You are on page 1of 7

ตำรับยาล้ านนากับ โคโรนาไวรัส

รศ.ดร.เภสัชกรหญิงพาณี ศิริสะอาด ,เภสัชกรโอภาส เรื องวรรักษ์ ศิริ


อาณาจักรล้ านนาก่อตังมาตั
้ งแต่
้ พ.ศ.๑๘๐๕ โดยมีเมืองหลวงเมืองแรกเชียงราย( พ.ศ.๑๘๐๕-๑๘๑๘) เวียง
ฝาง (พ.ศ.๑๘๑๘)เวียงกุมกาม(พ.ศ.๑๘๒๔-๑๘๓๙) ต่อมาพญามังรายก็ย้ายมาตังที ้ ่เชียงใหม่ และสถาปณา
เป็ นราชวงศ์มงั รายปกครองอาณาจักรล้ านนาตังแต่
้ ปี พ.ศ.๑๘๓๕ มีกษัตริ ย์ปกครอง ๑๖ พระองค์ ราชวงศ์มงั
รายปกครองยาวนาวกว่า ๒๖๐ ปี ต่อมา มาเสียเอกราชอยูภ่ ายใต้ การปกครองของพม่า โดยพระเจ้ าบุเรงนอง
ยกทัพมาตีในปี พ.ศ.๒๑๐๑ ในสมัยพระเจ้ าเมกุฎิสทุ ธิวงศ์ เพียง ๓ วันก็ยดึ เมืองได้ และตกภายใต้ การปกครอง
ของพม่ามากว่า ๒๑๖ ปี จนถึง พ.ศ.๒๓๑๗ สมัยพระเจ้ าตากสินล้ านนาจึงตกเป็ นประเทศราชของประเทศ
สยาม และเมื่อรัชการที่๕ เปลี่ยนแปลงการปกครอง อาณาจักรล้ านนาก็ลดบทบาทเป็ นส่วนหนึง่ ของประเทศ
สยาม ซึง่ ต่อมาเปลี่ยนเป็ นประเทศไทย
อาณาจักรล้ านนาจักรที่มีเมืองเชียงใหม่เป็ นเมืองหลวงและเป็ นศูนย์กลางมา ๗๒๙ ปี ยุครุ่งเรื องที่สดุ คือยุค
ของพระเจ้ ามังรายที่ มีภาษาล้ านนาเป็ นใช้ ในการติดต่ออาณาจักรเอง ตังแต่
้ ๑๘๓๔ มีอาณาเขตบริ เวณภาค
เหนือตอนบน ตลอดจนสิบสองปั นนา เช่นเมืองเชียงรุ่ง(จิ่งหง) มณฑลยูนนาน ภาคตะวันออกของประเทศพม่า
ฝั่ งตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน มีเมืองนายเป็ นเมืองเอกและครอบคลุมแปดจังหวัดในปั จจุบนั คือ จังหวัด
เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอน โดยมีเมืองเชียงใหม่เป็ นราชธานี มีภาษา ตัวหนังสือ
วัฒนธรรม และประเพณีเป็ นของตัวเองตอนเป็ นอาณาจักร ล้ านนา (อ้ างอิง ๑,๒,๒,๔และ๕)
จังหวัดเชียงใหม่เป็ นศูนย์กลางของล้ านนามานานกว่า ๗๒๙ ปี ไม่วา่ จะเป็ นอาณาจักรปกครองตนเอง หรื อตก
เป็ นภายใต้ อิทธิพลของประเทศพม่า เป็ นประเทศราชของสยาม และสุดท้ ายกลายมาเป็ นส่วนหนึง่ ของ
ประเทศไทย โดยไม่มีการย้ านถิ่นเมืองเชียงใหม่ การที่มีประชากรอยูห่ นาแน่นในเมืองต้ องเผชิญกับทังโรคไม่

