You are on page 1of 3

กาซคารบอนไดออกไซด (CO2) เปนหนึ่งในกาซเรือนกระจกที่ทำใหเกิดภาวะโลกรอน ในปจจุบันไดมีนโยบายตางๆ

มากมายเพื่อที่จะลดปริมาณกาซเรือนกระจกเชนการลดปริมาณในการใชพลังงาน การหันมาใชพลังงานหมุนเวียน
เปนตน ทั้งนี้ยังมีการศึกษาเทคโนโลยี การดักจับคารบอนไดออกไซด (Carbon Capture and Storage: CCS) ซึ่ง
เปนการดักจับคารบอนไดออกไซดในชั้นบรรยากาศและเก็บไวในชั้นใตดินลึกลงไปหลายกิโลเมตร อยางไรก็ตาม ยัง
มีอีกเทคโนโลยีที่นำชวยในการลดปริมาณคารบอนไดออกไซดในชั้นบรรยากาศ ซึ่งก็คือ เทคโนโลยีการดักจับ การ
ใชป ระโยชน และการกักเก็บคารบอน (Carbon Capture, Utilization and Storage: CCUS)[1] นอกจากการ
เก็บคารบอนไดออกไซดไวใตพื้นดินแลว ยังเปนการนำคารบอนไดออกไซดมาเปลี่ยนเปนสารอื่นๆ ที่สามารถใชใน
กระบวนการผลิตชองอุตสาหกรรมได ในการใชประโยนชจากคารบอนไดออกไซด นั้ น สามารถนำเปลี่ยนเป น
เชื้อเพลิง เชน เมทานอล (CH3OH) หรือ ไดเมทิวอีเทอร (DME) ยิ่งไปกวานั้นการเปลี่ยนคารบอนไดออกไซดใหเปน
ผงคารบอนซึ่งเปนของแข็งนั้นกำลังไดรับความสนใจเปนอยางมาก เนื่องจากผงคารบอนเปนวัตถุดิบที่ใชในหลาย
อุตสาหกรรม เชน ระบบบำบัดน้ำเสีย อุปกรณอิเล็กโทรนิค หรือแมแตในทางการแพทย
วิ ธ ี ก ารที ่ ง  า ยสุ ด ในเชิ ง ทฤษฎี ส ำหรั บ การเปลี ่ ย นคาร บ อนไดออกไซด เ ป น คาร บ อนนั ้ น คื อ การทำให
คารบอนไดออกไซดแตกตัวออกเปน คารบอนและออกซิเจน ดังสมการที่ 1

CO2(g) → C(s) + O2(g) (1)


อยางไรก็ตาม การที่ทำใหเกิดปฏิกิริยาขางตนนั้นยังไมสามารถทำใหไดเกิดไดในสภาพแวดลอมปกติที่อุณหภูมิหอง
เนื่ องจากตองใช พลั ง งานที่ส ูง มาก มีเ พีย งแตการทำใหค ารบ อนไดออกไซด แตกตั ว ออกเป น ออกซิ เ จนและ
คารบอนมอนอกไซดเทานั้น โดยอาศัยหลังงานจากไมโครเวฟ[2] ดังสมการที่ 2

CO2(g) → CO(g) + 0.5O2(g) (2)


