You are on page 1of 11

ข้อสอบปลายภาคสหเวช 2563 สอบ 10 พ.ค.

2564 1) 3/16 2) 3/18 3) 4/16 4) 4/18


1. จงพิจารณาข้อความ A และข้อความ B ต่อไปนี้
A : ความน่าจะเป็นที่ในปีหน้าการแพร่ระบาดของโรคโควิด19 จะหมดไป มีโอกาสร้อยละ 70 7. การแข่งขันฟุตบอลแต่ละนัด ใช้เวลาแข่ง 90 นาที จากข้อมูลเก่าในอดีต ค่าเฉลี่ยจำนวนประตูรวมที่ทำได้คือ 3 ประตูต่อ 1
B : ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาโรคโควิด19 ในคืนวันจันทร์ 200 คน เสียชีวิต 10 คน ความถี่สัมพัทธ์ของการเสียชีวิต นัด สมมติว่าจำนวนประตูรวมทีท่ ำได้ในแต่ละนัดมีการแจกแจงแบบปัวซอง จงหาความน่าจะเป็นที่จะมีการยิงประตูรวมได้ 4
ของคนใด ๆ ในกลุ่มผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาโรคโควิด19 ในคืนวันจันทร์คือ 0.05 ประตูในการแข่งขัน 1 นัด ให้ X แทน จำนวนประตูรวมในการการแข่งขัน
จากข้อความ A และข้อความ B ตัวเลือกใดถูกต้อง 𝒆𝟒 𝟒𝟑 𝒆𝟑 𝟑𝟒 𝒆−𝟒 𝟒𝟑 𝒆−𝟑 𝟑𝟒
1) 2) 3) 4)
𝟑! 𝟒! 𝟑! 𝟒!
1) ข้อความ A เป็นการคำนวณความน่าจะเป็นวิธจี ิตวิสัย ข้อความ B เป็นการคำนวณความน่าจะเป็นวิธีคลาสสิก
2) ข้อความ A เป็นการคำนวณความน่าจะเป็นวิธีทดลอง ข้อความ B เป็นการคำนวณความน่าจะเป็นวิธีจิตวิสัย
8. การแข่งขันฟุตบอลแต่ละนัด ใช้เวลาแข่ง 90 นาที จากข้อมูลเก่าในอดีต ค่าเฉลี่ยจำนวนประตูรวมที่ทำได้คือ 3 ประตูต่อ 1
3) ข้อความ A เป็นการคำนวณความน่าจะเป็นวิธจี ิตวิสัย ข้อความ B เป็นการคำนวณความน่าจะเป็นวิธีทดลอง
นัด สมมติว่าจำนวนประตูรวมทีท่ ำได้ในแต่ละนัดมีการแจกแจงแบบปัวซอง จงหาความน่าจะเป็นที่จะมีการยิงประตูรวมได้
4) ข้อความ A เป็นการคำนวณความน่าจะเป็นวิธีคลาสสิก ข้อความ B เป็นการคำนวณความน่าจะเป็นวิธีจิตวิสัย
มากกว่า 2 ประตู ประตูในการแข่งขัน 1 นัด ให้ X แทน จำนวนประตูรวมในการการแข่งขัน
𝒆−𝟑 𝟑𝟎 𝒆−𝟑 𝟑𝟏 𝒆−𝟑 𝟑𝟐 𝒆−𝟑 𝟑𝟎 𝒆−𝟑 𝟑𝟏
2. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 1) + + 2) 1 - -
𝟎! 𝟏! 𝟐! 𝟎! 𝟏!
1) ความน่าจะเป็นวิธจี ิตวิสัย เป็นวิธีที่ทุกท่านแทบไม่เคยใช้เลยในชีวิตประจำวัน 𝒆−𝟒 𝟒𝟎 𝒆−𝟒 𝟒𝟏 𝒆−𝟒 𝟒𝟐
3) 1 - - - 4) ไม่มีข้อถูก
𝟎! 𝟏! 𝟐!
2) ความน่าจะเป็นวิธีทดลอง เป็นวิธีที่ให้ค่าประมาณความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์ ไม่ได้ให้ค่าความน่าจะเป็นที่
แท้จริง 9. การแข่งขันฟุตบอลแต่ละนัด ใช้เวลาแข่ง 90 นาที จากข้อมูลเก่าในอดีต ค่าเฉลี่ยจำนวนประตูรวมที่ทำได้คือ 3 ประตูต่อ 1
3) แซมเปิลสเปซของการทดลองสุ่มใด ๆ ในการคำนวณความน่าจะเป็นวิธีคลาสสิก มีได้เพียง แซมเปิลสเปซเดียวเดียว นัด สมมติว่าจำนวนประตูรวมทีท่ ำได้ในแต่ละนัดมีการแจกแจงแบบปัวซอง จงหาความน่าจะเป็นที่จะมีการยิงประตูรวมได้ไม่
เท่านั้น เกิน 2 ประตูในการแข่งขันเพียง 45 นาที ให้ X แทน จำนวนประตูรวมในการการแข่งขัน
4) ไม่มีข้อใดถูกต้อง 𝒆−𝟑 𝟑𝟎 𝒆−𝟑 𝟑𝟏 𝒆−𝟑 𝟑𝟐 𝒆−𝟏.𝟓 𝟏.𝟓𝟎 𝒆−𝟏.𝟓 𝟏.𝟓𝟏 𝒆−𝟏.𝟓 𝟏.𝟓𝟐
1) + + 2) + +
𝟎! 𝟏! 𝟐! 𝟎! 𝟏! 𝟐!
𝒆−𝟑 𝟑𝟎 𝒆−𝟑 𝟑𝟏 𝒆−𝟏.𝟓 𝟏.𝟓𝟎 𝒆−𝟏.𝟓 𝟏.𝟓𝟏
3. ในการโยนลูกเต๋า 2 ลูก 1 ครั้ง จงคำนวณความน่าจะเป็นที่หน้าลูกเต๋าทั้งสองลูกมีผลบวกที่หารด้วยห้าลงตัว 3) + 4) +
𝟎! 𝟏! 𝟎! 𝟏!
1) 3/36 2) 4/36 3) 7/36 4) 8/36
10. สมมติว่านิสิตสหเวชแต่ละคนเมื่อเรียนจบแล้วมีโอกาสได้งานทำภายใน 1 เดือน เป็น 0.7 และการที่นิสิตสหเวชแต่ละคน
4. ในการโยนลูกเต๋า 2 ลูก 1 ครั้ง จงคำนวณความน่าจะเป็นที่หน้าลูกเต๋าทั้งสองลูกมีผลบวกที่หารด้วยห้าลงตัว และ หน้า จะได้งานทำภายใน 1 เดือนเป็นอิสระกัน จงหาความน่าจะเป็นทีจ่ ำนวนนิสิตสหเวชอย่างมาก 2 ใน 5 คน จะได้งานทำภายใน
ลูกเต๋าทั้งสองลูกมีผลบวกที่หารด้วย 2 ลงตัว 1 เดือน ให้ X แทนจำนวนนิสิตสหเวชที่ได้งานทำภายใน 1 เดือนเมื่อเรียนจบแล้ว
1) 3/36 2) 4/36 3) 5/36 4) 6/36 1) 5C20.720.33 2) 5C20.320.73
3) 5C20.320.73 + 5C10.310.74 + 5C00.300.70 4) 5C20.720.33 + 5C10.710.34 + 5C00.700.30
5. ในการโยนลูกเต๋า 2 ลูก 1 ครั้ง จงคำนวณความน่าจะเป็นที่หน้าลูกเต๋าทั้งสองลูกมีผลบวกที่หารด้วยห้าลงตัว หรือ หน้า
ลูกเต๋าทั้งสองลูกมีผลบวกที่หารด้วย 2 ลงตัว
1) 22/36 2) 23/36 3) 24/36 4) 25/36

