You are on page 1of 36

1  Mth

1. เมทริกซ์
1.1 ความหมายและสัญลักษณ์ ของเมทริกซ์
บทนิยาม เมทริกซ์ หมายถึง การนําจํานวนจริงหรือจํานวนเชิงซ้ อน มาเขียนในรูปแถวและหลัก  
ซึงถูกล้ อมรอบด้ วย ( ) หรือ [ ]แต่ละจํานวนในเมทริกซ์เรียกว่า สมาชิกของเมทริกซ์
 

สมาชิกของเมทริกซ์ทีเรียงกันอยู่ตามแนวนอนและแนวตัง เรียกว่าสมาชิกทีอยูใ่ นแถว (row) และอยู่ใน


หลัก (column)ของเมทริกซ์ ตามลําดับ
 

บทนิยาม สําหรับแต่ละจํานวนเต็มบวก m และ n ใด ๆ ถ้ า A เป็ นเมทริกซ์ซึงมี m แถว  n หลัก  


กล่าวว่า A เป็ น m  n เมทริกซ์ และกล่าวว่า A มีมิติ (dimension) เท่ากับ m  n

โดยทัวไป เราจะเขียนสัญลักษณ์ A =  a ij 


  mn
โดยที aij แทนสมาชิกของ A ในแถวที i หลักที j 
 
1.2 การเท่ ากันของเมทริกซ์
 

บทนิยาม กําหนดเมทริกซ์ A =  aij   และ B =   bij 


  mn
  
mn
              A = B  ก็ตอ
่ เมือ aij = bij  สําหรับทุก ๆ i, j  = 1, 2, 3, …, m  
   
1.3 เมทริกซ์ บางชนิดทีควรรู้
ั ุรัส (Square matrix) เมทริกซ์ทีมีจํานวนแถวและหลักเท่ากัน
(1) เมทริกซ์ จต  
และจะมี“ เส้ นทแยงมุมหลัก” (main diagonal) 
 a11 a12 ... a1n 
a a 22 ... a 2n 
               A   21     

a n1 a n2 ... a nn 
 

  (2) เมทริกซ์ แบบแถว (Row matrix) เมทริกซ์แบบแถว หมายถึง เมทริกซ์ทีมีมิติ 1×n 


       
  (3) เมทริกซ์ แบบหลัก(Column matrix) เมทริกซ์แบบแถว หมายถึง เมทริกซ์ทีมีมิติ n× 1
 
      (4)    เมทริกซ์ ศูนย์ (Zero matrix) เมทริกซ์ทีมีสมาชิกทุกตัวเป็ นศูนย์ทงหมด
ั และใช้ สญ
ั ลักษณ์ 0
     
 
2  Mth

  (5) เมทริกซ์สามเหลียม
    เมทริกซ์สามเหลียมบน(Upper triangular matrix)   
คือ เมทริกซ์จตั รุ ัสทีมีสมาชิกทุกตัวซึงอยู่ใต้ เส้ นทแยงมุมหลักมีคา่ เท่ากับ 0    
1 0 2
1 2  
เช่น     0 3  ,    0 3 4    
  0 0 0
 
เมทริกซ์สามเหลียมล่ าง (Lower triangular matrix)
    คือ เมทริกซ์จตั รุ ัสทีมีสมาชิกทุกตัวซึงอยูเ่ หนือเส้ นทแยงมุมหลักมีคา่ เท่ากับ 0
 1 0 0 
 1 0  
เช่น       ,    0

3 0   ,   

1 3   1 2 0 
 
(6) เมทริกซ์เฉียง (Diagonal matrix) คือ เมทริกซ์จตั รุ ัสทีมีสมาชิกทีไม่ อยู่บนเส้ นทแยงมุมหลัก  
ทุกตัวมีคา่ เป็ น 0  ทังหมด
 
 4 0 0 
 
เช่น  1 0   ,    0 1 0   
0 2  0 0 0 

 
         สัญลักษณ์ ถ้ า A =  aij  nn =  diag ( a11, a 22,..., a nn ) 
 

(7) เมทริกซ์สเกลาร์ (Scalar matrix) คือ เมทริกซ์จตั รุ ัสทีมีสมาชิกทุกตัวบนเส้ นทแยงมุมหลัก 


มีคา่ เท่ากัน ส่วนสมาชิกอืนๆทีเหลือมีคา่ เป็ น 0  ทังหมด
 
1 0 0 
 
เช่น  2 0   ,    0 1 0 
0 2  0 0 1 

 
  (8)  เมทริกซ์ เอกลักษณ์ (Identity matrix)คือ เมทริกซ์จตั รุ ัสทีมีสมาชิกทุกตัวบนเส้นทแยงมุม
หลักมีคา่ เป็ น 1 ส่วนสมาชิกอืนๆทีเหลือมีคา่ เป็ น 0  ทังหมด  
เราจะใช้ In  แทนเมทริกซ์เอกลักษณ์ทีมีมิติ n × n
1 0 0
1 0
เช่น I2 =  
 0 1 
 ,   I3     0 1 0   
 
 0 0 1 
   

1.4 การบวกเมทริกซ์ ด้วยเมทริกซ์


ให้ A และ B เป็ นเมทริกซ์ทีมีมิตเิ ดียวกัน
  A + B คือ เมทริ กซ์ทีมีสมาชิกแต่ละเป็ นผลบวกของสมาชิกทีอยูใ่ นตําแหน่งเดียวกันของ A และB 
  
  สมบัตกิ ารบวกของเมทริกซ์
มีสมบัติปิด การเปลียนกลุม่ ได้ การสลับทีได้ มีเอกลักษณ์การบวกคือ 0 และมีอินเวอร์การบวก
3  Mth

1.5 การคูณเมทริกซ์ ด้วยสเกลาร์


  ถ้ า k เป็ นจํานวนจริงใด ๆ kA คือเมทริ กซ์ทีเกิดจากการนํา k ไปคูณกับสมาชิกทุกตัวของเมทริ กซ์ A  
 
สมบัตกิ ารคูณเมทริกซ์ ด้วยสเกลาร์
สําหรับเมทริกซ์ A, B ทีมีมิติ m  n และ c, d เป็ นจํานวนจริงใด ๆ 
1.   1A  = A และ –1A  =  –A      2.   (cd)(A)  =  c(dA)   
  3.  c(A + B)  =  cA + cB   และ     4.  (c + d)A  =  cA + dA 
  5.  0A  =  0             6.  c 0   =  0  
 