ระบาดและโรคระบาด ซึง่ ถ้ าการแพทย์หรื อไม่มีการคิดค้ นตำรับยามาก็ไม่สามารถดำรงอยูไ่ ด้ ต้ องย้ ายเมืองหนี
เหมือนอาณาจักร หรื อเมืองอื่นที่ต้องอพยพประชากรเช่น เช่นเมืองอูท่ องย้ ายเมืองหนีโรคห่า (อหิวาห์ตกโรค)
หรื อเรี ยกสันๆว่
้ าอูท่ องหนีหา่
ตำรับยาโบราณไม่วา่ จากกรี ซโบราณ อินเดีย จีน ต่างแลกเปลี่ยนความรู้ด้านตำราให้ แก่กนั และกัน ซึง่ เริ่ มจาก
กรี ซโบราณและจากอินเดียสูเ่ ปอร์ เซีย นอกจากนี ้ในสมัยอิยิปต์โบราณและบาบิโลนก็ยงั ไม่ได้ สามารณสรุปได้
ว่าเริ่ มมาจากแหล่งใดก่อน มีจำนวนมากของตำรับยาโบราณได้ มาทางยุโรปโดยผลงานของฮิปโปเครท อริ สดโต
เติลและกาเล็น ในสมัย ๑๘๐๐ ปี ก่อนคริสตศักราชและผ่านเข้ ามาในเอเซียผ่านชาวอิสลาม(๖)
ใบสัง่ ยาที่าเก่าแก่ที่สดุ ในโลกถูกบันทึกไว้ ในเม็ดดินเหนีวในเมโสโปเตเมีย (ประเทศอิรัคในสมัยปั จจุบนั มีอายุ
๒,๔๐๐ ปี ก่อนคริสต์ศกั ราช ซึง่ ชาวซูมาเลียนได้ อธิบายถึงการทำยาพอก ยาขี ้ผึ ้ง ยาล้ างแผล ซึง่ ตัวยาประกอบ
ด้ วย มัสตาด มะเดื่อ มดยอบ หลอดหยด ผงกระดองเต่า ตะกอนแม่น้ำ ผิวหนังงู และขนจากกระเพาะอาหาร
วัว ทังหมดผสมให้
้ ละลายในไวน์หรื อน้ำนม (๗)
ตำรายาไทยบรรจุอยูใ่ นเอกสารโบราณ รูปแบบใบลานและพับสาในรูปแบบของอักษรธรรมล้ านนา หรื อตัวเมือง
ใบลานและพับสาประเภทตำรายา จะมีขนาดสันกว่ ้ า ใบลานธรรม จึงมักเรี ยกว่าลานก้ อม และหนังสือก้ อม
ตำรายาล้ านนาหมายความถึง ตัวยาและวิธีการปรุงยา ในสมัยโบราณที่ปรากฏในพับสา หรื อใบลาน
ซึง่ เป็ นเอกสารที่เปรี ยบเสมือนคูม่ ือ หรื อหนังสืออ้ างอิงของหมอ ที่ใช้ บนั ทึกความรู้ในการปรุงยา จ่ายยา หรื อวิธี
การรักษาโรค ในเอกสารดังกล่าว มักกล่าวถึงชื่อโรค ตามด้ วยตำรับยาและมีวิธีการรักษาด้ วยยา (Materia
medica=มาเตอเรี ย เมดิกา) ตำรับยาที่ใช้ มีหลายตำรับ ให้ เลือก เช่นกรณีไม่หาย ก็ให้ เปลี่ยนแปลงตำรับ การ
รักษา รวมทังมี ้ การใช้ น้ำกระสายยา ตามโรคและอาการที่ใช้ ในแต่ละตำรับก็มากมาย ปริ มาณยาส่วนใหญ่ไม่
ระบุ เว้ นแต่จะระบุว่าให้ เอาเสมอกัน วิธีการปรุงยามีหลากหลาย อย่างน้ อย 34 วิธี เช่น ต้ ม ฝน แช่ อบ อาบ รม
ทา ชะแผล เป็ นต้ น (๘)
ภูมปิ ัญญาหมอเมืองล้านนา
         หมอเมือง คือหมอแผนโบราณ ทำการรักษาโรคภัยไข้ เจ็บ ด้ วยวิชาการที่สืบทอดมาจากปู่ ย่าตายาย
เป็ นการรักษาแบบตามประเพณีที่สืบทอดกันมา มีตำรา “ปั๊ บ” ตัวอักษรพื ้นเมืองเป็ นตำรา บอกสูตรยาสมุนไพร
เป็ นเครื่ องมือในการศึกษาหาความรู้
         หมอเมือง เป็ นองค์ความรู้และภูมิปัญญา โดยเฉพาะอย่างยิ่งภูมิปัญญาล้ านนา ซึง่ เป็ นมรดกแห่ง
ภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมาจากบรรพบุรุษหลายชัว่ อายุคน เรี ยกว่ามรดกแห่งการรักษา (TRADITIONAL
HEALING) ซึง่ มีระบบการรักษาแบบองค์รวม (HOLISTIC) คือคำนึงถึงกาย จิต และ วิญญาณ ควบคูก่ นั การ
รักษาแบบหมอเมือง ไม่ได้ พงึ่ แต่สารสังเคราะห์ ที่สมัยใหม่เรี ยกว่า “ยา” แม้ วา่ บางส่วนใช้ สารที่ได้ จากสมุนไพร
ในธรรมชาติ แต่หมอเมืองยังรวมไปถึงความเชื่อ จิตวิญญาณ และพลังชุมชนด้ วย เรี ยกได้ ว่า เป็ นองค์ความรู้
แบบองค์รวม โดยมีเป้าหมายคือสันติสขุ ของบุคคลและชุมชน โดยมีแบบแผนการรักษาได้ แก่