6. ในการโยนลูกเต๋า 2 ลูก 1 ครั้ง จงคำนวณความน่าจะเป็นที่หน้าลูกเต๋าทั้งสองลูกมีผลบวกที่หารด้วยห้าลงตัว ถ้าทราบว่า


หน้าลูกเต๋าทั้งสองลูกมีผลบวกทีห่ ารด้วย 2 ลงตัว
11. สมมติว่านิสิตสหเวชแต่ละคนเมื่อเรียนจบแล้วมีโอกาสได้งานทำภายใน 1 เดือน เป็น 0.7 และการที่นิสิตสหเวชแต่ละคน 16. สมมติว่าระยะเวลารับเชื้อ ABC จนกระทั่งแสดงอาการมีการแจกแจงปกติ มีค่าเฉลี่ย 60 ชั่วโมง มีความแปรปรวน 81
จะได้งานทำภายใน 1 เดือนเป็นอิสระกัน จงหาความน่าจะเป็นทีจ่ ำนวนนิสิตสหเวช 3 ถึง 4 คน จากนิสิต 6 คน จะได้งานทำ ชั่วโมง2 จงคำนวณว่า 30% ของผู้รับเชื้อ ABC ที่มีระยะเวลารับเชื้อจนกระทั่งแสดงอาการเร็วสุด มีระยะเวลาดังกล่าวน้อย
ภายใน 1 เดือน ให้ X แทนจำนวนนิสิตสหเวชที่ได้งานทำภายใน 1 เดือนเมื่อเรียนจบแล้ว กว่ากี่ชั่วโมง
1) 6C30.330.73 + 6C40.340.72 2) 5C30.330.72 + 5C40.340.71 1) 17.88 2) 55.32 3) 64.68 4) 102.12
6 3 3 6 4 2
3) C30.7 0.3 + C40.7 0.3 4) 5C30.730.32 + 5C40.740.31
17. กำหนดให้ f(x) = k(x-1) ; x = 2, 4, 5, 7 และ f(x) = 0 เมื่อ x มีค่าอื่น ๆ จงคำนวณค่า k ที่ทำให้ f(x) เป็นฟังก์ชัน
12. สมมติว่านิสิตสหเวชแต่ละคนเมื่อเรียนจบแล้วมีโอกาสได้งานทำภายใน 1 เดือน เป็น 0.7 และการที่นิสิตสหเวชแต่ละคน การแจกแจงความน่าจะเป็น
จะได้งานทำภายใน 1 เดือนเป็นอิสระกัน จงหาความน่าจะเป็นทีจ่ ำนวนนิสิตสหเวชน้อยกว่า 3 ใน 8 คน จะไม่ได้งานทำ 1) 0.0667 2) 0.0714 3) 0.0769 4) 0.0833
ภายใน 1 เดือน ให้ X แทนจำนวนนิสิตสหเวชที่ไม่ได้งานทำภายใน 1 เดือนเมื่อเรียนจบแล้ว
1) 8C00.300.78 + 8C10.310.77 + 8C20.320.76 18. กำหนดให้ f(x) = k(x-1) ; x = 2, 4, 5, 7 และ f(x) = 0 เมื่อ x มีค่าอื่น ๆ จงหาความน่าจะเป็นที่ X มีค่าตั้งแต่ 5 ถึง
2) 8C00.300.78 + 8C10.310.77 + 8C20.320.76 + 8C30.330.75 9
3) 8C00.700.38 + 8C10.710.37 + 8C20.720.36 1) 25k 2) 18k 3) 17k 4) 10k
4) 8C00.700.38 + 8C10.710.37 + 8C20.720.36 + 8C30.730.35
19. กำหนดให้ f(x) = k(x-1) ; x = 2, 4, 5, 7 และ f(x) = 0 เมื่อ x มีค่าอื่น ๆ จงหาค่าเฉลี่ย(ค่าคาดหวัง)ของตัวแปรสุ่ม
13. สมมติว่าระยะเวลารับเชื้อ ABC จนกระทั่งแสดงอาการมีการแจกแจงปกติ มีค่าเฉลี่ย 60 ชั่วโมง มีความแปรปรวน 81 X
ชั่วโมง2 จงหาความน่าจะเป็นที่ผู้รับเชื้อ ABC รายหนึ่ง จะมีระยะเวลารับเชื้อจนกระทั่งแสดงอาการน้อยกว่า 50 ชั่วโมง 1) 70k 2) 73k 3) 76k 4) 79k
1) 0.1335 2) 0.1562 3) 0.4129 4) 0.4522
20. กำหนดให้ f(x) = k(x-1) ; x = 2, 4, 5, 7 และ f(x) = 0 เมื่อ x มีค่าอื่น ๆ จงหาความแปรปรวนของตัวแปรสุ่ม X
14. สมมติว่าระยะเวลารับเชื้อ ABC จนกระทั่งแสดงอาการมีการแจกแจงปกติ มีค่าเฉลี่ย 60 ชั่วโมง มีความแปรปรวน 81 1) 442k 2) 446k 3) 442k – 5776k2 4) 446k – 5776k2
ชั่วโมง2 จงหาความน่าจะเป็นที่ผู้รับเชื้อ ABC รายหนึ่ง จะมีระยะเวลารับเชื้อจนกระทั่งแสดงอาการอยู่ระหว่าง 55 ชั่วโมงและ
63 ชั่วโมง 21. กำหนดให้ f(x) = w เมื่อ -1 < x < 1 และ f(x) = wx ; 2 < x < 4 และ f(x) = 0 เมื่อ x เป็นค่าอื่น ๆ จงหาค่า w ที่
1) 0.0399 2) 0.3416 3) 0.6584 4) 0.9601 ทำให้ f(x) เป็นฟังก์ชนั การแจกแจงความน่าจะเป็น
1) 0.1250 2) 0.1429 3) 0.1667 4) 0.2000
15. สมมติว่าระยะเวลารับเชื้อ ABC จนกระทั่งแสดงอาการมีการแจกแจงปกติ มีค่าเฉลี่ย 60 ชั่วโมง มีความแปรปรวน 81
ชั่วโมง2 และมีผู้รับเชื้อ ABC จำนวน 10,000 คน จะมีผู้รับเชื้อ ABC กี่คน หลังจากรับเชื้อมาแล้ว 72 ชั่วโมง ยังไม่แสดง 22. กำหนดให้ f(x) = w เมื่อ -1 < x < 1 และ f(x) = wx ; 2 < x < 4 และ f(x) = 0 เมื่อ x เป็นค่าอื่น ๆ จงหาความ
อาการ น่าจะเป็นที่ตัวแปรสุ่ม X มีค่าอยูร่ ะหว่าง 0 ถึง 3
1) 0.0918 2) 0.4404 3) 918 4) 4,404 1) 5w/2 2) 7w/2 3) 9w/2 4) 11w/2