1.6 การคูณเมทริกซ์ ด้วยเมทริกซ์
ถ้ า A =  a ij   และ B =  bij     
m p q n
ผลคูณระหว่างเมทริกซ์ A และ B จะเกิดขึนได้ ก็ตอ่ เมือ p = q และผลคูณทีได้ จะมีมิติ m  n   

นันคือ        A  B   =  a ij      bij 


  q n
 =  C =   cij 
  m n
 
m p
  p = q 
เมือ cij  a i1b1j  a i2b2j  a i3b3 j  ...  a in bnj  
  (สมาชิกในแถวที i ของ A คูณ กับสมาชิกในหลักที j ของ B) 
เช่น  
 
 
 
 
สมบัตกิ ารคูณด้ วยเมทริกซ์ ด้วยเมทริกซ์ 
ให้ A, B และ C เป็ นเมทริกซ์ทีสามารถคูณกันได้  
1.  (AB)C    =  A(BC)       
  2.  A(B + C) = AB + AC        
  3.  ให้ A มีมิติ n  n  และ In  จะได้ A In  =  In A  =  A     
   
ข้ อควรระวัง
1.  AB  BA 
2.  (A + B) 2   =  A 2  + AB + BA + B 2  
3.  (A – B)(A + B)  =  A 2 + BA – AB – B 2  
4.  ถ้ า AB  =  0 แล้ ว A =  0  หรื อ B =  0   เป็ นเท็จ
5.  ถ้ า AB = AC  โดย A   0   ไม่จําเป็ นที  B = C 
4  Mth

1.7 ทรานสโพสของเมทริกซ์ (Transpose Matrix)


ทรานสโพสของเมทริกซ์ A คือเมทริกซ์ทีเกิดจากการนําเอาสมาชิกในแถวที i มาสลับเป็ นหลักที i   
และแทนด้ วยสัญลักษณ์ A t หรือ AT  
สมบัติของทรานสโพสของเมทริกซ์
1.  (A t ) t   =  A           2.  (kA) t   =   kA t  
  3.  (A ± B) t  = A t  ± B t         4.  (AB) t   =   B t A t  
  5.  (A n ) t   =  (A t ) n   เมือ n  I 
 
1.8 ตัวผกผันการคูณหรื ออินเวอร์ สการคูณของเมทริกซ์ 2 × 2
ถ้ า  A เป็ น 2  2 เมทริกซ์ ตัวผกผันการคูณหรืออินเวอร์สการคูณของเมทริกซ์ A คือ   A–1 โดยมี
เงือนไขว่า AA –1       A –1A         In เมือ In เป็ นเมทริกซ์เอกลักษณ์มิติ 2  2
a b  1  d b 
  ถ้ า A =      แล้ ว A    =   
–1
     
c d ad  bc  c a 
 
  
 
 
หมายเหตุ
เมทริกซ์มิใช่เอกฐานหรือนอนซิงกูลาร์เมทริกซ์ (non–singular matrix) คือเมทริกซ์ทีมีอินเวอร์ส
  เมทริกซ์เอกฐานหรือซิงกูลาร์เมทริกซ์ (singular matrix) คือเมทริกซ์ทีไม่มีอินเวอร์ส

ตัวอย่ าง
 
 x  y 2  2 y 1 a 
1.   กําหนดให้ A =    ,  B =      และ C =    
3 z 2 y  0 1
     
ถ้ า AB = C แล้ ว  a  จะมีคา่ เท่ากับค่าใดต่อไปนี 
29 27 19 17
1.         2.         3.         4.    
36 36 36 36
 
 
 
 
 
 
 
5  Mth

2.   ให้ A และ B เป็ นเมทริกซ์ทีมีมิติ 2  2 โดยที A  B = AB – BA ข้ อความใดต่อไปนีไม่ ถกู ต้ อง 
1.  A  B  =  B  A           
  2.  A  A =  0  
  3.  A  I  =  I  A           
  4.  A  (B+C) = (A  B)+(A  C) 
 
 
 
 
3.   ให้ A และ B เป็ นเมทริกซ์ทีมีมิติ 2  2 จงพิจารณาข้ อความต่อไปนี 
ก. ถ้ า  A = – A t  แล้ ว สมาชิกในแนวทแยงมุมจากบนซ้ ายถึงล่างขวาของ Aเป็ น 0 ทังหมด 
ข. ถ้ า A2 = B และ B เป็ นนอนซิงกูลาร์เมทริกซ์ แล้ ว A เป็ นนอนซิงกูลาร์เมทริกซ์ด้วย 
ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
1.  ก. และ ข. จริ ง    
  2.  ก. จริ ง และ ข.เท็จ 
3.  ก. เท็จ และ ข.จริ ง  
  4.  ก. และ ข. เท็จ 
 
 
 
4.   ถ้ า A และ B เป็ นเซตของเมทริกซ์ กําหนดโดย 
 1 n 
 1 
A  =     | n         
0 1
 
 1 n 
0
  และ  B  =    0 1  n  

 
 
แล้ วข้ อใดต่อไปนีเป็ นจริง 
1.  A เป็ นเซตจํากัด และ B เป็ นเซตจํากัด 
2.  A เป็ นเซตจํากัด และ B เป็ นเซตอนันต์ 
3.  A เป็ นเซตอนันต์ และ B เป็ นเซตจํากัด 
4.  A เป็ นเซตอนันต์ และ B เป็ นเซตอนันต์ 
 
 
 
6  Mth

 3 1 
 sin x cos x  cos x sin(x  y)  
5.    ถ้ า 
 1 0

  sin x 0

   2
 3
2 
 เมือ 0  x  ,  0  y    
     1 
 2 
แล้ ว   tan (2x + y)  มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1 1
1.          2.    3       3.         4.   3  
3 3
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 cos  sin   1 0
6.   กําหนด A =    , I =      และ B    A  (A )  2I   
2 1 2
sin   cos   0 1 
 
ดังนัน (A1 )2 B   มีคา่ ตรงกับข้ อใดต่อไปนี 
1.  2I       2.  4I       3.  4A      4.  8A 
 
 
 
 
 
 
 
 
 0 1  2 1  1 0 
7.   กําหนดให้ A =    , B =      และ C =    
 1 2   1 3   1 2 
ถ้ า X = (B + C)A  แล้ ว X –1    คือเมทริ กซ์ในข้ อใดต่อไปนี 
 2 1 2 1  1 1  1 1 
1.        2.        3.        4.     
 1 1   1 1  1 0   1 0 
 