การนวดอัตตลักษณ์ล้านนา
 การนวดอัตตลักษณ์ล้านนา (Thai Tradition massage of Lanna) จุดเด่นของภูมิภาค 8 จังหวัดตอนบนที่
เรี ยกขานติดปากและชินหู คือ “ดินแดนล้ านนา” หนึง่ ในวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีของภูมิภาค
โดยเฉพาะจังหวัดเชียงใหม่ คือ การนวดอัตตลักษ์ ล้านนา ภูมิปัญญาการแพทย์พื ้นบ้ านที่สืบทอดกันมา
ยาวนานจนถึงทุกวันนี ้ 
ยาฝนยาต้ม
ยาฝนยาต้ม
• ยาฝน คือ สมุนไพรที่ใช้ รักษาโรคด้ วยวิธีการนำตัวยามาฝนกับน้ำกระสายแล้ วให้ ผ้ ปู ่ วยดื่ม ทาบริ เวณที่มี
อาการ ยาฝนที่ใช้ รักษาโรคมักจะเรี ยกว่า ยาแก้ เช่น ยาฝนแก้ กินผิดสาบผิด ยาฝนแก้ ตมุ่ แก้ คนั ยาฝนแก้
สันนิบาต ยาฝนแก้ ขาง ยาฝนแก้ ฝี ยาฝนแก้ อีสกุ อีใส ยาฝนแก้ มะเฮ็งคุด ยาฝนแก้ ลมบ้ าหมู ยาฝนแก้ นิ่ว ยาฝน
แก้ ห้ามฮาก (อาเจียน) ยาฝนตัดฮากสาน ยาฝนแก้ ไข้ ยาฝนแก้ มะโหก ยาฝนแก้ ถอนพิษ เป็ นต้ น
ยาฝนแต่ละป้าก (ตำรับ) จะมีตวั ยามากน้ อยตามกัน ดังตัวยาแก้ ห้าต้ น ประกอบด้ วยตัวยา ๕ ชนิด คือ หญ้ า
หมูป่อย เถาแตงเถื่อน หนาดคำ จุ่งจะลิง และดีงหู ว้ า ในอดีตชาวล้ านนามักจะฮิบยาฝนไว้ ประจำบ้ านหรื อ
ติดตัวไปตามที่ตา่ งๆ หากมีผ้ ปู ่ วยฉุกเฉินสามารถฝนยารักษาได้ ทนั ท่วงที เรี ยกว่า ยาแก้ ทนั ใจ
เป็ นการต้ มเพื่อให้ ได้ ตวั ยาสมุนไพรใช้ ดื่มรักษาโรค เช่น แก้ ปวดหลัง ปวดเอว บำรุงร่างกาย เพิ่มพลัง เป็ นต้ น
ยาต้ มบางป้าก (ตำรับ) ก็ใช้ ตวั ยาสด บ่างป้ากก็ใช้ ตวั ยาแห้ ง แต่ละป้ากจะมีตวั ยาต่างกัน
การเผายา
 ปะวัติความเป็ นมาของการเผายา
ความเป็ นมาของการแพทย์พื ้นบ้ านล้ านนา หรื อหมอพื ้นบ้ าน ที่สืบทอดกันมาตังแต่ ้ พทุ ธกาล นับเป็ นพันๆปี
มากมายหลายศาสตร์ หลายแขนงล้ วนแล้ วแต่มีบนั ทึกไว้ ตามผนังถ้ำ ตามเสา ศาลาวัด โบสถ์วหิ าร ปั๊ บลาน ปั๊ บ
สา สมุดข่อย หรื อแผ่นศิลาจารึก ดังปรากฏให้ เห็น เช่น การนวดราชสำนัก การนวดเชลยศักดิ์ ฤๅษี ดดั ตน ก็มีให้
เห็นที่ วัดโพธิ์ (วัดเชตุพนวิมลมังคลาราม) การแพทย์แผนไทยพื ้นบ้ านล้ านนา เช่น การเช็ด การแหก การเป่ า
การจอบไข่ การตอกเส้ น การย่ำขาง และพิธีกรรมอื่นๆ ก็มีให้ เห็น และได้ ศกึ ษา สืบทอดกันมาจนถึงปั จจุบนั แต่
“การเผายา” นี ้ไม่มีปรากฏและบันทึกไว้ ให้ เห็น จะมีก็เพียงแต่ พ่อ แม่ คนเฒ่าคนแก่ ครูบาอาจารย์ บางท่านที่
