You are on page 1of 17

Coscom Corporation Co.

,ltd เอกสารหมายเลข
(Document No.)
: HM– HA– 01

คู่มือ HACCP (HACCP MANUAL)


แก้ไขครั้งที่ (Revision No.) : 00
เรื่อง : คู่มือ HACCP
วันทีม่ ผี ลบังคับใช้ : 8 / 12 / 2017 หน้ าที่ (Page) : 1 / 20
(Effective Date)

HACCP MANUAL

เรื่อง : คู่มอื HACCP

เอกสารหมายเลข (Document No.) : HM - HA - 01


แก้ ไขครั้งที่ (Revision No.) : 00
วันที่มีผลบังคับใช้ (Effective Date) : 8 / 12 / 2017
สำเนาฉบับที่ (Copy No.) :

ผู้จัดทำ (Prepared By) ผู้ทบทวน (Reviewed By) ผู้อนุมัติ (Approved By)

ลายเซ็น ลายเซ็น ลายเซ็น

วันที่ วันที่ วันที่


แผนก / ฝ่ าย แผนก / ฝ่ าย แผนก / ฝ่ าย
HACCP Leader QMR MD

ประวัตกิ ารแก้ไขเอกสาร

แก้ไขครั้งที่ หน้ าที่แก้ไข รายละเอียดที่แก้ไข วันที่อนุมัติใช้


00 ทุกหน้า เอกสารใหม่ 8 / 12 / 17
Coscom Corporation Co.,ltd เอกสารหมายเลข
(Document No.)
: HM– HA– 01

คู่มือ HACCP (HACCP MANUAL)


แก้ไขครั้งที่ (Revision No.) : 00
เรื่อง : คู่มือ HACCP
วันทีม่ ผี ลบังคับใช้ : 8 / 12 / 2017 หน้ าที่ (Page) : 2 / 20
(Effective Date)

สารบัญ

เรื่อง หน้ า

ส่ วนที่ 1 ทัว่ ไป
คำนำ 4
นโยบายคุณภาพ และวัตถุประสงค์คุณภาพ 5
นโยบายด้าน HACCP 6
อำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบ 7
Coscom Corporation Co.,ltd เอกสารหมายเลข
(Document No.)
: HM– HA– 01

คู่มือ HACCP (HACCP MANUAL)


แก้ไขครั้งที่ (Revision No.) : 00
เรื่อง : คู่มือ HACCP
วันทีม่ ผี ลบังคับใช้ : 8 / 12 / 2017 หน้ าที่ (Page) : 3 / 20
(Effective Date)

ส่ วนที่ 2 การประยุกต์ ใช้ ระบบ HACCP


จุดมุ่งหมาย 11
ขอบเขตการจัดตั้งระบบ HACCP 12
การจัดทำระบบ HACCP และการนำหลักการมาประยุกต์ใช้ 13
1. การจัดตั้งทีมงาน HACCP 13
2. การอธิบายรายละเอียดผลิตภัณฑ์ 13
3. การชี้หาวัตถุประสงค์การใช้ผลิตภัณฑ์ 14
4. การจัดทำแผนภูมิการผลิต 14
5. การตรวจสอบความถูกต้องของแผนภูมิการผลิต 14
6. การระบุอนั ตรายที่อาจเกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอน และพิจารณาหามาตรการในการ 14
ควบคุมอันตรายที่พบ
7. การหาจุดวิกฤติที่ตอ้ งควบคุม 16
8. การกำหนดค่าวิกฤติของแต่ละจุดวิกฤติ 16
9. การกำหนดการเฝ้ าระวัง 16
10. การกำหนดวิธีการแก้ไข 17
11. การกำหนดวิธีการทวนสอบ 17
12. การกำหนดวิธีการจัดทำเอกสาร และการจัดเก็บบันทึกข้อมูล 18
13. การทวนสอบระบบ HACCP 19

ส่ วนที่ 1 ทัว่ ไป

คำนำ

เนื้อหาในคู่มือคุณภาพของระบบการวิเคราะห์ และควบคุมจุดอันตรายฉบับนี้ จัดแบ่งเป็ น 2 ส่ วน ดังนี้ คือ

ส่วนที่ 1: เป็ นข้อมูลทัว่ ไป


ส่วนที่ 2: เป็ นการประยุกต์ใช้ระบบ HACCP

เอกสารคูม่ ือคุณภาพนี้ จดั ทำขึ้นเพื่อแสดงถึงการบริ หารงานในระบบคุณภาพของบริ ษทั ฯ ที่ได้มีการนำระบบ HACCP ไป


ปฏิบตั ิ และประยุกต์ใช้อย่างมีประสิ ทธิภาพ เพื่อสร้างความมัน่ ใจว่าผลิตภัณฑ์อาหารที่ผลิตโดย บริ ษทั คอสคอม คอร์เปอเรชัน่ จำกัด จะ
มีความปลอดภัยต่อผูบ้ ริ โภค และมีคุณภาพที่สามารถตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้าได้
Coscom Corporation Co.,ltd เอกสารหมายเลข
(Document No.)
: HM– HA– 01

คู่มือ HACCP (HACCP MANUAL)


แก้ไขครั้งที่ (Revision No.) : 00
เรื่อง : คู่มือ HACCP
วันทีม่ ผี ลบังคับใช้ : 8 / 12 / 2017 หน้ าที่ (Page) : 4 / 20
(Effective Date)

นโยบายด้ านคุณภาพ และวัตถุประสงค์ คุณภาพ

Managing Director ในฐานะผูบ้ ริ หารสูงสุ ดขององค์กรได้ก ำหนดนโยบายคุณภาพซึ่งแสดงถึง ความมุ่งมัน่ ของบริ ษทั ฯ ในการ
ดำเนินการกระบวนการจัดการให้เกิดผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และสอดคล้องกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องดังนี้

“บริษทั คอสคอม คอร์ เปอเรชั่น จำกัด มีความมุ่งมัน่ ที่จะผลิตสินค้ า ทีม่ ีความปลอดภัย


เพือ่ ตอบสนองต่ อความต้ องการของผู้บริ โภค ”

ทั้งนี้ เพื่อให้บรรลุตามนโยบายดังกล่าว Managing Director ได้ก ำหนดวัตถุประสงค์คุณภาพทั้งระยะสั้น และระยะยาวโดย


การกำหนดนโยบาย และวัตถุประสงค์คุณภาพนี้ เพื่อให้พนักงานทุกคนตระหนักในการดำเนินกิจ กรรมต่าง ๆ ให้ส อดคล้องตาม
นโยบาย และวัตถุประสงค์ที่ก ำหนดไว้รวมถึงใช้เป็ นเครื่ องมือในการเฝ้ าติดตามสมรรถนะของการปฏิบตั ิการ เพื่อน ำมาสู่ การทบทวน
และปรับปรุ งให้เหมาะสมในการประชุมทบทวนการจัดการทุกครั้ ง

