You are on page 1of 10

1.

ชื่อโครงการ
Way to study to future.

2. หลักการและเหตุผล
ความเหลื่อมล้ำ คือ ความไม่เท่าเทียม ไม่เสมอภาคซึ่งปรากฏใน
ทุกๆเรื่องทุกที่และทุกเวลาทั่วโลกเป็นปัญหาอันดับต้นๆ ไม่อาจจะขจัด
ให้หมดสิ้นไปได้เป็นสิง่ ที่ควบคู่กับสังคมมานานซึ่งจะเชื่อมโชงไปถึง
ความเป็นอยู่ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการศึกษา สำหรับประเทศไทยก็
เผชิญกับปัญหานี้เป็นอันดับต้นๆเช่นกันและยังเป็นปัญหาที่สะสมปม
ความยากจนและเหลื่อมล้ำแม้ว่าประเทศไทยจะลงทุนด้านการศึกษา
ด้วยงบประมาณที่สูงแล้วก็ตาม
การที่สามารถเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพก็จะสามารถ
เปลี่ยนแปลงตัวเองได้
มีความสามารถในทางเศรษฐกิจเป็นอิสระจากการพึ่งพาไม่เพียเท่านั้น
การศึกษาจะทำให้เรามีความรู้และข้อมูลที่เพียงพอในการเข้าไปมีส่วน
สำคัญของการแก้ไขปัญหาต่างๆในสังคมรวมถึงเป็นผู้สร้างการ
เปลี่ยนแปลงทางการเมืองได้อีกด้วย การศึกษาที่มีคุณภาพให้ทุกคนใน
สังคมเข้าถึงได้หรือได้รับโอกาสคือการสร้างความเสมอภาคด้วยการสร้าง
โอกาสไม่ให้มีการเหลื่อมล้ำในการศึกษาและสามารถต่อยอดไปสู่การ
สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจ
เนื่องจากการศึกษาส่งผลในหลายด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ ด้าน
สังคมวัฒนธรรม
ในปัจจุบันรัฐบาลจึงค้นพบแนวทางที่หลากหลายเพื่อให้เยาวชนได้ศึกษา
ต่อให้ได้มากที่สุด
เพื่อประโยชน์ของเยาวชนให้ได้รับสิทธิ์ในการเรียนรู้เท่าเทียมกัน
ความสำคัญในการศึกษาของประเทศไทย ส่งผลกระทบถึงสังคม
และประเทศชาติรัฐบาลได้มีการกำหนดการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างต่ำคือ
มัธยมศึกษาปีที่6 เพื่อเปิดโอกาสให้เยาวชนได้ศึกษาต่อจึงค้นหาแนวทาง
ศึกษาที่หลากหลายให้เยาวชนได้เข้าถึงการศึกษาได้มากที่สุด การลด
ความยากจนและความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาด้วยคุณภาพดี ก็เพื่อสร้าง
พลเมืองที่มีคุณภาพเป็นอิสระที่จะพึ่งตนเองได้
ด้วยเหตุผลนี้กลุ่มของพวกเราจึงศึกษาหนทางอื่นๆในการศึกษา
เพื่อเปิดโอกาสให้คนที่ต้องการจะศึกษาต่อโดยแต่ละหนทางจะมีเกณฑ์
การรับต่างๆโดยมีข้อจำกัดที่แต่ละโรงเรียนหรือแต่ละสถาบันได้กำหนด
ไว้ให้ยกตัวอย่าง เช่น กรณีที่เราจะศึกษาต่อระบบของกศน. ทางกศน.ก็
จะมีข้อจำกัดหรือข้อบัง เช่น ควรมีการจบการศึกษาของชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่3(ภาคบังคับ) จากที่กล่าวมาทั้งหมดนี้พวกเราเลยเลือกที่จะศึกษา
หนทางในการศึกษาต่อ เพื่อหาแนวทางให้เด็กภายในประเทศได้รับการ
ศึกษาที่ถูกต้องและเท่าเทียมกัน