เล่าให้ ฟังและถ่ายทอดต่อมาในลักษณะ แนะนำ และชี ้ช่องทาง ไม่มีใครนำมาใช้ ในการบำบัดหรื อรักษา
หมอจรรยา วงค์ชยั ได้ รับการถ่ายทอดวิชา “การนวดตอกเส้ น” จากอาจารย์ (พ่อหมอ) อินทร หอยแก้ ว หมอพื ้น
บ้ าน “หริ ภญ ุ ชัย” และท่านได้ ถา่ ยทอดแนะนำเรื่ อง “การเผายา” ว่าสามารถรักษาอาการปวดเรื อ้ รังได้ ประกอบ
กับคุณพ่อคุณแม่ และญาติของหมอก็เป็ นหมอพื ้นบ้ านด้ วย (คุณพ่อเป็ นหมอจอบไข่, เช็ด, แหก, เป่ า, น้ำมนต์,
ยาฝน และยาต้ ม คุณแม่เป็ นหมอยาฝนและยาต้ มเกี่ยวกับสตรี หลังคลอดบุตร หรื อแม่และเด็ก คุณป้าเป็ นหมอ
ตำแย) ดังนันหมอจรรยาจึ
้ งได้ ซมึ ซับภูมิปัญญาการแพทย์พื ้นบ้ านมาจากท่านมาพอสมควร ในกรณีการเผายา
นี ้ก็ได้ รับความรู้มาทางอ้ อม คือเวลาคุณพ่อท่านปวด ท่านก็จะใช้ ยาจู้หรื อใบพลับพลึงย่างไฟประคบ หรื อตัดใบ
พลับพลึงเป็ นท่อนๆ แล้ วเผาดินกี่(อิฐมอญ) มาวางทับบนใบพลับพลึง เมื่อโดนความร้ อนตัวยาจากใบพลับพลึง
ก็จะซึมลงตรงบริ เวณที่ปวดโดยตรง จึงทำให้ อาการปวดที่อกั เสบเรื อ้ รังหายไว
ดังนัน้ หมอจรรยาจึงได้ นำเอาประสบการณ์เหล่านี ้มาประมวลเข้ าด้ วยกันในลักษณะ “การตอกเส้ นและการเผา
ยา” เพื่อเป็ นการบำบัดและรักษาอาการกระดูกทับเส้ นและปวดเรื อ้ รัง นอกจากนี ้ก็สามารถใช้ ในการรักษาอากา
รอื่นๆที่ไม่ใช้ การอักเสบ ติดเชื ้อ หรื อเนื ้อร้ ายได้ อีกด้ วย
นอกจากนี ้การแพทย์ล้านนายังมี โหราเวช ดอกเส้ นสิบสองครู การย่ำขาง และการเช็ดแหก การรักษาด้ วย
พิธีกรรมบำบัด (๙)
ตังแต่
้ มีรายงานการติดเชื ้อ novel pneumonia (covid-19) ที่เมืองอูฮ๋ นั่ มณฑลเหอเป๋ ย ประเทศจีน ซึง่
มีการสันนิฐานว่าเป็ นการสายพันธ์มาจากไวรัส ,Sar-Cov-2 ซึง่ มีการแพร่กระจายไปทัว่ โลก (Pandermic)_
มีการติดเชื ้อทัว่ โลก 190,744,059 คน มีผ้ เู สียชีวิต 4,098,374 คน ส่วนในประเทศไทยติดเชื ้อ 391,989 คน มีผ้ ู
เสียชีวิต deaths 3,240 ( ๑๐,๑๑ ) และมีการกลายพันธุ์เป็ นหลายสายพันธุ์องค์การอนามัยโลก(WHO) ได้
เปลี่ยนชื่อเรี ยกไวรัสโควิดกลายพันธุ์ จากเดิมที่เรี ยกตามชื่อประเทศเป็ นอักษรกรี กเพื่อลดการกล่าวโทษประเทศ
ที่พบเป็ นครัง้ แรก สายพันธุ์น่าวิกฤต ๔ สายพันธ์ (Varients of Concern)
ชื่อเดิม ชื่อทางวิทยาศาสตร์ ชื่อใหม่
สายพันธุองั กฤษ B.1.1.7 อัลฟา
สายพันธุ์อาฟาริกาใต้ B.1.351 เบต้ า
สารพันธุ์บราซิล P.1 แกมม่า
สายพันธ์อินเดีย B.1.617.2 เดลต้ า

