ม. เรื อนยอดเป็ นพุม่ โปร่ ง เปลือกต้นแตกเป็ นร่ องลึกขรุ ขระ สี เทาอมเหลือง เนื้อหยุน่ คล้ายไม้
ก๊อก
ใบ เป็ นใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น ใบย่อยรู ปไข่แกมรู ปหอก ยาว 2.5-8 ซม. กว้าง 1.5-3 ซม. แผ่นใบบาง
เรี ยบ ขอบใบหยัก ฐานใบมน ปลายใบแหลม
ดอก เป็ นช่อ ออกที่ปลายกิ่ง กลีบดอกสี ขาวนวลเชื่อมกันเป็ นหลอด ปลายหลอดแยก 5 กลีบ มี 2 กลีบอยูช่ ิด
กัน เกสรเพศผู ้ 4 อัน ยาว 2 อัน สั้น 2 อัน เกสรเพศเมีย 1 อัน ดอกมีกลิ่นหอม
ผล ฝักแบน เมื่อแก่เป็ นสี น้ าตาล เมล็ดแบนมีปีกเป็ นเยือ่ บางใส
มะขาม
ชื่ อวิทยาศาสตร์ : Tamarindus indica L.
ชื่ อสามัญ: Tamarind, Indian Date
วงศ์ : LEGUMINOSAE-CAESALPINOIDEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ไม้ตน้ ขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ สู ง 20-25 ม. แตกกิ่งก้านสาขามาก เปลือกต้นขรุ ขระและหนา สี น้ าตาลอ่อน
หรื อสี เทาดา
ใบ ใบเรี ยงสลับ ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียวปลายคู่ มีใบย่อยขนาดเล็ก 20-40 คู่ ใบย่อยรู ปขอบขนาน โคน
ใบไม่เท่ากัน ปลายใบมนหรื อกว้าง ขอบใบเรี ยบ ผิวใบเรี ยบลื่น ใบมีสีเขียว ด้านล่างเส้นใบเรี ยบ
ดอก ดอกเดี่ยวหรื อดอกช่อ ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยขนาดเล็ก ดอกสมบูรณ์เพศ กลีบดอกสี
เหลืองและมีจุดประสี แดงอยูก่ ลางดอก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบขนาดไม่เท่ากัน เมื่อบานเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง 1.0-1.5 ซม. เกสรตัวผู ้ 10 อัน ที่สมบูรณ์มี 3 อัน เกสรตัวเมีย 1 อัน
ผล ฝักยาวหรื อโค้ง กว้าง 1.0-2.5 ซม. ยาว 5-15 ซม. เปลือกผลหนา แข็ง เปราะ สี น้ าตาลหรื อสี น้ าตาลอมเทา
ผลสดเมื่อแก่มีสีเขียวเข้ม เมื่อสุ กมีสีน้ าตาลเนื้อฉ่ าน้ า มีรสเปรี้ ยว บางพันธุ์อาจหวาน หรื อหวานอมเปรี้ ยว เมล็ด
กลมรี มีสีดา มี 3-12 เมล็ด
แก้ ว
ชื่ อวิทยาศาสตร์ : Murraya paniculata (L.) Jack
ชื่ อสามัญ: Orange Jasmine, China Box, Andaman Satinwood, Cosmetic Bark Tree
ชื่ ออื่น: แก้วขาว, แก้วลาย, แก้วขี้ไก่, แก้วพริ ก, ตะไหลแก้ว
วงศ์ : RUTACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พมุ่ หรื อไม้ตน้ ขนาดเล็ก ไม่ผลัดใบ สู ง 5-10 ม. ลาต้น คดงอและบิด สี ขาวปนเทา
เปลือกแตกเป็ นร่ องตามยาวและมักบิดเวียน
ใบ ใบเรี ยงเวียนสลับ ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียวปลายคี่ มีใบย่อย 3-9 ใบ ใบรู ปไข่หรื อรู ปรี หรื อรู ปข้าว
หลามตัดเบี้ยว ยาว 1-2 ซม. กว้าง 2-5 ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรี ยบหรื อเป็ นคลื่นเล็กน้อย แผ่นใบ
สี เขียวเข้มเป็ นมัน ที่ใบมีต่อมน้ ามัน
ดอก ดอกช่อ ออกเป็ นช่อสั้นๆ ตามซอกใบที่ปลายกิ่ง ช่อละ 2-3 ดอก ก้านดอกยาว 0.5-1.0 ซม. กลีบเลี้ยงสี
เขียวขนาดเล็ก มี 5 แฉก ติดอยูท่ นจนถึงเป็ นผล กลีบดอกสี ขาว 5 กลีบ กว้าง 0.5 ซม. ยาว 10-15 ซม. รู ปรี หรื อ
ขอบขนาน ปลายกลีบมนหรื อเรี ยวแหลม บานเวลากลางคืน กลิ่นหอม เกสรเพศผูม้ ี 10 อัน สั้น 5 อัน ยาว 5 อัน
เรี ยงสลับกันเป็ นวง
ผล ผลรู ปรี ยาวประมาณ 1 ซม. เมื่อแก่เปลือกมีสีสม้ ปนแดง ภายในมีเมล็ด 1-2 เมล็ด
ราชพฤกษ์
ชื่ อวิทยาศาสตร์ : Cassia fistula L.