23. กำหนดให้ f(x) = w เมื่อ -1 < x < 1 และ f(x) = wx ; 2 < x < 4 และ f(x) = 0 เมื่อ x เป็นค่าอื่น ๆ จงหาความ
น่าจะเป็นที่ตัวแปรสุ่ม X มีค่าน้อยกว่า 2.5
1) 39w/2 2) 1 – 39w/2 3) 39w/8 4) 1 – 39w/8
24. กำหนดให้ f(x) = w เมื่อ -1 < x < 1 และ f(x) = wx ; 2 < x < 4 และ f(x) = 0 เมื่อ x เป็นค่าอื่น ๆ จงหาค่าเฉลี่ย 28. ผลสรุปที่ได้จากการประมาณค่าค่าเฉลี่ยพลังงานที่ได้รับจากการบริโภคอาหารของประชากรนักเรียนชาวเขา ที่ช่วงความ
(ค่าคาดหวัง)ของตัวแปรสุ่ม X เชื่อมั่น 95% คือข้อใด
1) 50w/3 2) 53w/3 3) 56w/3 4) 59w/3 1) ช่วงแห่งความเชื่อมั่น 95% ของค่าเฉลี่ยพลังงานที่ได้รับจากการบริโภคอาหารของประชากรนักเรียนชาวเขา อยู่ในช่วง
558.202 ถึง 859.798
ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 25 ถึง ข้อ 28 2) ช่วงแห่งความเชื่อมั่น 95% ของค่าเฉลี่ยพลังงานที่ได้รับจากการบริโภคอาหารของประชากรนักเรียนชาวเขา อยู่ในช่วง
สุ่มตัวอย่างเด็กนักเรียนชาวเขาจำนวน 14 คน สัมภาษณ์การบริโภคอาหารย้อนหลัง 24 ชั่วโมง พบว่า ค่าเฉลี่ย 529.326 ถึง 888.674
พลังงานที่ได้รับเป็น 709 กิโลแคลอรี่ และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 343 กิโลแคลอรี จงประมาณค่าเฉลี่ยพลังงานที่ได้รับ 3) ช่วงแห่งความเชื่อมั่น 95% ของค่าเฉลี่ยพลังงานที่ได้รับจากการบริโภคอาหารของประชากรนักเรียนชาวเขา อยู่ในช่วง
จากการบริโภคอาหารของประชากรนักเรียนชาวเขา ที่ช่วงความเชื่อมั่น 95% แล้วตอบคำถามข้อ 25 ถึงข้อ 28 546.651 ถึง 871.349
25. สูตรที่ใช้ในการประมาณค่าค่าเฉลี่ยพลังงานที่ได้รับของประชากรนักเรียนชาวเขา ที่ช่วงความเชื่อมั่น 95% คือข้อใด 4) ช่วงแห่งความเชื่อมั่น 95% ของค่าเฉลี่ยพลังงานที่ได้รับจากการบริโภคอาหารของประชากรนักเรียนชาวเขา อยู่ในช่วง
𝝈
1) 𝝁 = 𝒙
̅ ± 𝒛𝜶 510.992 ถึง 907.006
𝟐 √𝒏
𝒔
2) 𝝁 = 𝒙
̅ ± 𝒛𝜶
𝟐 √𝒏 ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 29 ถึง ข้อ 33
𝝈
3) 𝝁 = 𝒙
̅ ± 𝒕𝜶,𝒏−𝟏 สุ่มตัวอย่างเด็กนักเรียนชาวเขาจำนวน 100 คน สัมภาษณ์การบริโภคอาหารย้อนหลัง 24 ชั่วโมง พบว่า ค่าเฉลี่ย
𝟐 √𝒏
𝒔
4) 𝝁 = 𝒙
̅ ± 𝒕𝜶,𝒏−𝟏 พลังงานที่ได้รับเป็น 709 กิโลแคลอรี่ และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 343 กิโลแคลอรี จงทดสอบสมมติฐานที่ว่า “ค่าเฉลี่ย
𝟐 √𝒏
พลังงานที่ได้รับจากการบริโภคอาหารของประชากรเด็กนักเรียนชาวเขาไม่เกิน 650 กิโลแคลอรี” ที่ระดับนัยสำคัญ 0.1 แล้ว
26. สูตรที่ตอบในข้อก่อนหน้ามีขอ้ สมมติในการเลือกใช้คือ ตอบคำถามข้อ 29 ถึงข้อ 33
1) ขนาดตัวอย่างมากกว่าหรือเท่ากับ 30 หน่วย และค่าพลังงานที่ได้รับจากการบริโภคอาหารของตัวอย่างมาจากประชากรที่
มีการแจกแจงแบบปกติ 29. สมมติฐาน H0 และ H1 คือ
2) ขนาดตัวอย่างน้อยกว่า 30 หน่วย และค่าพลังงานที่ได้รับจากการบริโภคอาหารของตัวอย่างมาจากประชากรที่มีการแจก 1) H0 : µ > 650 แย้งกับ H1 : µ < 650
แจงแบบปกติ 2) H0 : µ < 650 แย้งกับ H1 : µ > 650
3) ขนาดตัวอย่างมากกว่าหรือเท่ากับ 30 หน่วย 3) H0 : µ < 650 แย้งกับ H1 : µ > 650
4) ไม่มีข้อใดถูกต้อง 4) H0 : µ > 650 แย้งกับ H1 : µ < 650

27. ข้อใดถูกต้องเมื่อแทนค่าในสูตรที่เลือกใช้ 30. สูตรหรือค่าสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานคือ


̅ −𝝁𝟎
𝑿
1) 𝝁 = 𝟕𝟎𝟗 ± 𝟐. 𝟏𝟔𝟎
𝟑𝟒𝟑 1) 𝒁 = 𝑺
√𝟏𝟒 √𝒏
𝟑𝟒𝟑 ̅ −𝝁𝟎
2) 𝝁 = 𝟕𝟎𝟗 ± 𝟏. 𝟕𝟕𝟏 2) 𝒁 =
𝑿