สายพันธุ์อื่นที่ต้องเฝ้าระวัง(Varients of Interest) 6 สายพันธุ์

ชื่อเดิม ชื่อทางวิทยาศาสตร์ ชื่อใหม่


สายพันธ์แคลิฟอร์ เนีย B.1.427/B.1429 เอปซิลอน
สายพันธ์บราซิล P.2 เซด้ า
- B.1.525 อีต้า
สายพันธ์ฟิลิปปิ นส์ P.3 กีต้า
สายพันธ์สหรัฐ B.1.526 ไอโอต้ า
สายพันธ์อินเดีย B.1.617.1 แคปป้า
โดยองค์การอนามัยโลกระบุว่า ชื่อเรี ยกใหม่ของไวรัสโควิดกลายพันธุ์ไม่ใช่การแทนที่ชื่อทางวิทยาศาสตร์ ที่มีอยู่
แล้ ว แต่เป็ นการตังชื
้ ่อเพื่อการสื่อสารที่ง่ายขึ ้น เนื่องจากชื่อวิทยาศาสตร์ อาจสื่อสารได้ ยาก และอาจทำให้ การ
สื่อสารคลาดเคลื่อน อีกทังยั ้ งเพื่อลดการปฎิบตั ิหรื อตีตราประเทศที่พบไวรัสโควิดกลายพันธุ์เป็ นครัง้ แรกอีก
ด้ วย(๑๒)

เนื่อจากเป็ นการระบาดรุนแรงทัว่ โลก(Pandermic)จึงมีการค้ นคว้ าวัคซีนเพื่อป้องกันโรควิค-19 และ


