You are on page 1of 10

คำำว่ำ คติชำวบ้ำน หรือ คติชนวิทยำ แปลมำจำกภำษำอังกฤษว่ำ folklore ) นัก

วิชำกำรคติชนชำวอังกฤษ วิลเลี่ยม ธอทส์ (William Thoms) เป็นผู้คิดและวำงรำกฐำนวิชำนี้


้ เมื่อ พ.ศ. 2409 วิชำนี้แปลตำมตัวว่ำ ควำมรูเ้ กี่ยวกับปวงชน เมื่อวิชำนี้เข้ำสู่
ขึน
ประเทศไทย พระยำอนุมำนรำชธนและรำชบัณฑิตยสถำนได้บัญญัตค ิ ำำไทยว่ำ
คติชำวบ้ำน ในพ.ศ. 2510 ดร.กิ่งแก้ว อัตถำกร นักวิชำกำรด้ำนคติชนวิทยำ ได้ให้
ควำมคิดและเสนอว่ำ วิชำนี้ควรใช้ชื่อว่ำ คติชนวิทยำ ด้วยเหตุผลดังนี้ คติชำวบ้ำนมี
ควำมหมำยแคบกว่ำขอบข่ำยของวิชำนี้ คนทั่วไปจะเข้ำใจว่ำ “ชำวบ้ำน”หมำยถึง คน
ชนบท เมื่อกล่ำวถึง folklore จึงจะนึกถึงวิถีชีวิตของชำวบ้ำน วิถีชีวิตพื้นบ้ำนวิถีชีวิตของ
บุคคลบำงระดับชั้นของระบบเศรษฐกิจและสังคม ทัง้ ที่วิชำนี้เกีย ่ วกับคนทุกสถำนภำพ
โดยคำำนึงถึงภำวะที่บุคคลเหล่ำนั้นเป็นส่วนหนึ่งของกลุม ่

พจนำนุกรมฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ. 2525 (2538, หน้ำ 164-165) ให้ควำม