 
 
 
7  Mth

3 4  1 2 a b 
8.   กําหนดให้ A =    ,  B =      และ X =    
2 3   1 3  
c d

ถ้ า AX + B = A  แล้ ว b + c มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1.  7       2.  9       3.  10      4.  11 
 
 
 
 
 
 
a 4 
9.   กําหนดเมทริกซ์ A =  2  ถ้ า   A2 – 4A – 5I    0 แล้ ว a, b จะมีคา่ เท่ากับเท่าใด 
 b
1.  a = 1, b = –3  หรื อ a = –3, b = 1 
  2.  a = –1, b = –3  หรื อ a = –3, b = –1 
  3.  a = 1, b = 3  หรื อ a = 3, b = 1 
  4.  ไม่มีคําตอบข้ อใดถูก 
 
 
 
 
 
 
 
 cos  sin  
10.   กําหนด  A =     เมือ   > 0 และให้ 1 และ 2 เป็ นจํานวนจริงทีน้ อยทีสุดทีทําให้  
  sin  cos  
  A16   I  และ A16  –I  ตามลําดับแล้ วค่าของ 1 และ 2 มีคา่ ตามลําดับตรงกับข้ อใดต่อไปนี
   
1.   , 0      2.   0,       3.   ,            4.  ไม่มีข้อถูก 
16 16 16 16
 
 
 
 
 
 
8  Mth

 cos2 x 1
11.   ให้ A = {x |     เป็ นซิงกูลาร์ เมทริ กซ์ และ x  [0, ]} ข้ อใดต่อไปนีเป็ นจริง 
2  sin x 2
1.  x [x  A และ 0 < |sin x – cos 2x| < 1} 
  2.  x [x  A  |sin x – cos 2x| > 1} 
  3.  x [x  A และ |sin x – cos 2x|  1} 
  4.  x [x  A  0 < |sin x – cos 2x|  1} 
 
 
 
 
 1 2 3 2 3 4  1
12.  กําหนดเมทริกซ์ A  , B    และ C     
 4 5 6   3 4 5   2 
ถ้ า X  เป็ นเมทริกซ์ทีมีสมบัติวา่ AX = C  แล้ วผลบวกของสมาชิกทุกตัวในเมทริกซ์ BX  
เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1.   –1      2.  0       3.   1       4.  2 
 
 
 
 
 
 
 
 
4 2
13.  กําหนด A =   2 8 
  และ B, C เป็ นเมทริ กซ์ซงึ (BCt )A  4B1  6C และ  

A  3C  2B1 ผลบวกของสมาชิกทุกตัวในเมทริกซ์  C  เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1.  –1      2.  1       3.  3       4.   5 
 
 
 
 
 
 
 
 
9  Mth

2. ดีเทอร์ มิแนนท์ (Determinant)


ความหมายและการหาดีเทอร์ มิแนนต์
บทนิยาม ดีเทอร์มิแนนท์ เป็ นฟั งก์ชนั จากเซตของเมทริกซ์จตั รุ ัสไปยังเซตของจํานวนจริง 
ดีเทอร์มิแนนท์ของเมทริกซ์ A เขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ det(A) หรือ |A| 

วิธีการหาดีเทอร์ มิแนนท์  
1.  เมทริ กซ์ทีมีมิติ 1  1 แล้ ว  det(A) = สมาชิกของเทริ กซ์ 
a b
2.  เมทริ กซ์ทีมีมิติ 2  2 แล้ ว     = 
c d

a b c
3.   เมทริ กซ์ทีมีมิติ 3  3   d e f         =   
g h i

                                              
การหาดีเทอร์ มิแนนต์ ของเมทริกซ์ โดยการกระจายโคแฟคเตอร์
กําหนดให้  A =  a ij      
n n
  ไมเนอร์ ( Mij (A) ) ของสมาชิก a ij ของ A  
คือดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์ทีเหลือจากการตัดแถวที  i หลักที j ของเมทริกซ์ A ออกไป
โคแฟกเตอร์  ( Cij(A) ) =  (1)i    j Mij(A)  

  ดีเทอร์ มิแนนท์ ของ A ผลของสมาชิกแต่ละตัวในแถว(หลัก)หนึงกับโคแฟกเตอร์ของสมาชิกนันๆ  


 

สมบัติบางข้ อของดีเทอร์ มิแนนท์ ให้ A และ B เป็ นเมทริกซ์จตั รุ ัสมิติ n  n และ k เป็ นค่าค่งที
  1.  det(A)  =  det( A t ) 
  2.  det(AB)  =  det(A) det(B) 
  3.  det( A m ) =  (det(A))m  
1
  4.  det( A –1 ) =   
det(A)
  5.  det(kA)  =  k n det(A) 
  6.  ถ้ า A มีสมาชิกทุกตัวในแถว(หลัก) เป็ น 0 ทังหมด จะได้ วา่ det(A) = 0 
  7.  ถ้ า A มีสมาชิกในสองแถว(หรื อในสองหลัก)ใดเท่ากัน จะได้ วา่ det(A) = 0 
  8.  ถ้ า B เกิดจาก A โดยการสลับแถวคูใ่ ดคูห
่ นึง (หรือสลับหลักคูใ่ ดคูห่ นึง) แล้ ว det B = –det A 
  9.  ถ้ า B เกิดจาก A โดยการคูณหนึง(หรื อหลักหนึง)ด้ วย k แล้ ว det(B) = kdet(A) 
  10. ถ้ า B เกิดจาก A โดยการคูณแถวหนึง (หลักหนึง) ด้ วยค่าคงตัวแล้ วนําไปบวกกับแถวหนึง  
(หลักหนึง) จะได้ วา่ det(B) = det(A) 
10  Mth

3.   อินเวอร์ สการคูณของเมทริ กซ์  

เมทริกซ์ ผกู พัน (adjoint matrix) 


กําหนดให้  A =  a ij      
n n
เมทริกซ์ ผกู ผันของ A คือ คือทรานสโพสเมทริกซ์ของโคแฟกเตอร์เมทริกซ์ของ A แทนด้ วย adj(A) 
t
            นันคือ adj(A)  =   Cij(A)
 

อินเวอร์ สการคูณของเมทริกซ์
1
  ถ้ า det(A)  0 จะได้ วา่     A –1    adj(A)
det(A)
   