ดังนั้นการที่จะใหคารบอนไดออกไซดเปลี่ยนรูปเปนคารบอนนั้น จำเปนตองใช วิธีการทางไฟฟาเคมี หรือ ใชตัวเรง
ปฏิกิริยา (Novel Catalysts)
วิธีการทางไฟฟาเคมีนั้น จะมีองคประกอบหลักๆคือ ขั้วไฟฟา (Electrodes) ซึ่งประกอบดวยขั้วแอโนด และขั้ว
แคโทด และ สารละลายอิเล็กโทรไลท (Electrolyte) โดยในการเปลี่ยนคาร บอนไดออกไซด เป นคาร บ อนนั้ น
จะตองใชขั้วไฟฟาที่เปนขั้วเฉื่อย หรือก็คือเปนขั้วไฟฟาที่ไมมีสวนรวมในการเกิดปฏิกิริยาในระบบ ซึ่งทักจะทำมา
จากโลหะมี ค  า เช น แพลตทิ น ั ม (Pt) เป น ต น จากงานวิ จ ั ย ของ[3] ได ใ ช ว ิ ธ ี ก ารไฟฟ า เคมี ใ นการเปลี ่ ย น
คารบอนไดออกไซดเปนคารบอน โดยการใชเกลือหลอมเหลว LiCl – Li2O เปนสารละลายอิเล็กโทรไลท และ ใช
แพลตทินั่ม และไทเทเนี่ยม เปนขั้วไฟฟา แอโนด และแคโทด ตามลำดับ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในระบบคือ เมื่อ LiCl
– Li2O หลอมเหลวที่ อุณ หภูมิ 903 เคลวิน จะคายออกซิ เจนออกมาและทำปฏิ ริ ย ากั บ คารบอนไดออกไซด
กลายเปน CO32- หลังจากนั้นจะมีการจายกระแสไฟฟาเพื่อทำใหเกิดปฏิกิริยา ตามสมการที่ 3 และไดคารบอนและ
ออกซิเจนเปนผลผลิต

CO32- + 4e- → C + O3-2 (3)


จากงานวิจัยนี้สังเกตไดวาในการเปลี่ยนคารบอนไดออกไซดเปนคารบอนนั้น จำเปนตองใชพลังงานสูงมาก ซึ่งอยูใน
รูปของพลังงานความที่ทำใหเกลือละลาย อีกทั้งยังตองใชกระแสไฟฟาเพื่อกระตุนใหเกิดคารบอนออกมา
ยังมีอีกงานวิจัยซึ่งใชการเพิ่มความดันเปนตัว กระตุนทำใหเกิดปฏิกิริยาแทนการใช ความรอน ซึ่งคารบอนที่ได
ออกมาจะเคลื อ บอยู  ท ี ่ แ ท ง เหล็ ก กล า ไร ส นิ ม (Stainless steel)[4] ในงานวิ จ ั ย ผู  เ ขี ย นได ท ำการอั ด ก า ซ
คารบอนไดออกไซดเขาในสารละลายอิเล็กโทรไลท ซึ่งประกอบดวย เมทานอล และ สารละลายอิเล็กโทรไลท
อินทรีย (TBAPF6) จนถึง 10 MPa ซึ่งจะทำใหคารบอนไดออกไซดละลายอยูในนั้นสารละลายดังกลาว และใช
แพลตทินั่ม และเหล็กกลาไรสนิม เปนขั้วไฟฟา แอโนด และแคโทด ตามลำดับ หลังจากจายกระแสไฟฟาเขาสู
ระบบเมทานอลจะทำการคายประจุ ทั้ ง อิ เ ล็ ก ตรอนและโปรตรอน ประจุ ด ั ง กล า วจะทำปฏิ ก ิ ร ิ ย ากั บ
คารบอนไดออกไซดที่ละลายอยูละไดเปนคารบอนเกาะอยูที่ผิวขั้วแคโทด ดังสมการที่ 4

CO2 + 4H+ + 4e- → C + H2O (4)