หมำยว่ำ “หมำยถึงเรื่องรำวของชำวบ้ำนที่เป็นของเก่ำเล่ำต่อปำกและประพฤติสืบ ๆ กัน
มำหลำยชั่วอำยุคนในรูปคติ ควำมเชื่อ ประเพณี นิยำย นิทำน เพลง ภำษิต ปริศนำ บท
ทำย ศิลปะ สถำปัตยกรรม ตลอดจนกำรละเล่นของเด็ก ”
1. เป็นเรือ
่ งที่เล่ำสืบต่อกันมำโดยวิธีมุขปำฐะ 2. เป็นเรื่องเกี่ยวกับ
ขนบธรรมเนียมประเพณี 3. เป็นเรื่องทีเ่ ล่ำหรือปฏิบัติกันหลำยอย่ำงหลำยควำมคิดเห็น
4. เป็นเรือ ่ งที่มักจะไม่ทรำบผู้ที่เป็นต้นกำำเนิด 5. เป็นเรือ ่ งที่เป็นแบบฉบับให้คนรุ่นหลัง
ปฏิบัติหรือเชื่อถือตำมกัน ต่อ ๆ มำ บรุนแวนด์
(Brunvand,1968, pp.1-2) ได้แบ่งคติชนวิทยำออกเป็น 3 ประเภท 1.คติชนวิทยำประเภทที่ใช้
ภำษำ (verbal folklore) คติชนวิทยำประเภทที่ใช้ภำษำเป็นตัวกำำหนด มี 6 ประเภทย่อย ดังนี้
1.1 คำำพูดของชำวบ้ำนรวมทั้งภำษำถิ่นและกำรตั้งชื่อ (folk speech, dialect naming) 1.2
สุภำษิต ( folk proverb หรือ proberbail saying) 1.3 ปริศนำคำำทำย (folk riddles) 1.4 คำำพูดที่
คล้องจองกัน (folk rhymes)1.5 กำรเล่ำเรื่อง (folk narratives) 1.6 เพลงชำวบ้ำน (folk songs)
2. คติชนวิทยำประเภทที่ไม่ต้องใช้ภำษำ (non – verbal folklore) คติวิทยำประเภทที่ไม่ใช้ภำษำ
เป็นตัวกำำหนด มี 7 ประกำรย่อย ดังนี้ 2.1 สถำปัตยกรรมชำวบ้ำน (folk architecture)
2.2 ศิลปะชำวบ้ำน (folk art)
2.3 งำนฝีมอ ื ของชำวบ้ำน (folk craft) 2.4 กำรแต่งกำยของชำวบ้ำน (folk
costumes)
2.5 อำหำรของชำวบ้ำน (folk food) 2.6 อำกัปกิริยำของชำวบ้ำน (folk
gesture)
2.7 ดนตรีชำวบ้ำน (folk music)
3.คติชนวิทยำประเภทผสม (partly verbal folklore) คติชนวิทยำประเภทที่ใช้ภำษำและไม่ใช้
ภำษำผสมผสำนกัน แบ่งออกได้ 6 ประเภทย่อย ดังนี้ 3.1 ควำมเชื่อและคติในเรื่อง
โชคลำง (belief and supperstition) 3.2 กำรละเล่นของชำวบ้ำน (folk games) 3.3 ละครชำวบ้ำน
(folk dramas) 3.4 ระบำำของชำวบ้ำน (folk dances) 3.5 ประเพณีของชำวบ้ำน (folk customer)
3.6 งำนมหกรรม งำนพิธี งำนรื่นเริงของชำวบ้ำน (folk festival)
กิ่งแก้ว อัตถำกร ได้กล่ำวไว้ว่ำ ทั่วไปกำรจำำแนกข้อมูลทำงคติชนวิทยำมักจัดไว้สำมประกำร
คือ มุขปำฐะ อมุขปำฐะ และผสม ดังนี้
มุขปำฐะ อมุขปำฐะ ผสม มุขปำฐะ อมุขปำฐะ ผสม
บทเพลง, ศิลปะ,ประเ กำรร้องรำำ นิทำน, หัตถกรรม, กำรละ
ควำมเชื่อ พณี, ปริศนำ,คำำ สถำปัตยกร เล่น,ละคร
ภำษำ พิธีกรรม, พังเพย รม
ถิ่น,ภำษิต,
5
1. ให้ควำมบันเทิง 2. ให้เห็นวัฒนธรรม 3. ให้กำรศึกษำกล่อมเกลำ 4. รักษำแบบแผน
พฤติกรรม 5. เป็นเครื่องบรรเทำอำรมณ์
1.
เพรำะเป็นที่รวมของควำมรู้สึกนึกคิด ควำมเชือ ่
ควำมนิยม ควำมบันเทิงใจ ระเบียบแบบแผนและพิธีกรรมต่ำง ๆ เหล่ำนี้ ช่วยให้มนุษย์
สำมำรถปรับตัวให้เข้ำกับธรรมชำติและมนุษย์ด้วนกันง่ำยขึ้น
2. คติชน
วิทยำหรือคติชำวบ้ำนเป็นเสมือนกรอบในกำรดำำรงชีวิตของมนุษย์ทส ี่ ังคมนิยมหรือ
ยอมรับกันว่ำดี ถูกต้อง แม้กฎหมำยบ้ำนเมืองก็ยังไม่สำมำรถบังคับจิตใจควำมรู้สึกของ
มนุษย์ได้ลึกกว่ำคติชน เนือ ่ งจำกมนุษย์ได้ยิน ได้เห็น ได้รับรู้ ได้อบรม และอยู่กับวิถีชีวิต
แบบนั้น ๆ มำแต่อ้อนแต่ออก
3. คติชนวิทยำหรือคติชำวบ้ำนเป็น
มรดกของชำติในฐำนะที่เป็นวัฒนธรรมประจำำชำติ เป็นเรื่องรำวทีเ่ กี่ยวกับมนุษย์แต่ละ
ชำติ แต่ละภำษำที่มีกำรจดจำำ ถือปฏิบัติและถ่ำยทอดต่อ ๆ กันมำ
4. คติชนวิทยำ
