You are on page 1of 14

170 วารสารสำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2566

รููปแบบการป้้องกัันควบคุุมโรคพยาธิิใบไม้้ตัับในพื้้�นที่่�ความชุุกสููง
โดยเครืือข่่ายสุุขภาพปฐมภููมิิและองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น
Opisthorchiasis Prevention and Control Model in High Prevalence Area
by Primary Health Care Networks and Local Administrative Organizations
สุุพััตรา สิิมมาทััน ส.ม. (บริิหารสาธารณสุุข) Supattra Simmatan M.P.H. (Public Health Administration)
เสาวลัักษณ์์ คััชมาตย์์ ปร.ด. (การพััฒนาชุุมชน) Saowalux Khatchamart Ph.D. (Community Health Development)
รุุจิิรา สมภาร วท.บ. (อนามััยสิ่่�งแวดล้้อม) Rujira Somparn B.Sc. (Environmental Health)
สำนัักงานป้้องกัันควบคุุมโรคที่่� 7 จัังหวััดขอนแก่่น Office of Disease Prevention and Control, Region 7 Khon Kaen
Received : May 9, 2023
Revised : July 6, 2023
Accepted : July 7, 2023

บทคััดย่่อ
การวิิจััยเชิิงปฏิิบััติิการ (Action Research) มีีวััตถุุประสงค์์เพื่่�อพััฒนารููปแบบการป้้องกัันควบคุุมโรคพยาธิิ
ใบไม้้ตัับในพื้้�นที่่�ความชุุกสููง โดยเครืือข่่ายสุุขภาพปฐมภููมิิและองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น ระยะเวลาที่่�ทำการศึึกษา
เดืือนมกราคม 2565 - เมษายน 2566 สุ่่�มเลืือกตำบลในจัังหวััดขอนแก่่นที่่�มีีความชุุกโรคพยาธิิใบไม้้ตัับมากกว่่า
ร้้อยละ 30 ได้้แก่่ ตำบลกระนวน อำเภอซำสููง จัังหวััดขอนแก่่น กลุ่่�มศึึกษา ได้้แก่่ บุคุ ลากรผู้้�รับผิ ั ดิ ชอบงานจากภาคส่่วน
ที่เ่� กี่่ย� วข้้อง ได้้แก่่ เครืือข่่ายสุุขภาพปฐมภููมิใิ นและนอกส่่วนสาธารณสุุข องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่น� และประชาชนกลุ่่�มเสี่่ย� ง
รวบรวมข้้อมููลโดยแบบสอบถาม การสััมภาษณ์์ การสัังเกต และการอภิิปรายกลุ่่�ม การวิิเคราะห์์ข้อ้ มููล สถิิติเิ ชิิงพรรณนา
และสัังเคราะห์์ข้้อมููลเชิิงเนื้้�อหา การศึึกษาแบ่่งเป็็น 4 ระยะ คืือ ระยะที่่� 1 การศึึกษาสถานการณ์์และปััญหาการดำเนิิน
การแก้้ไขโรคพยาธิิใบไม้้ตัับ ตามบทบาทหน้้าที่่�ของเครืือข่่ายสุุขภาพปฐมภููมิิและองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น ระยะที่่�
2 การพััฒนาศัักยภาพเครืือข่่ายสุุขภาพปฐมภููมิแิ ละองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นให้้สามารถจััดการแก้้ไขปััญหาโรคพยาธิิ
ใบไม้้ตับั แบบเชิิงผลลััพธ์ที่์ ส่� อดคล้้องกัับสภาพปััญหา ระยะที่่� 3 การพััฒนารููปแบบการป้้องกัันควบคุุมโรคพยาธิิใบไม้้
ตัับในพื้้�นที่่�ความชุุกสููง โดยเครืือข่่ายสุุขภาพปฐมภููมิิและองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น และระยะที่่� 4 ประเมิินผลการ
ดำเนิินงาน ผลการศึึกษาพบว่่า รููปแบบการป้้องกัันควบคุุมโรคพยาธิิใบไม้้ตับั ในพื้้�นที่คว ่� ามชุุกสููงมีีการกำหนดเป้้าหมาย
และมาตรการร่่วมกัันโดยเครืือข่่ายสุุขภาพปฐมภููมิิร่่วมกัับองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น เกิิดแผนงาน/โครงการที่่�
สอดคล้้องกัับสภาพปััญหา นวััตกรรมในการดำเนิินงาน กำหนดบทบาทในแต่่ละมาตรการ และเกิิดผลการดำเนิินงาน
ตามมาตรการในท้้องถิ่่�น ชุุมชน ได้้แก่่ การคััดกรองพยาธิิใบไม้้ตัับเป็็นแผนงานประจำปีี การรัักษา ส่่งต่่อ ให้้คำปรึึกษา
แบบออนไลน์์ การจััดการเรีียนการสอน เช่่น E learning ในโรงเรีียน ศููนย์์เด็็กเล็็ก การจััดการมีีนวััตกรรมให้้ปลาปลอด
พยาธิิ การสร้้างความรอบรู้้�ด้้านสุุขภาพโดยสื่่อ� และ influencer โดยสรุุปผลของรููปแบบการดำเนิินงานเพื่่อ� ป้้องกัันแก้้ไข
ปััญหาโรคพยาธิิใบไม้้ตับั ในระดัับปฐมภููมิโิ ดยองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นร่่วมกำหนดทิิศทาง มาตรการ ทำให้้มีโี อกาส
ในการดำเนิินงานเพื่่�อให้้ใกล้้การบรรลุุเป้้าหมายการกำจััดโรคพยาธิิใบไม้้ตัับโดยชุุมชน
คำสำคััญ: การป้้องกัันควบคุุมโรคพยาธิิใบไม้้ตัับ เครืือข่่ายสุุขภาพปฐมภููมิิ องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น
ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2566 วารสารสำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น 171

Abstract
The objective of this action research was to develop Opisthorchiasis prevention and control model in high
prevalence areas by primary health care networks and local administrative organizations. The study was conducted
January 2022 to April 2023. Sub-districts with prevalence of Opisthorchiasis more than 30% in Khon Kaen
province was randomly selected. Kranuan subdistrict in Sumsoong district was study site and the study group
consisted of personnel from the related sector including primary health care networks within and outside the public
health sector, local administrative organizations, population at risk and over. Data were collected using questionnaires,
interviews, observations and group discussions. Data were analyzed by descriptive statistics and content data
synthesis. The study was divided into 4 phases. Phase 1: Analysis of situations and problems of Opisthorchiasis
prevention and control according to the roles and functions of the network and local administrative organizations.
Phase 2: Development of potential of primary health care networks and local administrative organizations to be
able to manage Opisthorchiasis in an outcome-based consistent with the problem conditions Phase 3: The
development of Opisthorchiasis prevention and control model in high prevalence area by primary health care
networks and local administrative organizations. Phase 4: Performance evaluation. The results revealed that targets
and measures of Opisthorchiasis prevention and control are shared by primary health care networks and local
administrative organizations to create plans/projects that correspond to the problem conditions. There were many
innovative operations implemented in community and the important measures were assigned to main person groups
by their roles and function such as annual screening of Opisthorchiasis, online consultation, E-learning in school
and local child care center, innovation of fish free parasites, health literacy promoted through media and
influencers. etc.
Conclusions: Opisthorchiasis prevention and control model in high prevalence area by primary health care
networks and local administrative organizations has a potential of high opportunity for further collaborate action
to achieve the goal of sustainable Opisthorchiasis eradication in the near future.
Keywords: Opisthorchiasis prevention and control, Primary health care networks, Local administrative organizations.

บทนำ
โรคพยาธิิใบไม้้ตัับชนิิด Opisthorchis Viverrini 2552 พบว่่ า ประเทศไทยมีี ผู้้� ติิ ด เชื้้� อ พยาธิิ ใ บไม้้ ตัั บ
(OV) เป็็นปััญหาสาธารณสุุขที่่�สำคััญของประเทศไทย ร้้ อ ยละ 8.7 ภาคตะวัั น ออกเฉีี ย งเหนืือมีี คว ามชุุ ก
และภาคตะวัั น ออกเฉีี ย งเหนืือ เนื่่� อ งจากการติิ ด เชื้้� อ พยาธิิใบไม้้ตับสู ั งู ที่สุ่� ดุ โดยพบ ร้้อยละ 18.6(3) สำหรัับใน
พยาธิิใบไม้้ตัับเป็็นสาเหตุุสำคััญของโรคมะเร็็งท่่อน้้ำดีี พื้้� น ที่่� เ ขตสุุ ข ภาพที่่� 7 ครอบคลุุ ม จัั ง หวัั ด ขอนแก่่ น
องค์์การอนามััยโลก (WHO) ได้้จัดั ให้้พยาธิิใบไม้้ตับชนิ ั ดิ มหาสารคาม ร้้อยเอ็็ดและจัังหวััดกาฬสิินธุ์์� ในปีี พ.ศ.
Opisthorchis Viverrini เป็็ น สารก่่ อ มะเร็็ ง ชีี ว ภาพ 2558 พบการติิดเชื้้�อพยาธิิใบไม้้ตัับ ร้้อยละ 17.98(4)
กลุ่่�มที่่� 1 ที่่�ทำให้้เกิิดโรคมะเร็็งท่่อน้้ำดีี(1) สอดคล้้องกัับ จากสถานการณ์์ปััญหาโรคพยาธิิใบไม้้ตัับซึ่่�งเป็็นสาเหตุุ
การศึึกษาของ Fürst(2) พบว่่าคนที่่ติ� ดิ เชื้้อ� OV มีีความเสี่่ย� ง หลัักของมะเร็็งท่่อน้้ำดีีที่พบม ่� ากในภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ
เป็็ น มะเร็็ ง ท่่ อ น้้ำดีี ม ากกว่่ า คนไม่่ ติิ ด เชื้้� อ 4.4 เท่่ า ส่่งผลทำให้้พบอััตราตายด้้วยโรคมะเร็็งตัับและท่่อน้้ำดีี
สถานการณ์์การติิดเชื้้อ� พยาธิิใบไม้้ตับั ในประเทศไทย ในปีี สููงที่สุ่� ดุ ในภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ จากข้้อมููลอััตราตาย
172 วารสารสำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2566

ด้้วยโรคมะเร็็งตัับและท่่อน้้ำดีีในปีี พ.ศ.2561(5) พบเขต viverrini Rapid Diagnosis Test, OV-RDT) มาใช้้ตรวจ


