You are on page 1of 12

ประโยคความ

ซ้อน
จัดทำโดย ด.ญ.ปภัทร์สิริ กวีวิโรจน์กุล ๙B ๘
คือ ประโยคที่มีใจความสำคัญเพียง
ใจความเดียว หรือ ประโยคที่ประกอบ
ด้วยประโยคความเดียว ๒ ประโยคขึ้น
ไปซ้อนกันอยู่
ประโยคสอง
เป็นประโยค
ประโยคหนึ่ง ความเดียวอีก
เป็นประโยค ประโยคหนึ่งมา
หลัก เรียกว่า ขยายประโยค
"มุขยประโยค" หลัก เรียกว่า
"อนุประโยค"
อนุประโยคหรือประโยคย่อยมี 3 ชนิด
คือ
(นามานุประโยค)
(คุณานุประโยค)
(วิเศษณานุประโยค)
01
นามานุประโยค
คือ อนุประโยคที่ทำหน้าที่แทน
นาม คือ เป็นประธาน บทกรรม
และ ขยายนาม
คนเดินริมถนน มองดูดารา
(คน)มองดูดารา = ประโยคหลัก
คนเดินริมถนน = ประโยคย่อย
02
คุณานุประโยค
คือ อนุประโยคที่ทำหน้าที่ขยาย
คำนาม สรรพนาม ในมุขย
ประโยค
โดยมีประพันธสรรพนาม ที่ ซึ่ง
อัน เป็นบทเชื่อม ระหว่าง
ประโยคหลัก เเละย่อย
ซึ่งอยู่บนภูเขา ขยายกรรม บ้าน

ฉันอาศัยบ้านซึ่งอยู่บนภูเขา

- ฉันอาศัยบ้าน : ประโยคหลัก
- (บ้าน) อยู่บนภูเขา : ประโยคย่อย

03
วิเศษณานุประโยค
คือ อนุประโยคที่ทำหน้าที่
ขยายคำกริยา หรือขยายคำ
วิเศษณ์ในประโยคหลัก มีคำเชื่อม
เช่น เมื่อ จน เพราะ ตาม ให้ ฯลฯ
ซึ่งเชื่อมระหว่างประโยคหลักกับ
ย่อย
เขาเรียนเก่งเพราะเขาอ่านหนังสือ
เขาเรียนเก่ง : ประโยคหลัก
(เขา) อ่านหนังสือ : ประโยคย่อย
ข้

สั



ตุ
ขอบคุณที่รับชม รับฟัง
คับบบบบบ ψ( `∇ ´)ψ

You might also like