มีคุณค่ำทั้งในด้ำนศิลปะและด้ำนศำสตร์ช่วยในกำรศึกษำวิชำกำรสำขำอื่นๆ เช่น
มำนุษยวิทยำ กำรเมืองกำรปกครองได้กว้ำงขวำงลึกซึ้งยิ่งขึ้น
5.
ช่วยให้มองเห็นควำม
แตกต่ำงและควำมคล้ำยคลึงกันกับสภำพท้องถิ่นอื่น ๆ ทำำให้สำมำรถเข้ำใจทั้งสภำพ
ของท้องถิ่นของตนและท้องถิ่นอื่น เป็นกำรสร้ำงเสริมควำมสำมัคคีในสังคมและควำม
เข้ำใจซึ่งกันและกัน ซึ่งจะนำำมำซึ่งควำมผำสุกในสังคม
6. ควำมเปลีย่ นแปลง
โครงสร้ำงของสังคมไทยจำกสังคมเกษตรกรรมเป็นสังคมอุตสำหกรรมและก้ำวเข้ำสู่
ข้อมูลข่ำวสำร ก่อให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงทำงเศรษฐกิจ สังคม และกำรเมืองอย่ำง
รวดเร็วและซับซ้อน มีกำรนำำเข้ำภูมิปัญญำใหม่ ได้แก่ ควำมรู้ แนวคิด วิธีกำรทีม ่ ี
รำกฐำนมำจำกวิทยำกำรและเทคโนโลยีตะวันตก ซึ่งเป็นแรงผลักดันให้คนในสังคม
ละเลยภูมิปัญญำไทย ภำวะวิกฤตดังกล่ำวเป็นแรงจูงใจให้มีกำรส่งเสริมกำรศึกษำ
ภูมิปัญญำไทยอย่ำงเป็นกิจจะลักษณะ คติชนวิทยำจึงมีคณ ุ ค่ำฐำนะเป็นองค์ควำมรู้ด้ำน
ภูมิปัญญำไทยที่กว้ำงขวำงอันจะนำำไปพัฒนำประเทศได้อย่ำงมีประสิทธิภำพต่อไป
พจนำนุกรมฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ. 2525 ได้ให้ควำมหมำยของ
คำำว่ำเชือ ่ ไว้ว่ำ “เห็นตำมด้วย มัน ่ ใจ ไว้ใจ” นักวิชำกำรด้ำนคติชนวิทยำได้กล่ำวถึง
ควำมหมำยของควำมเชือ ่ ไว้ดังนี้
จันทร์ศรี นิตยฤกษ์ ควำมเชือ ่ ไม่ว่ำจะเกิดจำกควำมรู้สึกหรือกำรไตร่ตรองด้วย
เหตุผลหรือไม่กต ็ ำม เมือ
่ มนุษย์เกิดควำมเชือ ่ แล้วมักแสดงออกทำงกำยและทำงวำจำให้
ปรำกฏ ควำมเชือ ่ ย่อมมีควำมสัมพันธ์อย่ำงใกล้ชิดกับประเพณี สุภำษิต คำำพังเพย และ
คติชนแขนงอื่น ๆ
กิ่งแก้ว อัตถำกร ได้สรุปเกี่ยวกับควำมเชื่อไว้ว่ำ ควำมเชื่อ หมำยถึงควำมตกลงใจ
เกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง อำจพิจำรณำได้ 2 ลักษณะ คือควำมตกลงใจในควำมมีหรือควำม
เป็นของสิ่งใดสิ่งหนึ่งและควำมตกลงใจในควำมเป็นเหตุเป็นผลของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
1.ควำมเชื่อทีเ่ ป็นส่วนหนึ่งของศำสนำ 2.
ควำมเชือ ่ พื้นบ้ำน
1.
1.1 กำำเนิดของจักรวำล โลก และสรรพสิ่งที่มีชีวิต 1.2 โครงสร้ำง
ของจักรวำล สรรพสิ่งมีชีวิต เช่น ควำมเชื่อในเรื่องผีสำงเทวดำ 1.3 หน้ำที่และบทบำท
ของกำรแสดงออกที่ถือว่ำถูกผิด เป็นบุญบำป เช่น ลูกคนใดไม่กตัญญูก็ถือว่ำทำำผิดและ
เป็นบำป 1.4 ผลทีเ่ กิดจำกกำรกระทำำที่ถูกต้อง เช่น เชื่อว่ำปฏิบัติต่อผีเรือนดีๆผีเรือนจะ
ช่วยคุ้มครองและรักษำคนในบ้ำน 1.5 ผลทีเ่ กิดจำกกำรกระทำำที่ผิดพลำด เช่น ปลูกต้น
ลั่นทมในบ้ำนจะทำำให้คนในบ้ำนพบแต่ควำมเศร้ำ 1.6 กำรแก้ปัญหำทีเ่ กิดจำกกำรกระ
ทำำที่ผิดพลำด เช่น จับมือถือแขน ผิดผีจะเจ็บป่วย ต้องขอขมำ 2.
2.1 ควำมเชื่อเกีย
่ ว
กับกำรเกิด กำรเกิดเป็นกำรเริ่มต้นของชีวิตที่มนุษย์สนใจว่ำตนเองเกิดมำได้อย่ำงไร
2.2 ควำมเชื่อเกีย ่ วกับกำรตำย ช่วงสุดท้ำยของชีวิตที่มนุษย์ยังกลัวและหำคำำตอบไม่ได้ว่ำ
ทำำไมต้องตำย ตำยแล้วจะไปไหน
3. ในสมัยก่อน เมือ่ เกิดมีกำร
เจ็บป่วยกันขึ้น จึงมีวิธีกำรรักษำโรคตำมควำมเชื่อ
4. คนสมัยก่อนได้รวบรวมเอำ
ไว้สำำหรับทำำนำยหรือคำดกำรณ์เกี่ยวกับบุคคล องค์กร และเหตุกำรณ์ในอนำคต ใน
กำรพยำกรณ์ผู้พยำกรณ์จะต้องศึกษำควำมเชื่อที่คนสมัยก่อนได้รวบรวมไว้และสังเกต
สิง่ ต่ำง ๆ เช่น ลักษณะของร่ำงกำย วันเดือนปีเกิด ชือ ่ กำรเสี่ยงทำย กำรดูฤกษ์ยำม
5.