นโยบาย และวัตถุประสงค์คุณภาพจะสื่ อสารไปยังพนักงานทุกระดับในองค์กรโดย


1. การให้พนักงาน ลงนามรับทราบใน คู่มือพนักงาน หรื อ
2. การติดประกาศไว้ตามจุดติดประกาศต่าง ๆ หรื อ
3. การอบรมปฐมนิเทศ
เป็ นต้น
Coscom Corporation Co.,ltd เอกสารหมายเลข
(Document No.)
: HM– HA– 01

คู่มือ HACCP (HACCP MANUAL)


แก้ไขครั้งที่ (Revision No.) : 00
เรื่อง : คู่มือ HACCP
วันทีม่ ผี ลบังคับใช้ : 8 / 12 / 2017 หน้ าที่ (Page) : 5 / 20
(Effective Date)

นโยบายด้ าน HACCP

บริ ษทั คอสคอม คอร์เปอเรชัน่ จำกัด ขอแสดงเจตนาจำนงตั้งระบบควบคุมคุณภาพ ได้แก่ ระบบวิเคราะห์อนั ตราย และ
ควบคุมจุดวิกฤต (HACCP) ตามมาตรฐาน Codex Alimentarius Supplement to Volume 1B-1997; Annex to CAC/RCP-1 (1969), Rev.4
(2003): Recommended International Code of Practice-General Principle of Food Hygiene and its Annex: Hazard Analysis and
Critical Control Point (HACCP) System and Guidelines for its Application ซึ่งมีหลักการ 7 ข้อดังนี้

1. ระบุอนั ตรายทุกชนิดที่อาจเกิดขึ้น ดำเนินการวิเคราะห์หาอันตราย และมาตรการในการควบคุม


2. กำหนดจุดวิกฤติที่ตอ้ งควบคุม
3. กำหนดค่าวิกฤติของแต่ละจุดวิกฤติที่ตอ้ งควบคุม
4. กำหนดระบบการตรวจติดตามสำหรับแต่ละจุดวิกฤติที่ตอ้ งควบคุม
5. กำหนดวิธีการแก้ไขสำหรับการเบี่ยงเบนที่อาจเกิดขึ้น
6. กำหนดวิธีการทวนสอบต่างๆ
7. กำหนดวิธีการเก็บบันทึกข้อมูล และการจัดทำเอกสาร

บริ ษทั ขอประกันความปลอดภัย และคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่จ ำหน่ายทัว่ ถึงผูบ้ ริ โภคทั้งใน และต่างประเทศ อันเป็ นผลมาจากการ
พัฒนา และจัดตั้งระบบ HACCP ในบริ ษทั ซึ่งควบคุมถึงแผนที่เกี่ยวข้องทั้งหมดด้านคุณภาพการผลิตผลิตภัณฑ์
พนักงานของบริ ษทั ได้รับการสนับสนุนในการดำเนินการพัฒนาระบบ HACCP ทั้งทางด้านการจัดการ และความรับผิดชอบ
นอกจากนี้บริ ษทั ยังสนับสนุนการศึกษา และฝึ กอบรมระบบ HACCP แก่พนักงานเพิ่มเติม โดยการให้เข้าร่ วมสัมมนา และปฏิบตั ิการทั้ง
ใน และนอกบริ ษทั
การตรวจสอบระบบ HACCP จะกระทำอย่างสม่ำเสมอ และเมื่อมีความจำเป็ นในการปรับปรุ งระบบ บริ ษทั ขอยืนยันความ
ประสงค์ในการจัดตั้งระบบ HACCP ภายในบริ ษทั และพร้อมให้ความร่ วมมืออย่างเต็มที่ในทุกด้านที่จ ำเป็ น ในการดำเนินการเพื่อ
ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ และมีความปลอดภัยสำหรับผูบ้ ริ โภคต่อไป
Coscom Corporation Co.,ltd เอกสารหมายเลข
(Document No.)
: HM– HA– 01

คู่มือ HACCP (HACCP MANUAL)


แก้ไขครั้งที่ (Revision No.) : 00
เรื่อง : คู่มือ HACCP
วันทีม่ ผี ลบังคับใช้ : 8 / 12 / 2017 หน้ าที่ (Page) : 6 / 20
(Effective Date)

อำนาจหน้ าที่ และความรับผิดชอบ

 ผูบ้ ริ หารระดับต่างๆ มีอ ำนาจในการตัดสิ นใจ และหน้าที่ความรับผิดชอบด้านคุณภาพดังต่อไปนี้

Managing Director / General Manager


1. กำหนดนโยบาย และทิศทางของบริ ษทั
2. กำหนดนโยบาย และทบทวนกลยุทธ์ดา้ นคุณภาพ
3. ทบทวนระบบบริ หารคุณภาพของบริ ษทั
4. สนับสนุนระบบบริ หารคุณภาพอย่างจริ งจัง
5. อนุมตั ิการแต่งตั้งตัวแทนฝ่ ายบริ หาร
6. อนุมตั ิการเปลี่ยนแปลงแก้ไขคู่มือ HACCP

Operation Manager
1. กำหนดนโยบายระบบบริ หารด้านการผลิต
2. กำหนดนโยบายด้านการวิจยั และพัฒนา
3. กำหนดนโยบายด้านการพัฒนาระบบคุณภาพ
4. กำหนดนโยบายระบบบริ หารด้านการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์
5. ควบคุมดูแลให้การดำเนินกิจกรรมด้านการวางแผน ควบคุมการผลิต การผลิต และการซ่อมบำรุ งเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ
6. ทบทวน และอนุมตั ิผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็ นไปตามข้อกำหนด และการเรี ยกคืนสิ นค้า

Production Manager
1. ควบคุมดูแลให้การดำเนินกิจกรรมด้านการวางแผน และการผลิตให้เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ
2. ทบทวน และอนุมตั ิการเปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสารวิธีการที่เกี่ยวข้องกับด้านการผลิต
3. ควบคุมดูแลการผลิตให้เป็ นไปตามแผนที่วางไว้ รวมถึงอนุมตั ิแผนการควบคุมกระบวนการ
4. ควบคุมดูแลการทำงานของพนักงาน ให้ด ำเนินการเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ
5. รายงานผลการปฏิบตั ิงานของแผนกให้กบั ทุกฝ่ ายรับทราบ
6. ดำเนินการตามที่ Operation Manager มอบหมายอย่างมีประสิ ทธิภาพ

Quality Assurance Manager


Coscom Corporation Co.,ltd เอกสารหมายเลข
(Document No.)
: HM– HA– 01

คู่มือ HACCP (HACCP MANUAL)