สุุขภาพที่่� 7 มีีอัตั ราการตายด้้วยโรคมะเร็็งตัับและท่่อน้้ำดีี คััดกรองกลุ่่�มเสี่่ย� งได้้ดำเนิินการใน 57 อำเภอ 485 ตำบล
ร้้อยละ 35.39 สููงที่่�สุุดเมื่่�อเทีียบกัับเขตสุุขภาพอื่่�นๆ รวมจำนวน 69,840 ราย จากการดำเนิิ น งานตรวจ
เขตสุุขภาพที่่� 7 ได้้ดำเนิินงานตามแผนยุุทธศาสตร์์ คััดกรองด้้วยชุุดตรวจ OV-RDT พบความชุุกการติิด
ทศวรรษกำจััดปััญหาพยาธิิใบไม้้ตัับและมะเร็็งท่่อน้้ำดีี พยาธิิ ใ บไม้้ ตัั บ ภาพรวม ร้้ อ ยละ 37.17 จำแนกเป็็ น
ปีี พ.ศ. 2559–2568 มีี 9 มาตรการได้้แก่่ 1) การคััดกรอง ขอนแก่่น ร้้อยละ 26.28 มหาสารคาม ร้้อยละ 50.71
พยาธิิใบไม้้ตัับในประชาชนอายุุ 15 ปีีขึ้้�นไป เมื่่�อพบ กาฬสิินธุ์์� ร้้อยละ 36.23 และร้้อยเอ็็ด ร้้อยละ 35.67
ผู้้�ติิดเชื้้�อพยาธิิใบไม้้ตัับจะนำเข้้าสู่่�ระบบการรัักษาและ ซึ่่� ง ยัั ง มีี อัั ต ราความชุุ ก สูู ง จากการตรวจโดย Urine
ปรัับเปลี่่�ยนพฤติิกรรมสุุขภาพ 2) การคััดกรองมะเร็็ง OV-RDT ส่่ ง ผลให้้ เ ห็็ น สภาพปัั ญ หาการติิ ด เชื้้� อ
ท่่อน้้ำดีีโดยการอััลตราซาวด์์ในประชาชนอายุุ 40 ปีีขึ้้น� ไป พยาธิิใบไม้้ตัับค่่อนข้้างชััดเจน ในขณะเดีียวกัันรููปแบบ
3) การจััดระบบสุุขาภิิบาลและสิ่่�งปฏิิกููลเพื่่�อตััดวงจร การดำเนิินงานคััดกรองด้้วย Urine OV-RDT พบว่่า
พยาธิิ โดยจััดให้้มีบ่ี อ่ บำบััดสิ่่ง� ปฏิิกูลู ในทุุกอำเภอ 4) การ ยัังขาดแนวทางการดำเนิินงานแบบบููรณาการและการใช้้ผล
จััดการเรีียนการสอนในโรงเรีียน 5) การสร้้างความรอบรู้้� การตรวจเพื่่� อ แก้้ ไ ขปัั ญ หาในพื้้� น ที่่� ผ่่ า นระบบการให้้
ด้้านสุุขภาพ 6) การรณรงค์์อาหารปลอดภััย ปลาปลอด บริิการตามพระราชบััญญััติิระบบสุุขภาพปฐมภููมิิ พ.ศ.
พยาธิิ 7) การบริิหารจััดการส่่งต่่อผู้้�สงสััยมะเร็็งท่่อน้้ำดีี 2562(7) ตลอดจนสร้้างความร่่วมมืือกัับภาคีีเครืือข่่าย
เข้้าสู่่�กระบวนการวิินิิจฉััยรัักษาอย่่างเป็็นระบบ 8) การ โดยเฉพาะท้้องถิ่่�น
พััฒนาฐานข้้อมููลตามระบบงานเฝ้้าระวัังทางระบาด และ จากสภาพปััญหาดัังกล่่าว จึึงจำเป็็นต้้องพััฒนา
9) การพััฒนาวิิชาการ นวััตกรรม โดยภาพรวมของการ รููปแบบการป้้องกัันควบคุุมโรคพยาธิิใบไม้้ตัับในพื้้�นที่่�
ดำเนิินงาน พบว่่า การคััดกรองพยาธิิใบไม้้ตัับและมะเร็็ง ความชุุกสููง โดยเครืือข่่ายสุุขภาพปฐมภููมิิและองค์์กร
ท่่อน้้ำดีียังั ไม่่ครอบคลุุมกลุ่่�มเสี่่ย� ง การจััดระบบสุุขาภิิบาล ปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น โดยเฉพาะในพื้้�นที่่�ที่่�มีีการติิดเชื้้�อ
และสิ่่�งปฏิิกููล มีี 15 แห่่ง คิิดเป็็น ร้้อยละ 19.48 ของ พยาธิิใบไม้้ตับสู ั งู โดยเฉพาะระดัับตำบลซึ่่ง� เป็็นจุุดจััดการ
จำนวนเป้้าหมาย (1แห่่ง/อำเภอ) การจััดการเรีียนการ ในระบบปฐมภูู มิิ ต ามพระราชบัั ญ ญัั ติิ ร ะบบสุุ ข ภาพ
สอนสามารถดำเนิินการได้้ 2,240 แห่่ง คิิดเป็็น ร้้อยละ ปฐมภููมิ พ ิ .ศ. 2562 ได้้กำหนดให้้หน่่วยบริิการมีีการส่่งเสริิม
67 ของจำนวนเป้้าหมาย ในการสร้้างความรอบรู้้�ทาง และพััฒนาการมีีส่ว่ นร่่วมระหว่่างภาครััฐ องค์์กรปกครอง
สุุขภาพ ยัังคงพบพฤติิกรรมการกิินปลาดิิบในกลุ่่�มผู้้�ติิด ส่่วนท้้องถิ่่�น ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดยพื้้�นที่่ร่� วม ่
เชื้้� อ พยาธิิ ใ บไม้้ ตัั บ แนวโน้้ มสูู ง ขึ้้� น พิิ จ ารณาจากการ ขัับเคลื่่�อนนโยบาย ยุุทธศาสตร์์และแผนงาน บููรณาการ
ติิดตามอััตราการติิดเชื้้�อซ้้ำของกลุ่่�มที่่�ได้้รัับการตรวจ ทรััพยากรการดำเนิินงาน ประสานงานเครืือข่่าย เพื่่�อ
อุุจจาระยัังพบผู้้�ติิดเชื้้�อที่่�ได้้รัับการรัักษาแล้้วกลัับไปกิิน ส่่งเสริิม สนัับสนุุนและแก้้ไขปััญหาสุุขภาพประชาชน
ปลาดิิ บอีี ก ดัั ง ข้้ อ มูู ล อัั ต ราการติิ ด เชื้้� อ ซ้้ำตั้้� ง แต่่ ปีี ในพื้้�นที่่�ที่่�มีีปััญหาของโรคพยาธิิใบไม้้ตัับจำเป็็นต้้องมีี
พ.ศ.2560 - 2565 ร้้อยละ 13.07, 9.36, 3.95, 4.64, การดำเนิินงานตั้้�งแต่่ระดัับปฐมภููมิโิ ดยการมีีส่ว่ นร่่วมจาก
3.53 และ 18.33 ตามลำดัับ ซึ่่�งมีีแนวโน้้มสููงขึ้้�น เมื่่�อ ภาคท้้องถิ่่�นซึ่่�งใกล้้ชิิดกัับชุุมชนมากที่่�สุุด เพื่่�อประโยชน์์
เทีียบกัับเป้้าหมาย การดำเนิินงานทั้้�งความชุุกในคน (6) ในการให้้บริิการสุุขภาพปฐมภููมิิที่่�ได้้ประโยชน์์สููงสุุดแก่่
สำนัักงานป้้องกัันควบคุุมโรคที่่� 7 จัังหวััดขอนแก่่น ประชาชนในพื้้� น ที่่� แ ละใช้้ ทรัั พ ยากรร่่ วมกัั น นำไปสู่่�
ได้้ประสานความร่่วมมืือกัับสถาบัันวิิจััยมะเร็็งท่่อน้้ำดีี การบรรลุุตามเป้้าหมายทศวรรษการกำจััดพยาธิิใบไม้้ตับั
มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น นำนวััตกรรมชุุดตรวจปััสสาวะ และมะเร็็งท่่อน้้ำดีี ต่่อไป
สำเร็็จรููปชนิิดเร็็วสำหรัับพยาธิิใบไม้้ตัับ (Opisthorchis
ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2566 วารสารสำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น 173

วััตถุุประสงค์์การวิิจััย และปัั ญ หาอุุ ป สรรค สถิิ ติิ ที่่� ใ ช้้ คืื อการวิิ เ คราะห์์ ข้้ อ มูู ล
เชิิงคุุณภาพโดยการวิิเคราะห์์เนื้้�อหา (content analysis)
เพื่่�อพััฒนารููปแบบการป้้องกัันควบคุุมโรคพยาธิิ
และกลุ่่�มที่่� 3 เป็็น ประชาชนกลุ่่�มเสี่่�ยงตามเกณฑ์์กรม
ใบไม้้ ตัั บ ในพื้้� น ที่่� คว ามชุุ ก สูู ง โดยเครืือข่่ า ยสุุ ข ภาพ
ควบคุุมโรค อาศััยอยู่่�ในพื้้�นที่่�ตำบลกระนวน อำเภอซำสููง
ปฐมภููมิิและองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น
จัังหวััดขอนแก่่น คำนวณกลุ่่�มตััวอย่่างโดยใช้้สููตรเครจซี่่�
และมอร์์แกน(Krejcie & Morgan) (8) ดัังนี้้�
วิิธีีดำเนิินการวิิจััย
เป็็นการศึึกษาเชิิงปฏิิบััติิการ (Action research)
ดำเนิิ น การในตำบลที่่� มีี คว ามชุุ ก โรคพยาธิิ ใ บไม้้ ตัั บ
มากกว่่าร้้อยละ 30 โดยพื้้�นที่่�ตำบลกระนวน อำเภอซำสููง N = ประชาชนกลุ่่�มเสี่่�ยงตามเกณฑ์์กรมควบคุุมโรค
จัังหวััดขอนแก่่น มีีความชุุกร้้อยละ 35.6 ดำเนิินการเก็็บ ตำบลกระนวน อำเภอซำสููง จัังหวััดขอนแก่่น
รวบรวมข้้อมููลทั้้�งเชิิงปริิมาณ (quantitative method) 3,063 คน (HDC กระทรวงสาธารณสุุข ปีี 2565)
และเชิิงคุุณภาพ (qualitative method) เดืือนมกราคม
X = ค่่าไคสแควร์์ที่่� df = 1 และระดัับความเชื่่�อมั่่�น
2
2565 - เมษายน 2566 แบ่่งระยะการวิิจััย 3 ระยะ ดัังนี้้�
95 % (ค่่า X2 = 3.841)
ระยะที่่� 1 การศึึกษาสถานการณ์์และปััญหาการ e = ระดัับความคลาดเคลื่่อ� นจากการสุ่่�มตััวอย่่าง 0.05
ดำเนิินการป้้องกัันควบคุุมโรคพยาธิิใบไม้้ตัับ
p = สััดส่่วนลัักษณะที่่ส� นใจในประชากร 0.2 (สััดส่่วน
กลุ่่�มเป้้าหมายการศึึกษา มีี 3 กลุ่่�ม ดัังนี้้� กลุ่่�มที่่� 1
ความรอบรู้้�ด้้ า นสุุ ข ภาพเรื่่� อ งการป้้ อ งกัั น โรค
เครืือข่่ า ยสุุ ข ภาพปฐมภูู มิิ ประกอบด้้ ว ยเครืือข่่ า ย พยาธิิใบไม้้ตับข
ั องประชาชนกลุ่่�มเสี่่ย� งตามเกณฑ์์
ปฐมภููมิิในส่่วนสาธารณสุุข ได้้แก่่ สาธารณสุุขอำเภอ กรมควบคุุมโรค ระดัับดีีในเขตสุุขภาพที่่� 7(9)
ั ดิ ชอบงานในระดัับโรงพยาบาลอำเภอ ผู้้�อำนวยการ
ผู้้�รับผิ ได้้ขนาดกลุ่่�มตััวอย่่าง จำนวน 227 คน
โรงพยาบาลส่่ ง เสริิ มสุุ ข ภาพตำบล ผู้้�รัั บผิิ ด ชอบงาน
การศึึ ก ษาในกลุ่่�มที่่� 3 มีี เ กณฑ์์ คัั ด เข้้ า คืือ เป็็ น
โรงพยาบาลส่่งเสริิมสุุขภาพตำบล อาสาสมััครสาธารณสุุข
ประชาชนกลุ่่�มเสี่่ย� งของกรมควบคุุมโรค สามารถอ่่านออก
ประจำหมู่่�บ้้ า น รวม 16 คน และเครืือข่่ า ยปฐมภูู มิิ
เขีียนได้้ และสื่่�อสารได้้ เกณฑ์์คััดออกคืือ เจ็็บป่่วยจน
ส่่วนนอกสาธารณสุุข ได้้แก่่ กำนััน ผู้้�ใหญ่่บ้้าน ครูู พระ
ไม่่สามารถเข้้าร่่วมโครงการ ย้้ายออกนอกพื้้�นที่่� หรืือ
สื่่�อมวลชนท้้องถิ่่�น รวม 11 คน กลุ่่�มที่่� 2 องค์์กรปกครอง
ไม่่สมััครใจ ดำเนิินการเก็็บรวบรวมข้้อมููลโดยใช้้แบบ
ส่่วนท้้องถิ่่�น ประกอบด้้วย นายกเทศมนตรีี เทศบาลตำบล
สัั ม ภาษณ์์ คว ามรอบรู้้�ด้้ า นสุุ ข ภาพเรื่่� อ งการป้้ อ งกัั น
ซำสูู ง รองนายกเทศมนตรีี เ ทศบาล ตำบลซำสูู ง
โรคพยาธิิ ใ บไม้้ ตัั บ ประยุุ ก ต์์ ใ ช้้ แ บบวัั ด ความรอบรู้้�
ปลััดเทศบาลตำบลซำสููง ผู้้�อำนวยการกองสาธารณสุุข
ด้้านสุุขภาพเรื่่อ� งพฤติิกรรมการป้้องกัันโรคพยาธิิใบไม้้ตับั
และสิ่่� ง แวดล้้ อ ม ผู้้�รัั บผิิ ด ชอบงานกองอนามัั ย และ
ของประชาชน พััฒนาโดย รััชนีีกร กุุญแจทอง(10) และใช้้
สิ่่� ง แวดล้้ อ ม รวม 5 คน โดยมีี เ กณฑ์์ คัั ด เข้้ า คืือ
ชุุดตรวจปััสสาวะสำเร็็จรูปู ชนิิดเร็็วสำหรัับพยาธิิใบไม้้ตับ ั
มีีประสบการณ์์การดำเนิินงานโรคพยาธิิใบไม้้ตัับและ
(Opisthorchis viverrini Rapid Diagnosis Test,
มะเร็็งท่่อน้้ำดีีอย่่างน้้อย 2 ปีี และปััจจุุบัันยัังทำงานอยู่่�
OV-RDT) มีี Sensitivity = 94% Specificity=92%
และเกณฑ์์คััดออก คืือ เจ็็บป่่วยจนไม่่สามารถเข้้าร่่วม
และ Accuracy = 92% ปััจจุุบัันได้้รัับการจดทะเบีียนเป็็น
โครงการ ย้้ายออกนอกพื้้�นที่่� หรืือไม่่สมััครใจ ดำเนิินการ
เครื่่อ� งมืือแพทย์์กับ
ั สำนัักงานคณะกรรมการอาหารและยา
เก็็บรวบรวมข้้อมููลโดยใช้้แบบสััมภาษณ์์เชิิงโครงสร้้างที่่�
ตามใบแจ้้ง รายละเอีียดที่่� 65-1-2-1-0000208 ใน
คณะผู้้�วิจัิ ยั สร้้างขึ้้น� ในประเด็็นบทบาทหน้้าที่่ สิ่่� ง� ที่่ด� ำเนิินการ
การตรวจการติิดเชื้้�อพยาธิิใบไม้้ตัับ
174 วารสารสำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2566