ข้ อควรจํา  (1)   adj(A)  det(A) A 1  
(2)  A adj(A) = adj(A) A = det(A) I  
1
    (3)   adj(A 1 )  A 
dat(A)
    (4)   adj(kA)  kn 1 det(A)A 1          

    (5)  det(adj(A)) =   det(A) n1            


 

1 2 3
 
เช่น A =   1 0 2    จงหา adj(A), A 1  และ det(adj(A)) 
 3 1  1
 
11  Mth

ตัวอย่ าง
 

 1 1 
1.    ถ้ า A =     แล้ ว  det(–2 A A  (A + A )) เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
3 t t

 3 1
1.  768      2.  –768      3.  384      4.  –384 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 c 1
2.   ให้ A =     และ  det( 2A ) +  (1  –  c ) det (A )    = 45 
2 2 3 –1 t
1  c 
จงหาว่าจํานวนจริง c ทังหมดทีสอดคล้ องกับสมการข้ างต้นอยู่ในเซตใดต่อไปนี 
1.  {–3, –2,  5 }  2.  {2, 3, – 5 }   3.  {– 2 , 2, 3}   4.  { 2 , –2, 2} 
 
 
 
 
 
 
 
 
log 3x 5x
3.   ให้  เป็ นเซตของจํานวนจริง และ f :     กําหนดโดย  f(x) =  
log 3x 1 x
เซตคําตอบของสมการ f(x) = 0 เป็ นสับเซตของเซตในข้อใดต่อไปนี 
1.  [0, 1]      2.  {0}  (1, )   3.  [–1, 0]      4.  (–, –1)  {0} 
 
 
 
 
12  Mth

  x2  x 1 
 
4.   ให้ f(x) =  det   0 1 2     
 x 1 1 
 
ถ้ าช่วง [a, b] เป็ นเซตคําตอบของอสมการ f(x)  –2 แล้ ว |a – b| คือข้ อใดต่อไปนี 
1 2 4 5
1.         2.         3.         4.    
3 3 3 3
 
 
 
 
 
 
 
 2 5 1
 
5.  ให้ A =   1 k 1   
 2 1 3 
ถ้ า k เป็ นจํานวนจริง ซึงทําให้ det(A2 – 2A) มีคา่ น้ อยทีสุดแล้ ว det(A) มีคา่ เท่ากับเท่าใด 
1.  10      2.  15      3.  20      4.  25 
 
 
 
 
 
 
 
 
6.   กําหนดให้  A, B, C เป็ นเมทริกซ์มิติ 2  2 และ I เป็ นเมทริกซ์เอกลักษณ์มิติ 2  2 และ 
 6 1 
ถ้ า   det(– A 3 ) = det( 2 2 I), det( C  –1 ) = 4  และ   AB tC =      
 4 2 
แล้ ว det(B) มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1.  det(4I)     2.  det(16I)    3.  det( A 3 )    4.  det( C3 ) 
 
 
 
 
 
13  Mth

7.    กําหนดให้ A และ B เป็ นนอนซิงกูลาร์เมทริกซ์ขนาด 2  2 โดยที  det( A–1 ) = – 1  
2
 1 2 
และ B =      เมือ x และ y เป็ นจํานวนจริ ง  
 x y 
ถ้ า AB + 3A = 2I   แล้ ว x + y  เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1.  2       2.  –2      3.  4       4.  –4 
 
 
 
 
 
 

2 1 x x 
8.    ถ้ า A =     และ M =   3    
1 3 x  3
   7 
เซตของจํานวนจริง x ทีทําให้  det(M) = det[(2A + A t ) A–1 ]   คือเซตในข้ อใดต่อไปนี 
11 
 11   11   11 
1.    ,  5     2.    , 5          3.    ,  5          4.    , 5   
 7 

 7   7   7 
 
 
 
 
 
 
 
 cos 2x  sin x cos x 
9.   กําหนดให้ A =      
2 sin 3x cos 3x 

  และ S = {x  [0, ] | 2det( A2 ) – 3 3 det(A) + det( 3 I) = 9 } 
ผลบวกของสมาชิกทังหมดของ S มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
2 3 4 5
1.         2.         3.         4.    
6 6 6 6
 
 
 
 
 
14  Mth

 sin 2x sin 3x    
10.   ให้ A =      โดยที x    ,  ถ้ า x สอดคล้ องกับสมการ    
cos 2x cos 3x   2 2
 
    det( A2 ) + det(–A) + det(2I) = 6 เมือ I เป็ นเมทริกซ์เอกลักษณ์  
แล้ ว x มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1.  arcsin 1    2.  arcsin(–1)    3.  arccos 1       4.  arccos(–1)  
 
 
 
 
 
 
 
1 2 
11.  กําหนด A =    
1 1 
    B =  I  A  A2    A9  
และ C =  I – A  A2 –  – A9  
ถ้ า det(B) = k det(C) แล้ ว k มีคา่ เท่ากับเท่าใด 
1.  2       2.  3       3.  4       4.  5 
 
 
 
 
 
 
1 2 
12.   กําหนดให้ A และ B เป็ นเมทริกซ์จตั รุ ัส โดยที A =     และ (AB)  = (AB)  
t –1

2 5
ข้ อใดต่อไปนีถูก 
1.  det(A) = det(B)           
  2.  det(A)det(B) > 0 
  3.  det(A)det(B) < 0          
  4.  det(A 2 ) = det(B 2 ) 
 
 
 
 
15  Mth

13.    ให้ A, B และ C เป็ นเมทริ กซ์มิติ 3  3 ถ้ า det(A) = –3 และ AtB – 2AtC t  –3A –1  

แล้ ว det( 2C – Bt ) เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 


1.  –3      2.  –1      3.  1       4.  3 
 
 
 
 
 
 
 
 

14.   ให้ A, B เป็ นเมทริกซ์จตั รุ ัสมิติ 3  3 โดยที    B = A –1 +  5 I3     


2
  ถ้ า  3A 2
 – 2 I3  = 5A   และ det(A) = 80   แล้ ว ค่าของ det(B) เท่ากับเท่าใด 
1.  120      2.  200      3.  270      4.  400 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
15.    ถ้ า A =  a ij   เมือ aij เป็ นจํานวนจริ ง และ n เป็ นจํานวนเต็มทีมากกว่า 1 แล้ ว ข้ อใดต่อไปนีผิด 
  n n
1.  det(AAt) = det(A2)     
  2.  det(kA)2 = k2ndet(A2) เมือ k เป็ นจํานวนจริง 
  3.  det(A2 + A) = [det(A) + 1]det(A) 
  4.  [det(A)]I = A(adj(A)) = (adj(A))A 
 