√𝟏𝟒
𝟑𝟒𝟑 √𝒏
3) 𝝁 = 𝟕𝟎𝟗 ± 𝟏. 𝟗𝟔𝟎 ̅ −𝝁𝟎
𝑿
√𝟏𝟒
𝟑𝟒𝟑
3) 𝑻 = 𝑺
4) 𝝁 = 𝟕𝟎𝟗 ± 𝟏. 𝟔𝟒𝟓 √𝒏
√𝟏𝟒 ̅ −𝝁𝟎
𝑿
4) 𝑻 = 
√𝒏
31. ผลการคำนวณค่าสถิติ ข้อใดถูกต้อง
1) T = 1.720
2) T = -1.720 34. สมมติฐาน H0 และ H1 คือ
3) Z = 1.720 1) H0 : µ1 - µ2 > 2 แย้งกับ H1 : µ1 - µ2 < 2
4) Z = -1.720 2) H0 : µ1 - µ2 < 2 แย้งกับ H1 : µ1 - µ2 > 2
3) H0 : µ1 - µ2 = 2 แย้งกับ H1 : µ1 - µ2 ≠ 2
32. เกณฑ์ที่ใช้ในการปฏิเสธ H0 คือ 4) H0 : µ1 - µ2 ≠ 2 แย้งกับ H1 : µ1 - µ2 = 2
1) T > 1.290
2) T < -1.290 35. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
3) Z > 1.280 1)
𝑺𝟏
= 𝟏. 𝟐𝟓𝟎 เป็นไปได้ว่าความแปรปรวนของปริมาณโปรตีนที่มาจากสัตว์ในการบริโภคอาหาร 1 วันของประชากร
𝑺𝟐
4) Z < -1.280
นักเรียนชาวเขาเพศชายและเพศหญิงมีค่าไม่เท่ากัน
𝑺𝟏
33. ผลสรุปจากการทดสอบสมมติฐานคือ 2) = 𝟏. 𝟏𝟏𝟖 เป็นไปได้ว่าความแปรปรวนของปริมาณโปรตีนที่มาจากสัตว์ในการบริโภคอาหาร 1 วันของประชากร
𝑺𝟐
1) ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.1 ตัวอย่างยืนยันได้ว่า ค่าเฉลี่ยพลังงานที่ได้รับจากการบริโภคอาหารของประชากรเด็ก นักเรียนชาวเขาเพศชายและเพศหญิงมีค่าเท่ากัน
𝑺𝟏
นักเรียนชาวเขาไม่เกิน 650 กิโลแคลอรี 3) = 𝟏. 𝟏𝟏𝟖 เป็นไปได้ว่าความแปรปรวนของปริมาณโปรตีนที่มาจากสัตว์ในการบริโภคอาหาร 1 วันของประชากร
𝑺𝟐
2) ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.1 ตัวอย่างยืนยันได้ว่า ค่าเฉลี่ยพลังงานที่ได้รับจากการบริโภคอาหารของประชากรเด็ก นักเรียนชาวเขาเพศชายและเพศหญิงมีค่าไม่เท่ากัน
นักเรียนชาวเขามากกว่า 650 กิโลแคลอรี 𝑺𝟏
4) = 𝟏. 𝟐𝟓𝟎 เป็นไปได้ว่าความแปรปรวนของปริมาณโปรตีนที่มาจากสัตว์ในการบริโภคอาหาร 1 วันของประชากร
3) ไม่ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.1 ตัวอย่างยืนยันไม่ได้ว่า ค่าเฉลี่ยพลังงานที่ได้รับจากการบริโภคอาหารของประชากรเด็ก 𝑺𝟐
นักเรียนชาวเขาเพศชายและเพศหญิงมีค่าเท่ากัน
นักเรียนชาวเขาไม่เกิน 650 กิโลแคลอรี
4) ไม่ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.1 ตัวอย่างยืนยันไม่ได้ว่า ค่าเฉลี่ยพลังงานที่ได้รับจากการบริโภคอาหารของประชากรเด็ก
36. สูตรหรือตัวสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานคือ
นักเรียนชาวเขามากกว่า 650 กิโลแคลอรี
1) ใช้สูตร Z เมื่อขนาดตัวอย่างใหญ่ 2) ใช้สูตร T กรณี Equal Variance
3) ใช้สูตร T กรณ๊ Unequal Variance 4) ใช้สูตร Z เมื่อขนาดตัวอย่างเล็ก
ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 34 ถึง ข้อ 39
หน่วยงานวิจัยหนึ่งมีสมมติฐานว่า นักเรียนชาวเขาเพศชายมีค่าเฉลี่ยโปรตีนที่มาจากสัตว์ในการบริโภคอาหาร 1 วัน
37. ค่าสถิติทดสอบที่คำนวณได้คือ
สูงกว่าเพศหญิง 2 กรัม เพื่อตรวจสอบสมมติฐานข้างต้น จึงสุ่มตัวอย่างนักเรียนชาวเขาเพศชาย 12 คน และสุ่มตัวอย่าง
1) T = 0.7798 2) Z = 0.7798 3) T = 0.6786 4) Z = 0.6786
นักเรียนชาวเขาเพศหญิง 9 คน เก็บข้อมูลการบริโภคย้อนหลัง 1 วัน พบว่า ตัวอย่างเพศชายได้รับโปรตีนที่มาจากสัตว์ในการ
บริโภคอาหาร 1 วัน มีค่าเฉลี่ย 23 กรัม และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 15 กรัม และ ตัวอย่างเพศหญิงได้รับโปรตีนที่มาจากสัตว์
38. เกณฑ์การปฏิเสธ H0 คือ
ในการบริโภคอาหาร 1 วัน มีค่าเฉลี่ย 17 กรัม และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 12 กรัม สมมติว่าปริมาณโปรตีนที่มาจากสัตว์ที่
1) |Z| > 1.96 2) |T| > 2.039 3) Z > 1.645 4) T > 1.729
ได้รับจากตัวอย่างเพศชายและตัวอย่างเพศหญิงมาจากประชากรที่มีการแจกแจงปกติ
ให้ µ1 แทนค่าเฉลี่ยโปรตีนที่มาจากสัตว์ในการบริโภคอาหาร 1 วัน ของประชากรนักเรียนชาวเขาเพศชาย
µ2 แทนค่าเฉลี่ยโปรตีนที่มาจากสัตว์ในการบริโภคอาหาร 1 วัน ของประชากรนักเรียนชาวเขาเพศหญิง
จงทดสอบสมมติฐานข้างต้นที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 แล้วตอบคำถามข้อ 34 ถึงข้อ 39
39. ผลสรุปจากการทดสอบสมมติฐานคือ
1) ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ตัวอย่างยืนยันได้ว่า นักเรียนชาวเขาเพศชายมีค่าเฉลี่ยโปรตีนที่มาจากสัตว์ในการ 40. สมมติฐาน H0 และ H1 คือข้อใด
บริโภคอาหาร 1 วัน สูงกว่าเพศหญิง 2 กรัม 1) H0 : µd > 0 แย้งกับ H1 : µd < 0
2) ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ตัวอย่างยืนยันไม่ได้ว่า นักเรียนชาวเขาเพศชายมีค่าเฉลี่ยโปรตีนที่มาจากสัตว์ในการ 2) H0 : µd < 0 แย้งกับ H1 : µd > 0
บริโภคอาหาร 1 วัน สูงกว่าเพศหญิง 2 กรัม 3) H0 : µd = 0 แย้งกับ H1 : µd ≠ 0
3) ไม่ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ตัวอย่างยืนยันได้ว่า นักเรียนชาวเขาเพศชายมีค่าเฉลี่ยโปรตีนที่มาจากสัตว์ในการ 4) ไม่มีข้อใดถูกต้อง
บริโภคอาหาร 1 วัน สูงกว่าเพศหญิง 2 กรัม
4) ไม่ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ตัวอย่างยืนยันไม่ได้ว่า นักเรียนชาวเขาเพศชายมีค่าเฉลีย่ โปรตีนที่มาจากสัตว์ในการ ̅ และ
41. ข้อใดคือค่า 𝒅 𝒔𝒅
บริโภคอาหาร 1 วัน สูงกว่าเพศหญิง 2 กรัม 1) 0.335 และ 0.3 ตามลำดับ
2) 0.112 และ 1.8 ตามลำดับ
ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 40 ถึง ข้อ 44 3) 0.3 และ 0.335 ตามลำดับ
รองเท้าวิ่งชนิด A และรองเท้าวิ่งชนิด B ถูกนำมาเปรียบเทียบกันและคาดว่า ระยะเวลาที่ใช้ในการวิ่งด้วยระยะทางที่ 4) 1.8 และ 0.112 ตามลำดับ
เท่ากันรองเท้าวิ่งชนิด B จะใช้เวลาเฉลี่ยน้อยกว่ารองเท้าวิ่งชนิด A เพื่อเป็นการตรวจสอบการกล่าวอ้าง จึงทำสุ่มตัวอย่างนัก
วิ่ง 6 คน แต่ละคนใส่รองเท้าวิ่งชนิด A ทดสอบวิ่งในระยะทางที่กำหนด หลังจากนั้นแต่ละคนใส่รองเท้าวิ่งชนิด B ทดสอบวิ่ง 42. ค่าสถิติที่คำนวณได้คือข้อใด
ในระยะทางที่กำหนด (ระยะทางเท่ากัน) บันทึกเวลาในการวิ่งได้ดังนี้ 1) T = 2.194
เวลาวิ่ง(นาที) เมื่อ เวลาวิ่ง(นาที) เมื่อ 2) T = 39.367
นักวิ่ง 3) T = 2.735
ใส่รองเท้าวิ่ง A ใส่รองเท้าวิ่ง B ผลต่างเวลา
คนที่
4) T = 0.152
t(A) t(B) d = t(A)-t(B) d^2
1 6 5.4 0.60 0.36
43. เกณฑ์ที่ใช้ในการปฏิเสธ H0 คือข้อใด
2 5 5.2 -0.20 0.04 1) T > 2.015 2) T > 1.943 3) T < -2.015 4) T < -1.943
3 7 6.5 0.50 0.25
4 6.2 5.9 0.30 0.09 44. ผลสรุปการทดสอบสมมติฐานคือข้อใด
5 6 6 0.00 0.00 1) ไม่ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ตัวอย่างยืนยันไม่ได้ว่า ระยะเวลาที่ใช้ในการวิ่งด้วยระยะทางที่เท่ากันรองเท้าวิ่งชนิด
6 6.4 5.8 0.60 0.36 B จะใช้เวลาเฉลี่ยน้อยกว่ารองเท้าวิ่งชนิด A
รวม 1.80 1.10 2) ไม่ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ตัวอย่างยืนยันไม่ได้ว่า ระยะเวลาที่ใช้ในการวิ่งด้วยระยะทางที่เท่ากันรองเท้าวิ่งชนิด
A จะใช้เวลาเฉลี่ยน้อยกว่ารองเท้าวิ่งชนิด B
ให้ µ1 = ค่าเฉลี่ยระยะเวลาที่ใช้ในการวิ่งเมื่อใส่รองเท้าวิ่งชนิด A ของประชากร 3) ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ตัวอย่างยืนยันได้ว่า ระยะเวลาที่ใช้ในการวิ่งด้วยระยะทางที่เท่ากันรองเท้าวิ่งชนิด B จะ
µ2 = ค่าเฉลี่ยระยะเวลาที่ใช้ในการวิ่งเมื่อใส่รองเท้าวิ่งชนิด B ของประชากร ใช้เวลาเฉลี่ยน้อยกว่ารองเท้าวิ่งชนิด A
µd = µ1 - µ2 4) ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ตัวอย่างยืนยันได้ว่า ระยะเวลาที่ใช้ในการวิ่งด้วยระยะทางที่เท่ากันรองเท้าวิ่งชนิด A จะ
จงทดสอบสมมติฐานข้างต้น ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ใช้เวลาเฉลี่ยน้อยกว่ารองเท้าวิ่งชนิด B
ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 45 ถึง ข้อ 48 ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 49 ถึง ข้อ 53
สุ่มตัวอย่างเด็กนักเรียนชาวเขาจำนวน 195 คน จากประชากรเด็กนักเรียนชาวเขา พบว่าได้รับโปรตีนมากกว่าร้อย สุ่มตัวอย่างเด็กนักเรียนชาวเขาจำนวน 195 คน จากประชากรเด็กนักเรียนชาวเขา พบว่าได้รับโปรตีนมากกว่าร้อย
ละ 15 ของพลังงานทั้งหมดต่อวัน จำนวน 145 คน จงประมาณค่าช่วงแห่งความเชื่อมั่น 98% ของสัดส่วนเด็กนักเรียน ละ 15 ของพลังงานทั้งหมดต่อวัน จำนวน 145 คน จงทดสอบสมมติฐานที่ว่า “สัดส่วนของประชากรเด็กนักเรียนชาวเขา
ชาวเขาที่ได้รับโปรตีนมากกว่าร้อยละ 15 ของพลังงานทั้งหมดต่อวันของประชากรเด็กนักเรียนชาวเขา ได้รับโปรตีนมากกว่าร้อยละ 15 ของพลังงานทั้งหมดต่อวัน น้อยกว่า 0.8” ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01