6.
7.

1.เป็นหลักในกำรธำำรงไว้ซึ่งพิธีกรรม
ขนบธรรมเนียมประเพณี
2. เป็นเครือ
่ งกำำหนดควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมให้มีระเบียบ วินัย และอยู่
รวมกันได้อย่ำงมีควำมสุข
3. เป็นเครือ่ งช่วยผ่อนคลำยควำมตึงเครียดจำกปัญหำที่ยังไม่มีทำงไม่มท
ี ำงออก
4. เป็นกำรส่งเสริมจริยธรรม สำมัคคี ควำมกตัญญูในชุมชน
5.เป็นกำรส่งเสริมให้บุคคลเป็นผู้มีสติรอบคอบ และมีควำมสังเกต

เป็นควำมเชื่อทีเ่ กี่ยวข้องกับกำรทำำนำยทำยทัก ดูฤกษ์ วันดีวันร้ำย ดูโชคชะตำรำ


ศรีจำกวัน เดือน ปี ซึ่งเป็นควำมเชื่อที่ถ่ำยทอดมำตั้งแต่อดีต และเป็นเรื่องที่ทุกคนใน
สังคมได้ให้ควำมสนใจเป็นอย่ำงมำกเพรำะหลำยคนมีควำมเชื่อว่ำชีวิตขึ้นอยู่กับฟ้ำลิขิต
ดวงดำวและฤกษ์ยำมต่ำงๆ ล้วนมีอิทธิพลต่อชีวิตมนุษย์
คือ 1.เพื่อดูลักษณะนิสัย 2. เพื่อดูฤกษ์ยำม 3. เพื่อทำำนำยอดีต
ปัจจุบันอนำคตเพื่อสนองควำมอยำกรู้อยำกเห็น 4. เพื่อหำวิธีกำรแก้ปัญหำ เพือ ่ ลดควำม
วิตกกังวล

, , , ,
,
1.
-
-

2.
1.
2.