 
 
 
 
16  Mth

 x 5 1 
16.   ให้ A =   0 4 2    ซึง det(A) = –1 และ x  R ถ้ า I เป็ นเมทริ กซ์เอกลักษณ์ขนาด 3  3  
 0 0  x 

แล้ ว det(2(I – A) A t ) มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 


1.  4       2.  8       3.  12      4.  18 
 
 
 
 
 
 
 a 1 0 
17.   ให้ a, b และ c เป็ นจํานวนจริ ง และ A =   b 1 1    
 c 1 1 
ถ้ า C12 (A) = 1 และ det(A) = –5 แล้ ว  a เท่ากับค่าในข้ อใดต่อไปนี 
1.  –5      2.  –1      3.  2       4.  3 
 
 
 
 
 
18.   ให้ A เป็ นเมทริกซ์จตั รุ ัสมิติ 44 และ Mij (A) คือ ไมเนอร์ของ a ij  
ถ้ า M23 (A) = 5 แล้ ว M32 (2At) เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1.  10      2.  20      3.  40      4.  80 
 
 
 
 
 
19.   ให้ A เป็ นเมทริกซ์มิติ 3  3 เมือมีไมเนอร์ของ A ดังนี
1 3 1 1 2 1
M13 (A) = ,  M21(A) = และ M32 (A) =  
1 2 2 4 1 0
แล้ ว det(A) มีคา่ เท่ากับเท่าใด 
  1.  15      2.  16      3.  17      4.  18 
 
17  Mth

x y 4
20.   กําหนดให้ A =  3 8
 0  โดยโคแฟกเตอร์ ของ a21 = –6, โคแฟกเตอร์ ของ a23 = 4   
 
x  y 1
 
แล้ วโคแฟกเตอร์ของ a 33 มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1.  –14      2.  –13      3.  13      4.  14 
 
 
 
 
 
 
 
 5 4 6 C (A) C23 (A)
21.   ถ้ า A =   2 0 7     และ B  =    13     
  3 2 
1 2 0 
 
 
แล้ ว det(-2B–1) มีคา่ เท่ากับเท่าใด 
1.  0.4      2.  0.8      3.  1.2      4.  1.6 
 
 
 
 
 
 
 4 12 9 
 
22.  กําหนดให้ A =   7 10 5   และ B, C, D เป็ นเมทริ กซ์มิติ 3 × 3   
 
 1 0 0 
 

ซึง A ~ B ~ C ~ D  โดยที   B  ได้ จาก A  โดยกาดําเนินการ R1  4 R2  


3
C  ได้ จาก B  โดยการดําเนินการ 5 R 1   D  ได้ จาก C  โดยการดําเนินการ R 23  
  แล้ ว det(D)  เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1.   –3,750     2.   –150       3.   150      4.  3,750 
 
 
 
 
 
 
18  Mth

23.   ถ้ า A, B เป็ นเมทริกซ์จตั รุ ัสมิติ 3  3 และ I เป็ นเมทริกซ์เอกลักษณ์มติ ิ  3  3  


1 1 1
ถ้ า AB = BA = I และ A =  2 1 3   แล้ ว เมทริกซ์ผกู พันของ B เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1 0 1 
1 1
1.   A       2.  –3A      3.   At       4.  –3 At  
3 3
 
 
 
 
 
 
 
 
24.   ให้ A และ B เป็ นเมทริกซ์จตั รุ ัสมิติ 4  4 และ I เป็ นเมทริกซ์เอกลักษณ์มิติ 4  4  
โดยที   A(adj(A)) – BA = I ถ้ า det(B) = 0 แล้ ว det(A) มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1.  –1      2.  0       3.  1       4.  2 
 
 
 
 
 
 
 
 1 2 1
 
25.    กําหนดให้ A =   2 1 1   และ I เป็ นเมทริ กซ์เอกลักษณ์มิติ 3  3 
 1 1 1 
 
ถ้ า B เป็ นเมทริกซ์ทีทําให้ AB = BA = I แล้ วค่าของ det[adj((3B) –1)] เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1 1
1.         2.         3.  9       4.  27 
27 9
 
 
 
 
 
 
19  Mth

1 2 0 
 
26.  ถ้ า A เป็ นเมทริ กซ์ ซึง  A–1 =   3 1 1 ,x > 0 
 x 0 2 
 
และ det(2adj(A)) =  1  แล้ ว x เป็ นจริงตามข้ อใดต่อไปนี 
18
1.  x < 5      2.  5  x < 9    3.  9  x < 13    4.  x  13 
 
 
 
 
 
 
 
 
27.   ให้ A เป็ นเมทริกซ์ และ I เป็ นเมทริกซ์เอกลักษณ์ มิติ 3  3 
 1 2 1  0 2 3 
ถ้ า  B =   3 0 1   และ C =  3 1 2   สอดคล้ องกับ AB – AC –  1 I  = 0  
 
2
 2 1 0   0 2 1 
แล้ ว A–1 คือเมทริกซ์ในข้ อใดต่อไปนี 
1 0 2 2 0 4  1 0 2   2 0 4 
1.    0 1 1   2.    0 2 2    3.    0 1 1    4.    0 2 2   
       
 2 1 1  4 2 2   2 1 1   4 2 2 
 
 
 
 
 
 
 

28.   ถ้ าA =  32 2


2 
แล้ ว   det(4(A1))    det(4(A1 )2 )   det(4(A1 )3 )       มีคา่ เท่าใด 

1.  15.75      2.  15.25      3.  16      4.  16.25 
 
 
 
 
 
20  Mth

29.   กําหนดให้ A และ B เป็ นเมทริกซ์มิติ 3  3 โดยที  A(adj(2B –1)) – I = B  และ det(B) = 4   


แล้ ว  det(A – I) มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1 1 1
1.  0       2.         3.         4.    
6 4 2
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
30.   กําหนดให้ A  เป็ นเมทริกซ์มต
ิ ิ 3 × 3   และ  
A ij คือเมทริกซ์ทีได้ จากการตัดแถวที i และหลักที j  ของเมทริกซ์ A ออก 
 2 5 1
   1 2  1 1
ถ้ า adj A  =    28 10 1 , A11   , A32    
5 8 3 2 
 17 5 1    
 