แก้ไขครั้งที่ (Revision No.) : 00
เรื่อง : คู่มือ HACCP
วันทีม่ ผี ลบังคับใช้ : 8 / 12 / 2017 หน้ าที่ (Page) : 7 / 20
(Effective Date)

1. กำหนดนโยบายระบบบริ หารด้านการประกันคุณภาพผลิตภัณฑ์
2. ควบคุมดูแลให้การดำเนินกิจกรรมด้านการประกันคุณภาพ การตรวจสอบวัตถุดิบ และ ผลิตภัณฑ์ส ำเร็จรู ป
3. ทบทวน เปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสาร และรายงานการแก้ไขเอกสาร วิธีการที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์
4. อนุมตั ิการตรวจรับวัตถุดิบ และการตรวจปล่อยผลิตภัณฑ์สำเร็จรู ป
5. รายงานผลการปฏิบตั ิงานของแผนกให้กบั ทุกฝ่ ายรับทราบ
6. ดำเนินการตามที่ Operation Manager มอบหมายอย่างมีประสิ ทธิภาพ

Research development Manager


1. กำหนดนโยบายระบบบริ หารด้านการวิจยั พัฒนาผลิตภัณฑ์
2. ควบคุมดูแลการวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
3. ทบทวน เปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสาร และรายงานการแก้ไขเอกสาร และวิธีการที่เกี่ยวข้องกับการวิจยั พัฒนาผลิตภัณฑ์
4. รายงานผลการปฏิบตั ิงานของแผนกวิจยั พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้กบั ทุกฝ่ ายรับทราบ
5. ดำเนินการตามที่ Managing Director / General Manager มอบหมายอย่างมีประสิ ทธิภาพ

Human Resource Manager


1. วิเคราะห์หาความต้องการในการฝึ กอบรม รวมถึงวางแผนการฝึ กอบรมประจำปี และประเมินผลการฝึ กอบรม
2. ทบทวน เปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสาร และรายงานการแก้ไขเอกสาร และวิธีการที่เกี่ยวข้องกับแผนกบุคคล
3. รายงานผลการปฏิบตั ิงานของแผนกให้กบั ทุกฝ่ ายรับทราบ
4. วางแผน และควบคุมการทำงานในแผนกเพื่อให้ด ำเนินการเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ
5. ดำเนินการตามที่ Managing Director / General Manager มอบหมายอย่างมีประสิ ทธิภาพ

Engineer Supervisor
1. กำหนดนโยบายด้านการดูแลรักษา ซ่อมบำรุ งเครื่ องจักร และระบบ Utility ภายในโรงงาน
2. วางแผน และควบคุมการทำงานในแผนกเพื่อให้ด ำเนินการเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ
3. ทบทวน เปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสาร และรายงานการแก้ไขเอกสาร และวิธีการที่เกี่ยวข้องกับแผนกบุคคล
4. รายงานผลการปฏิบตั ิงานของแผนกให้กบั ทุกฝ่ ายรับทราบ
5. ดำเนินการตามที่ Operation Manager มอบหมายอย่างมีประสิ ทธิภาพ

Warehouse Manager
1. ควบคุมดูแลการรับ จ่าย ปัจจัยในการผลิตให้เป็ นไปตามระบบ FIFO
2. วางแผนการจัดส่ งสิ นค้าสำเร็ จรู ป รวมถึงควบคุมดูแลการการจัดส่ งสิ นค้าให้เป็ นไปตามระบบ FIFO
3. วางแผนการทำงานในแผนกเพื่อให้ด ำเนิ นการเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ
4. ทบทวน เปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสาร และรายงานการแก้ไขเอกสาร และวิธีการที่เกี่ยวข้องกับแผนกบุคคล
5. รายงานผลการปฏิบตั ิงานของแผนกให้กบั ทุกฝ่ ายรับทราบ
6. ดำเนินการตามที่ Operation Manager มอบหมายอย่างมีประสิ ทธิภาพ
Coscom Corporation Co.,ltd เอกสารหมายเลข
(Document No.)
: HM– HA– 01

คู่มือ HACCP (HACCP MANUAL)


แก้ไขครั้งที่ (Revision No.) : 00
เรื่อง : คู่มือ HACCP
วันทีม่ ผี ลบังคับใช้ : 8 / 12 / 2017 หน้ าที่ (Page) : 8 / 20
(Effective Date)

Supply Chain Manager


1. วางแผนการจัดซื้ อปัจจัยการผลิต และวัสดุสิ้นเปลืองในการผลิตให้เข้าโรงงานตามกำหนด รวมถึงควบคุมการจัดซื้ อให้เป็ นไป
ในทิศทางการลดต้นทุน
2. ประสานงานกับ Supplier ในการรักษา และพัฒนาคุณภาพของสิ นค้า และสร้างความสัมพันธ์อนั ดีกบั Supplier
3. ควบคุมดูแลให้การดำเนินกิจกรรมด้านการวางแผนการผลิตให้เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ
4. วางแผนการทำงานในแผนกเพื่อให้ด ำเนิ นการเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ
5. ทบทวน เปลี่ยนแปลงแก้ไขเอกสาร และรายงานการแก้ไขเอกสาร และวิธีการที่เกี่ยวข้องกับแผนกบุคคล
6. รายงานผลการปฏิบตั ิงานของแผนกให้กบั ทุกฝ่ ายรับทราบ
7. ดำเนินการตามที่ Operation Manager มอบหมายอย่างมีประสิ ทธิภาพ

QMR
1. รายงานผลการปฏิบตั ิงานของระบบคุณภาพต่อผูบ้ ริ หารระดับสูง และ Steering Committee
2. รับผิดชอบในการจัดการคุณภาพระบบ HACCP
3. ควบคุมดูแลให้ค ำแนะนำ และหาแนวทางแก้ไขปัญหา ในระหว่างการจัดทำเอกสาร และระบบงาน
4. ควบคุมดูแลให้การดำเนินกิจกรรมด้านการควบคุมเอกสาร การประสานงานระบบคุณภาพ และการตรวจติดตามภายใน เป็ น
ไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ
5. วางแผน และดำเนินการทวนสอบระบบคุณภาพ HACCP
6. เป็ นตัวแทนฝ่ ายบริ หาร
7. คัดเลือกคณะผูต้ รวจติดตาม
8. จัดหา และให้การฝึ กอบรมในเรื่ องคุณภาพ และความปลอดภัยของอาหาร เพื่อสนับสนุนการจัดตั้งระบบ