- ชีวิตของคนไทยผูกพันกับเทศกำลและควำมเชือ ่ อย่ำงไรเชือ
่ ทำงไสยศำสตร์ อำำนำจ
ลึกลับ กิจกรรมตำม
- เทศกำลเกษตรกรรม ทำำนำเกี่ยวข้ำว
- เพลงพื้นบ้ำนทีส
่ ะท้อนในควำมคิดควำมรู้สึกของคนไทยได้ชด ั เจนเพรำะเหตุใด มี
บทเพลงเนื้อร้องแทรกข้อคิดคำำสอน กำรวิพำกษ์วิจำรณ์ควำมประพฤติคน ในสังคม
เช่นเพลงกล่อมเด็ก เพลงลำำตัด
3.
ร้อยกรองชำวบ้ำน เพลงกล่อมเด็ก เพลงประกอบกำรเล่นเพลงฉ่อย เพลงเซิ้ง 2.

- กำรใช้ถ้อยคำำง่ำยแฝงอำรมณ์ขันทำำอย่ำงไร กำรใช้คำำสองแง่สองง่ำม กำรใช้คำำผวน


เกี่ยวกับอวัยวะเพศและพฤติกรรมทำงเพศ ถือเป็นเรื่องธรรมดำ 3.

เพลงพื้นบ้ำนสะท้อนภำพชีวิตและสังคมในบทเพลงควำมรัก มีลักษณะเด่น 2
ประกำรคือ ควำมรักเชิงสังวำสของหนุม ่ สำว ปรำกฏในบทเพลงพื้นบ้ำนของผู้ใหญ่ หรือ
เพลงปฏิพำกย์ และควำมรักของพ่อแม่ ในบทเพลงกล่อมเด็กธรรมชำติ เช่นกำรร้อง
เล่นเพลง โดยนำำสภำพธรรมชำติมำกล่ำวไว้ในบทเพลง มีกำรกล่ำวถึงพืช สัตว์ และ
พรรณนำสภำพธรรมชำติ
4.
- ควำมเจริญของเพลงและกำรละเล่นพื้นบ้ำน- สมัยพ่อขุนรำม ฯ คำำว่ำ เสียงเลื่อนเสียง
ขับ ในศิลำจำรึก คือ กำรร้องรำำทำำเพลง
- เพลงพื้นบ้ำนสมัยอยุธยำว่ำนำงมโนรำห์ สมุทรโฆษคำำฉันท์ ระบุชื่อกำรเล่นปลำลง
อวน ลิงชิงหลัก หัวล้ำนชนกัน แข่งวัวเกวียน
- เพลงพื้นบ้ำนสมัยธนบุรีได้แก่เพลง เทพทอง เพลงปรบไก่ กำรเล่นญวนหก มวยปลำ้ำ
กระบี่กระบอง
- เพลงและกำรละเล่นที่นิยมเล่นแพร่หลำยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้แก่ จำรึกวัด
โพธิ์ โคลงถวำยพระเพลิงพระบรมอัฐิพระเจ้ำหลวง (พระชนกชนนีของ ร. 1 ) วรรณคดี
เรื่องต่ำงๆ เช่น อิเหนำ ขุนช้ำงชุนแผน นิรำศภูเขำทอง เพลงปรบไก่ เพลงเทพทอง
เพลงครึ่งท่อน กำรเล่นตะกร้อ จ้องแต ขี่มำ้ ส่งเมือง ฯ
- กำรจัดเพลงพื้นบ้ำนครั้งแรกถวำยพระมหำกษัตริย์เมื่อไร สมัย ร. 5 เมื่อปี 2426 เมือ

เสด็จทำงชลมำรค ที่บำงปะอิน อยุธยำ
- ร.4 ร.5 คนไทยเล่นเพลงพื้นบ้ำนได้แก่ เพลงแอ่วลำว นิยมกันมำก พระปิ่นเกล้ำฯ
โปรดมำก ต่อมำ ร. 4 ทรงประกำศฯห้ำม เพรำะเกรงว่ำจะละทิ้งกำรเล่นแบบไทย