งานวิจัยนี้ทำการทดลองที่ความดันระบบอื่นๆเชนกันและพบวา เมื่อความดันเพิ่มขึ้นปริมาณคารบอนที่เกาะอยูผิว
ขั้วแคโทดลดลง จนถึงที่ความดัน 20 MPa จะไมมีคารบอนเกาะอยูที่ผิวขั้วแคโทดเลย ดังนั้นที่ความดัน 10 MPa
จึงเปนความดันที่ดีที่สุดในการทำใหเกิดคารบอน อยางไรก็ตามงานวิจัยนี้ยังตองคงใชงานพลังงานสูงเชนเดียวกันใน
การเปลี่ยนคารบอนไดออกไซดเปนคารบอน
สำหรับงานวิจัยที่ใช ตัวเรงปฏิกิริยานั้น เปนการใชตัวเรงปฏิกิริยาเชิงไฟฟาเคมี (Electrocatalyst) โลหะเหลว
(Liquid metal) ซึ่งใชโลหะผสม Galinstan ที่มีอนุภาคซีเรียม (Cerium)[5] โดยการใชเปนขั้วไฟฟาแคโทด และใช
แพลตทิ นั่ มเป นขั้ว แอโนด ในสารละลายอิเ ล็ก โทรไลท TBAPF6 – Dimethylformamide (DMF) โดยวิ ธ ีการ
เปลี่ยนคารบอนไดออกไซดจะเริ่มจากการที่ ซีเรียมในขั้วไฟฟาทำปฏกิริยากับออกซิเจนในอากาศกลายเปนซิเรียม
(III) ออกไซด (Ce2O3)หลังจากนั้น Ce2O3 จะทำปฏิกิริยากับน้ำและอิ เล็ กตรอน จนได Ce(0) ซึ่งจะทำเปนตัว ทำ
ปฏิกิริยากับคารบอนไดออกไซด ละไดผลผลิตเปนคารบอน และ ซิเรียมออกไซด (CeO2) ดังสมการที่ 5

Ce(0) + CO2 → C + CeO2 (5)


ยิ ่ ง ไปกว า นั ้ น คาร บ อนที ่เ ป น ผลผลิ ตนั ้ น ได ม ีก ารนำไปใช เ ปน วั ส ดุ ต ั้ ง ต น ในการสร า งตั ว เก็ บ ประจุ ย ิ ่ งยวด
(Supercapacitor) ซึ่งไดผลลัพธใกลเคียงกับคารบอนที่มีขายทั่วไป
จากงานวิจัยที่กลาวมาขางตนจะเห็นไดวาการเปลี่ยนคารบอนไดออกไซดเปนคารบอนนั้น จำเปนตองใชพลังงานที่
สูง หรือใชตัวเรงปฏิกิริยา อีกทั้งยังใชอุปกรณในการทำปฏิกิริยาเชน ขั้วไฟฟาแพลตทินั่ม ซึ่งมีราคาสูง ทำใหในการ
เปลี่ยนคารบอนไดออกไซดเปนคารบอนนั้น ยังคงมีตนทุนที่สูงมาก เทียบกับผลผลิตที่ไดรับ อยางไรก็ตามยังคงมี
งานวิจัยที่จะพัฒนาเพื่อลดตนทุนในการเปลี่ยนคารบอนไดออกไซดเปนคารบอนอยางตอเนื่อง รวมถึงยังสามารถ
เปลี่ยนเปนสารอื่ นๆที่มี มูลคาซึ่ง ไมใชคารบอน ซึ่งทำใหปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดลดลง และอาจชวย
แกปญหาภาวะโลกรอนไดในระยะยาว

References
[1] T. C. A. Academy. "CCUS เทคโนโลยีทกํ ี าลังเติบโตเพือการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็ นศูนย์." TGO Climate
Action Academy. https://caacademy.tgo.or.th/ccus-
%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%
B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B8%A
5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%9A/ (accessed 29
April, 2021).
[2] T. Sakurap and A. Yokoyama, "Decompositions of Carbon Dioxide, Carbon Monoxide and
Gaseous Water by Microwave Discharge," Journal of nuclear science and technology, vol. 37, no.
9, pp. 814-820, 2000, doi: 10.1080/18811248.2000.9714961.
[3] L. Li, Z. Shi, B. Gao, X. Hu, and Z. Wang, "Electrochemical conversion of CO2 to carbon and
oxygen in LiCl–Li2O melts," Electrochimica acta, vol. 190, pp. 655-658, 2016, doi:
10.1016/j.electacta.2015.12.202.
[4] M. Wu et al., "Electrochemical reduction of CO2 to carbon films on stainless steel around room
temperature," Electrochemistry communications, vol. 110, p. 106606, 2020, doi:
10.1016/j.elecom.2019.106606.
[5] D. Esrafilzadeh et al., "Room temperature CO2 reduction to solid carbon species on liquid metals
featuring atomically thin ceria interfaces," Nature communications, vol. 10, no. 1, pp. 865-865,
2019, doi: 10.1038/s41467-019-08824-8.

You might also like