45. ร้อยละของเด็กนักเรียนชาวเขาที่ได้รับโปรตีนมากกว่าร้อยละ 15 ของพลังงานทั้งหมดต่อวันจากตัวอย่างเป็นเท่าใด 49. สมมติฐาน H0 และ H1 คือข้อใด


1) 15.00 2) 74.36 3) 134.48 4) ไม่มีข้อใดถูกต้อง 1) H0 : P < 0.8 แย้งกับ H1 : P > 0.8
46. คลาดคลาดมาตรฐานสัมพัทธ์ของค่าประมาณร้อยละของเด็กนักเรียนชาวเขาที่ได้รับโปรตีนมากกว่าร้อยละ 15 ของ 2) H0 : P > 0.8 แย้งกับ H1 : P < 0.8
พลังงานทั้งหมดต่อวันจากตัวอย่างเป็นเท่าใด 3) H0 :  < 0.8 แย้งกับ H1 :  > 0.8
1) 0.0256% 2) 0.0313% 3) 4.2051% 4) 17.0469% 4) H0 :  > 0.8 แย้งกับ H1 :  < 0.8

47. ช่วงแห่งความเชื่อมั่น 98% ของสัดส่วนเด็กนักเรียนชาวเขาที่ได้รับโปรตีนมากกว่าร้อยละ 15 ของพลังงานทั้งหมดต่อวัน 50. สูตรหรือตัวสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานคือข้อใด


ของประชากรเด็กนักเรียนชาวเขา คือข้อใด 𝑷−𝝅𝟎
1) 𝑻 =
1)  = 0.7436 ± 2.33(0.0313) 𝝅 (𝟏−𝝅𝟎 )
√ 𝟎
𝒏

2)  = 0.7436 ± 1.28(0.0313) 2) 𝑻 =
𝑷−𝑷𝟎
𝑷 (𝟏−𝑷𝟎)
√ 𝟎
3)  = 0.15 ± 2.33(0.0256) 𝒏
𝑷−𝝅𝟎
4)  = 0.15 ± 1.28(0.0256) 3) 𝒁 =
𝝅 (𝟏−𝝅𝟎 )
√ 𝟎
𝒏
𝑷−𝑷𝟎
48. ผลสรุปของช่วงแห่งความเชื่อมั่น 98% ของสัดส่วนเด็กนักเรียนชาวเขาที่ได้รับโปรตีนมากกว่าร้อยละ 15 ของพลังงาน 4) 𝒁 =
𝑷 (𝟏−𝑷𝟎)
√ 𝟎
ทั้งหมดต่อวันของประชากรเด็กนักเรียนชาวเขา คือข้อใด 𝒏

1) สัดส่วนเด็กนักเรียนชาวเขาทีไ่ ด้รับโปรตีนมากกว่าร้อยละ 15 ของพลังงานทั้งหมดต่อวันของประชากรเด็กนักเรียนชาวเขา


51. ค่าสถิติที่คำนวณได้คือข้อใด
อยู่ในช่วง 0.0904 ถึง 0.2096 ด้วยความเชื่อมั่น 98%
1) Z = -1.969 2) Z = -1.698 3) T = 1.969 4) T = 1.698
2) สัดส่วนเด็กนักเรียนชาวเขาทีไ่ ด้รับโปรตีนมากกว่าร้อยละ 15 ของพลังงานทั้งหมดต่อวันของประชากรเด็กนักเรียนชาวเขา
อยู่ในช่วง 0.1172 ถึง 0.1828 ด้วยความเชื่อมั่น 98%
52. เกณฑ์การปฏิเสธ H0 คือข้อใด
2) สัดส่วนเด็กนักเรียนชาวเขาทีไ่ ด้รับโปรตีนมากกว่าร้อยละ 15 ของพลังงานทั้งหมดต่อวันของประชากรเด็กนักเรียนชาวเขา
1) T > 2.326 2) T < -2.326 3) Z > 2.33 4) Z < -2.33
อยู่ในช่วง 0.6707 ถึง 0.8165 ด้วยความเชื่อมั่น 98%
2) สัดส่วนเด็กนักเรียนชาวเขาทีไ่ ด้รับโปรตีนมากกว่าร้อยละ 15 ของพลังงานทั้งหมดต่อวันของประชากรเด็กนักเรียนชาวเขา
อยู่ในช่วง 0.7035 ถึง 0.7837 ด้วยความเชื่อมั่น 98%
53. ผลสรุปของการทดสอบสมมติฐานคือข้อใด 56. สูตรหรือตัวสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานคือข้อใด
1) ไม่ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 ตัวอย่างยืนยันได้ว่า สัดส่วนของประชากรเด็กนักเรียนชาวเขาได้รับโปรตีนมากกว่า 1) 𝒁 =
(𝑷𝟏 −𝑷𝟐 )−(𝝅𝟏 −𝝅𝟐 )

ร้อยละ 15 ของพลังงานทั้งหมดต่อวัน น้อยกว่า 0.8 ̅ )( 𝟏 + 𝟏 )


̅ (𝟏−𝑷
√𝑷
𝒏𝟏 𝒏𝟐

2) ไม่ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 ตัวอย่างยืนยันไม่ได้ว่า สัดส่วนของประชากรเด็กนักเรียนชาวเขาได้รับโปรตีน 2) 𝒁 =