- เหตุคือมีกำรพิมพ์กำรบันทึกแผ่นเสียงและแถบเสียง ทำำให้กลำยเป็นเพลงมีเนื้อร้อง
ขำดกำรฝึกฝนสืบต่อกำรร้อง กำรเล่นอย่ำงสมัยก่อน จึงเป็นเพลงหำยและเพลงหด-
เพลงหด และ เพลงหำย ทำำให้กำรละเล่นเพลงพื้นบ้ำนได้ลดบทบำทควำมสำำคัญลง
5.
- เพลงเด็กคือเพลงที่รอ ้ งโดยผู้ใหญ่และเด็ก เรียกว่ำเพลงกล่อมเด็กและเพลงร้องเล่น
ของเด็ก-เพลงกล่อมเด็กมีท่วงทำำนองกำรร้องช้ำผู้ร้องมักเอื้อน ทอดเสียง ฟังเยือกเย็น
มีทำำนองไม่เป็นแบบแผนตำยตัว - กลวิธท ี ำำให้เด็กนอน 4 วิธีได้แก่กำรปลอบ กำรขู่
กำรให้สินบน และกำรขอ- บทร้องในเพลงกล่อมเด็กจะสอดแทรกลักษณะแสดงควำม
ควำมอำทร ควำมห่วงใยทะนุถนอมของแม่ต่อลูก เนือ ้ หำของเพลงกล่อมเด็กเกี่ยวกับ
ควำมรัก และควำมเข้ำใจเด็ก, ควำมรักระหว่ำงชำยหนุ่มหญิงสำว, ควำมกดดันของผู้
ร้อง, กำรล้อและกำรเสียดสี ซึ่ง แบ่งออกได้ 3 อย่ำงคือ 1. เพลงร้องประกอบกำรเล่น คือ
มอญซ่อนผ้ำ โพงพำง จำ้ำจี้ รีรข ี ้ำวสำร 2. เพลงร้องเล่นสนุกๆ - อะไรเอ่ย 3. เพลงล้อ
กำรร้องล้อเพื่อนๆ หรือคนอื่น คนไว้ผมเปีย หรือผมแกละ หรือผมจุก คนขำเป๋
6. 1.
-เพลงปฏิพำกย์ คือเพลงที่ชำยหญิงร้องโต้ตอบกันชิงไหวชิงพริบ เนื้อควำมที่ว่ำกันและ
กล่ำวแก้มักเป็นเรื่องเกี้ยวพำรำสี
- เพลงปฏิพำกย์ในระยะเริม ่ ต้นเพื่อกำรทำำงำนช่วยผ่อนคลำยควำมตึงเครียดในกำร
ทำำงำน ให้เกิดควำมเพลิดเพลิน
- เพลงอย่ำงสั้นคือ - ร้องง่ำยๆ เช่น เพลงเกี่ยวข้ำว เพลงสงฟำง - เพลงอย่ำงยำวคือ
เพลงโต้ตอบก้นมีพ่อเพลงแม่เพลงประชันกัน
2. -กำรละเล่นในเทศกำลสงกรำนต์ หลังทำำบุญ
ตักบำตรในตอนบ่ำยในลำนวัด หรือลำนบ้ำน เช่น ช่วงชัย สะบ้ำ ร้องเพลงกันตรึม ของ
อิสำน ในแถบบุรีรม ั ย์ สุรินทร์ ศรีษะเกษ- กำรเล่นเพลงบอก ( กำรเล่นเพลงช่วงตรุษ
สงกรำนต์ชำวใต้ - กำรละเล่นพื้นบ้ำนในเทศกำลทอดกฐินและผ้ำป่ำ กำรร้องเพลงเรือ
ลำำดับกำรแสดงเพลงปฏิพำกย์ยำว เริ่มจำกบทไหว้ครู บทเกริ่น บทประ ( หรือทักทำย )
บทผูกรัก บทสูข ่ อ บทชิงชู้
7. 3