HACCP Leader
1. รายงานผลการปฏิบตั ิงานต่อ QMR
2. ดำเนินการจัดการระบบคุณภาพ ระบบ HACCP ตามคำสัง่ QMR
3. ให้ค ำแนะนำ และหาแนวทางแก้ไขปัญหาเบื้องต้น
4. ดำเนินกิจกรรมด้านการประสานงานระบบคุณภาพ และการตรวจติดตามภายใน รวมทั้งการประสานงานกับองค์กรภายนอก
เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพ
5. ดำเนินการทวนสอบระบบคุณภาพ HACCP
6. ให้การฝึ กอบรมในเรื่ องคุณภาพ และความปลอดภัยของอาหาร เพื่อสนับสนุนการจัดทำระบบคุณภาพ
7. งานอื่นๆ ที่ QMR มอบหมาย
Coscom Corporation Co.,ltd เอกสารหมายเลข
(Document No.)
: HM– HA– 01

คู่มือ HACCP (HACCP MANUAL)


แก้ไขครั้งที่ (Revision No.) : 00
เรื่อง : คู่มือ HACCP
วันทีม่ ผี ลบังคับใช้ : 8 / 12 / 2017 หน้ าที่ (Page) : 9 / 20
(Effective Date)

ส่ วนที่ 2 การประยุกต์ ใช้ ระบบ HACCP

จุดมุ่งหมาย

บริ ษทั คอสคอม คอร์เปอเรชัน่ จำกัด มีความมุ่งมัน่ ที่จะดำเนินธุรกิจภายใต้ระบบการบริ หารงานคุณภาพเบ็ดเสร็ จ ตามระดับ


มาตรฐานหรื อข้อกำหนดระหว่างประเทศ เพื่อสร้างความมัน่ ใจว่าคุณภาพ และความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหารที่บริ ษทั ได้ด ำเนิน
การจะสามารถตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้าได้อย่างสูงสุ ด ภายใต้ความสามารถในการแข่งขันได้ โดยเฉพาะความปลอดภัย
ของผลิตภัณฑ์อาหาร (Food Safety) ซึ่งบริ ษทั ให้ความสำคัญ และตระหนักถึงความจำเป็ น จึงได้น ำเทคโนโลยีในการผลิตที่ทนั สมัยใน
อุตสาหกรรมการผลิตอาหารมาทำการผลิตผลิตภัณฑ์
ทั้งนี้ แนวคิดในการผลิตที่มุ่งเน้นการป้ องกันการเกิดปัญหา (Preventive Action) มากกว่าการแก้ไขปัญหา (Corrective
Action) ในการตรวจสอบที่ผลิตภัณฑ์ข้นั สุ ดท้าย บริ ษทั ได้นำหลักการ HACCP (Hazard Analysis Critical Control Points) ซึ่งเป็ น
มาตรฐานของระบบประกันคุณภาพที่สากลยอมรับมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิตของโรงงานเพื่อสร้างความมัน่ ใจว่า ผลิตภัณฑ์
อาหารที่ผลิตภายใต้การควบคุม โดยวิธีน้ี เป็ นผลิตภัณฑ์อาหารที่มีความปลอดภัยต่อผูบ้ ริ โภค ปราศจากอันตรายจากเชื้ อจุลินทรี ยท์ ี่ท ำให้
เกิดโรค สารเคมี และสิ่ งแปลกปลอมต่างๆ ที่เป็ นอันตรายเมื่อได้รับจากการบริ โภค
การจัดทำระบบ HACCP ของบริ ษทั ได้ประยุกต์ใช้ และสอดคล้องกับมาตรฐานของระบบ HACCP ซึ่งจัดเตรี ยมขึ้นโดย
โครงการมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ (FAO/WHO (Codex)) ที่ได้ผา่ นการรับรองโดยคณะกรรมาธิการโครงการมาตรฐานอาหาร
Coscom Corporation Co.,ltd เอกสารหมายเลข
(Document No.)
: HM– HA– 01

คู่มือ HACCP (HACCP MANUAL)


แก้ไขครั้งที่ (Revision No.) : 00
เรื่อง : คู่มือ HACCP
วันทีม่ ผี ลบังคับใช้ : 8 / 12 / 2017 หน้ าที่ (Page) : 10 / 20
(Effective Date)

ขอบเขตการจัดตั้งระบบ HACCP

หลักการของระบบ HACCP ที่บริษัทได้ จดั ทำมีขอบเขต ดังนี้

1. ครอบคลุมถึงการป้ องกันปัญหาจากอันตราย 3 สาเหตุ คือ


1.1. อันตรายทางชีวภาพ (Biological Hazard) พิจารณาอันตรายจากเชื้อจุลินทรี ยท์ ี่ท ำให้เกิดโรค
1.2. อันตรายทางเคมี (Chemical Hazard) พิจารณาอันตรายจากสารเคมีในวงจรผลิตวัตถุดิบ สารเคมีที่ใช้เป็ นวัตถุเจือปนใน
อาหาร สารเคมีที่ใช้ในการหล่อลื่น สารเคมีที่ใช้ท ำความสะอาดเครื่ องจักร - อุปกรณ์ ในโรงงาน สารเคมีที่ใช้ในการ
กำจัดแมลง สัตว์พาหะนำโรค
1.3. อันตรายทางกายภาพ (Physical Hazard) พิจารณาอันตรายจากสิ่ งแปลกปลอมต่างๆ เช่น เศษแก้ว เศษโลหะ พลาสติก
2. ขอบเขตการศึกษาวิเคราะห์เริ่ มตั้งแต่
2.1 วัตถุดิบ
2.2 ขั้นตอนการผลิตในโรงงาน ได้แก่ ขั้นตอนการรับวัตถุดิบ การเก็บรักษา การแปรรู ป การเก็บรักษาในคลังสิ นค้าสำเร็ จรู ป
2.3 การส่ งมอบ
3. ผลิตภัณฑ์ที่ท ำการศึกษาวิเคราะห์ ได้แก่ กาแฟสำเร็ จรู ปผสม
Coscom Corporation Co.,ltd เอกสารหมายเลข
(Document No.)
: HM– HA– 01

คู่มือ HACCP (HACCP MANUAL)


แก้ไขครั้งที่ (Revision No.) : 00
เรื่อง : คู่มือ HACCP
วันทีม่ ผี ลบังคับใช้ : 8 / 12 / 2017 หน้ าที่ (Page) : 11 / 20
(Effective Date)