ระยะที่่� 2 การพััฒนาศัักยภาพ เครืือข่่ายสุุขภาพ มีีเกณฑ์์คัดั เข้้าคืือ มีีประสบการณ์์การดำเนิินงานโรคพยาธิิ


ปฐมภููมิิองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น ระยะนี้้�เป็็นการคืืน ใบไม้้ตัับและมะเร็็งท่่อน้้ำดีีอย่่างน้้อย 2 ปีีและปััจจุุบัันยััง
ข้้อมููลการศึึกษาปััญหาการดำเนิินการป้้องกัันควบคุุมโรค ดำเนิินการอยู่่� เกณฑ์์คััดออก เจ็็บป่่วยจนไม่่สามารถเข้้า
พยาธิิใบไม้้ตับ ั และการพััฒนาศัักยภาพเรื่่อ� งการวางแผน ร่่วมโครงการ ย้้ายออกนอกพื้้�นที่่� หรืือไม่่สมััครใจ ร่่วม
มุ่่�งเน้้นผลลััพธ์์ ประชากรที่่�ศึึกษาคืือ เครืือข่่ายสุุขภาพ ดำเนิินการตาม 4 ขั้้�นตอน
ปฐมภููมิใิ นส่่วนสาธารณสุุข ประกอบด้้วยสาธารณสุุขอำเภอ ระยะที่่� 4 การประเมิินผลการดำเนิินงานป้้องกััน
ผู้้�รับผิ
ั ดิ ชอบงานในระดัับโรงพยาบาลอำเภอ ผู้อ้� ำนวยการ ควบคุุ ม โรคพยาธิิ ใ บไม้้ ตัั บ ในพื้้� น ที่่� ค วามชุุ ก สูู ง
โรงพยาบาลส่่ ง เสริิ มสุุ ข ภาพตำบล ผู้้�รัั บผิิ ด ชอบงาน เป็็นการประเมิินความรอบรู้้�ทางสุุขภาพด้้านการป้้องกััน
โรงพยาบาลส่่ ง เสริิ มสุุ ข ภาพตำบล และอาสาสมัั ค ร ควบคุุมโรคพยาธิิใบไม้้ตัับในประชาชนกลุ่่�มสี่่�ยง โดยใช้้
สาธารณสุุขประจำหมู่่�บ้้าน รวม 16 คน เครืือข่่ายสุุขภาพ แบบสััมภาษณ์์ความรอบรู้้�ด้้านสุุขภาพเรื่่�องการป้้องกััน
ปฐมภูู มิิ ส่่ ว นนอกสาธารณสุุ ข ประกอบด้้ ว ย กำนัั น โรคพยาธิิใบไม้้ตับ ั และสรุุปแลกเปลี่่ย� นเรีียนรู้้� การดำเนิิน
ผู้้�ใหญ่่บ้า้ น ครูู พระ สื่่อ� มวลชนท้้องถิ่่�น รวม 11 คน องค์์กร งานป้้องกัันควบคุุมโรคพยาธิิใบไม้้ตัับในพื้้�นที่่�ความชุุก
ปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น ประกอบด้้วย นายกเทศมนตรีี สููงของเครืือข่่ายสุุขภาพปฐมภููมิแิ ละองค์์กรปกครองส่่วน
เทศบาลตำบลซำสูู ง รองนายกเทศมนตรีี เ ทศบาล ท้้องถิ่่�น
ตำบลซำสูู ง ปลัั ด เทศบาลตำบลซำสูู ง ผู้้� อ ำนวยการ
กองสาธารณสุุขและสิ่่�งแวดล้้อม ผู้้�รัับผิิดชอบงานกอง คุุณภาพของเครื่่�องมืือ
อนามััยและสิ่่�งแวดล้้อม รวม 5 คน รวมทั้้�งสิ้้�น 32 คน 1. การตรวจสอบความตรงของเนื้้�อหา (content
มีีเกณฑ์์คัดั เข้้าคืือ มีีประสบการณ์์การดำเนิินงานโรคพยาธิิ validity) โดยผู้้�เชี่่�ยวชาญ ประเมิินความสอดคล้้องของ
ใบไม้้ตัับและมะเร็็งท่่อน้้ำดีีอย่่างน้้อย 2 ปีี และปััจจุุบััน ความเที่่�ยงตรงเชิิงเนื้้�อหา จำนวน 3 คน พิิจารณาความ
ยัังดำเนิินการอยู่่� เกณฑ์์คัดั ออก เจ็็บป่ว่ ยจนไม่่สามารถเข้้า สอดคล้้องของข้้อคำถามและวััตถุุประสงค์์ (Index of item
ร่่วมโครงการ ย้้ายออกนอกพื้้�นที่่� หรืือไม่่สมััครใจ objective congruence ; IOC) ในแบบสััมภาษณ์์เชิิงลึึก
ระยะที่่� 3 การพััฒนารููปแบบการป้้องกัันควบคุุม เพื่่�อศึึกษาบทบาทหน้้าที่่� การดำเนิินงานป้้องกัันควบคุุม
โรคพยาธิิใบไม้้ตัับในพื้้�นที่่�ความชุุกสููง โดยเครืือข่่าย โรคพยาธิิใบไม้้ตัับและปััญหาอุุปสรรคการดำเนิินงาน
สุุขภาพปฐมภููมิิและองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น ตาม แบบบัันทึึกการอภิิปรายกลุ่่�มในประเด็็นการขัับเคลื่่�อน
แนวคิิดของ Kemmis; & Mc Taggart(11) กลุ่่�มเป้้าหมาย การดำเนิิ น งานป้้ อ งกัั น ควบคุุ ม โรคพยาธิิ ใ บไม้้ ตัั บ
การศึึกษา เป็็นเครืือข่่ายสุุขภาพปฐมภููมิใิ นส่่วนสาธารณสุุข แบบสััมภาษณ์์ความรอบรู้้�ด้้านสุุขภาพเรื่่�องการป้้องกััน
ประกอบด้้วยสาธารณสุุขอำเภอ ผู้้�รับผิ ั ดิ ชอบงานในระดัับ โรคพยาธิิใบไม้้ตัับ และแบบติิดตามประเมิินผลสำเร็็จ
โรงพยาบาลอำเภอ ผู้้�อำนวยการโรงพยาบาลส่่งเสริิมสุขุ ภาพ ตามแผนงานโครงการ พบทุุกข้้อมีีค่่า IOC มากกว่่า 0.5
ตำบล ผู้้�รับผิ
ั ดิ ชอบงานโรงพยาบาลส่่งเสริิมสุขุ ภาพตำบล ขึ้้�นไปทุุกข้้อ
และอาสาสมััครสาธารณสุุขประจำหมู่่�บ้้าน รวม 16 คน 2. การตรวจสอบความเชื่่อ� มั่่�น (Reliability) ได้้นำ
เครืือข่่ า ยสุุ ข ภาพปฐมภูู มิิ ส่่ ว นนอกสาธารณสุุ ข แบบสััมภาษณ์์ความรอบรู้้�ด้้านสุุขภาพเรื่่�องการป้้องกััน
ประกอบด้้วย กำนััน ผู้้�ใหญ่่บ้้าน ครูู พระ สื่่�อมวลชนท้้องถิ่่�น โรคพยาธิิใบไม้้ตัับ ทดสอบกัับประชาชนกลุ่่�มเป้้าหมาย
รวม 11 คน องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น ประกอบด้้วย ในพื้้�นที่่อ� ำเภอน้้ำพอง จัังหวััดขอนแก่่น 30 คน และนำมา
นายกเทศมนตรีีเทศบาลตำบลซำสููง รองนายกเทศมนตรีี วิิ เ คราะห์์ ห าค่่ า ความเชื่่� อ มั่่� น พบว่่ า ค่่ า สัั ม ประสิิ ทธิ์์�
เทศบาลตำบลซำสููง ปลััดเทศบาลตำบลซำสููง ผู้้�อำนวยการ แอลฟาของครอนบาค (Coefficient Alpha) เท่่ากัับ 0.91
กองสาธารณสุุขและสิ่่�งแวดล้้อม ผู้้�รัับผิิดชอบงานกอง และคำถามด้้ า นความรู้้� ความเข้้ า ใจ มีี ค่่ า KR-20
อนามััยและสิ่่�งแวดล้้อม รวม 5 คน รวมทั้้�งสิ้้�น 32 คน เท่่ากัับ 0.88
ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2566 วารสารสำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น 175