- พิธที ำำขวัญคือกำรให้สิรม
ิ งคลจิตใจมั่นคง มีควำมสุขสบำย ควำมภูมิใจขวัญคือผมหรือ
ขนที่ขึ้นเวียนเป็นก้นหอย บนศีรษะเพลงประกอบพิธีทำำขวัญ ได้แก่เพลงแหล่- พิธีเพื่อ
กำรงำนอำชีพ ได้แก่พิธีขอฝน แห่งนำงแมว พิธท ี ำำนำแรก เรียกว่ำตำแฮก
- พิธีรักษำโรค ควำมเชื่อเรื่องกำรเจ็บป่วยของมนุษย์เรำได้แก่ ถูกทำำ และ กำรรบกวน
ของภูตผีหรือวิญญำณ ได้แก่ผีปอบ
ลำำปัว คือ หรือลำำรักษำเป็นกำรร้องบทกลอนเป็นจังหวะทำำนองกำรร่ำยรำำคลอไปกับ
เสียงแคนหลังจำกรู้ว่ำคนเจ็บถูกผีทำำ
- กำรละเล่นพื้นบ้ำนหมำยถึง กำรที่คน 2
คน ร่วมกันทำำกิจกรรมร่วมกันเพื่อควำมสนุกสนำนผ่อนคลำยควำมตึงเครียดโดยไม่มี
แบบแผนตำยตัว 1.
กำรรู้จักกำรโอนอ่อนผ่อนตำม กำรถ้อยที่ถ้อยอำศัย
กำรรู้จักแพ้ ชนะ กำรเคำรพในกติกำ 2.
กำรขว้ำงปำสัตว์ กำรขว้ำงวัตถุกัน ชำวอียิปต์ใน
อดีตมีกำรละเล่น เล่นตุ๊กตำ ลูกข่ำง ลูกบอล ชำวอินเดียนแดงมีกำรละเล่น ลูกบอล
เรือแคนนู หน้ำกำก ชำวญี่ปุ่น มีกำรละเล่น ว่ำว ลูกบอล
3.

1.กำรละเล่นที่ไม่มีกำรร้องได้แก่ ซ่อนหำ วิ่งเปี้ยว ลิงชิงหลัก


ตีจ ่ ำ้ ส่งเมือง 2.กำรเล่นทีม
่ ับ กำฟักไข่ เสือกินวัว แย้ลงรู ขีม ่ ีกำรร้อง ได้แก่ มอญซ่อน
ผ้ำงูกินหำง รีๆ ข้ำวสำร โพงพำง จำ้ำจี้ แมงมุม นำ้ำขึ้น นำ้ำลง 3. กำรเล่นเฉพำะหญิง
ได้แก่ รีรีขำ้ วสำร หมำกเก็บ โพงพำง กำรเล่นเฉพำะชำย ได้แก่ แย้ลงรู ลูกหิน ลูกข่ำง
ทอยกอง เป่ำกบ วิ่งกะลำ 4. กำรเล่นเพื่อฝึกสติปัญญำด้วยภำษำ ได้แก่ กำรทำย อะไร
เอ่ย คำำปริศนำ
5. กฎ กติกำมำรยำทของกำรละเล่นพื้นบ้ำนไทย
3