ชื่ อเรียกอื่น: ชัยพฤกษ์ , คูน , ลมแล้ง
ชื่ อวงศ์ : CAESALPINIACEAE
ลักษณะ: ไม้ตน้ ผลัดใบ สู ง 10-15 เมตร ใบ เป็ นใบประกอบ แบบขนนกปลายคู่ ใบย่อย 3-8 คู่ รู ปไข่แกมขอบ
ขนาน กว้าง 4-8 ซม. ยาว 7-12 ซม. ดอก สี เหลืองสด ออกตามซอกใบ เป็ นช่อห้อยลง ยาว 20-40 ซม. ดอกย่อย
จานวนมาก ขนาดบานกว้าง ประมาณ 3 ซม. กลีบรองดอก 5 กลีบ ผิวด้านนอกมีขน กลีบดอก 5 กลีบ รู ปไข่ เกสร
ผู ้ 10 อัน สั้น 7 อัน ยาว 3 อัน ก้านเกสรเมีย และรังไข่มีขนยาว ผล เป็ นฝักยาว รู ปแท่งกลม กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว
20-60 ซม. ฝักแก่ไม่แตก แต่จะหลุดร่ วงทั้งฝัก และหักแตกเป็ นชิ้น เมล็ด มีเนื้อเหนียวสี ดาหุม้
มะฮอกกานีใบเล็ก
ชื่ อวิทยาศาสตร์ : Swietenia mahagoni (L.) Jacq.
ชื่ อเรียกอื่น : Daminican Mahogany
ชื่ อวงศ์ : ANACARDIACEAE
ลักษณะ : ไม้ตน้ สู งถึง 15 เมตร ใบประกอบแบบขนนกหนึ่งชั้น ใบย่อยรู ปรี แคบ ไม่สมมาตร ดอกสี ขาวขนาดเล็ก
ออกเป็ นช่อแตกแขนงสั้นๆ ผลรู ปกระสวยสี น้ าตาล ภายในมีเมล็ดขนาดเล็กหลายเมล็ด ช่วงเวลาออกดอก
กุมภาพันธ์ – มีนาคม
ประโยชน์ : ปลูกประดับให้ร่มเงา เมล็ดมีสรรพคุณเป็ นยาแก้ไข้ ตัวร้อน เนื้อไม้ใช้ทาเครื่ องเรื อน เครื่ องดนตรี
ฝรั่ง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Psidium guajava L.
ชื่อเรี ยกอื่น: มะก้วย มะก้วยก๋ า มะก๋ า มะมัน่ มะจีน สี ดา
ชื่อวงศ์: MYRTACEAE
ลักษณะ: ไม้ตน้ สู งถึง 13 เมตร. ใบ เดี่ยว ออกตรงข้าม รู ปรี ถึง ขอบขนาน กว้าง 6-12 ซม. ยาว 3.5-6.0 ซม. ดอก
เดี่ยว หรื อออกเป็ นช่อกระจุก จานวน 2-3 ดอก กลีบดอก สี ขาว ยาว 1.0-1.4 ซม. เกสรเพศผูจ้ านวนมาก ยาว 6-9
มม. ผลเป็ นผลสดแบบมีเนื้อหลายเมล็ด รู ปทรงกลม หรื อทรงรู ปไข่ ยาว 3-8 ซม.
ตีนเป็ ด
ชื่ อวิทยาศาสตร์ : Alstonia scholaris (L.) R. Br.