การวิิเคราะห์์ข้้อมููล ควบคุุมโรคพยาธิิใบไม้้ตัับคะแนนเฉลี่่�ย 7.72 คะแนน


S.D. 3.79 (เต็็ม 15 คะแนน) การจััดการตนเองให้้
การวิิเคราะห์์ข้้อมููลเชิิงคุุณภาพใช้้การวิิเคราะห์์
ปลอดภััยจากโรคพยาธิิใบไม้้ตัับ คะแนนเฉลี่่�ย 13.81
เนื้้� อ หา (content analysis) นำข้้อ มููล มาสรุุปอธิิบาย
คะแนน S.D. 3.13 (เต็็ม 20 คะแนน) การรู้้�เท่่าทัันสื่่�อใน
ปรากฏการณ์์ การวิิ เ คราะห์์ ข้้ อ มูู ล เชิิ ง ปริิ ม าณใช้้
การป้้ อ งกัั น โรคพยาธิิ ใ บไม้้ ตัั บ ค ะแนนเฉลี่่� ย 7.21
สถิิ ติิ เ ชิิ ง พรรณนา เช่่ น ร้้ อ ยละ ค่่ า เฉลี่่� ย ค่่ า มัั ธ ยฐาน
คะแนน S.D. 4.28 (เต็็ม 15 คะแนน) ทัักษะการตััดสิินใจ
ค่่าเบี่่�ยงเบนมาตรฐาน สถิิติิเปรีียบเทีียบความแตกต่่าง
ในการป้้องกัันโรคพยาธิิใบไม้้ตัับคะแนนเฉลี่่�ย 10.05
ใช้้ Independent sample t-test
คะแนน S.D. 3.66 (เต็็ม 15 คะแนน)
ผลการวิิเคราะห์์กิิจกรรมที่่�คาดหวัังและช่่องว่่างใน
ผลการศึึกษา
การดำเนิินการป้้องกัันควบคุุมโรคพยาธิิใบไม้้ตัับของ
ระยะที่่� 1 การศึึกษาสถานการณ์์และปััญหาการ เครืือข่่ายสุุขภาพปฐมภููมิแิ ละองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น
ดำเนิินการป้้องกัันควบคุุมโรคพยาธิิใบไม้้ตัับ ผลการ ตามรายมาตรการ พบว่่า
วิิเคราะห์์สถานการณ์์โรคพยาธิิใบไม้้ตัับในพื้้�นที่่� 3 ตำบล - มาตรการคััดกรองพยาธิิใบไม้้ตัับ ยัังมีีช่่องว่่าง
ของอำเภอซำสููง จัังหวััดขอนแก่่น ได้้แก่่ ตำบลคำแมด ในการดำเนิินการในประเด็็น การคััดกรองยัังไม่่ครอบคลุุม
จำนวน 50 คน ตำบลห้้วยเตย จำนวน 81 คน และตำบล กลุ่่�มเสี่่� ย ง การคัั ด กรองยัั ง เข้้ า ไม่่ ถึึ ง กลุ่่�มพฤติิ ก รรม
คููคำ จำนวน 100 คน รวม จำนวน 231 คน โดยใช้้แบบ เสี่่�ยงสููง เช่่น กลุ่่�มรัับประทานปลาดิิบเป็็นประจำ และ
สััมภาษณ์์ความรอบรู้้�ด้้านสุุขภาพเรื่่�องการป้้องกัันโรค งบประมาณในพื้้�นที่่�ยัังไม่่เพีียงพอ
พยาธิิใบไม้้ตัับ พบว่่าเป็็นหญิิงร้้อยละ 80 ชายร้้อยละ 20 - มาตรการบริิหารจััดการระบบการส่่งต่่อ ยัังมีี
อายุุเฉลี่่�ย 54.53 ปีี S.D. 9.90 ปีี ค่่ามััธยฐานของรายได้้ ช่่องว่่างในการดำเนิินการในประเด็็น ระบบการติิดตาม
5,000 บาท ( 600-50,000 บาท) ส่่วนใหญ่่สถานภาพ ส่่งต่่อวิินิิจฉััยผู้้�ป่่วยสงสััย CCA เพื่่�อการรัักษา ยัังไม่่
สมรส ร้้อยละ 77.83 จบการศึึกษาระดัับประถมศึึกษา ครอบคลุุม ครบถ้้วน และขาดความเชื่่�อมโยงระหว่่าง
ร้้ อ ยละ 42.60 อาชีี พ เกษตรกรรมร้้ อ ยละ 68.00 โรงพยาบาล (รพ.ชุุมชน และรพ.ศููนย์์/ทั่่�วไป)
เคยตรวจอุุจจาระร้้อยละ 87.44 พบว่่าเคยติิดเชื้้�อพยาธิิ - มาตรการจัั ด ระบบสุุ ข าภิิ บ าลและสิ่่� ง ปฏิิ กูู ล
ใบไม้้ตัับ ร้้อยละ 27.50 เมื่่�อพบว่่าติิดเชื้้�อพยาธิิใบไม้้ตัับ ยัังมีีช่อ่ งว่่างในการดำเนิินการในประเด็็น ยัังไม่่มีบ่ี อ่ บำบััด
แล้้วได้้รัับการรัักษา ร้้อยละ 77.27 คน เคยซื้้�อยากิินเอง สิ่่�งปฏิิกููลในพื้้�นที่่� ขาดการเฝ้้าระวัังติิดตามกำกัับการ
ร้้ อ ยละ 16.05 มีี ค นในครอบครัั ว เป็็ น มะเร็็ ง ท่่ อ น้้ำดีี ทิ้้� ง สิ่่� ง ปฏิิ กูู ล ในพื้้� น ที่่� และผู้้� ป ระกอบการไม่่ ใ ห้้ คว าม
ร้้อยละ 6.31 คะแนนความรอบรู้้�ทางสุุขภาพเรื่่�องการ ร่่วมมืือในการกำจััดสิ่่ง� ปฏิิกูลู ที่่ถู� กู ต้้องตามหลัักสุุขลักั ษณะ
ป้้องกัันโรคพยาธิิใบไม้้ตัับคะแนนเต็็ม 157 คะแนน - มาตรการจััดการเรีียนการสอนในโรงเรีียน ยัังมีี
คะแนนเฉลี่่�ย 81.25 คะแนน S.D. 23.32 (30-132 ช่่องว่่างในการดำเนิินการในประเด็็น การจััดการเรีียนการ
คะแนน) คะแนนความรอบรู้้�ทางสุุขภาพในระดัับต่่ ำ สอนยัังไม่่บรรจุุเข้้าเป็็นหลัักสููตร ยัังไม่่มีีการบููรณาการ
(≤93 คะแนน) ร้้อยละ 67.24 ปานกลาง (94-124 จัั ด การเรีี ย นการสอนครบทุุ ก ระดัั บชั้้� น และขาดการ
คะแนน) ร้้อยละ 30.65 สููง (≥ 125คะแนน) ร้้อยละ 2.18 ติิดตามกำกัับ
โดยพบว่่าความรอบรู้้�ทางสุุขภาพด้้านการเข้้าถึึงข้้อมููลและ - มาตรการสร้้ า งความรอบรู้้�ทางสุุ ข ภาพ ยัั ง มีี
บริิการทางสุุขภาพด้้านการป้้องกัันควบคุุมโรคพยาธิิใบไม้้ตับั ช่่ อ งว่่ า งในการดำเนิิ น การในประเด็็ น ประชาชนยัั ง มีี
คะแนนเฉลี่่� ย 34.83 คะแนน S.D. 15.04 (เต็็ ม พฤติิ ก รรมการรัั บ ประทานปลาดิิ บ หรืือสุุ ก ๆ ดิิ บ ๆ
75 คะแนน) ด้้านความรู้้�ความเข้้าใจการป้้องกัันโรค โครงการที่่� ท ำไม่่ ส อดคล้้ อ งกัั บปัั ญ หาและกิิ จ กรรม
พยาธิิใบไม้้ตัับคะแนนเฉลี่่�ย 7.79 คะแนน S.D. 2.14 ไม่่สอดคล้้องกัับผลลััพธ์์ เครืือข่่ายแกนนำไม่่ตระหนััก
(เต็็ม 17 คะแนน) ทัักษะการสื่่�อสารเพื่่�อการป้้องกััน ถึึงปััญหา จึึงยัังไม่่ได้้เข้้ามามีีส่่วนร่่วมในการดำเนิินการ
176 วารสารสำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2566

อย่่างจริิงจััง และขาดกลไกในการทำงาน ติิดตาม ประเมิิน 2) ระดัับท้้องถิ่่�น ได้้แผนจััดสร้้างบ่่อบำบััด


เสริิมพลัังอย่่างต่่อเนื่่�อง 3) ระดัั บ เครืือข่่ า ยบริิ ก าร ได้้ ร ะบบการ
- มาตรการอาหารปลอดภัั ย ปลาปลอดพยาธิิ คััดกรอง การปรัับเปลี่่�ยนพฤติิกรรม ระบบส่่งต่่อ และ
ยัั งมีี ช่่องว่่ างในการดำเนิินการในประเด็็น ขาดข้้อมููล การดููแลรัักษาผู้้�ป่่วยอย่่างต่่อเนื่่�อง
ผู้้�ประกอบการร้้านค้้าร้้านอาหารแผงลอยในพื้้�นที่่� ไม่่มีี 2.4 ผลลััพธ์ที่์ ไ่� ด้้คืือ แผนงาน/โครงการที่ส่� อดคล้้อง
การประเมิินหรืือสุ่่�มตรวจประเมิินสถานประกอบการ กัับสภาพปััญหา เช่่น โครงการจััดสร้้างบ่่อบำบััดสิ่่ง� ปฏิิกูลู
ร้้านค้้า ร้้านอาหาร แผงลอย ด้้านอาหารปลอดภััย และ โดยเทศบาล กิิจกรรม ตััวชี้้�วััดแต่่ละระดัับที่่�ทำให้้บรรลุุ
ไม่่มีีกลไกในการขัับเคลื่่�อนที่่�เป็็นรููปธรรม เป้้ า หมายตามบทบาทของเครืือข่่ า ยสุุ ข ภาพปฐมภูู มิิ
ระยะที่่� 2 การพััฒนาศัักยภาพเครืือข่่ายสุุขภาพ และองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น เช่่น กิิจกรรมคััดกรอง
ปฐมภููมิิและองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น ประจำปีี ใ นงานบุุ ญ โดยทีี ม รพ.สต. ปีี ล ะ 2-3 ครั้้� ง
2.1 ดำเนิินการคืืนข้้อมููลการศึึกษาสถานการณ์์และ โครงการสนัับสนุุนจััดสรรงบประมาณโดยกองทุุนสุุขภาพ
ปััญหาการดำเนิินการป้้องกัันควบคุุมโรคพยาธิิใบไม้้ตัับ ตำบล
เพื่่�อสร้้างความตระหนัักต่่อปััญหาโรคพยาธิิใบไม้้ตัับ ระยะที่่� 3 การพััฒนารููปแบบการป้้องกัันควบคุุม
และความเข้้าใจถึึงสาเหตุุที่่�แท้้จริิงของปััญหา โรคพยาธิิใบไม้้ตัับในพื้้�นที่่�ความชุุกสููง โดยเครืือข่่าย
2.2 พััฒนาศัักยภาพและฝึึกทัักษะการคิิดวิิเคราะห์์ สุุขภาพปฐมภููมิแิ ละองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น ผลการ
อบรมเรื่่�องการวิิเคราะห์์สาเหตุุของปััญหาและการจััดทำ ศึึกษาวิิจััยตามขั้้�นตอนมีีดัังนี้้�
แผนเชิิ ง ผลลัั พธ์์ ให้้ แ ก่่ เ ครืือข่่ า ยสุุ ข ภาพปฐมภูู มิิ ใ น 3.1 ขั้้� น วางแผนการป้้ อ งกัั น ควบคุุ ม โรคพยาธิิ
ส่่วนสาธารณสุุข ประกอบด้้วยสาธารณสุุขอำเภอ ผู้้�รับผิ ั ดิ ชอบ ใบไม้้ตัับ มีีการวิิเคราะห์์ปััญหาและร่่วมกัันจััดทำบัันได
งานในระดัับโรงพยาบาลอำเภอ ผู้้�อำนวยการโรงพยาบาล ผลลััพธ์์รายมาตรการ องค์์ประกอบร่่วมวางแผน ได้้แก่่
ส่่ ง เสริิ มสุุ ข ภาพตำบล ผู้้�รัั บผิิ ด ชอบงานโรงพยาบาล กลุ่่�มที่่� 1 คืือ เครืือข่่ายสุุขภาพปฐมภููมิิ ประกอบด้้วย
ส่่งเสริิมสุุขภาพตำบล และอาสาสมััครสาธารณสุุขประจำ เครืือข่่ายสุุขภาพปฐมภููมิิในส่่วนสาธารณสุุข สาธารณสุุข
หมู่่�บ้้าน และเครืือข่่ายสุุขภาพปฐมภููมิส่ิ ว่ นนอกสาธารณสุุข อำเภอ ผู้้�รัั บผิิ ด ชอบงานในระดัั บ โรงพยาบาลอำเภอ
ประกอบด้้วย กำนััน ผู้้�ใหญ่่บ้้าน ครูู พระ สื่่�อมวลชน ผู้อ้� ำนวยการโรงพยาบาลส่่งเสริิมสุขุ ภาพตำบล ผู้้�รับผิ ั ดิ ชอบ
ท้้องถิ่่�น และเทศบาล ประกอบด้้วย นายกเทศมนตรีีเทศ งานโรงพยาบาลส่่งเสริิมสุุขภาพตำบล และอาสาสมััคร
บาลตำบลซำสููง รองนายกเทศมนตรีีเทศบาลตำบลซำสููง สาธารณสุุขประจำหมู่่�บ้้าน และ เครืือข่่ายสุุขภาพปฐมภููมิิ
ปลััดเทศบาลตำบลซำสููง ผู้้�อำนวยการกองสาธารณสุุข ส่่วนนอกสาธารณสุุข ประกอบด้้วย กำนััน ผู้้�ใหญ่่บ้้าน
และสิ่่� ง แวดล้้ อ ม ผู้้�รัั บผิิ ด ชอบงานอนามัั ย สิ่่� ง แวดล้้ อ ม ครูู พระ สื่่�อมวลชนท้้องถิ่่�น กลุ่่�มที่่� 2 คืือ องค์์กรปกครอง
รวมทั้้�งหมด 25 คน ส่่ ว นท้้ อ งถิ่่� น ประกอบด้้ ว ย นายกเทศมนตรีี เ ทศบาล
2.3 การกำหนดระดัับผลลััพธ์แ์ ละวิิเคราะห์์กิจิ กรรม ตำบลซำสููง รองนายกเทศมนตรีีเทศบาลตำบลซำสููง
เพื่่�อการแก้้ไขปััญหา ปลััดเทศบาลตำบลซำสููง ผู้้�อำนวยการกองสาธารณสุุข
1) ระดัั บชุุ มช น ได้้ Change agent หรืือ และสิ่่� ง แวดล้้ อ ม ผู้้�รัั บผิิ ด ชอบงานกองอนามัั ย และ
Influencer ในการขัับเคลื่่อ� นระดัับชุมช ุ น ได้้บุคค
ุ ลต้้นแบบ สิ่่�งแวดล้้อม ตามรายละเอีียดดัังนี้้�
ร้้านค้้าต้้นแบบ โรงเรีียนต้้นแบบ
ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2566 วารสารสำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น 177