  แล้ ว det(A)   มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1.   –92      2.   –15      3.   15      4.   92 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
21  Mth

3. การแก้ ระบบสมการเชิงเส้ นโดยใช้ เมทริกซ์


ถ้ ากําหนดระบบสมการเชิงเส้ น 
a11 x1  a12 x2  ...  a1n x n  b1  a11 a12  a1n   x1   b1 
a21 x1  a 22 x2  ...  a2n x n b2     
  a21 a22  a 2n   x2    b2  …..…*
              
    
a n1x1  a n2 x2  ...  a nn x n  bn  a n1 a n2  a nn   x n   b n 
 
สมการจะอยู่ในรูปAX   =   B โดยที  
 a11 a12  a1n 
a a22  a2n 
 21
เรียกเมทริกซ์ A  = 

 ว่าเป็ น เมทริกซ์ สัมประสิทธิ (coefficient matrix)  
     
a a n2  a nn 
 n1 
และ 
 a11 a12  a1n 
a b1 
a 22  a2n
 21 b2
เรียกเมทริกซ์ [ A | B ]  =   

 ว่าเป็ น เมทริกซ์ แต่ งเติม(augmented matrix) 
     
a bn
a  a 
 n1 n2 nn 
 

คําตอบระบบสมการเชิงเส้ น
เมทริกซ์สมั ประสิทธิ (A) 

หาอินเวอร์ สได้  det(A) ≠ 0  หาอินเวอร์ สไม่ได้  det(A) = 0 

คําตอบจะมีเพียงคําตอบเดียว 
คําตอบมีได้ หลายคําตอบ  ไม่สามารถหาคําตอบได้  
 
 
การหาคําตอบของระบบสมการเชิงเส้ น โดยใช้ เมทริกซ์ ทาํ ได้ 3 วิธี
  กําหนดระบบสมการเชิงเส้ น …..*   จัดในรูปสมการเมทริกซ์ AX   =   B  
  1. การแก้ ระบบสมการเชิงเส้ น โดยใช้ อน ิ เวอร์ สการคูณของเมทริกซ์ สัมประสิทธิ
ถ้ า det(A)  0 แล้ ว คําตอบของระบบสมการ คือ X = A1B  
   
  2. การแก้ สมการโดยใช้ กฏของคราเมอร์ (Cramer’s rule)
    ถ้ า det(A)  0 แล้ ว คําตอบของระบบสมการนีคือ  
det(A1 ) det(A2 ) det(An )
x1  , x2  , , x n   
det(A) det(A) det(A)
โดยที Ai เป็ นเมทริกซ์ทีเกิดจากการนํา B ไปแทนทีหลักที i ของ A  เมือ i = 1, 2, …, n 
22  Mth

  3. การแก้ ระบบสมการเชิงเส้ นโดยใช้ การดําเนินการตามแถว(Row Operations)


จากระบบสมการ   AX = B   
 สร้ างเมทริ กซ์แต่งเติม [A | B]  
 ดําเนินการตามแถว เปลียนเมทริกซ์แต่งเติมให้ อยูใ่ นรูป [C | I]  
 จะได้ X = C   
 
ซึงการปฎิบตั กิ ารตามแถว สามารถทําได้ ดังนี
       R ij แทนการสลับทีระหว่างแถวที i กับแถวที j 
        kR i แทนการคูณสมาชิกทุกตัวในแถวที i ด้ วย k 
R  kR j แทนการเปลียนแถวที i โดยการนํา k คูณสมาชิกแถวที j แล้ วนําผลไปบวกกับ 
        i  
สมาชิกในลําดับเดียวกันของแถวที i

หมายเหตุ
ถ้ ากําหนดเมทริกซ์ A และ B เป็ นเมทริกซ์ทีเกิดจากการใช้ ดําเนินการตามแถวบน 
เมทริกซ์ A จะกล่าวว่า A สมมูลตามแถวกับ B และเขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ A   B 
 
วิธีการหาอินเวอร์ สของเมทริกซ์ จากการดําเนินการตามแถว   
จะได้ วิธีการหาอินวอร์ของเมทริกซ์ อีกวิธีดงั นี [A | I]  [I | A1 ]  
23  Mth

ตัวอย่ าง

x1  2x 2  x 3  0
1.    ถ้ า x1 สอดคล้ องกับระบบสมการ 3x1  x 2  2x 3  5 
2x1  3x 2  3x 3  9
 x1  y 2x1 
และ  A =      
 3 y 

แล้ วผลบวกของ y ทังหมดทีทําให้ A เป็ นเมทริกซ์เอกฐานเท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1.  0       2.  –1      3.  –2      4.  –3 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1 2 3 p  1 
   
2.   ให้ A =   0 1 0   และ X =  q  ถ้ า A (adj(A))X =  6    แล้ ว p มีคา่ เท่ากับเท่าไร 
2

2 1 0   r  0 
1.  0.25      2.  0.5      3.  0.75      4.  1 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
24  Mth

 1 1 2  x  1 
   1  
3.   กําหนดให้ A =   1 a 1  ,  X =   x 2   และ B =  0   แล้ วค่าของ a ทังหมดทีทํา 
 1 1 a  x  1 
   3  
ให้ ระบบสมการ AX = B หาคําตอบ X ได้ จะเป็ นสมาชิกของเซตใด 
1.   – {1}    2.   – {1, 2}    3.   – {3}      4.   – {–1, 3} 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
4.   จากระบบสมการ  2x +  y  – 3z  =  –3 
              x  + 4y + 9z  =   2 
             3x  –   y  – 4z  =   1  
2 1 2
  ค่าของ 2 0 3   มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
3x  y 2x  y x  4y

1.   25      2.   29      3.   32      4.   36 


 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
25  Mth

4 8 0 x  12 
     
5.    กําหนดให้ A =   6 12 2  ,  X =   y    และ B =  20   
  z  
0 5 7 12
     
ถ้ า AX = B  แล้ ว x + y + z  มีคา่ เท่าใด 
1.  3       2.  4       3.  5       4.  6 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 1 2 a x  1 
     
6.   กําหนดให้   A =   2 3 b  , X =   y  ,  B =  1   โดยที a, b และ c เป็ นจํานวนจริ ง 
 1 0 c  z  
    0 
1 2 3
 