คิดค้ นยาเพื่อรักษา

วัคซีนเพื่อป้องกันโรคโควิค-19 ในปั จจุบนั มี 4 ชนิดด้ วยกัน ได้ แก่

1.วัคซีนชนิดสารพันธุ์กรรม

ได้ แก่ เอ็มอาร์ เอ็นเอ (mRNA) วัคซีนกลุม่ นี ้ ใช้ เทคโนโลยีใหม่สงั เคราะห์สารพันธุ์กรรมเอ็มอาร์ เอ็นเอ (mRNA)
ที่เฉพาะเจาะจงกับไวรัส วัคซีนจะทำหน้ าที่ พา mRNA เข้ าเซลล์และ กำกับให้ เซลล์ผลิตโปรตีนสไปค์ของเชื ้อ
ไวรัส ซึง่ โปรตีนนี ้จะกระตุ้นระบบภูมิกนั ขอร่ างกายให้ สร้ างแอนติบอดี ้ขึ ้นมาต่อต้ านเชื ้อ วัคซีนที่มีใช้ ในปั จจุบนั
ได้ แก่ วัคซีนของบริษัท Pfizer และ Maderma
2.วัคซีนชนิดไวรัสเป็ นพาหะ (Recombinant viral vector vaccine)

วัคซีนกลุม่ นี ้ใช้ ไวรัสที่สามารถตัดแต่งพันธุ์กรรมเช่นไวรัสอะดีโน(Adenovirus) โดยนำมาดัดแปลงพันธุ์กรรม


ของให้ ไม่สามารถแบ่งตัวได้ และใส่สารพันธุ์กรรมของไวรัสโรคโควิด-19 ติดไปด้ วย เมื่อนำมาฉีดจะไวรัสพาหะ
เหล่านี ้จะเลียนแบบการติดเชื ้อตามธรรมชาติ โดยกระตุ้นภูมิค้ มุ กันทัระบบให้
้ สร้ างแอนติบอดีย์ตอ่ สารไวรัสโค
วิด-19 ตามสายพันธุกรรมที่ใส่เข้ าไป ปั จจุบนั มีบริ ษัท

ได้ แก่

I. `บริ ษัท Astra Zeneca ใช้ ไวรัสอะดีโนของซิมแพนซี( Chimpanzee adenovirus)


II. บริ ษัท CanSinoBio ใช้ ไวรัสอะดีโนของมนุษย์สานพัน์ุ 5( Human adenovirus type 5)
III. Johnson and Johnson ใช้ ไวรัสอะดีโนของมนุษย์สานพัน์ุ 26( Human adenovirus type 26)
IV. Gammaleya ใช้ ไวรัสอะดีโนของมนุษย์สานพัน์ุ 5 และ 26( Human adenovirus type 5 และ 26 )

3.วัคซีนที่ทำจากโปรตีนส่วนหนึง่ ของเชื ้อ (Protien subunit vaccine)

วัคซีนที่ผลิตโดยเทคโนโลยีนี ้ ทัว่ โลกมีความคุ้นเคยมานาน เพราะใช้ ในการผลิตวัคซีนหลายชนิดเช่น วัคซีน


ป้องกันไข้ หวัดใหญ่ วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี เป็ นต้ น ผลิตโดยการสร้ างโปรตีนของเชื ้อไวรัส ด้ วยระบบ
cell culture, yeast, baculovirus เป็ นต้ น แล้ วนำมาผสมกับสารสร้ างกระตุ้นภูมิ เมื่อฉีดเข้ าสูร่ ่างกายจะ
กระตุ้นให้ ร่างกายสร้ างแอนติบอดี ้ต่อต้ านสไปค์ของไวรัสโรคโควิด 19 วัคซีนที่มีใช้ ปัจจุบนั คือ วัคซีนแบรนด์
Novavax ซึง่ ผลิตจาก baculovirus และใช้ Matrix M เป็ นตัวกระตุ้นภูมิ