การจัดทำระบบ HACCP และการนำหลักการมาประยุกต์ ใช้

บริษทั ได้ดำเนินการจัดทำระบบ HACCP ตามมาตรฐานของ Codex ดังต่ อไปนี้


1. จัดตั้งทีมงาน HACCP (Assemble HACCP Team)
การคัดเลือกบุคคลเข้าร่ วมในทีมผูจ้ ดั เตรี ยมระบบ HACCP ของ บริ ษทั คอสคอม คอร์เปอเรชัน่ จำกัด คำนึงถึง
สัดส่ วนกลุ่ม ผูม้ ีความเชี่ยวชาญเฉพาะ และกลุ่มผูม้ ีประสบการณ์ดา้ นอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งเป็ นผูม้ ีความรู้ และความเข้าใจ
ในกระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์เป็ นอย่างดี และได้รับการแต่งตั้งจาก Managing Director โดยจะเป็ นตัวแทนจากฝ่ าย
บริ หาร ตัวแทนจากแผนกประกันคุณภาพ ตัวแทนจากแผนกผลิต ตัวแทนจากแผนกคลังสิ นค้า ตัวแทนจากแผนกบุคคล
ตัวแทนจาก
แผนกจัดซื้ อ ตัวแทนจากแผนกวิศวกรรม
เอกสารอ้างอิง :
ประกาศ เรื่ อง การแต่งตั้งคณะทำงาน HACCP (ฉบับปัจจุบนั )
2. การอธิบายรายละเอียดผลิตภัณฑ์ (Product Description)
การอธิบายรายละเอียดของผลิตภัณฑ์ ซึ่งจัดทำตามแบบฟอร์มดังต่อไปนี้
2.1. ชื่อผลิตภัณฑ์
2.2. คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ : เพื่อแสดงรายละเอียดของผลิตภัณฑ์ทางด้านจุลินทรี ย,์ เคมี และกายภาพ
2.3. ลักษณะการใช้ผลิตภัณฑ์ : เพื่อแสดงรายละเอียดการนำไปใช้
2.4. ภาชนะบรรจุ : เพื่อแสดงชนิดของภาชนะบรรจุ และขนาดบรรจุ
2.5. อายุการเก็บรักษา : เพื่อแสดงอายุของผลิตภัณฑ์ที่ยงั อยูใ่ นสภาพที่ปลอดภัยต่อผูบ้ ริ โภค
2.6. ลักษณะการจำหน่าย : เพื่อแสดงจุดที่จ ำหน่าย เพื่อเป็ นข้อมูลในการประเมินสถานการณ์ หากพบปัญหาของ
ผลิตภัณฑ์
2.7. รายละเอียดที่ก ำกับบนฉลาก : เพื่อแสดงข้อมูลที่จ ำเป็ นที่ผบู้ ริ โภคควรทราบ เช่น ชื่อผูผ้ ลิต และผูจ้ ดั จำหน่าย,
ชื่อผลิตภัณฑ์, ส่วนประกอบ และน้ำหนักสุ ทธิ เป็ นต้น
2.8. การดูแลรักษาระหว่างการขนส่ ง : เพื่อแสดงวิธีการเฉพาะที่จ ำเป็ นต้องทำ เพื่อควบคุมสภาวะการขนส่ งสิ นค้า
เอกสารอ้างอิง :
HACCP PLAN (SD-HA-001)
Coscom Corporation Co.,ltd เอกสารหมายเลข
(Document No.)
: HM– HA– 01

คู่มือ HACCP (HACCP MANUAL)


แก้ไขครั้งที่ (Revision No.) : 00
เรื่อง : คู่มือ HACCP
วันทีม่ ผี ลบังคับใช้ : 8 / 12 / 2017 หน้ าที่ (Page) : 12 / 20
(Effective Date)

3. การชี้หาวัตถุประสงค์ ในการใช้ ผลิตภัณฑ์ (Identify Intended Use)


แสดงวิธีการใช้ และกลุ่มผูบ้ ริ โภค ซึ่งกลุ่มเป้ าหมาย คือ ผูบ้ ริ โภคทัว่ ไป (General Public) เนื่องจากผลิตภัณฑ์อาหาร
ของบริ ษทั เป็ นผลิตภัณฑ์ที่บุคคลทัว่ ไปสามารถบริ โภคได้ โดยปราศจากอันตราย
เอกสารอ้างอิง :
HACCP PLAN (SD-HA-001)

4. การจัดทำแผนภูมิการผลิต (Construct Flow Diagram)


ได้จดั ทำแผนภูมิการผลิตตามผลิตภัณฑ์ - ขั้นตอนการผลิตไว้ดงั นี้
4.1. แผนภูมิการผลิตกาแฟสำเร็ จรู ปผสม
ซึ่งแสดงขั้นตอนการผลิตของผลิตภัณฑ์ เพื่อให้การวิเคราะห์อนั ตรายสามารถตรวจสอบได้อย่างทัว่ ถึง และชัดเจน
ทุกขั้นตอนตั้งแต่การรับเข้าวัตถุดิบทุกชนิด การจัดเก็บ การแปรรู ป การจัดเก็บในคลังสิ นค้า และการส่ งมอบ
เอกสารอ้างอิง :
HACCP PLAN (SD-HA-001)
5. การตรวจสอบความถูกต้ องของแผนภูมิกระบวนการผลิต (Verify Process Flow Chart)
หลังจากจัดทำแผนภูมิการผลิต ทีมงาน HACCP ได้ท ำการตรวจสอบความถูกต้องของแผนภูมิการผลิตที่จดั ทำขึ้น
เพื่อเปรี ยบเทียบให้สอดคล้องกับกระบวนการผลิตจริ งโดยแผนภูมิการผลิตได้รับการตรวจสอบ และอนุมตั ิให้ใช้โดย
Managing Director / Operation Manager
เอกสารอ้างอิง :
HACCP PLAN (SD-HA-001)

6. การระบุอนั ตรายที่อาจเกิดขึน้ ในแต่ ละขั้นตอน และพิจารณาหามาตรการในการควบคุมอันตรายที่พบ (Hazard


Identification)
ในขั้นตอนนี้ ได้ท ำการประเมินอันตราย (Hazard Assessment) ก่อน โดยทำการระบุอนั ตรายที่มีโอกาสจะเกิดขึ้นใน
แต่ละขั้นตอนการผลิต ตั้งแต่วตั ถุดิบจนถึงการจัดเก็บในคลังสิ นค้า ทั้งนี้ได้ก ำหนดหลักการในการสรุ ปว่าเป็ นอันตรายที่มีผล
ต่อความปลอดภัยของอาหารหรื อ มีนยั สำคัญ (Significant Hazard) ที่จะทำการวิเคราะห์รายละเอียดต่อไป โดยในการพิจารณา
ความมีนยั สำคัญของอันตรายได้อาศัยหลักการพิจารณา ความร้ายแรง (Severity) และความเสี่ ยง (Risk) ที่จะเกิดอันตราย ซึ่ง
ได้แบ่งเป็ นลำดับดังนี้