ตารางที่่� 1 แผนป้้องกัันควบคุุมโรคพยาธิิใบไม้้ตัับ การวิิเคราะห์์ปััญหาและจััดทำบรรไดผลลััพธ์์รายมาตรการ

บัันไดผลลััพธ์์ บัันไดผลลััพธ์์ บัันไดผลลััพธ์์ บัันไดผลลััพธ์์


มาตรการ
ขั้้�นที่่�หนึ่่�ง ขั้้�นที่่�สอง ขั้้�นที่่�สาม ขั้้�นสุุดท้้าย
มาตรการคััดกรอง หน่่วยงานที่่�จััดสรรงบ มีีแผนการคััดกรองพยาธิิ ประชาชนกลุ่่�มเสี่่�ยงได้้
พยาธิิใบไม้้ตัับและ ประมาณฯ รัับทราบและ ใบไม้้ตัับ และมีีงบ รัับการคััดกรองพยาธิิ
มะเร็็งท่่อน้้ำดีี ตระหนัักถึึงปััญหาโรค ประมาณในการดำเนิิน ใบไม้้ตัับและมะเร็็ง
พยาธิิใบไม้้ตัับในพื้้�นที่่� การ ท่่อน้้ำดีี
มาตรการสร้้าง แกนนำมีีศัักยภาพในการ ประชาชนในพื้้�นที่่� กลุ่่�มตรวจพบพยาธิิใบไม้้ ความชุุกโรคพยาธิิ
ความรอบรู้้�ทาง จััดทำและขัับเคลื่่�อน มีีความรู้้� และความ ตัับ เลิิกรัับประทานปลา ใบไม้้ตัับลดลง
สุุขภาพ แผนการแก้้ไขปััญหาโรค ตระหนัักต่่อปััญหาโรค ดิิบ หรืือสุุกๆ ดิิบๆ
พยาธิิใบไม้้ตัับ พยาธิิใบไม้้ตัับ
มาตรการจััด ครููมีีความรู้้�ความเข้้าใจ มีีแผนบููรณาการ โรงเรีียนมีีการจััดการ นัักเรีียนมีีความรู้้�ความ
การเรีียนการสอน สามารถนำความรู้้�ไปจััด การเรีียนการสอนใน เรีียนการสอนเรื่่�อง โรค เข้้าใจเรื่่�องโรคพยาธิิ
ในโรงเรีียน กิิจกรรมบููรณาการ รููปแบบกิิจกรรมพััฒนา พยาธิิใบไม้้ตัับและมะเร็็ง ใบไม้้ตัับและมะเร็็งท่่อ
การเรีียนการสอนได้้ ผู้้�เรีียน หรืือการเรีียน ท่่อน้้ำดีี น้้ำดีี สามารถบอกต่่อ
การสอน ผู้้�ปกครองได้้
มาตรการอาหาร มีีข้้อมููลผู้้�ประกอบการ ผู้้�ประกอบการร้้านค้้ามีี ร้้านค้้า ร้้านอาหาร ร้้านค้้า ร้้านอาหาร
ปลอดภััย ร้้านค้้า ร้้านอาหาร ความรู้้�ความเข้้าใจและ แผงลอย ต้้นแบบอาหาร แผงลอย มีีอาหาร
แผงลอย ในพื้้�นที่่� ตระหนัักถึึง อัันตรายของ ปลอดภััย เมนููปลาสุุก ปลอดภััย เมนููปลาสุุก
ผู้้�บริิโภค เมนููทางเลืือกให้้ผู้้�บริิโภค เมนููทางเลืือกให้้ผู้้�
บริิโภค
มาตรการจััดการ มีีข้้อมููลการจััดการสิ่่�ง ไม่่มีีการทิ้้�งสิ่่�งปฏิิกููล ใน การจััดการสิ่่�งปฏิิกููลใน มีีบ่่อบำบััดกำจััดสิ่่�ง
สิ่่�งปฏิิกููล ปฏิิกููลในพื้้�นที่่� เพื่่�อ พื้้�นที่่�ห้้ามทิ้้�ง พื้้�นที่่�เป็็นไปอย่่างเหมาะ ปฏิิกููลในพื้้�นที่่�
วางแผนแก้้ไขปััญหา สมและถููกสุุขลัักษณะ

3.2 ขั้้�นปฏิิบััติิการ จากการวิิเคราะห์์ปััญหา จััดทำ หมู่่�บ้้าน กำนััน ผู้้�ใหญ่่บ้้าน ครูู พระ สื่่�อมวลชนท้้องถิ่่�น
บัันไดผลลััพธ์์สู่่�การออกแบบกิิจกรรมและดำเนิินการ นายกเทศมนตรีีเทศบาลตำบลซำสููง รองนายกเทศมนตรีี
ตามมาตรการดัังนี้้� เทศบาลตำบลซำสููง ปลััดเทศบาลตำบลซำสููง ผู้้�อำนวยการ
• มาตรการคัั ด กรองพยาธิิ ใ บไม้้ ตัั บ และ กองสาธารณสุุขและสิ่่�งแวดล้้อม ผู้้�รัับผิิดชอบงานอนามััย
มะเร็็งท่่อน้้ำดีี และสิ่่ง� แวดล้้อม รวม 32 คน และคืืนข้้อมููลให้้แก่่หน่่วยงาน
การดำเนิิ น งานตามมาตรการคัั ด กรอง เครืือข่่ายที่่�เกี่่�ยวข้้อง โดยเชื่่�อมโยงกลไก พชต. ในพื้้�นที่่�
พยาธิิใบไม้้ตัับและมะเร็็งท่่อน้้ำดีี ได้้ประชุุมวิิเคราะห์์ และหน่่วยงานที่่�เป็็นแหล่่งงบประมาณ มีีการจััดทำแผน
ข้้อมููลสถานการณ์์ สภาพปััญหาโรคพยาธิิใบไม้้ตัับและ งาน/โครงการ การดำเนิินการคััดกรองพยาธิิใบไม้้ตับั และ
มะเร็็งท่่อน้้ำดีีในพื้้�นที่่� ร่่วมกัับเครืือข่่ายที่่�เกี่่�ยวข้้อง ได้้แก่่ มะเร็็งท่่อน้้ำดีีในพื้้�นที่ต่� ำบลซำสููง โดยใช้้งบประมาณปกติิ
สาธารณสุุขจัังหวััด สาธารณสุุขอำเภอ ผู้้�รับผิ ั ดิ ชอบงานใน ที่่� ไ ด้้ รัั บ การจัั ด สรรจากสำนัั ก งานสาธารณสุุ ข จัั ง หวัั ด
ระดัั บ โรงพยาบาลอำเภอ ผู้้� อ ำนวยการโรงพยาบาล กองทุุนสุุขภาพตำบล และงบประมาณจากสถาบัันมะเร็็ง
ส่่ ง เสริิ มสุุ ข ภาพตำบล ผู้้�รัั บผิิ ด ชอบงานโรงพยาบาล ท่่อน้้ำดีี มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น โดย รพ.สต.วางแผนขอรัับ
ส่่ ง เสริิ มสุุ ข ภาพตำบล อาสาสมัั ค รสาธารณสุุ ข ประจำ งบประมาณสนัับสนุุนจากองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นทุุกปีี
178 วารสารสำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2566

• มาตรการจััดการเรีียนการสอน เดืือน และเผยแพร่่ประชาสััมพัันธ์์เปิิดสปอตเสีียงตาม