(𝑷𝟏 −𝑷𝟐 )−(𝝅𝟏 −𝝅𝟐 )
𝑷 (𝟏−𝑷 ) 𝑷 (𝟏−𝑷 )
มากกว่าร้อยละ 15 ของพลังงานทั้งหมดต่อวัน น้อยกว่า 0.8 √ 𝟏𝒏 𝟏+ 𝟐𝒏 𝟐
𝟏 𝟐
1) ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 ตัวอย่างยืนยันได้ว่า สัดส่วนของประชากรเด็กนักเรียนชาวเขาได้รับโปรตีนมากกว่าร้อย 3) 𝒁 =
(𝑷𝟏 −𝑷𝟐 )−(𝝅𝟏 −𝝅𝟐 )
𝟏 𝟏
ละ 15 ของพลังงานทั้งหมดต่อวัน น้อยกว่า 0.8 ̅ (𝟏−𝝅
√𝝅 ̅ )( + )
𝒏𝟏 𝒏𝟐

2) ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 ตัวอย่างยืนยันไม่ได้ว่า สัดส่วนของประชากรเด็กนักเรียนชาวเขาได้รับโปรตีนมากกว่า 4) 𝒁 =


(𝑷𝟏 −𝑷𝟐 )−(𝝅𝟏 −𝝅𝟐 )
𝝅 (𝟏−𝝅 ) 𝝅 (𝟏−𝝅 )
ร้อยละ 15 ของพลังงานทั้งหมดต่อวัน น้อยกว่า 0.8 √ 𝟏𝒏 𝟏+ 𝟐𝒏 𝟐
𝟏 𝟐

ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 54 ถึง ข้อ 59 57. ค่าสถิติที่คำนวณได้คือข้อใด


งานวิจัยหนึ่งคาดการณ์ว่าประชากรนักเรียนชาวเขา สัดส่วนผู้ได้รับไขมันมากกว่าร้อยละ 35 ของพลังงานทั้งหมด 1) Z = 0.2822 2) Z = 1.0748 3) Z = 4.4731 4) 17.0382
ต่อวันของเพศชาย สูงกว่า เพศหญิง อย่างมาก ร้อยละ 5 จึงสุ่มตัวอย่างเพื่อนำมาทดสอบสมมติฐานที่ระดับนัยสำคัญ 0.1
ตัวอย่างเด็กนักเรียนชาวเขาเพศชายจำนวน 100 คน พบว่าได้ ได้รับไขมันมากกว่าร้อยละ 35 ของพลังงานทั้งหมดต่อวัน 58. เกณฑ์การปฏิเสธ H0 คือข้อใด
จำนวน 29 คน และตัวอย่างเด็กนักเรียนชาวเขาเพศหญิงจำนวน 90 คน พบว่า ได้รับไขมันมากกว่าร้อยละ 35 ของพลังงาน 1) Z < -2.33 2) Z < -1.28 3) Z > 1.28 4) Z > 2.33
ทั้งหมดต่อวันจำนวน 20 คน จงทดสอบสมมติฐานข้างต้น
กำหนดให้ 1 แทนสัดส่วนผู้ได้รับไขมันมากกว่าร้อยละ 35 ของพลังงานทั้งหมดต่อวันของประชากรเพศชาย 59. ผลสรุปของการทดสอบสมมติฐานคือข้อใด
2 แทนสัดส่วนผู้ได้รับไขมันมากกว่าร้อยละ 35 ของพลังงานทั้งหมดต่อวันของประชากรเพศหญิง 1) ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.1 ตัวอย่างยืนยันได้ว่า สัดส่วนผู้ได้รับไขมันมากกว่าร้อยละ 35 ของพลังงานทั้งหมดต่อวัน
ของเพศชาย สูงกว่า เพศหญิง อย่างมาก ร้อยละ 5
54. สัดส่วนเด็กนักเรียนชาวเขาเพศชายและเพศหญิง ที่ได้รับไขมันมากกว่าร้อยละ 35 ของพลังงานทั้งหมดต่อวันจำนวน 2) ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.1 ตัวอย่างยืนยันได้ว่า สัดส่วนผู้ได้รับไขมันมากกว่าร้อยละ 35 ของพลังงานทั้งหมดต่อวัน
จากตัวอย่างคือข้อใด ของเพศชาย สูงกว่า เพศหญิง มากกว่า ร้อยละ 5
1) 1 = 0.3500 และ 2 = 0.3889 3) ไม่ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.1 ตัวอย่างยืนยันไม่ได้ว่า สัดส่วนผู้ได้รับไขมันมากกว่าร้อยละ 35 ของพลังงานทั้งหมดต่อ
วันของเพศชาย สูงกว่า เพศหญิง อย่างมาก ร้อยละ 5
2) 1 = 0.2900 และ 2 = 0.2222
4) ไม่ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.1 ตัวอย่างยืนยันไม่ได้ว่า สัดส่วนผู้ได้รับไขมันมากกว่าร้อยละ 35 ของพลังงานทั้งหมดต่อ
3) P1 = 0.3500 และ P2 = 0.3889
วันของเพศชาย สูงกว่า เพศหญิง มากกว่า ร้อยละ 5
4) P1 = 0.2900 และ P2 = 0.2222

55. สมมติฐาน H0 และ H1 คือข้อใด


1) H0 : 1 - 2 < 5 แย้งกับ H1 : 1 - 2 > 5
2) H0 : 1 - 2 > 5 แย้งกับ H1 : 1 - 2 < 5
3) H0 : 1 - 2 < 0.05 แย้งกับ H1 : 1 - 2 > 0.05
2) H0 : 1 - 2 > 0.05 แย้งกับ H1 : 1 - 2 < 0.05
ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 60 ถึง ข้อ 66 60 สมมติฐาน H0 และ H1 คือข้อใด
หน่วยงานแห่งหนึ่งออกแบบแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ 3 แบบ เพื่อเปรียบเทียบจำนวนคนที่เกิดการบาดเจ็บจากการใช้ 1) H0 : แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์อย่างน้อย 2 แบบ มีค่าเฉลี่ยจำนวนพนักงานในบริษัทที่เกิดการบาดเจ็บจากการใช้งานซ้ำๆ
งานซ้ำๆ (repetitive stress injuries) ทางหน่วยงานจึงสุ่มตัวอย่างบริษัทขึ้นมาก 16 บริษัท สุ่มตัวอย่างให้ 5 บริษัทแรกใช้ แตกต่างกัน
แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์แบบที่ 1 สุ่มตัวอย่างให้ 5 บริษัทที่สองใช้แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์แบบที่ 2 และ 6 บริษัทที่เหลือใช้ H1 : แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ทั้ง 3 แบบ มีค่าเฉลี่ยจำนวนพนักงานในบริษัทที่เกิดการบาดเจ็บจากการใช้งานซ้ำๆ ไม่
แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์แบบที่ 3 เมื่อครบกำหนด 1 ปี จึงบันทึกข้อมูลจำนวนพนักงานในบริษัทที่เกิด การบาดเจ็บจากการใช้ แตกต่างกัน
งานซ้ำๆ ได้ข้อมูลดังนี้ 2) H0 : แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ทั้ง 3 แบบ มีค่าเฉลี่ยจำนวนพนักงานในบริษัทที่เกิดการบาดเจ็บจากการใช้งานซ้ำๆ แตกต่าง
แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ กัน
แบบที่ 1 แบบที่ 2 แบบที่ 3 H1 : แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ทั้ง 3 แบบ มีค่าเฉลี่ยจำนวนพนักงานในบริษัทที่เกิดการบาดเจ็บจากการใช้งานซ้ำๆ ไม่
แตกต่างกัน
10 24 17
3) H0 : แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ทั้ง 3 แบบ มีค่าเฉลี่ยจำนวนพนักงานในบริษัทที่เกิดการบาดเจ็บจากการใช้งานซ้ำๆ ไม่
10 22 16
แตกต่างกัน
8 24 15
H1 : แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ทั้ง 3 แบบ มีค่าเฉลี่ยจำนวนพนักงานในบริษัทที่เกิดการบาดเจ็บจากการใช้งานซ้ำๆ แตกต่าง
10 24 19 กัน
12 26 17 4) H0 : แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ทั้ง 3 แบบ มีค่าเฉลี่ยจำนวนพนักงานในบริษัทที่เกิดการบาดเจ็บจากการใช้งานซ้ำๆ ไม่
18 แตกต่างกัน
ผลรวม 50 120 102 272 H1 : แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์อย่างน้อย 2 แบบ มีค่าเฉลี่ยจำนวนพนักงานในบริษัทที่เกิดการบาดเจ็บจากการใช้งานซ้ำๆ
ผลรวมกำลังสอง 508 2888 1744 5140 แตกต่างกัน