6.1. ความเสี่ ยง (Risk) หมายถึง โอกาสที่อนั ตรายทั้ง 3 อย่างจะเกิดขึ้น แบ่งเป็ น 4 ลำดับ คือ
Coscom Corporation Co.,ltd เอกสารหมายเลข
(Document No.)
: HM– HA– 01

คู่มือ HACCP (HACCP MANUAL)


แก้ไขครั้งที่ (Revision No.) : 00
เรื่อง : คู่มือ HACCP
วันทีม่ ผี ลบังคับใช้ : 8 / 12 / 2017 หน้ าที่ (Page) : 13 / 20
(Effective Date)

6.1.1. High (H) โอกาสเกิดอันตรายสูง เหตุการณ์เกิดขึ้น 1 ครั้ง ในระยะ 3 เดือน หรื อ เกิดขึ้น 1 Lot ต่อ 3 Lot ต่อ
เนื่อง
6.1.2. Moderate (M) เหตุการณ์เกิดขึ้น 1 ครั้ง ในระยะ 6 เดือน หรื อ เกิดขึ้น 1 Lot ต่อ 6 Lot ต่อเนื่อง
6.1.3. Low (L) เหตุการณ์เกิดขึ้น 1 ครั้ง ในระยะ 9 เดือน หรื อ เกิดขึ้น 1 Lot ต่อ 9 Lot ต่อเนื่อง
6.1.4. Negligible (N) ไม่มีโอกาสเกิดอันตราย (ไม่เคยพบ) หรื อ ไม่เคยเกิดในช่วง 12 Lot ต่อเนื่อง
6.2. ความรุนแรง (Severity) หมายถึง ความรุ นแรง หรื อผลที่เกิดขึ้นจากอันตราย แบ่งเป็ น 3 ลำดับ คือ
6.2.1. High (H) มีผลทำให้อาหารไม่ปลอดภัยโดยชัดเจน สามารถทำอันตรายถึงแก่ชีวิตได้
6.2.2. Moderate (M) มีผลทำให้อาหารไม่ปลอดภัย เป็ นอันตรายต่อผูบ้ ริ โภค
6.2.3. Low (L) มีอนั ตรายต่อผูบ้ ริ โภค แต่ไม่รุนแรงนัก
6.3. ความมีนัยสำคัญของอันตราย (Significance of the Hazard)
6.3.1. Satisfactory (Sa)
6.3.2. Minor (Mi)
6.3.3. Major (Ma)
6.3.4. Critical (Cr)
ขึ้นอยูก่ บั ปัจจัย 2 ปัจจัย ที่พิจารณาร่ วมกัน คือ ความเสี่ ยง (Risk) - ความรุ นแรง (Severity)

Health Risk Assessment Model 2 Dimensional


High Sa Mi Ma Cr
Risk Mod. Sa Mi Ma Ma
(Likelihood Low Sa Mi Mi Mi
of Occurrence) Neg. Sa Sa Sa Sa
Low Mod. High
Serverity
เอกสารอ้างอิง
HACCP PLAN (SD-HA-001)

7. การหาจุดวิกฤติที่ต้องควบคุม (Determine Critical Control Points)


ในขั้นตอนหาจุดวิกฤติในกระบวนการผลิต ได้ท ำการพิจารณาตั้งแต่วตั ถุดิบที่รับเข้า การจัดเก็บ กระบวนการผลิต
การจัดเก็บในคลังสิ นค้าสำเร็ จรู ป จนส่ งสิ นค้าให้ลูกค้า ซึ่งทีมงาน HACCP ได้ระดมสมองร่ วมกันในการพิจารณาโดยใช้หลัก
การของ Decision Tree ในทุกขั้นตอน ซึ่งพิจารณาตามขอบเขตของอันตรายทั้ง 3 ประเภท ทั้งนี้ในบางขั้นตอนที่สามารถ
ควบคุมโดย หลักการตามหลักเกณฑ์ และวิธีปฏิบตั ิที่ดีในการผลิต และตามหลักเกณฑ์ทวั่ ไปเกี่ยวกับสุ ขลักษณะของโรงงาน
อาหารของมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ Codex เช่น โปรแกรมสุขลักษณะของบุคคล โปรแกรมการควบคุมสัตว์พาหะนำ
เชื้อ โปรแกรมการทำความสะอาด ฯลฯ จะระบุลงในช่องการควบคุม / ป้ องกันอันตราย (Hazard Assessment) เอาไว้ และใน
Coscom Corporation Co.,ltd เอกสารหมายเลข
(Document No.)
: HM– HA– 01

คู่มือ HACCP (HACCP MANUAL)


แก้ไขครั้งที่ (Revision No.) : 00
เรื่อง : คู่มือ HACCP
วันทีม่ ผี ลบังคับใช้ : 8 / 12 / 2017 หน้ าที่ (Page) : 14 / 20
(Effective Date)

บางประเด็นจะอาศัยมาตรการควบคุมจากหน่วยงานภายนอก ที่ไม่สามารถควบคุมโดยระบบภายในของบริ ษทั ฯ เช่น


กำหนดให้ผสู้ ่ งมอบสิ นค้า (Supplier) ทำการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ และส่ งใบรับรองผลการตรวจวิเคราะห์ (COA : Certificate
of Analysis) หรื อรับรองจากหน่วยงานที่รับรองผลการวิเคราะห์ ซึ่งผูส้ ่ งมอบที่บริ ษทั ซื้ อสิ นค้าอยู่ ได้ท ำการขึ้นทะเบียน
(ASLs) ไว้ทุกราย และใช้หลักการ *Operational Prerequisite Programmes (Operational PRP คือมาตรการควบคุม (control
measures) ที่ได้จากการวิเคราะห์อนั ตรายเพื่อควบคุมอันตรายที่ระบุให้อยูใ่ นระดับที่ปลอดภัย ในกรณี ที่ซ่ ึงไม่ได้ผา่ นการ
จัดการโดย HACCP PLAN
เอกสารอ้างอิง
HACCP PLAN (SD-HA-001)

8. การกำหนดค่ าวิกฤตของแต่ ละจุดวิกฤต (Establish Critical Limit For each CCP )