4.วัคซีนชนิดเชื ้อตาย (Inactivated Vaccine)

วัคซีนกลุม่ นี ้ผลิตโดยนำไวรัสโรคโควิด 19 มาเลี ้ยงเป็ นจำนวนมาก และนำมาทำให้ เชื ้อตาย การฉีดวัคซีนจะ


กระตุ้นให้ ร่างกายสร้ างภูมิค้ มุ กันต่อไวรัสทุกชนิด เสมือนได้ รับไวรัสโดยตรงแต่ไม่ทำให้ เกิดโรค เพราะเชื ้อตาย
แล้ วว วัคซีนที่ใช้ ในปั จจุบนั ได้ แก่ วัคซีนของบริ ษัท Sinovac(๑๓)

ยาที่ใช้ รักษาโรคโควิด 19

ในปั จจุบนั ยังไม่มีข้อสรุปแน่ชดั ถึงสูตรยารักษาโรคติดเชื ้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ยาที่มีข้อมูลว่ามี


ฤทธิ์ตอ่ ไวรัสดังกล่าวและมีการนำมาใช้ ในผู้ป่วย ได้ แก่ ยารักษาโรคมาลาเรี ย ( hydroxychloroquine,
chloroquine) ยาฆ่าเชื ้อแบคทีเรี ย (azithromycin) ยาต้ านไวรัสเอชไอวี(durauavirus, lopinavir,ritronavir)

และ favipiravir ซึง่ เป็ นยาต้ านไวรัสชนิดใหม่ที่มีการนำเข้ าประเทศไทยเพื่อรักษาโรคชนิดนี ้โดยเฉพาะ ระยะ


เวลาในการรักษาอยูท่ ี่ 5-10 วัน ขึ ้นอยูก่ บั ความรุนแรงของโรค_
บทบาทของตำรับยาล้ านนากับการป้องกันและรักษาโรคติดเชื ้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

อ้ างอิง
1)https://www.wikipedia//lanna: Retrieved 17 July 2021
2) https://thailandtravelbag.org:The History of Lana Kingdom-Thailand Travel Bag: Retrieved 17 July
2021
3) ) https://www.visitchiangmai.com.au:A Short History Of The Lanna Kingdom Around Chiangmai:
Retrieved 17 July 2021
4)https://www.cmocity.com : Lanna History CMNC-CMNC: Retrieved 17 July 2021
5)https://www.chiangmaicitylife.com: Retrieved 17 July 2021
6)https://www.ttuhsc.edu/pharmacy/museum/pharmacy.history.aspx : Retrieved 17 July 2021
7)https://www.cambridge.org/core/journals/medical-history/article/history-of-medicine-in-the-african-
countries/88CE73CF0BCB1409420389BA0139A094: Retrieved 17 July 2021
8) พาณี ศิริสะอาด :ตำรายาไทยจากเอกสารโบราณล้ านนาและการใช้ ประโยชน์ : คณะเภสัชศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่: เอกสารประกอบการบรรยาย นำออกมาอ้ างอิงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔
9)http://www.lannahealth.com/ภูมิปัญญาหมอเมืองล้ านนา -2/: Retrieved 17 July 2021
10.)The Proximal origin of SARS Cov-2,Nature Medicine 26,450-452(2020) /: Retrieved 17July 2021
11.)https://www.worldmeter.info/coronavirus case: Retrieved 17 July 2021

12) http://www.Sikarin.com:Covit-19 สายพันธุ์อนั ตรายในไทยที่ต้องระวัง : Retrieved 20 July 2021


13) http://www.Sinphtet.co.th วัคซีนโควิค-19 มีกี่ชนิด: Retrieved20 July 2021
14) http://www.rama.mahidol.ac.th:การใช้ ยารักษาโรคติดเชื ้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ภก.ภิฎฐา
สุรพัฒน์ ภญ.นันทพร เล็กพัทยา งานเภสัชกรรมคลีนิค ฝ่ ายเภสัชกรรม คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาล
รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล: Retrieved20 July 2021

You might also like