ตััวแทนครููจากโรงเรีียนในพื้้�นที่่� 3 แห่่ง ประกอบ สาย ทางหอกระจายข่่าวของหมู่่�บ้้าน สััปดาห์์ละ 1 ครั้้�ง
ด้้วย 1) โรงเรีียนบ้้านกระนวนซำสููง 2) โรงเรีียนซำสููง กลุ่่�มผู้้�ตรวจพบเชื้้�อ
พิิทยาคม และ 3) โรงเรีียนอนุุบาลศรีีซำสููง เข้้ารัับการ โรงพยาบาลส่่ ง เสริิ มสุุ ข ภาพตำบลกระนวน
พััฒนาศัักยภาพและการชี้้�แจงแนวทางการจััดการเรีียน ได้้จััดอบรมให้้ความรู้้�เรื่่�องโรคพยาธิิใบไม้้ตัับและมะเร็็ง
การสอน หน่่วยการเรีียนรู้้� เรื่่�อง โรคพยาธิิใบไม้้ตัับและ ท่่อน้้ำดีี แก่่กลุ่่�มตรวจพบพยาธิิใบไม้้ตัับ จำนวน 42 คน
มะเร็็ ง ท่่ อ น้้ำดีี และถ่่ า ยทอดให้้ ครูู ใ นโรงเรีี ย น โดย รูู ป แบบการให้้ คว ามรู้้�ประกอบไปด้้ ว ย 2 ส่่ ว น คืือ
ผู้้�อำนวยการโรงเรีียนแต่่ละแห่่งให้้นโยบายในการขัับเคลื่่อ� น การรัับฟัังการบรรยาย และการเข้้าฐานความรู้้� โดยส่่วนที่่�
เพื่่�อจััดทำแผนบููรณาการการเรีียนการสอนในรููปแบบ 1 การบรรยาย มีี เ นื้้� อ หาประกอบด้้ ว ย สาเหตุุ แ ละ
กิิจกรรมพััฒนาผู้้�เรีียน โดยครููเข้้ารัับการอบรม on site ความรุุนแรงของโรค อาการ การวิินิิจฉััย การป้้องกัันและ
โรงเรีียนละ 2 คน และอบรมออนไลน์์ผ่่านโปรแกรม การรัักษา ส่่วนที่่� 2 การเข้้าฐานความรู้้� โดยให้้ผู้้�ติิดเชื้้�อ
E-learning จำนวน 10 คน โดยโรงเรีียนมีีแผนการจััดการ ส่่องกล้้องจุุลทรรศน์์เพื่่อ� ดููพยาธิิใบไม้้ตับ ผ
ั ลการทดสอบ
เรีี ย นการสอนในวิิ ช าสุุ ข ศึึ ก ษา และมีี กิิ จ กรรมพัั ฒ นา ความรู้้�ก่่อนและหลัังการอบรมให้้ความรู้้� (Pre-Post Test)
ผู้้� เ รีี ย น เช่่ น ให้้ นัั ก เรีี ย นทำใบงานเพื่่� อ สร้้ า งความรู้้� พบว่่าผู้้�ติิดเชื้้�อที่่�เข้้ารัับการอบรมพััฒนาขึ้้�นถึึงร้้อยละ
เรื่่�องโรคพยาธิิใบไม้้ตัับและมะเร็็งท่่อน้้ำดีี โดยมีีกลไก 95.2 โดยมีีคะแนนเฉลี่่�ยก่่อนการอบรมความรู้้� (Pre Test)
คณะกรรมการขัับเคลื่่�อนการจััดการเรีียนการสอนใน 9 คะแนน (S.D.=2.3) และคะแนนเฉลี่่�ยหลัังการอบรม
สถานศึึ ก ษาระดัั บ เขต ติิ ด ตามกำกัั บ ประเมิิ น ผลการ (Post Test) 12 คะแนน (S.D.=1.6) จากคะแนนเต็็ม 15
จััดการเรีียนการสอนของโรงเรีียนในพื้้�นที่่� และมีีแผนใน คะแนน
การติิดตามในไตรมาสที่่� 3 • มาตรการอาหารปลอดภััย ปลาปลอดพยาธิิ
• มาตรการสร้้างความรอบรู้้� โรงพยาบาลส่่ ง เสริิ มสุุ ข ภาพตำบลกระนวน
กลุ่่�มประชาชนทั่่�วไป ร่่ วมกัั บ องค์์ ก รปกครองส่่ ว นท้้ อ งถิ่่� น ประชาสัั มพัั น ธ์์
เครืือข่่ า ยที่่� เ กี่่� ย วข้้ อ ง ดำเนิิ น การรณรงค์์ รณรงค์์ให้้ผู้้�ประกอบการอาหาร ร้้านค้้า แผงลอย เพื่่�อ
ประชาสัั มพัั น ธ์์ แ ละจัั ด ทำสื่่� อ ประชาสัั มพัั น ธ์์ ดัั ง นี้้� เข้้าร่่วมประกวดแข่่งขัันอาหารปลอดภััยปลาปลอดพยาธิิ
โรงพยาบาลส่่งเสริิมสุุขภาพตำบลกระนวน จััดอบรม ในงานมหกรรมอาหารปลอดภัั ย ปลาปลอดพยาธิิ
พัั ฒ นาศัั ก ยภาพแกนนำในการจัั ด ทำและขัั บ เคลื่่� อ น ตำบลซำสูู ง โดยโรงพยาบาลส่่ ง เสริิ มสุุ ข ภาพตำบล
แผนการแก้้ไขปััญหาโรคพยาธิิใบไม้้ตัับ ประกอบด้้วย กระนวน และองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น วางแผนใน
อสม. กำนััน ผู้้�ใหญ่่บ้้าน เจ้้าอาวาส นัักจััดรายการวิิทยุุ การสำรวจและจััดทำทะเบีียนร้้านค้้า ร้้านอาหาร แผงลอย
กลุ่่�มรัักษ์์หมอเขีียว รวมจำนวน 25 คน รพ.สต.ร่่วมกัับ ในพื้้� น ที่่� และจัั ด อบรมด้้ า นอาหารปลอดภัั ย ให้้ แ ก่่
แกนนำอาสาสมััครสาธารณสุุขในชุุมชน จััดทำเพลงคลิิป ผู้้� ป ระกอบการร้้ า นค้้ า ร้้ า นอาหาร แผงลอย รวมทั้้� ง
วีีดีีโอ “ชาวซำสููงเชิิญชวน เลิิกกิินปลาดิิบ ป้้องกัันโรค ประชาสััมพัันธ์์ให้้สถานประกอบการร้้านค้้า ร้้านอาหาร
พยาธิิใบไม้้ตัับและมะเร็็งท่่อน้้ำดีี” เผยแพร่่ในรายการวิิทยุุ แผงลอยในพื้้� น ที่่� เข้้ า ร่่ วม โครงการอาหารปลอดภัั ย
หอกระจายข่่าว เปิิดที่วั่� ดั ตลาด และชุุมชน เป็็นต้้น องค์์กร ปลาปลอดพยาธิิ แ ละวางแผนติิ ด ตามประเมิิ น การ
ปกครองส่่ ว นท้้ อ งถิ่่� น สนัั บ สนุุ น และจัั ด ทำสื่่� อ รณรงค์์ ดำเนิินงานของผู้้�ประกอบการต่่อไป
ประชาสััมพันั ธ์์ (ไวนิิล) ให้้ความรู้้� สร้้างความตระหนัักให้้
• มาตรการจััดการสิ่่�งปฏิิกููล
กัับประชาชนในพื้้�นที่่ บ้ � า้ น วััด โรงเรีียนผ่่านช่่องทางต่่างๆ
เทศบาลตำบลซำสููง เข้้าร่่วมวิิเคราะห์์ข้้อมููล
กำนัันผู้้�ใหญ่่บ้้าน ให้้ความรู้้�เรื่่�อง โรคพยาธิิใบไม้้ตัับและ
สถานการณ์์ สภาพปััญหาโรคพยาธิิใบไม้้ตัับและมะเร็็ง
มะเร็็งท่่อน้้ำดีี โดยบููรณาการในวาระการประชุุมประจำ
ท่่อน้้ำดีีในพื้้�นที่่�ร่่วมกัับเครืือข่่ายสาธารณสุุข รัับทราบ
ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2566 วารสารสำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น 179

ปัั ญ หาและข้้ อ จำกัั ด ของการจัั ด การสิ่่� ง ปฏิิ กูู ล ในพื้้� น ที่่� รวมทั้้�งสิ่่ง� ที่่เ� ป็็นปััญหา อุุปสรรค โอกาสในการพััฒนาและ
โดยได้้ดำเนิินการสำรวจและจััดทำข้้อมููลการทิ้้�งสิ่่ง� ปฏิิกูลู แผนการดำเนิินงานในระยะต่่อไป รายละเอีียด ดัังนี้้�
ระบบการจััดการสิ่่ง� ปฏิิกูลู เหตุุร้อ้ งเรีียน และพื้้�นที่ที่่� ไ่� ด้้รับั หลัังจากดำเนิินโครงการดัังกล่่าวประชาชนในพื้้�นที่่�
ผลกระทบ และจััดประชุุมชี้้�แจงเอกชนผู้้�ประกอบการสููบ ได้้รัับการตรวจคััดกรองพยาธิิใบไม้้ตัับ ทำให้้เกิิดการ
สิ่่� ง ปฏิิ กูู ล สร้้ า งเครืือข่่ า ยเฝ้้ า ระวัั ง การทิ้้� ง สิ่่� ง ปฏิิ กูู ล ใน เรีียนรู้้�ร่่วมกััน และรัับทราบปััญหาของพื้้�นที่่�โดยแท้้จริิง
ที่่�ห้้ามทิ้้�ง ทั้้�งนี้้� ได้้มีีการบรรจุุแผนการจััดทำบ่่อบำบััด ซึ่่� ง ยัั ง พบปัั ญ หาเรื่่� อ งของพฤติิ ก รรมการรัั บ ประทาน
สิ่่ง� ปฏิิกูลู ไว้้ในแผนงาน/โครงการของเทศบาลตำบลซำสููง ปลาดิิบ และการคััดกรองโรคพยาธิิใบไม้้ตัับที่่�มีีข้้อจำกััด
ในปีี พ.ศ.2566 โดยในระยะแรกศึึกษาดููงานบ่่อบำบััด ด้้ า นงบประมาณ ทำให้้ ก ารคัั ด กรองกลุ่่�มเสี่่� ย งไม่่
สิ่่�งปฏิิกููลที่่�อำเภอนาเชืือก จัังหวััดมหาสารคาม ครอบคลุุ ม จ ากผลการตรวจพบผู้้� ติิ ด เชื้้� อ สูู ง ทำให้้
3.3 ขั้้�นสัังเกตการณ์์ ประชาชนมีีความสนใจต้้องการตรวจคััดกรองเพื่่�อทราบ
การดำเนิินการในขั้้น� นี้้� ได้้แก่่ การสัังเกตผลระหว่่าง สถานะการติิดเชื้้�อมากขึ้้�น โดยเฉพาะการตรวจคััดกรอง
ดำเนิินงาน โดยการตั้้�งกลุ่่�มไลน์์ “ตำบลต้้นแบบ OV ด้้วยชุุดตรวจปััสสาวะ OV-RDT ซึ่่�งมีีความสะดวกในการ
ซำสููง” ซึ่่�งมีีสมาชิิกเป็็นเครืือข่่ายสุุขภาพปฐมภููมิิและ เก็็บสิ่่�งส่่งตรวจ และเทศบาลตำบลซำสููง ได้้รัับทราบ
องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นที่่�ร่่วมดำเนิินการ จำนวน ปัั ญ หาของชุุ มช นอย่่ า งแท้้ จริิ ง โดยเฉพาะการกำจัั ด
สมาชิิก 33 คน มีีการแลกเปลี่่�ยนข้้อมููล ภาพกิิจกรรม สิ่่� ง ปฏิิ กูู ล ในพื้้� น ที่่� ซึ่่� ง เป็็ น บทบาทสำคัั ญ ของท้้ อ งถิ่่� น
การดำเนิินงานของแต่่ละหน่่วยงาน กิิจกรรมการให้้ความรู้้� การสร้้างบ่่อบำบััดสิ่่ง� ปฏิิกูลู ในพื้้�นที่่ไ� ด้้นำเข้้าแผนของเทศ
ในวัั ด การให้้ คว ามรู้้�ในวาระประชุุมประจำเดืือนของ บาลตำบลซำสููงในปีี พ.ศ.2566 ซึ่่�งเริ่่�มจากการศึึกษา
กำนัั น ผู้้� ใ หญ่่ บ้้ า น การรณรงค์์ ป ระชาสัั มพัั น ธ์์ ใ นวัั ด ดูู ง านบ่่ อ บำบัั ด สิ่่� ง ปฏิิ กูู ล ที่่� ถูู ก สุุ ขลัั ก ษณะและจัั ด ทำ
การประชาสััมพันั ธ์์ติดิ ป้้ายไวนิิลข้้างวััด รพ.สต. และตลาด ข้้อบััญญััติิกำจััดสิ่่�งปฏิิกููลต่่อไป ข้้อค้้นพบที่่�ทำให้้เกิิด
เป็็นต้้น และติิดตามนิิเทศความก้้าวหน้้าของการดำเนิิน ความสำเร็็จ คืือ ความร่่วมมืือของเครืือข่่ายอย่่างต่่อเนื่่�อง
งานที่่� รพ.สต. และเทศบาลซำสููง ร่่วมแลกเปลี่่�ยนปััญหา โดยโอกาสพัั ฒ นาต่่ อไป คืือ ประชาชนมีี ความตื่่� น ตัั ว
อุุปสรรค รวมทั้้�งความต้้องการการสนัับสนุุนทรััพยากรใน สนใจในการตรวจคััดกรองพยาธิิใบไม้้ตัับให้้ครอบคลุุม
การดำเนิินงาน มากยิ่่�งขึ้้�น
3.4 ขั้้�นสะท้้อนผลการปฏิิบััติิ ระยะที่่� 4 การประเมิินผลการดำเนิินการป้้องกััน
การถอดบทเรีี ย นหลัั ง ดำเนิิ น การ เพื่่� อ เป็็ น การ ควบคุุมโรคพยาธิิใบไม้้ตัับในพื้้�นที่่�ความชุุกสููง
ทบทวนสิ่่ง� ที่ไ่� ด้้ดำเนิินการที่่ผ่� า่ นมา สิ่่ง� ที่่เ� กิิดขึ้้น� จริิง สาเหตุุ 4.1 ประเมิิ น ความรอบรู้้�ทางสุุ ข ภาพด้้ า นการ
ของการเกิิดและสิ่่ง� ที่่ไ� ด้้เรีียนรู้้� ผู้เ้� ข้้าร่่วมการถอดบทเรีียน ป้้องกัันควบคุุมโรคพยาธิิใบไม้้ตัับ
ประกอบด้้วย ผู้้�รัับผิิดชอบงานจากโรงพยาบาลส่่งเสริิม การวิิเคราะห์์เปรีียบเทีียบคะแนนความรอบรู้้�ด้้าน
สุุขภาพตำบลซำสููง รองนายกองค์์การบริิหารส่่วนตำบล สุุ ข ภาพเรื่่� อ งการป้้ อ งกัั น โรคพยาธิิ ใ บไม้้ ตัั บ ในพื้้� น ที่่�
ซำสููงและผู้้�รัับผิิดชอบงานด้้านสุุขาภิิบาลและอนามััย ควบคุุมคืือ ตำบลบ้้านโนน และพื้้�นที่่ด� ำเนิินการ คืือ ตำบล
สิ่่ง� แวดล้้อม ผู้น้� ำชุุมชน อสม. ตััวแทนผู้ติ้� ดิ เชื้้อ� ครููโรงเรีียน กระนวน อำเภอซำสููง จัังหวััดขอนแก่่น พบว่่า ค่่าความ
ผู้้�รัับผิิดชอบงานจากสำนัักงานสาธารณสุุขอำเภอและ แตกต่่ า งของค่่ า คะแนนเฉลี่่� ย ความรอบรู้้�ทางสุุ ข ภาพ
สำนัักงานสาธารณสุุขจัังหวััด จำนวน 20 คน โดยมีีประเด็็น ระหว่่างพื้้�นที่่ควบคุ
� มุ และพื้้�นที่่ด� ำเนิินการมีีความแตกต่่าง
การถอดบทเรีียน ดัังนี้้� การดำเนิินงานตามแผนการแก้้ไข กัันอย่่างมีีนััยสำคััญทางสถิิติิเกืือบทุุกด้้าน ยกเว้้นด้้าน
ปััญหาที่่�ผ่่านมา ข้้อค้้นพบ สิ่่�งที่่�ทำให้้เกิิดความสำเร็็จ การเข้้าถึึงข้้อมููลและบริิการทางสุุขภาพ ดัังตารางที่่� 2
180 วารสารสำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2566