ชื่อเรี ยกอื่น: สัตตบรรณ พญาสัตบรรณ ตีนเป็ ดขาว
ชื่อวงศ์: APOCYNACEAE
ลักษณะ: ไม้ตน้ สู งได้ถึง40เมตร ทุกส่ วนมียางขาว ใบ เดี่ยว เรี ยงเป็ นวงรอบ4-8ใบ รู ปรี หรื อรู ปไข่กลับ กว้าง 2.5-
5 ซม. ยาว 9-18 ซม. ผิวใบเกลี้ยง ดอก สี ขาวแกมเขียวออกเป็ นช่อแบบช่อซี่ร่ม กลีบเลี้ยง 5 กลีบมีขน กลีบดอก
เป็ นหลอด ปลายแยกเป็ นกลีบ 5 กลีบ กลางดอกมีขนแน่น เกสรตัวผูต้ ิดอยูต่ รงกลางหลอดกลีบดอก ผล ออกเป็ น
คู่ กว้าง 2-3 มม. ยาว 21-56 ซม. แตกนิดเดียว ผิวเกลี้ยง เมล็ดมีขนยาว สี ขาว
มะยม
ชื่ อวิทยาศาสตร์ : Phyllanthus acidus (Linn.) Skeels
ชื่ อวงศ์ : MYRSINACEAE
ชื่ อพืช : มะยม
ประเภท : ไม้ตน้
ลาต้ น : ตั้งตรง แตกกิ่งก้านสาขาตรงเรื อนยอด กิ่งก้านเปราะ หักง่าย ผิวลาต้นขรุ ขระ
ใบ: เป็ นใบเดี่ยว มีใบย่อยรู ปหอก ปลายใบแหลม ขอบใบเรี ยบ
ดอก: มีขนาดเล็ก ออกเป็ นช่อ หรื อกระจุกตามลาต้น กิ่งก้านนดอกมีสีเหลืองอมน้ าตาล
ผล: ผลห้อย เป็ นพวงระย้า มีขนาดเล็ก ผลอ่อนสี เขียวอ่อน เมื่อแก่จะเป็ นสี เหลือง
เมล็ด: เมล็ดเดี่ยวแข็ง
ประโยชน์ /สรรพคุณ: ยอดอ่อน รับประทานเป็ นผักสดน้ าจิ้มน้ าพริ ก ลาบ ส้มตา แกงเลียง, ผลแก่ ใช้ปรุ งส้มตา
แทนมะละกอ รับประทานเป็ นผลไม้สด แช่อิ่ม ดอง น้ ามะยม แยม มะยมกวน, ใบ เป็ นส่ วนประกอบของยาเขียว
แก้ไข้ตวั ร้อน
เฟิ ร์ นข้ าหลวงหลังลาย
ชื่ อวิทยาศาสตร์ : Asplenium nidus L.
ชื่ อวงศ์ : POLYPODIACEAE
ชื่ อพืช : เฟิ ร์นข้าหลวงหลังลาย
ประเภท : อิงอาศัย
ลาต้ น : เฟิ ร์นอิงอาศัย สามารถเติบโตบนดินได้
ใบ: สี เขียวอ่อน ใบเดี่ยว รู ปแถบ ออกเวียนสลับรอบต้น ปลายใบแหลมคล้ายหอก ใบหนาแข็งเป็ นมัน เส้นกลาง
ใบสี ดา ใต้ใบมีสปอร์สีน้ าตาลเรี ยงตามแนวเส้นใบ ปัจจุบนั มีหลายพันธุ์ ทั้งเฟิ นจีบ เฟิ นข้าหลวงโอซาก้า และเฟิ น
ข้าหลวงใบแฉก
ประโยชน์ /สรรพคุณ: ปลูกเป็ นไม้ประดับ, ใช้ในการเรี ยนการสอน
เต่ าร้ างหนู
ชื่ อวิทยาศาสตร์ :Arenga caudata (Lour.) H.E. Moore
ชื่ อวงศ์ : ARECACEAE
ชื่ อพืช : เต่าร้างหนู
ประเภท : ปาล์มแตกหน่อ
ลาต้ น : เป็ นปาล์มแตกกอขนาดเล็ก
ใบ: เป็ นใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยรู ปข้าวหลามตัดเรี ยงสลับในระนาบเดียวกัน หลังใบสี เขียวเป็ นมัน ท้อง
ใบสี เทาเงิน ขอบใบเรี ยบ ปลายใบหยักไม่สม่าเสมอ กาบใบเป็ นท่อ ขอบกาบใบมีรกเป็ นเส้นใยสี น้ าตาลดาหุม้ ลา
ต้น ก้านใบและแกนกลางใบ มีขนสี น้ าตาลปกคลุม
ดอก: ออกเป็ นช่อบริ เวณซอกกาบใบใกล้ๆกับยอด ลักษณะช่อดอกตั้งขึ้น เป็ นช่อดอกที่ไม่มีกา้ นช่อย่อย
ผล: รู ปกลม ผิวเรี ยบเรี ยงอัดกันแน่นในก้านช่อ ผลอ่อนสี เขียวอมม่วงเมื่อสุ กสี แดง หนึ่งผลมีหนึ่งเมล็ด
ประโยชน์ /สรรพคุณ: ใช้เป็ นไม้ประดับ

You might also like