3. วัตถุประสงค์
3.1 เพื่อศึกษาและจัดทำอินโฟกราฟิกความรู้เกี่ยวกับหนทางใน
การศึกษาต่อ
3.2 เพื่อเผยแพร่ให้ผู้สนใจได้รับความรู้เกี่ยวกับการศึกต่อในระดับ
ที่ต้องการ

4. กลุ่มเป้าหมาย
-เชิงปริมาณ นักเรียนทั้งหมดในโรงเรียนสายน้ำผึ้งฯ
-เชิงคุณภาพ นักเรียนทั้งหมดในโรงเรียนสายน้ำผึ้งฯได้รับความรู้เกี่ยวกับ
หนทางในการศึกษาต่อ

5. ระยะเวลาดำเนินการ
3 พฤศจิกายน 2565 - 31 มกราคม 2566

6. สถานที่ดำเนินการ
6.1 สถานที่
โรงเรียนสายน้ำผึ้งในพระอุปถัมภ์
6.2 สถานที่เผยแพร่
เฟซบุ๊กเพจ “วิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้แห่ง
สายน้ำผึ้ง”

7. วิธีดำเนินการ
ท วิธีดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา
ี่ ดำเนินงาน
1 วางแผน และเลือกหัวข้อ กัญญาณัฐ สังข์นาค 15 ธันวาคม
3 2565
พรนิชา ขอชัย 6
ภัทราดา กอเข็ม 7
วราพร บุญวิลัย 10
กมลลักษณ์ อินต๊ะ
18
พีรดา ทองปาน 36
อชิรญา รัตนะ 37
อาคิรา ธันยธร 38
ธนศร นวลวิลัย 39

2 มอบหมายหน้าที่ใน กัญญาณัฐ สังข์นาค 17 ธันวาคม


สมาชิกและรวบรวมข้อมูล 3 2565
พรนิชา ขอชัย 6
ภัทราดา กอเข็ม 7
วราพร บุญวิลัย 10
กมลลักษณ์ อินต๊ะ
18
พีรดา ทองปาน 36
อชิรญา รัตนะ 37
อาคิรา ธันยธร 38
ท วิธีดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา
ี่ ดำเนินงาน
ธนศร นวลวิลัย 39
3 นำข้อมูลาวิเคราะห์คัด กัญญาณัฐ สังข์นาค 25 ธันวาคม
ครอง 3 2565
พรนิชา ขอชัย 6
ภัทราดา กอเข็ม 7
วราพร บุญวิลัย 10
กมลลักษณ์ อินต๊ะ
18
พีรดา ทองปาน 36
อชิรญา รัตนะ 37
อาคิรา ธันยธร 38
ธนศร นวลวิลัย 39

4 นำข้อมูลที่ศึกษามาเขียน กัญญาณัฐ สังข์นาค 29 ธันวาคม


โครงการและนำไปปรึก 3 2565
อาจารย์ผู้สอน พรนิชา ขอชัย 6
ภัทราดา กอเข็ม 7
วราพร บุญวิลัย 10
กมลลักษณ์ อินต๊ะ
18
พีรดา ทองปาน 36
อชิรญา รัตนะ 37
ท วิธีดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา
ี่ ดำเนินงาน
อาคิรา ธันยธร 38
ธนศร นวลวิลัย 39

5 นำข้อมูลเป็นอินโฟกราฟิก กัญญาณัฐ สังข์นาค 4 มกราคม


3 2566
พรนิชา ขอชัย 6
ภัทราดา กอเข็ม 7
วราพร บุญวิลัย 10
กมลลักษณ์ อินต๊ะ
18
พีรดา ทองปาน 36
อชิรญา รัตนะ 37
อาคิรา ธันยธร 38
ธนศร นวลวิลัย 39