ตารางที่่� 2 เปรีียบเทีียบคะแนนเฉลี่่�ยของความรอบรู้้�ด้้านสุุขภาพรายด้้านระหว่่างพื้้�นที่่�ควบคุุมคืือ ตำบลบ้้านโนน


กัับพื้้�นที่่�ดำเนิินงานคืือ ตำบลกระนวน อำเภอซำสููง จัังหวััดขอนแก่่น
พื้นที่ควบคุม พื้นที่ดำ�เนินการ
Mean 95% CI
ความรอบรู้ทางสุขภาพ (n = 230) (n = 227) p-value
difference
ค่าเฉลี่ย S.D. ค่าเฉลี่ย S.D. Lower Upper
การเข้าถึงข้อมูลและบริการ 34.83 15.04 37.09 14.80 2.258 0.482 4.998 0.106
ทางสุขภาพ
ความรู้ความเข้าใจ 7.79 2.14 12.68 2.81 4.889 4.431 5.348 <0.001
ทักษะการสื่อสาร 7.72 3.79 8.13 3.49 3.627 2.977 4.278 <0.001
การจัดการตนเองให้ 13.79 3.14 16.08 2.76 5.681 5.021 6.341 <0.001
ปลอดภัย
การรู้เท่าทันสื่อ 7.21 4.28 8.25 4.21 4.846 4.129 5.562 <0.001
ทักษะการตัดสินใจ 10.04 3.66 10.81 4.02 1.796 1.072 2.520 <0.001
ความรอบรู้ด้านสุขภาพ 81.36 22.32 89.13 24.05 7.643 3.371 11.915 <0.001
(รวม)

4.2 รููปแบบการป้้องกัันควบคุุมโรคพยาธิิใบไม้้ตับั 5. มาตรการสร้้างความรอบรู้้� เป็็นบทบาทของ


ในพื้้�นที่่�ความชุุกสููง โดยเครืือข่่ายสุุขภาพปฐมภููมิิและ รพ.สต. อสม. พระ สื่่�อมวลชนท้้องถิ่่�น กำนััน ผู้้�ใหญ่่บ้้าน
องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น โดยใช้้นวััตกรรมการสื่่�อสารผ่่าน influencer
ได้้รููปแบบที่่�มีีการกำหนดเป้้าหมายและมาตรการ 6. มาตรการบริิ ห ารจัั ด การสิ่่� ง ปฏิิ กูู ล เป็็ น
ร่่วมกััน ดัังนี้้� บทบาทของเทศบาล ภาคเอกชนที่่�ดำเนิินการ โดยใช้้
1. มาตรการคััดกรองพยาธิิใบไม้้ตับ ั เป็็นบทบาท แผนการบริิหารจััดการสิ่่�งปฏิิกููลของเทศบาลพร้้อมแผน
ของ รพ.สต. ผู้้�นำชุุมชน และ อสม. โดยนำนวััตกรรมชุุด และแบบแปลนก่่อสร้้าง
ตรวจปััสสาวะ OV-RDT มาใช้้ในการคััดกรอง 7. การบููรณาการ และการสนัับสนุุนทรััพยากร
2. มาตรการรัักษา ส่่งต่่อ ให้้คำปรึึกษา การใช้้ เป็็นบทบาทของเทศบาล รพ.สต. สถานศึึกษา โดยใช้้งบ
ยา เป็็นบทบาทของ รพ.สต. และโรงพยาบาลชุุมชน ประมาณของ รพ.สต. เทศบาล และกองทุุนสุุขภาพตำบล
โดยนำนวััตกรรมการให้้บริกิ ารและให้้คำปรึึกษาออนไลน์์ 8. จััดทำแผนปฏิิบัติั กิ ารในระดัับปฐมภููมิแิ ละ
3. มาตรการจััดการเรีียนการสอนในโรงเรีียน ท้้องถิ่่�น ในระยะเวลาที่่�ชััดเจนกำหนดภายในปีี พ.ศ.
และศููนย์์เด็็กเล็็ก เป็็นบทบาทของสถานศึึกษา ครูู อปท. 2567-2568
โดยใช้้นวััตกรรม E-learning เรีียนรู้้�นอกห้้องเรีียนได้้
4. มาตรการอาหารปลอดภััย ปลาปลอดพยาธิิ สรุุปและอภิิปรายผล
เป็็นบทบาทของ รพ.สต. เครืือข่่ายผู้้�ประกอบการปลาร้้า การวิิจัยั ครั้้�งนี้้�เป็็นการวิิจัยั เชิิงปฏิิบัติั กิ ารเพื่่อ� พััฒนา
ปลาส้้ ม ร้้ า นอาหาร เจ้้ า ของตลาด แผงลอย โดยใช้้ รูู ป แบบการแก้้ ไ ขปัั ญ หาโรคพยาธิิ ใ บไม้้ ตัั บ ในพื้้� น ที่่�
นวััตกรรม ปลาปลอดภััยโดยการแช่่แข็็งระยะเวลา 5 - 7 วััน ความชุุกสููง โดยเครืือข่่ายสุุขภาพปฐมภููมิิและองค์์กร
เมนููปลาสุุก ปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น ดำเนิินการเป็็น 4 ระยะ ระยะที่่� 1
ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2566 วารสารสำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น 181

ดำเนิินการศึึกษาสถานการณ์์โดยการสุ่่�มสำรวจความชุุก เครืือข่่ายปฐมภููมิิส่่วนนอกสาธารณสุุข ประกอบด้้วย