ถ้ า AX = B และ A ~   0 1 1 R2 – 2R1  แล้ ว x มีคา่ เท่ากับค่าใดต่อไปนี 
 
1 0 2 
 
2 3
1.  –1      2.  –       3.         4.  2 
3 4
 
 
 
 
 
 
 
 
 
26  Mth

7.  ให้ x, y และ z เป็ นคําตอบของระบบสมการเชิงเส้ น 


a11x  a12 y  a13z  2
a 21x  a 22 y  a23 z  1 
a 31x  a 32 y  a 33 z  0
a a21 a13 1 0 0  1 0 0 1 1 1 
 11   
ถ้ า  a 21 a22 a 23 0 1 0   0 1 0 0 2 1   
a 0 0 1   0 0 1 2 3 0 
 31 a23 a 33
  
แล้ วค่าของ x + y + z เท่ากับเท่าใด 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 1 0 1
 
8.  กําหนดให้ A =   a 1 0    โดยที a  เป็ นจํานวนจริ ง
 
 1 1 1 
 1 0 1 1 0 0  1 0 0 0.5 0.5 0.5 
   
ถ้ า  a 1 0 0 1 0   0 1 0 1 0 1   แล้ ว a มีคา่ เท่าใด 
 1 1 1 0 0 1   0 0 1 1.5 0.5 0.5 
   
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
27  Mth

ÃËÑÊÇÔªÒ 71¤ÇÒÁ¶¹Ñ´·Ò§¤³ÔµÈÒʵÏ PAT 1


2552-2555
1 2 1
 
1.  กําหนดให้ A  2 x 2  โดยที x และ y เป็ นจํานวนจริง 
2 1 y 
 
ถ้ า C11(A)  13 และ C21(A)  9 แล้ ว det(A) มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1.  –33       
  2.  –30       
  3.  30       
  4.  33 
 
 
 2 2 3 
 
2.  กําหนดให้ AT   1 1 0   
 0 1 4
 
สมาชิกในแถวที 2 และหลักที 3 ของ A 1 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
2
1.     
3
2.  –2       
2
  3.          
3
  4.  2 
 
 
3.  กําหนดให้ x, y, z  สอดคล้ องกับระบบสมการ 
2x – 2y – z = –5 
     x – 3y + z = –6 
    –x + y – z  =  4 
  ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง 
1.   x 2  y 2  z2  6            
  2.  x + y + z = 2   
  3.  xyz = 6             
xy
  4.    2  
z
28  Mth

4.  กําหนดให้ A  เป็ นเมทริกซ์ทีมีมิติ 22  และ det(A) = 4  ถ้ า I  เป็ นเมทริกซ์เอกลักษณ์ 


และ A  3I  เป็ นเมทริกซ์เอกฐาน แล้ ว det(A + 3I)  เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1.   0                
  2.   6 
  3.   13               
  4.   26 
 
 
 
5.  ถ้ า x, y, z เป็ นจํานวนจริงทีสอดคล้ องกับสมการเชิงเส้น 
2x  2y  z =  1 
     x  3y + z =  7 
        x +  y  z  = 5  
1 2 3
  แล้ ว   เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
x y z
1.   0                
  2.   2 
  3.   5                
  4.   8 
 
 
3 4   1 2 
6.  ถ้ า A  และ B  เป็ นเมทริกซ์ซึง 2A  B =      และ A  2B    
3 6  4 2 
 
แล้ ว (AB)1 คือเมทริกซ์ในข้ อใดต่อไปนี 
 1 
  0
1.    4              
 
 1  1 
 1 0 
  2.      
 1  1
 4 
 1
 1 
  3.    4              

0 1
 
1 1 
  4.      
0  1 
 4 
 
29  Mth

x
 
7.  กําหนดให้ X =   y    สอดคล้ องสมการ AX = C   
 
 z 

 1 2 1  1 1 0   2 
     
เมือ A   2 0 1  ,
 
B   2 0 1 
 
และ C   2   
 
 0 1 2   1 4 0   3 
a 
 
ถ้ า (2A + B)X =   b     แล้ ว a + b + c  มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
 
    [3] 
 c 

1.   3        
  2.   6 
  3.   9 
  4.   12 
 
 
 
 
  0 x 0 1 
   
8.  ถ้ า det  2  0 2 2    1
 แล้ ว x  มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี        [4] 
    x 1
  3 1 5  
1.   1 
  2.   2 
  3.   3 
  4.   4 
 
 
 
 1 2 4 
 
9.  กําหนดให้ A   3 8 0 
 
สมาชิกในแถวที 3 หลักที 1 ของ A 1 เท่ากับเท่าใด [0.2] 
 1 2 1 

 
 
 
 
 
 
30  Mth

10.  ให้ A และ B เป็ นเมทริ กซ์ทีมีขนาด 2  2 โดยที 


 4 4   5 8 
2A  B    และ A  2B    
 5 6   4 0 

ค่าของ det(A 4 B1 ) เท่ากับเท่าใด 


 
 
 
 
 
 
 
 
 1 0   x 1   2y 1   1 0 
12.  ให้ x, y, z และ สอดคล้ องกับสมการ      
 1 w   0 y   z 2   1 w 
ค่าของ 4w – 3z + 2y – x  เท่ากับเท่าใด 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 0 1  1 1  1 1 
13.  กําหนดให้ A   
 , B   
 , C      

 0 1   0 0   0 2 
  ค่าของ det(2A t  BC2  BtC) เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1.  1 
  2.  0 
  3.  2 
  4.  6 
 
 
 
 
31  Mth

 5a b   5a  5a  b 
 6   4
14.  ให้ a, b, c, d  เป็ นจํานวนจริ ง ถ้ า 3    
 2c d   d  1 3   2c 2d 
   
แล้ วค่าของ b + c  เท่ากับเท่าใด 
 
 
 
 
 
 
 
 
a b
15.  ให้ a, b, c, d, t  เป็ นจํานวนจริ ง ถ้ า   A   
 โดยที det A = t ≠ 0  และ
c d
 
det(A  t2A1 )  0   แล้ วค่าของ det(A  t2A1 ) เท่ากับเท่าใด 
 
 
 
 
 
 
 
 
1 1  x y
16.  กําหนดให้ A  และ B  
 1 1   y z 
 2 0 
ถ้ า A 1BA    แล้ วค่าของ xyz  เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
 0 4 
1.   –3       
  2.   –1       
  3.   0        
  4.   1 
 