จงทดสอบสมมติฐานที่ว่า “แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์อย่างน้อย 2 แบบ มีค่าเฉลี่ยจำนวนพนักงานในบริษัทที่เกิดการบาดเจ็บ 61. ค่า A1 A2 และ A3 ในตาราง ANOVA คือข้อใด
จากการใช้งานซ้ำๆ แตกต่างกัน” ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 1) 3 13 และ 16 ตามลำดับ 2) 2 14 และ 16 ตามลำดับ
ตาราง ANOVA นี้ใช้สำหรับอ้างอิงในคำถาม 2) 3 12 และ 15 ตามลำดับ 4) 2 13 และ 15 ตามลำดับ
ตาราง ANOVA
62. ค่า B1 B2 และ B3 ในตาราง ANOVA คือข้อใด
Source d.f. SS MS F-test
Between Group 1) 5114 26 และ 5140 ตามลำดับ 2) 490 26 และ 516 ตามลำดับ
(แป้นพิมพ์ 3 แบบ) A1 B1 C1 D 2) 26 5114 และ 5140 ตามลำดับ 4) 26 490 และ 516 ตามลำดับ
Within Group (ภายในแป้นพิมพ์
เดียวกัน) A2 B2 C2 63. ค่า C1 และ C2 ในตาราง ANOVA คือข้อใด
Total A3 B3 1) 2 และ 245 ตามลำดับ 2) 245 และ 2 ตามลำดับ
3) 2 และ 2557 ตามลำดับ 4) 2557 และ 2 ตามลำดับ

64. ค่า D ในตาราง ANOVA คือข้อใด


1) 122.5 2) 18.85 3) 3.52 4) 2.69
65. เกณฑ์การปฏิเสธ H0 คือข้อใด ตารางที่ใช้อ้างอิงในคำถาม
1) F > 3.41 2) F > 3.49 3) F > 3.74 4) F > 3.81 ตารางแสดงค่า Eij
ตารางแสดงค่า Eij
66. ผลสรุป การทดสอบสมมติฐาน คือข้อใด ความถี่ในการรับประทาน ระดับคาร์โบไฮเดรตที่ได้รับต่อวัน (ร้อยละของพลังงานที่ได้รับทั้งหมดต่อวัน)
1) ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ตัวอย่างยืนยันได้ว่า แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์อย่างน้อย 2 แบบ มีค่าเฉลี่ยจำนวน รวม
อาหารครบ 3 มื้อต่อวัน น้อยกว่าร้อยละ 45 ร้อยละ 45-65 มากกว่าร้อยละ 65
พนักงานในบริษัทที่เกิดการบาดเจ็บจากการใช้งานซ้ำๆ แตกต่างกัน
ไม่เคยปฏิบัติ 11.200 W1 Z1 56
2) ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ตัวอย่างยืนยันได้ว่า แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ทั้ง 3 แบบ มีค่าเฉลี่ยจำนวนพนักงานใน
บางครั้ง 32.800 104.140 27.060 164
บริษัทที่เกิดการบาดเจ็บจากการใช้งานซ้ำๆ แตกต่างกัน
3) ไม่ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ตัวอย่างยืนยันไม่ได้ว่า แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์อย่างน้อย 2 แบบ มีค่าเฉลี่ยจำนวน เป็นประจำ 36.000 Y1 29.700 180
พนักงานในบริษัทที่เกิดการบาดเจ็บจากการใช้งานซ้ำๆ แตกต่างกัน รวม 80 254 66 400
𝟐
4) ไม่ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ตัวอย่างยืนยันไม่ได้ว่า แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ทั้ง 3 แบบ มีค่าเฉลี่ยจำนวนพนักงาน (𝑶𝒊𝒋 −𝑬𝒊𝒋 )
ตารางแสดงค่า
ในบริษัทที่เกิดการบาดเจ็บจากการใช้งานซ้ำๆ แตกต่างกัน 𝑬𝒊𝒋

ความถี่ในการรับประทาน ระดับคาร์โบไฮเดรตที่ได้รับต่อวัน (ร้อยละของพลังงานที่ได้รับทั้งหมดต่อวัน)


ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 67 ถึง ข้อ 73 อาหารครบ 3 มื้อต่อวัน น้อยกว่าร้อยละ 45 ร้อยละ 45-65 มากกว่าร้อยละ 65
หน่วยงานวิจัยหนึ่งต้องศึกษาถึงความเกี่ยวข้องกันระหว่างความถี่ในการรับประทานอาหารครบ 3 มื้อต่อวัน (มี 3 ไม่เคยปฏิบัติ 0.914 W2 Z2
ระดับ คือ ไม่เคยปฏิบัติ บางครั้ง และเป็นประจำ) และ ระดับคาร์โบไฮเดรตที่ได้รับต่อวัน (มี 3 ระดับ คือ น้อยกว่าร้อยละ 45 บางครั้ง 0.702 1.588 2.401
ของพลังงานที่ได้รับทั้งหมดต่อวัน ร้อยละ 45-65 ของพลังงานที่ได้รับทั้งหมดต่อวัน และมากกว่าร้อยละ 65 ของพลังงานที่ Y2
เป็นประจำ 1.778 0.057
ได้รับทั้งหมดต่อวัน) ของประชากรเด็กนักเรียนชาวเขา สุ่มตัวอย่างเด็กนักเรียนชาวเขาจำนวน 400 คน แจงนับจำนวนเด็ก
นักเรียน จำแนกตามตัวแปรทั้งสองตัวแปรได้ดังนี้ 67. สมมติฐาน H0 และ H1 คือ
ตารางแสดงจำนวนเด็กนักเรียนชาวเขาจำแนกตามตัวแปรทั้งสองตัวแปร จากตัวอย่าง (ค่า Oij) 1) H0 : ความถี่ในการรับประทานอาหารครบ 3 มื้อต่อวัน และ ระดับคาร์โบไฮเดรตที่ได้รับต่อวันไม่เป็นอิสระกัน
ความถี่ในการรับประทาน ระดับคาร์โบไฮเดรตที่ได้รับต่อวัน (ร้อยละของพลังงานที่ได้รับทั้งหมดต่อวัน) H1 : ความถี่ในการรับประทานอาหารครบ 3 มื้อต่อวัน และ ระดับคาร์โบไฮเดรตที่ได้รับต่อวันเป็นอิสระกัน
รวม
อาหารครบ 3 มื้อต่อวัน น้อยกว่าร้อยละ 45 ร้อยละ 45-65 มากกว่าร้อยละ 65 2) H0 : ความถี่ในการรับประทานอาหารครบ 3 มื้อต่อวัน และ ระดับคาร์โบไฮเดรตที่ได้รับต่อวันเป็นอิสระกัน
ไม่เคยปฏิบัติ 8 32 16 56 H1 : ความถี่ในการรับประทานอาหารครบ 3 มื้อต่อวัน และ ระดับคาร์โบไฮเดรตที่ได้รับต่อวันไม่เป็นอิสระกัน
บางครั้ง 28 117 19 164 3) H0 : ความถี่ในการรับประทานอาหารครบ 3 มื้อต่อวัน และ ระดับคาร์โบไฮเดรตที่ได้รับต่อวันไม่มีความสัมพันธ์กนั
H1 : ความถี่ในการรับประทานอาหารครบ 3 มื้อต่อวัน และ ระดับคาร์โบไฮเดรตที่ได้รับต่อวันมีความสัมพันธ์กัน
เป็นประจำ 44 105 31 180
4) H0 : ความถี่ในการรับประทานอาหารครบ 3 มื้อต่อวัน และ ระดับคาร์โบไฮเดรตที่ได้รับต่อวันมีความสัมพันธ์กัน
รวม 80 254 66 400
H1 : ความถี่ในการรับประทานอาหารครบ 3 มื้อต่อวัน และ ระดับคาร์โบไฮเดรตที่ได้รับต่อวันไม่มีความสัมพันธ์กนั
จงทดสอบสมมติฐานที่ว่า “ความถี่ในการรับประทานอาหารครบ 3 มื้อต่อวัน และ ระดับคาร์โบไฮเดรตที่ได้รับต่อวัน
มีความเกี่ยวข้องกัน” ที่ระดับนัยสำคัญ 0.025
68. ค่า W1 และ W2 ตรงกับข้อใด
1) 114.3 และ 0.356 ตามลำดับ 2) 35.56 และ 0.356 ตามลำดับ
3) 114.3 และ 0.757 ตามลำดับ 4) 35.56 และ 0.757 ตามลำดับ
69. ค่า Y1 และ Y2 ตรงกับข้อใด ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 74 ถึง ข้อ 80
1) 114.3 และ 4.946 ตามลำดับ 2) 9.24 และ 0.757ตามลำดับ สุ่มตัวอย่างนักเรียนชัน้ ประถม 1 จำนวน 16 คน วัดความสูง (X : เซนติเมตร) และ ไอคิว (Y : จุด) คำนวณได้ค่า
3) 114.3 และ 0.757 ตามลำดับ 4) 9.24 และ 4.946 ตามลำดับ ต่าง ๆ ดังนี้
𝟏𝟔 𝟏𝟔