พยาธิิใบไม้้ตับด้ ั ว้ ยนวััตกรรมชุุดตรวจปััสสาวะ OV-RDT กำนััน ผู้้�ใหญ่่บ้้าน ครูู พระ สื่่�อมวลชนท้้องถิ่่�น รวมทั้้�ง
และศึึกษาปััญหาการดำเนิินงานตามบทบาทหน้้าที่่�ของ บุุคลากรทั้้�งในระดัับบริิหารและปฏิิบััติิการของเทศบาล
เครืือข่่ายสุุขภาพปฐมภููมิแิ ละองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น ตำบลซำสูู ง เข้้ า ร่่ วมพัั ฒ นาศัั ก ยภาพ และการพัั ฒ นา
ระยะที่่� 2 ดำเนิินการพััฒนาศัักยภาพเครืือข่่ายสุุขภาพ ศัักยภาพนั้้�นเริ่่�มต้้นจากการสร้้างความตระหนัักโดยการ
ปฐมภููมิิและองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น โดยการคืืน สะท้้อนปััญหาและสถานการณ์์ที่่�ค้้นพบในพื้้�นที่่� ก่่อน
ข้้อมููล พััฒนาทัักษะการวิิเคราะห์์และพััฒนาให้้สามารถ ให้้การพััฒนาทัักษะการวิิเคราะห์์ปััญหาและการจััดทำ
จััดการแก้้ไขปััญหาโรคพยาธิิใบไม้้ตัับแบบเชิิงผลลััพธ์์ที่่� แผนเชิิงผลลััพธ์์ต่่อไป
สอดคล้้องกัับสภาพปััญหา ระยะที่่� 3 การพััฒนารููปแบบ 2) การพััฒนาแผนเชิิงผลลััพธ์์ ก่่อนดำเนิินการ
การป้้องกัันควบคุุมโรคพยาธิิใบไม้้ตับั ในพื้้�นที่คว ่� ามชุุกสููง พบว่่ า กิิ จ กรรมที่่� ด ำเนิิ น การในพื้้� น ที่่� ไ ม่่ ส อดคล้้ อ งกัั บ
โดยเครืือข่่ า ยสุุ ข ภาพปฐมภูู มิิ แ ละองค์์ ก รปกครอง ปััญหาและผลลััพธ์์ จึึงได้้มีีการจััดทำแผนเชิิงผลลััพธ์์ราย
ส่่วนท้้องถิ่่�น เป็็นการดำเนิินการตามแผนเชิิงผลลััพธ์์ มาตรการทำให้้ได้้บัันไดผลลััพธ์์ ตััวชี้้�วััดแต่่ละระดัับ และ
กิิจกรรมที่่ไ� ด้้ออกแบบ ติิดตามประเมิินตััวชี้้วั� ดั ตามบัันได กิิจกรรมในการดำเนิินงาน ซึ่่�งการดำเนิินการตามแผนนี้้�
ผลลัั พธ์์ คืื นข้้ อ มูู ล และพัั ฒ นาโดยยึึ ด กระบวนการมีี ยัังไม่่บรรลุุถึึงบัันไดหรืือผลลััพธ์์ขั้้�นสุุดท้้าย ดัังนั้้�นจึึงควร
ส่่วนร่่วม ระยะที่่� 4 ประเมิินผลการดำเนิินงาน ผลการ ส่่งต่่องานวิิจััยชิ้้�นนี้้�สู่่�งานประจำต่่อไป
ศึึกษาพบว่่า รููปแบบการป้้องกัันควบคุุมโรคพยาธิิใบไม้้ตับั 3) การติิดตามประเมิินผล จากการจััดทำแผนเชิิง
ในพื้้�นที่่คว � ามชุุกสููง โดยเครืือข่่ายสุุขภาพปฐมภููมิร่ิ วมกั
่ บั ผลลััพธ์์ทำให้้ได้้ตััวชี้้�วััด ซึ่่�งนำมาใช้้ในการติิดตามเพื่่�อดูู
องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น ควรมีีการกำหนดเป้้าหมาย ความก้้าวหน้้า รวมทั้้�งเป็็นข้้อมููลในการสะท้้อนกลัับให้้
ผลลััพธ์์ และมาตรการการขัับเคลื่่�อนร่่วมกััน เกิิดแผน พื้้� น ที่่� ร่่ วม วิิ เ คราะห์์ แ ละพัั ฒ นางานให้้ บ รรลุุ เ ป้้ า หมาย
งาน/โครงการที่่�สอดคล้้องกัับสภาพปััญหา นวััตกรรมใน ในการประเมิินผลการศึึกษาครั้้�งนี้้�ได้้ประเมิินความรอบรู้้�
การดำเนิินงาน กำหนดบทบาทในแต่่ละมาตรการ และ ทางสุุขภาพของประชาชนเปรีียบเทีียบพื้้�นที่่�ควบคุุมกัับ
เกิิดผลการดำเนิินงานตามมาตรการ ได้้แก่่ การคััดกรอง พื้้�นที่่�ดำเนิินการ พบว่่า ประชาชนในพื้้�นที่่�ควบคุุมมีีค่่า
พยาธิิใบไม้้ตับั เป็็นแผนงานประจำปีี การรัักษา ส่่งต่่อ ให้้ คะแนนเฉลี่่�ยความรอบรู้้�ทางสุุขภาพ 81.36 คะแนน พื้้�นที่่�
คำปรึึกษาแบบออนไลน์์ การจััดการเรีียนการสอน เช่่น ดำเนิินการ 89.13 คะแนน โดยค่่าความแตกต่่างของ
E-learning ในโรงเรีี ย น ศูู น ย์์ เ ด็็ ก เล็็ ก การจัั ด การมีี ค่่าเฉลี่่�ยมีีนัยั สำคััญทางสถิิติิ แสดงถึึงประชาชนในพื้้�นที่มี่� ี
นวััตกรรมให้้ปลาปลอดพยาธิิ การสร้้างความรอบรู้้�ด้้าน แนวโน้้มของพฤติิกรรมการป้้องกัันโรคพยาธิิใบไม้้ตัับที่่�
สุุขภาพโดยสื่่�อและ influencer เป็็นต้้น โดยสรุุป การ ดีี ขึ้้� น เนื่่� อ งจากเครืือข่่ า ยสุุ ข ภาพปฐมภูู มิิ แ ละองค์์ ก ร
ดำเนิินงานเพื่่อ� ป้้องกัันแก้้ไขปััญหาโรคพยาธิิใบไม้้ตับั ใน ปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นซึ่่ง� เป็็นแกนนำชุุมชน(change agent)
พื้้� น ที่่� คว ามชุุ ก สูู ง โดยเครืือข่่ า ยสุุ ข ภาพปฐมภูู มิิ แ ละ ได้้รัับการพััฒนาทำให้้ตระหนัักถึึงปััญหา มีีความเข้้าใจ
องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น มีีองค์์ประกอบสำคััญ 3 องค์์ อย่่างลึึกซึ้้�ง อีีกทั้้�งเป็็นผู้้�ออกแบบกิิจกรรมแก้้ไขปััญหาที่่�
ประกอบ คืือ สอดคล้้องกัับระดัับผลลััพธ์์ที่่�จะนำไปสู่่�เป้้าหมาย มีีการ
1) การสร้้างแกนนำ (change agent) ในระดัับ ติิดตามและเรีียนรู้้�อย่่างต่่อเนื่่�องสอดคล้้องกัับการศึึกษา
ปฐมภููมิิ ในกระบวนการนี้้�ประกอบด้้วยการวิิเคราะห์์ ก่่ อ นหน้้ า(9,12,13,) แสดงถึึ ง ประสิิ ท ธิิ ผ ลของรูู ป แบบที่่�
ผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีีย เพื่่�อค้้นหาเครืือข่่ายสุุขภาพในระดัับ พััฒนาที่่�ดำเนิินการโดยเครืือข่่ายทางสุุขภาพระดัับปฐม
ปฐมภููมิิทั้้�งในเครืือข่่ายสาธารณสุุข ได้้แก่่ สาธารณสุุข ภููมิิและองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�น ในบริิบทตำบลที่่�มีี
อำเภอ โรงพยาบาลอำเภอ โรงพยาบาลส่่งเสริิมสุุขภาพ ความชุุกสููง เนื่่�องจากข้้อจำกััดเรื่่�องระยะเวลาการวิิจััยจึึง
ตำบล และอาสาสมััครสาธารณสุุขประจำหมู่่�บ้้าน รวมทั้้�ง ไม่่สามารถติิดตามผลจนบรรลุุเป้้าหมายตามแผนระยะ
182 วารสารสำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2566

ยาว เพื่่�อให้้ได้้รููปแบบการพััฒนาจนถึึงบัันไดผลลััพธ์์ขั้้�น เอกสารอ้้างอิิง


สุุดท้้าย ควรมีีการติิดตามความต่่อเนื่่�องของการดำเนิิน
1. International Agency for Research on Cancer,
การ จนสำเร็็จตามบัันไดผลลััพธ์์ขั้้�นสุุดท้้าย
World Health Organization. IARC Monographs-
Classifications [Internet]. 2012 [cited 2016Aug
ข้้อเสนอแนะเชิิงนโยบาย 22]. Available from: http://monographs.iarc.fr/
1. พื้้� นที่่� ที่่� อัั ต ราความชุุก ของพยาธิิใบไม้้ตัับสููง ENG/Classification/latest_classif.php
ควรดำเนิินการในระดัับปฐมภููมิิโดยมีีภาคส่่วนท้้องถิ่่�น 2. Fürst T, Keiser J, Utzinger J. Global burden of
ร่่วมดำเนิินการตั้้�งแต่่กระบวนการวางแผน การจััดทำแผน human food-borne trematodiasis: a systematic
ปฏิิ บัั ติิ ก ารร่่ วมกัั น โดยการกำหนดบทบาทหน้้ า ที่่� ใ ห้้ review and meta-analysis. Lancet Infect Dis
ครอบคลุุมทุุกมาตรการและร่่วมประเมิินผลปรัับปรุุงใน 2012; 12(3): 210–21.
ผลงาน 3. ฐิิติมิ า วงศ์์สาโรจน์์. รายงานผลการศึึกษาสถานการณ์์
2. ควรนำนวััตกรรมในการตรวจการติิดเชื้้�อด้้วย โรคหนอนพยาธิิและโปรโตซััวของประเทศไทย พ.ศ.
การตรวจปััสสาวะขยายผลในการดำเนิินการโดยเฉพาะ 2552. กรมควบคุุ ม โรค กระทรวงสาธารณสุุ ข ;
ในพื้้�นที่่�เสี่่�ยงที่่�ประชาชนมาตรวจอุุจจาระน้้อย 2552.
3. ควรมีี ก ารจัั ด การงบประมาณในพื้้� น ที่่� ที่่� มีี 4. อรวรรณ แจ่่มจัันทร์์, เกษร แถวโนนงิ้้ว� , เสรีี สิงิ ห์์ทอง,
อััตราชุุกสููง โดยเฉพาะการบููรณาการงบประมาณทั้้�งจาก ลัั ก ษณา หลายทวีี วัั ฒ น, บุุ ญ จัั น ทร์์ จัั น ทร์์ ม หา,
ภาคสาธารณสุุข ท้้องถิ่่�น ร่่วมกัับกองทุุนสุุขภาพตำบล วััชรวีีร์์ จัันทร์์ประเสริิฐ และคณะ. ความชุุกของโรค
หนอนพยาธิิ แ ละพยาธิิ ใ บไม้้ ตัั บ ในพื้้� น ที่่� เ สี่่� ย ง
กิิติิกรรมประกาศ เขตสุุขภาพที่่� 7. วารสารควบคุุมโรค 2559; 42(1):
ขอขอบคุุ ณ นพ.สมาน ฟูู ต ระกูู ล ผู้้� อ ำนวยการ 36-43.
สำนัักงานป้้องกัันควบคุุมโรคที่่� 7 จัังหวััดขอนแก่่น ที่่�ให้้ 5. Healthkpi. Health KPI [Internet]. 2023 [cited
โอกาสในการดำเนิินงานวิิจัยั ในครั้้�งนี้้� ดร.เกษร แถวโนนงิ้้ว� 2023 May 5]. Available from: http://healthkpi.
ดร.ฐิิติิมา วงศาโรจน์์ และอาจารย์์นภาพร ยุุทไธสง ที่่�ได้้ moph.go.th
กรุุ ณ าตรวจสอบความตรงเชิิ ง เนื้้� อ หาของเครื่่� อ งมืือ 6. กองโรคติิดต่่อทั่่�วไป กรมควบคุุมโรค กระทรวง
สาธารณสุุขจัังหวััดขอนแก่่น สาธารณสุุขอำเภอซำสููง สาธารณสุุข. รายงานประจำปีี พ.ศ. 2564 กองโรค
โรงพยาบาลส่่งเสริิมสุุขภาพตำบลซำสููง เทศบาลตำบล ติิดต่่อทั่่�วไป. นนทบุุรีี; 2564
ซำสููง โรงเรีียนบ้้านกระนวนซำสููง ผู้้�นำชุุมชนตำบลซำสููง 7. สำนัั ก สนัั บ สนุุ น ระบบสุุ ข ภาพปฐมภูู มิิ . พระราช
อาสาสมััครประจำหมู่่�บ้้าน และประชาชนทุุกท่่านในพื้้�นที่่� บัั ญ ญัั ติิ ร ะบบสุุ ข ภาพปฐมภูู มิิ พ .ศ.2562
ที่่�มีีส่่วนร่่วมให้้รายงานวิิจััยสำเร็็จไปด้้วยดีี [อิิ น เทอร์์ เ น็็ ต ].2562 [เข้้ า ถึึ ง เมื่่� อ ต.ค.2565].
เข้้าถึึงได้้จาก: https://sites.google.com/site/
primarycarecluster2017/phrb-rabb-sukhphaph-
pthm-phumi
ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2566 วารสารสำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น 183

8. Krejcie RV, Morgan DW. Determining sample size


for research activities. Educ Psychol Meas1970;
30(3): 607-10.
9. รััชนีีกร กุุญแจทอง, สุุมาลีี จัันทลัักษณ์์, ศุุจิินัันท์์
ตรีีเดช, สมจิิตร พัันธุุโพธิ์์�. ความรอบรู้้�ด้้านสุุขภาพ
เรื่่�องพฤติิกรรมการป้้องกัันโรคพยาธิิใบไม้้ตัับของ
ประชาชน ในพื้้�นที่่�รัับผิิดชอบของ สำนัักงานป้้องกััน
ควบคุุมโรคที่่� 7 จัังหวััดขอนแก่่น. วารสารควบคุุม
โรค 2564; 47(เพิ่่�มเติิม): 1191-202.
10. รัั ชนีี ก ร กุุ ญ แจทอง, สุุ ม าลีี จัั น ทลัั ก ษณ์์ , คณยศ
ชััยอาจ. การพััฒนาเครื่่อ� งมืือความรอบรู้้�ด้้านสุุขภาพ
เรื่่�องพฤติิกรรมการป้้องกัันโรคพยาธิิใบไม้้ตัับของ
ประชาชน. วารสารสำนัักงานป้้องกัันควบคุุมโรคที่่� 7
ขอนแก่่น 2563; 27(1): 73–85.
11. Kemmis S, McTaggart R, Nixon R. The action
research planner. Victoria: Deakin University.
1988.
12. Roma W, Tanasugarn C, Tipayamongkholgul M,
Aimyong N, Neelapaichit N, Samnuanklang
M, et al. Health Literacy of Thai people 15 years
old above. Nonthaburi: Department of Health;
2017.
13. Woratanarat T, Woratanarat P, Wongdontree A,
Chenphanitsub M. Systematic review situation
and management health literacy. Bangkok:
Chulalongkorn University; 2015.

You might also like