ค่าจำกัดวิกฤติ (Critical Limit: CL) ที่ก ำหนดขึ้นสำหรับจุดวิกฤติแต่ละจุด ได้มีแนวทางในการกำหนด ตาม 2 หลัก
เกณฑ์ ดังต่อไปนี้
8.1. จากมาตรฐาน หรื อข้อกำหนดสากลที่บริ ษทั ฯ นำมาใช้
8.2. จากมาตรฐานการออกแบบทางเทคโนโลยี การทดลองของบริ ษทั ฯ ซึ่งอ้างอิงตามหลักวิทยาศาสตร์
เอกสารอ้างอิง
HACCP PLAN (SD-HA-001)
9. การกำหนดการเฝ้ าระวัง (Establish A Monitoring System for Each CCP)
วิธีการเฝ้ าระวังที่ก ำหนดขึ้น เช่น การใช้ Test Pieces ปล่อยผ่านเครื่ องตรวจจับโลหะ (Metal Detector) โดยหลักการ
คือ ตรวจสอบเพื่อหาสาเหตุ และดูแนวโน้มของการเกิดปัญหา ทั้งนี้จะคำนึงถึงโอกาสการเกิดความสูญเสี ยเมื่อกระบวนการ
ผลิตหลุดออกจากจุดควบคุมวิกฤติ เพื่อเป็ นแนวทางที่ใช้ประเมินโอกาสเกิดความสูญเสี ย และให้กระบวนการกักกันสิ นค้าที่
คาดว่าจะมีปัญหามีความแม่นยำมากขึ้นในการเฝ้ าระวังตามมาตรฐานการปฏิบตั ิงานของแต่ละสายการผลิต โดยพนักงาน
ควบคุมคุณภาพ / พนักงานผลิตจะสุ่ มตรวจสอบเป็ นระยะตาม Sampling Plan

ในกรณี การเฝ้ าระวังที่ตอ้ งใช้เครื่ องมือในการตรวจวัด จะทำการสอบเทียบเครื่ องมือดังกล่าวตามแผน เช่น


เครื่ องชัง่ , Thermo - Hygrometer, pH Meter ฯลฯ โดยกรณี การเฝ้ าระวังโดยใช้เครื่ องมือวัดในบางจุดที่วิกฤต เช่น การใช้
Test Pieces ปล่อยผ่านเครื่ องตรวจจับโลหะ (Metal Detector) จะทำการเฝ้ าระวังติดตามอย่างต่อเนื่อง (Continuous) โดยใช้
Test Pieces ปล่อยผ่านเครื่ องตรวจจับโลหะ (Metal Detector) ทุก Batch ที่มีการผลิต เป็ นต้น
เอกสารอ้างอิง
HACCP PLAN (SD-HA-001)

10. การกำหนดวิธีการแก้ไข (Establish the Corrective Action)


ในการกำหนดวิธีการแก้ไขจะครอบคลุมในกรณี ที่เกิดการเบี่ยงเบน (Deviation) จากค่าวิกฤตดังนี้
- การดำเนินการกับ Product เช่น วัตถุดิบ, บรรจุภณั ฑ์ และสิ นค้าสำเร็จรู ปก่อนปล่อยออกจากคลังสิ นค้าสำเร็ จรู ป
- การดำเนินกับ Process เช่น เมื่อพบปัญหามีวิธีการอย่างไรต่อไป
- การดำเนินการกับ Machine เช่น การปรับแต่ง, แก้ไข และซ่อมแซมเครื่ องจักรให้กลับสู่ สภาวะปกติ
Coscom Corporation Co.,ltd เอกสารหมายเลข
(Document No.)
: HM– HA– 01

คู่มือ HACCP (HACCP MANUAL)


แก้ไขครั้งที่ (Revision No.) : 00
เรื่อง : คู่มือ HACCP
วันทีม่ ผี ลบังคับใช้ : 8 / 12 / 2017 หน้ าที่ (Page) : 15 / 20
(Effective Date)

10.1. เมื่อพบการเบี่ยงเบนของผลจากค่าวิกฤต จะทำการระบุสาเหตุการเบี่ยงเบน (Identification of Deviation) โดย


พนักงานผูป้ ฏิบตั ิงานในขั้นตอนที่เกิดปัญหา ทำการบันทึกข้อมูลโดยละเอียด รายงานผูบ้ งั คับบัญชา
10.2. ทำการคัดแยกสิ่ งที่ไม่เป็ นไปตามข้อกำหนด ระบุป้ายแสดงข้อมูลที่เกี่ยวข้องชัดเจน เช่น ปิ ดป้ ายใบแยกสิ นค้า
(Hold) จนกว่าจะตัดสิ นใจดำเนินการต่อไป
10.3. ประเมินสิ่ งที่ไม่เป็ นไปตามข้อกำหนด โดยแผนกประกันคุณภาพ จะทำการสุ่ มตัวอย่างจากสิ่ งที่กกั กันไว้ไป
ทำการตรวจสอบตามสาเหตุการเบี่ยงเบน เพื่อประเมินระดับความเสี่ ยง ซึ่งจะไม่มีการปล่อยสิ นค้าจนกว่าจะมัน่ ใจ
ว่าปลอดภัย ซึ่งต้องทำการวิเคราะห์ผลการตรวจ ก่อนตัดสิ นใจ หลังจากปฏิบตั ิตามหลักการข้างต้นเสร็ จแล้ว แผนก
ประกันคุณภาพ และแผนกผลิตจะทำการบันทึกผลการแก้ไข ปัญหา และสาเหตุของการเบี่ยงเบนที่เกิดขึ้น เพื่อให้
สามารถติดตาม และทวนสอบผลการปฏิบตั ิการแก้ไขปัญหาว่าได้ผลเพียงไร
เอกสารอ้างอิง :
HACCP PLAN (SD-HA-001)

11. การกำหนดวิธีการทวนสอบ (Establish Verification Procedures)