70. ค่า Z1 และ Z2 ตรงกับข้อใด ∑ 𝒙𝒊 = 𝟏, 𝟗𝟑𝟗 ∑ 𝒚𝒊 = 𝟏, 𝟔𝟐𝟎


1) 35.56 และ 0.356 ตามลำดับ 2) 9.24 และ 0.356 ตามลำดับ 𝒊=𝟏
𝟏𝟔
𝒊=𝟏
𝟏𝟔
3) 35.56 และ 4.946 ตามลำดับ 4) 9.24 และ 4.946 ตามลำดับ
∑ 𝒙𝟐𝒊 = 𝟐𝟑𝟓, 𝟕𝟕𝟗 ∑ 𝒚𝟐𝒊 = 𝟏𝟔𝟗, 𝟑𝟐𝟔
𝒊=𝟏 𝒊=𝟏
𝟏𝟔
71. ค่าสถิติ χ2 ตรงกับข้อใด
1) χ2 = 10.499 2) χ2 = 11.499 ∑ 𝒙𝒊 𝒚𝒊 = 𝟏𝟗𝟕, 𝟖𝟑𝟔
𝒊=𝟏
3) χ2 = 12.499 4) χ2 = 13.499 ข้อมูลข้างต้นสำหรับการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นตรงอย่างง่ายและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์

72. เกณฑ์การปฏิเสธ H0 ตรงกับข้อใด 74. ในวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นตรงอย่างง่ายและสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์ ค่า Sxx ที่คำนวณได้ตรงกับข้อใด


1) χ2 > 9.488 2) χ2 > 11.143 1) 1,512.250 2) 5,301.000 3) 796.438 4) 2,429.588
3) χ2 > 16.919 4) χ2 > 19.023
75. ในวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นตรงอย่างง่ายและสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์ ค่า Syy ที่คำนวณได้ตรงกับข้อใด
73. ผลสรุปในการทดสอบสมมติฐานตรงกับข้อใด 1) 1,512.250 2) 5,301.000 3) 796.438 4) 2,429.588
1) ไม่ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.025 ตัวอย่างยืนยันไม่ได้ว่า ความถี่ในการรับประทานอาหารครบ 3 มื้อต่อวัน และ ระดับ
คาร์โบไฮเดรตที่ได้รับต่อวันมีความสัมพันธ์กัน 76. ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างความสูงและไอคิวจากตัวอย่างตรงกับข้อใด
2) ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.025 ตัวอย่างยืนยันได้ว่า ความถี่ในการรับประทานอาหารครบ 3 มื้อต่อวัน และ ระดับ 1) r = 0.536 2) r = 0.636 3) r = 0.736 4) r = 0.836
คาร์โบไฮเดรตที่ได้รับต่อวันมีความสัมพันธ์กัน
3) ไม่ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.025 ตัวอย่างยืนยันไม่ได้ว่า ความถี่ในการรับประทานอาหารครบ 3 มื้อต่อวัน และ ระดับ 77. ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างความสูงและไอคิวจากตัวอย่างที่คำนวณ แปลความหมายได้อย่างไร
คาร์โบไฮเดรตที่ได้รับต่อวันไม่เป็นอิสระกัน 1) ความสูงและไอคิวมีความสัมพันธ์กันสูง และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
4) ปฏิเสธ H0 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.025 ตัวอย่างยืนยันได้ว่า ความถี่ในการรับประทานอาหารครบ 3 มื้อต่อวัน และ ระดับ 2) ความสูงและไอคิวมีความสัมพันธ์กันปานกลาง และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
คาร์โบไฮเดรตที่ได้รับต่อวันไม่เป็นอิสระกัน 3) ความสูงและไอคิวมีความสัมพันธ์กันสูง และเป็นไปในทิศทางตรงกันข้าม
4) ความสูงและไอคิวมีความสัมพันธ์กันปานกลาง และเป็นไปในทิศทางตรงกันข้าม
78. ในการทดสอบสมมติฐานที่วา่ “ความสูงและไอคิวของประชากรมีความสัมพันธ์กันเชิงเส้นตรง” ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1) ค่าสถิติ T = 4.068 เกณฑ์การปฏิเสธ H0 คือ |T| > 1.761
2) ค่าสถิติ T = 5.360 เกณฑ์การปฏิเสธ H0 คือ |T| > 1.761
3) ค่าสถิติ T = 4.068 เกณฑ์การปฏิเสธ H0 คือ |T| > 2.145
4) ค่าสถิติ T = 5.360 เกณฑ์การปฏิเสธ H0 คือ |T| > 2.145

79. สมการถดถอยเชิงเส้นตรงอย่างง่ายของค่าไอคิว ที่อธิบายด้วยความสูง ตรงกับข้อใด


1) 𝒚̂ = 𝟏𝟐𝟖. 𝟖𝟔 + 𝟏. 𝟖𝟗𝟗𝒙
2) 𝒚
̂ = −𝟏𝟐𝟖. 𝟖𝟔 + 𝟏. 𝟖𝟗𝟗𝒙
3) 𝒚
̂ = 𝟔𝟔. 𝟔𝟖 + 𝟎. 𝟐𝟖𝟓𝒙
4) 𝒚
̂ = −𝟔𝟔. 𝟔𝟖 + 𝟎. 𝟐𝟖𝟓𝒙

80. ค่าพยากรณ์ค่าเฉลี่ยไอคิว เมื่อเด็กนักเรียนประถม 1 มีความสูง 119 เซนติเมตร ตรงกับข้อใด


1) 78.131 2) 87.626 3) 97.121 4) 106.616

----------------------------------------

You might also like