You are on page 1of 13

หน่วยการเรียนที่ 1

ข้อมูลและสารสนเทศ
(DATA & INFORMATION)
ความหมายและประเภทของข้อมูลและสารสนเทศ

ข้อมูล (Data) คือ สิ่งต่าง ๆ หรือข้อเท็จจริง ที่ได้รับจากประสาทสัมผัส


หรือสื่อต่าง ๆที่ยังไม่ผ่านการวิเคราะห์ หรือการประมวลผล โดยข้อมูล
อาจเป็นตัวเลข สัญลักษณ์ ตัวอักษร เสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
ข้อมูลดิบ (Raw Data) คือ ข้อมูลทุกรูปแบบที่ยังไม่ได้ผ่าน
การประมวลผล
ประเภทของข้อมูล

สามารถแบ่งประเภทตามลักษณะของที่มาหรือการได้รับข้อมูล คือ

1.ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) คือ ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม


หรือบันทึกจากแหล่งข้อมูล โดยตรงด้วยวิธีต่างๆ เช่น จากการสอบถาม
การสัมภาษณ์การสารวจการจดบันทึก

2.ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) คือ การนาข้อมูลที่ผู้อื่นได้เก็บ


รวบรวมหรือบันทึกไว้มาใช้งาน
ความหมายของสารสนเทศ

สารสนเทศ (Information) คือ สิ่งทีไ่ ด้จากการประมวลผลของข้อมูล


เพื่อให้สามารถนามาใช้ประโยชน์ ในด้านการวางแผน การพัฒนา
การควบคุม และการตัดสินใจ
ความแตกต่างของข้อมูลกับสารสนเทศ

ข้อมูลแตกต่างจากสารสนเทศ คือ ข้อมูล เป็นส่วนของข้อเท็จจริง โดยได้


จากการเก็บมาจากเหตุการณ์ต่างๆ สารสนเทศ คือข้อมูลทีน่ ามาผ่าน
กระบวนการเพื่อสามารถนาไปใช้ ในการตัดสินใจต่อไปได้ทันที
ตัวอย่างข้อแตกต่างระหว่างข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูล: นักเรียนในโรงเรียนมี 2,560 คน ครูมีจานวน 160 คน
สารสนเทศ: อัตรานักเรียนต่อครูของโรงเรียนกาญจนา = 2560/160 = 15
ลักษณะของข้อมูลที่ดี

1. มีความถูกต้องและแม่นยา (Accuracy)
2. มีความเป็นปัจจุบันและทันสมัยอยู่เสมอ (Up to date)
3. มีความกระชับ ชัดเจน และสมบูรณ์ครบถ้วน (Conciseness and
Completeness)
4. สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance)
5. ปราศจากความลาเอียงหรืออคติ (Reliable and Verifiable)
ชนิดของข้อมูล

ข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ


1. ข้อมูลทีเ่ ป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจานวนที่
สามารถนา ไปคานวณได้ ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ
ก. เลขจานวนเต็ม หมายถึง ตัวเลขที่ไม่มีจุดทศนิยม เช่น 12, 9,
137 , 8319 , -46
ข. เลขทศนิยม หมายถึง ตัวเลขที่มีจุดทศนิยม ซึง่ อาจมีค่าเป็น
จานวนเต็ม เช่น 12 หรือเป็นจานวนที่มีเศษทศนิยมก็ได้ เช่น 12.763
ชนิดของข้อมูล

2. ข้อมูลทีเ่ ป็นตัวอักขระ (Character Data) หมายถึง ข้อมูลที่ ไม่สามารถ


นา ไปคานวณได้ แต่อาจนาไปเรียงลาดับได้ เช่น การเรียงลาดับตัวอักษร
ข้อมูลอาจเป็นตัวหนังสือ ตัวเลข หรือเครื่องหมายใด ๆ เช่น COMPUTER,
ON-LINE, 1711101,&76
การจัดการสารสนเทศ
(Information processing cycle)

การแสดงผล
การเก็บรักษาข้อมูล

การประมวลผลข้อมูล

การนาเข้าข้อมูล
ขั้นตอนการจัดการสารสนเทศ

ขั้นตอนที่ 1 การนาเข้าข้อมูล
1.1 การรวบรวมข้อมูล อาจจะรวบรวมจากแหล่งกาเนิดข้อมูล (ข้อมูลปฐม
ภูม)ิ หรือจากข้อมูลที่มีอยู่แล้ว (ข้อมูลทุติยภูม)ิ
1.2 การตรวจสอบข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจาเป็นต้องตรวจข้อมูล เพื่อ
ความถูกต้อง หากพบข้อผิดพลาดต้องทาการแก้ไข
1.3 การเตรียมข้อมูล จัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบเดียวกันเพื่อสะดวกใน
การประมวลผล
ขั้นตอนการจัดการสารสนเทศ

ขั้นตอนที่ 2 การประมวลผลข้อมูล
หมายถึง การดาเนินการกับข้อมูลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่มีความหมายและมี
ประโยชน์ ได้แก่
2.1 การจัดกลุ่มหรือจาแนกประเภท
2.2 การเรียงลาดับ
2.3 การคานวณ
2.4 การค้นคืน
2.5 การรวมข้อมูล
2.6 การสรุป
ขั้นตอนการจัดการสารสนเทศ

ขั้นตอนที่ 3 การเก็บรักษาข้อมูล
เพื่อเก็บบันทึกข้อมูลไว้ สามารถนามาใช้ได้ในภายหลัง มีขั้นตอนดังนี้
3.1 การจัดเก็บข้อมูลไว้ในสื่อบันทึกข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นซีดี แผ่น
ดีวีดี หรือหน่วยความจาแบบแฟลช
3.2 การสาเนาข้อมูล เพื่อป้องกันการสูญหายหรือความเสียหายของ
ข้อมูล
3.3 การปรับปรุงข้อมูล เพื่อทาให้ข้อมูลมีความทันสมัย สอดคล้องกับ
เหตุการณ์และเวลาที่เปลี่ยนไป
ขั้นตอนการจัดการสารสนเทศ

ขั้นตอนที่ 4 การแสดงผล
หมายถึง การจัดรูปแบบของสารสนเทศให้อยู่ในรูปแบบของรายงาน
ตาราง แบบฟอร์ม แผนภูมิ เพื่อสะดวกในการศึกษา ง่ายต่อการทาความ
เข้าใจ อาจจะเป็นข้อความ ภาพ เสียง วีดิทัศน์ ก็ได้

ประเภทแผนภูมิ

You might also like