เพื่อเป็ นการยืนยันว่ามีการปฏิบตั ิการควบคุมตามมาตรฐานต่างๆ ที่ระบุไว้ตามแผน โดยจะเน้นการทวนสอบใน
แต่ละจุดวิกฤต การทวนสอบ จะสังเกตจากการปฏิบตั ิการจริ ง เช่น การปฏิบตั ิตามมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน การบันทึกข้อมูล
ต่างๆ ตามแผน HACCP บันทึกผลการปฏิบตั ิงาน ในแต่ละขั้นตอน การควบคุมสิ นค้าที่มีปัญหา และปฏิบตั ิตามแผนการแก้ไข
ปัญหา เป็ นต้น
กิจกรรมการทวนสอบมีดงั นี้
1. ตรวจประเมินการบันทึกข้อมูลการตรวจติดตาม และการแก้ไขเบี่ยงเบนของแต่ละจุด CCP เพื่อให้การทำงานของ
ระบบ HACCP มีประสิ ทธิภาพ และช่วยในการทวนสอบกลับได้ตลอดกระบวนการผลิตในกรณี ที่พบว่าผลิตภัณฑ์
ไม่เป็ นไปตามข้อกำหนด
2. การตรวจติดตามภายใน และความใช้ได้ของระบบ (Internal Audit) ให้ทีมงานตรวจติดตามคุณภาพภายในดำเนิน
การทวนสอบ และตรวจประเมินเอกสาร และผลการปฏิบตั ิงานตามระบบ ตามการตรวจติดตามภายใน (PR-MR-
006)
3. การสอบเทียบเครื่ องมือที่ใช้ในการตรวจติดตาม (Equipment Calibration) โดยเครื่ องมือ และอุปกรณ์ที่จะทำการ
สอบเทียบจะเกี่ยวข้องกับระบบควบคุมที่มีผลต่อคุณภาพ และความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) ซึ่งกำหนด
ความถี่ตามความเหมาะสม และตามความจำเป็ นของเครื่ องมือ และอุปกรณ์ที่ใช้งานตามการควบคุมเครื่ องมือวัด
(PR-QA-009)
4. การวิเคราะห์ตวั อย่างผลิตภัณฑ์ (Testing Sampling Collection and Testing) ซึ่งผลิตภัณฑ์ในแต่ละรุ่ นจะต้องได้รับ
การสุ่ มตัวอย่างเพื่อตรวจวิเคราะห์ตามมาตรฐานความปลอดภัย โดยปฏิบตั ิตามขั้นตอนที่ก ำหนดไว้ ซึ่งต้องมัน่ ใจว่า
ผลการวิเคราะห์เป็ นถูกต้องตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่ก ำหนดไว้ตามการตรวจปล่อยผลิตภัณฑ์ (PR-QA-003)
5. การยืนยันการใช้ได้ ณ.จุด CCP (CCP Validation) เพื่อยืนยันความใช้ได้ของจุด CCP. แต่ละจุดที่ก ำหนดไว้ เช่น
ตรวจสอบประสิ ทธิภาพการทำงานของเครื่ องตรวจจับโลหะ (Metal Detector) เป็ นต้น
6. การตรวจติดตาม Supplier (Supplier Audit) ดำเนินการประเมินแหล่งผลิตที่มาของปัจจัยการผลิตที่อาจส่ งผลกระทบ
ต่อคุณภาพ และความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) การคัดเลือกผูข้ าย และประเมินผูข้ าย (PR-PP-001)
Coscom Corporation Co.,ltd เอกสารหมายเลข
(Document No.)
: HM– HA– 01

คู่มือ HACCP (HACCP MANUAL)


แก้ไขครั้งที่ (Revision No.) : 00
เรื่อง : คู่มือ HACCP
วันทีม่ ผี ลบังคับใช้ : 8 / 12 / 2017 หน้ าที่ (Page) : 16 / 20
(Effective Date)

เอกสารอ้างอิง :
HACCP PLAN (SD-HA-001) / การตรวจติดตามภายใน (PR-MR-006) / การตรวจปล่อยผลิตภัณฑ์ (PR-QA-003) /
การควบคุมเครื่ องมือวัด (PR-QA-009) / การคัดเลือกผูข้ าย และประเมินผูข้ าย (PR-PP-001)

12. การกำหนดวิธีการจัดทำเอกสาร และการจัดเก็บบันทึกข้ อมูล (Establish Documentation and Record Keeping )


เอกสารในระบบคุณภาพของบริ ษทั ฯ จะถูกควบคุมโดยเจ้าหน้าที่ควบคุมเอกสาร (Document Control) ซึ่งได้แก่
เอกสารสนับสนุน (Support Document), ขั้นตอนดำเนินงาน (Procedure), วิธีการปฏิบตั ิงาน (Work Instruction), คู่มือการเดิน
เครื่ อง, มาตรฐานของวัตถุดิบ-บรรจุภณั ฑ์-สิ นค้าสำเร็ จรู ป และเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคุณภาพ
เอกสาร และบันทึกคุณภาพทุกชนิด กำหนดอายุการเก็บรักษาอย่างน้อยเท่ากับอายุผลิตภัณฑ์ หรื อตามความเหมาะ
สมของการใช้ จึงจะทำลายเอกสารได้
เอกสารอ้างอิง :
โครงสร้าง และรู ปแบบเอกสารในระบบบริ หารคุณภาพ และระบบ GMP/HACCP (PR-MR-001)
การควบคุมเอกสาร (PR-MR-002) / การควบคุมบันทึก (PR-MR-003)

การทวนสอบระบบ HACCP มีดงั นี้


การทวนสอบระบบ HACCP กำหนดไว้ทุก 6 เดือน คือ เดือนพฤษภาคม และเดือนพฤศจิกายนของทุกปี หรื อเลื่อน
ออกไปไม่เกิน 1 เดือน โดยทำการประเมินระบบจากทีมทวนสอบของบริ ษทั ฯ เอง และบันทึกผลการทวนสอบในรายงานการ
ทวนสอบระบบ HACCP ที่ด ำเนินไว้ โดยหัวข้อการทวนสอบระบบ HACCP ประกอบด้วย
1. การจัดตั้งทีมงาน HACCP
2. การกำหนดขอบข่ายของ HACCP
3. การกำหนดรายละเอียดผลิตภัณฑ์
4. การกำหนดวัตถุประสงค์ในการใช้ผลิตภัณฑ์
5. การจัดทำแผนภูมิกระบวนการผลิต
6. การทวนสอบความถูกต้องของแผนภูมิกระบวนการผลิต
7. การระบุอนั ตรายทุกชนิดที่อาจเกิดขึ้น และทำการวิเคราะห์อนั ตราย
8. พิจารณาหามาตรการในการควบคุมอันตรายที่ระบุไว้
9. การหาจุดวิกฤติที่ตอ้ งควบคุม
10. การกำหนดค่าวิกฤติของแต่ละจุดวิกฤติ
11. การกำหนดการตรวจติดตามของ CCP, OPRP
12. การกำหนดวิธีการแก้ไข
13. การกำหนดวิธีการทวนสอบ
14. การกำหนดวิธีการจัดทำเอกสาร และการจัดเก็บบันทึกข้อมูล
15. การฝึ กอบรม
16. การตรวจสุ ขภาพพนักงาน
17. การควบคุมสุ ขลักษณะส่วนบุคคล
Coscom Corporation Co.,ltd เอกสารหมายเลข
(Document No.)
: HM– HA– 01

คู่มือ HACCP (HACCP MANUAL)


แก้ไขครั้งที่ (Revision No.) : 00
เรื่อง : คู่มือ HACCP
วันทีม่ ผี ลบังคับใช้ : 8 / 12 / 2017 หน้ าที่ (Page) : 17 / 20
(Effective Date)

18. การทำความสะอาด และการสุ ขาภิบาล


19. การควบคุมสัตว์พาหะนำโรค
20. การควบคุมสารเคมี
21. การควบคุมแก้ว และพลาสติกแข็ง
22. การควบคุมขยะของเสี ย
23. การซ่อมบำรุ ง

เอกสารอ้างอิง :
HACCP PLAN (SD-HA-001) / รายงานการทวนสอบระบบ HACCP

You might also like