 
 
 
 
 
32  Mth

17.  กําหนดให้ X เป็ นเมทริกซ์ทีสอดคลอ้ งกับสมการ 


 3 2
 1 2   2 1 2   
   4X    1 4 
 4 3   0 1 3  
 3 1 

แล้ วค่าของ det  2X t (X  X t )  เท่ากับเท่าใด
 
 
 
 
 
 
 
 
 2x 1 
18.  กําหนดให้ x  เป็ นจํานวนเต็ม และ A    เป็ นเมทริกซ์ทีมี det A = 3   
 x x 
  ถ้ า B  เป็ นเมทริกซ์ทีมีมิติ 2  2  โดยที BA +  BA 1  2I   เมือ I เป็ นเมทริกซ์เอกลักษณ์การ 
คูณมิติ 2  2  แล้ วค่าของ det B  อยู่ช่วงใดต่อไปนี 
1.   [1 , 2 ]    
  2.   [–1, 0]      
  3.   [0, 1]       
  4.   [–2, –1] 
 
 
 
 
 
 cos ec10o 3   cos2 70o sin 40o   cos2 20o 0 
19.  กําหนดให้ A    ,B     และ C    
 sec10o 1   0 cos2 50o   sin 80o cos2 10o 
ค่าของ det[A(B + C)]  เท่ากับเท่าใด
 
 
 
 
 
33  Mth

0 3
20.  ให้ A =      ,a  0  B เป็ นเมทริกซ์มต
ิ ิ 2  2 และ I เป็ นเมทริกซ์เอกลักษณ์มติ ิ 2  2 
 a b 
  ถ้ า A2 B  I และ 2A 1  3B  I แล้ ว ค่าของ 2a + 3b  เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1.   4        
  2.    3 
  3.   2 
  4.   1 
 
 
 
 
2x 1 0
 
21.  กําหนดให้ A   0 1 3  และ det(I  A 1 )  0, x  0  
0 0 x 
 
 1 1 
  จงหาค่าของ det  A (3I  2At )   
2 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
22.  ถ้ า x, y, z  สอดคล้ องกับระบบสมการ  
2x  y  2z  a 2 1 2
x  y z  b โดยที 2 2 4  = 24  
3x  2y  2z  c a b c
   แล้ ว x  มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1.   –4 
4
  2.     
5
  3.    0 
4
  4.     
5
  5.    4 
34  Mth

23.  กําหนดให้ A เป็ นเมทริ กซ์มิติ 3  3  และ AX i  Bi   เมือ i = 1, 2, 3 


1 1 1 1 0 0
           
  ถ้ า X1   0  , X2   2  , X 3   3  ,  B1   0  , B2   1  , B3   0   
5 5 1 0 0 1
           
แล้ ว det(A)   มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1.    –8 
1
  2.      
8
1
  3.       
8
  4.     1 
  5.     8 
 
 
 a 1  a 1 0
24.  ถ้ า A =      เมือ a เป็ นจํานวนจริ ง และ I =  

   

1  a  a   0 1

  แล้ ว det(A  2 I)(A  3 )( A  5 I)(A  7 I)  มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 


1.   48 – 13a 
  2.    (a  2)(a  3)(a  5)(a  7)  
  3.   17a 
  4.   17 
  5.   48 
 
 
 
 a b  
25.  ให้ M   a, b, c, d  {1, 0,1}  ถ้ าสุม่ เลือกเมทริกซ์หนึงเมทริกซ์จากเซต M แล้ ว
  c d  
ความน่าจะเป็ นทีจะได้เมทริกซ์ ทีมีอินเวอร์สการคูณมีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี
24
1.     
81
31
  2.     
81
33
  3.     
81
48
  4.     
81
50
  5.     
81
35  Mth

26.  กําหนดให้ a, b, c, d, x และ y เป็ นจํานวนจริ ง และ 


1 x a b 1 0  1 0
  A  ,  B   ,  C    และ I    
 y 1  c d   0 1   0 1 

ถ้ า A2  I   และ AB = 2C   
1
แล้ วค่าของ det(B ) เท่ากับข้ อใดต่อไปนี 
1.   0.25               
  2.   0.5 
  3.   2                
  4.   4 
 
 
27.  ให้ A, B และ C เป็ นเมทริ กซ์ไม่เอกฐานมิติ 33 และ I เป็ นเมทริ กซ์เอกลักษณ์การคูณ มิติ 33 

a b c
  ถ้ า A  d e f  เมือ a, b, c, d, e, f, g, h และ i เป็ นจํานวนจริง 
 g h i 

 3g 3h 3i 


และ A3  2I ,  det (C1 )  = 4  และ BtC   a  b c  แล้ ว det(B)  เท่ากับเท่าใด 
 2d 2e 2f 
 
 
 
 
 
 
 
 
*28.  กําหนดให้ A   เป็ นเมทริ กซ์มิติ 3  3 โดยที det(A)  0   พิจารณาข้ อความต่อไปนี 
ก. det( A3 ) = det(adj(A)) 
    ข. ถ้ า A2  2A   แล้ ว det(A) = 2 
  ข้ อใดต่อไปนีสรุปได้ ถกู ต้ อง 
1.   ข้ อ ก. ถูก และข้ อ ข. ถูก 
2.   ข้ อ ก. ถูก แต่ข้อ ข. ผิด 
  3.   ข้ อ ก. ผิด แต่ข้อ ข. ถูก 
  4.   ข้ อ ก. ผิด และข้ อ ข. ผิด 
 
36  Mth

*29.  กําหนดให้ A, B, C  เป็ นเมทริ กซ์ มิติ 4  4 ซึง det(B)  0   


5 7 2 1
0 2 3 2
  ถ้ า A  และ det( B1CBt ) = –4   
0 0 8 0
0 0 0 1 

แล้ วค่าของ det( CtAC )  มีคา่ เท่ากับเท่าใด
 

 
 
 
 
 
 
 
 
2
*30.  กําหนด P(n) เป็ นเมทริ กซ์ n  n  โดยทีมีสมาชิกเป็ นจํานวนเต็มตังแต่ 1 ถึง n    
โดยทีมีสมาชิกในเมทริกซ์ทีไม่ซํากันและมีผลบวกของแนวทแยงและผลบวกในหลักแต่ละหลักเท่ากัน  
จงหา det(P(3))  เมือมีสมาชิกแนวทแยงเป็ น 2, 5, 8  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

You might also like