6 นำไปปรึกษาอาจารย์ผู้ กัญญาณัฐ สังข์นาค 11 มกราคม


สอนเกี่ยวกับการเขียนอิน 3 2566
โฟกราฟิก พรนิชา ขอชัย 6
ภัทราดา กอเข็ม 7
วราพร บุญวิลัย 10
กมลลักษณ์ อินต๊ะ
18
ท วิธีดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา
ี่ ดำเนินงาน
พีรดา ทองปาน 36
อชิรญา รัตนะ 37
อาคิรา ธันยธร 38
ธนศร นวลวิลัย 39

7 ปรับปรุงและแก้ไขอินโฟ กัญญาณัฐ สังข์นาค 15 มกราคม


กราฟิกความรู้ในส่วนที่ผิด 3 2566
พลาด พรนิชา ขอชัย 6
ภัทราดา กอเข็ม 7
วราพร บุญวิลัย 10
กมลลักษณ์ อินต๊ะ
18
พีรดา ทองปาน 36
อชิรญา รัตนะ 37
อาคิรา ธันยธร 38
ธนศร นวลวิลัย 39
ท วิธีดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา
ี่ ดำเนินงาน
ท วิธีดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา
ี่ ดำเนินงาน

8 ภายแพร่อินโฟกราฟิก กัญญาณัฐ สังข์นาค 19 มกราคม


ความรู้ 3 2566
พรนิชา ขอชัย 6
ภัทราดา กอเข็ม 7
วราพร บุญวิลัย 10
กมลลักษณ์ อินต๊ะ
18
พีรดา ทองปาน 36
อชิรญา รัตนะ 37
อาคิรา ธันยธร 38
ธนศร นวลวิลัย 39

8. งบประมาณ
ที่ รายการ ราคา (บาท)
1 ค่าอินเตอร์เน็ต 500
2 ค่าไฟฟ้า 300
3
4
5
รวม 800
9. ผู้รับผิดชอบโครงการ
1. คุณครู สุพาพร แซ่ฮึง ครูที่ปรึกษาโครงการ
2. กัญญาณัฐ สังข์นาค 3
3.พรนิชา ขอชัย 6
4.ภัทราดา กอเข็ม 7
5.วราพร บุญวิลัย 10
6.กมลลักษณ์ อินต๊ะ 18
7.พีรดา ทองปาน 36
8.อชิรญา รัตนะ 37
9.อาคิรา ธันยธร 38
10.ธนศร นวลวิลัย 39
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 5 ปีการศึกษา 2564

10. การติดตามและประเมินผล
ที่ ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้
ประเมิน
1 การตรวจอินโฟกราฟิกความรู้ ครูผู้เชีย
่ วชาญ แบบประเมิน
เรื่อง Way to study to future. ตรวจสอบอินโฟ โดย คุณครู สุ
กราฟิกความรู้ พาพร แซ่ฮึง
2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 การสอบถาม แบบสอบถาม
โรงเรียนสายน้ำผึ้งในพระ
อุปถัมภ์ได้รับความรู้เกี่ยวกับ
การเรียนและการใช้ชีวิต ให้มี
ความสมดุลในการศึกษาต่อ
แนะนำหนทางที่หลากหลาย
และน่าสนใจ

11. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
11.1 สมาชิกในกลุ่มที่ได้อ่านอินโฟกราฟิกความรู้จะสามารถนำไปใช้ใน
การหาหนทางศึกษาต่อในระดับต่างๆได้และสามารถใช่ในชีวิตหรือใน
อนาคตได้
11.2 นักเรียนที่ได้อ่านอินโฟกราฟิกจะได้รับความรู้เกี่ยวกับการหา
หนทางศึกษาต่อในระดับต่างๆที่มีหลากหลายวิธแ ี ละสามารถใช้ได้จริง
ทุกวิธี
11.3 บุคคลทั่วไปที่ได้อ่านอินโฟกราฟิกสามารถนำไปใช้ในชีวิตได้เกี่ยว
กับการศึกษาต่อหรือสามารถไปบอกกับคนที่รู้จักเกี่ยวกับวิธีการศึกษาต่อ
ได้

You might also like