1. เพื่อควำมสนุกสนำนและ กำรเกี้ยวพำรำสี 2. กำรกีฬำและพักผ่อนหย่อนใจ เช่น


กำรเล่นลูกข่ำง กำรเล่นมอญซ่อนผ้ำ กำรเล่นสะบ้ำ 3. คุณค่ำของกำรเล่นพื้นบ้ำนต่อผู้
เล่นและสังคม
- มีคณ
ุ มีกฎระเบียบ,ปรับตัว,พัฒนำกำรในทกๆด้ำน ทำงร่ำยกำย อำรมณ์ สังคม สติ
ปัญญำผู้ใหญ่ได้รับประโยชน์ สดชื่น
- คุณค่ำของกำรละเล่นพื้นบ้ำนต่อสังคมได้แก่ ควำมสัมพันธ์ในครอบครัว
ขนบธรรมเนียมและประเพณีไทย 1. : คำำเล่ำเรื่อง กำร
่ ืบต่อกันมำ นิทำนพื้นบ้ำนมีลักษณะสำำคัญ 3 ประกำรได้แก่ กำรเล่ำด้วย
เล่ำเรื่องทีส
ถ้อยคำำธรรมดำ ,กำรเล่ำกันด้วยปำกต่อปำก ,มุขปำฐะคือ เรื่องเล่ำกันมำเป็นมรดกทำง
วัฒนธรรมต่อๆกันมำกำรแบ่งประเภทของนิทำน
กุหลำบ มัลลิกำมำส 4 ประเภท
คือ 2.1 .แบ่งตำมเขตพื้นที่ ทำงภูมิศำสตร์ เขตอินเดีย ยิว อิสลำม 2.2.
นิทำนแบ่งตำมรูปแบบได้ 5 ประเภท ได้แก่ นิทำนปรัมปรำ
นิทำนเรื่องสัตว์ นิทำนเทพนิยำย นิทำนตลกขบขัน 2.3.
3
2.4
11

:
:


ควำมสนุกสนำน กระชับควำมสัมพันธ์
ในครอบครัว กำรศึกษำและเสริมสร่ำงจินตนำกำร กำรให้ขอ
้ คิดและคติเตือนใจ
ให้เห็นภำพสังคมในอดีต
ควำมขยัน ควำมกตัญญู
ควำมไม่โลภ กำรพูดปิยวำจำ ควำมอดทนอดกลั้น กำรเชื่อฟังผู้ใหญ่ บิดำมำรดำ หรือผู้
อำวุโส ควำมเอื้อเฟ้อเผื่อแผ่ ยกย่องผู้มีควำมรู้ควำมเป็นคนฉลำดหลักแหลม กำรให้
อภัยกัน

- กลุ่มภำษำคำำโดด เช่น ภำษำไทย จีน เวียดนำม - กลุ่มภำษำวิภัตติปัจจัย เช่น


ภำษำกรีก สันสกฤต ละ ติน อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน - กลุ่มภำษำคำำติดต่อ เช่น
ภำษำเตอรกี สวำฮีรี
-
ภำษำมำตรฐำน เป็นภำษำที่ยอมรับกันมำกที่สุดในสังคมหรือในชำตินั้นๆ โดย
ทั่วไปจะเป็นภำษำพูดและภำษำเขียนของชนชำติทม ี่ ีกำรศึกษำ สำำหรับภำษำไทย
มำตรฐำน ถือเอำภำษำไทยถิ่นภำคกลำงโดยเฉพำะภำษำกรุงเทพฯ เพรำะเป็นภำษำ
ที่ใช้ในวงกำรรำชกำร สือ่ สำรมวลชน และใช้ในกำรเรียนกำรสอน

ภำษำไทยถิ่น เป็นภำษำถิ่นของไทยที่แบ่งตำมสภำพ ภูมิศำสตร์ ควำมแตก


ต่ำงระหว่ำงกลุม ่ ภำษำเหล่ำนี้ เนือ
่ งมำจำกทำำเลที่ตั้งและสภำพภูมิศำสตร์ แบ่งออกเป็น
★ ภำษำไทยถิ่นเหนือ ★ ภำษำไทยถิ่นกลำง
★ ภำษำไทยถิ่นอีสำน ★ ภำษำไทยถิ่นใต้
 ❤ อักษรไทยสมัยสุโขทัยได้รับอิทธิพลจำกอักษรขอม
อักษรมอญ และอักษรปัลลวะของอินเดียตอนใต้
ส่วนภำษำที่พบมีหลำยภำษำ เช่น ภำษำไทย ภำษำเขมร ภำษำบำลี และภำษำ
สันสกฤต❤ พยัญชนะมี 39 ตัว❤ สระมีทั้งสระเดี่ยวและสระประสม ❤ วรรณยุกต์มี 2
รูป คือ รูปไม้เอก รูปกำกบำท (เสียงโท)
❧ หนังสือจินดำมณีเป็นตำำรำเรียนภำษำไทย
เล่มแรก มีทั้งอักษรนำำและคำำควบกลำ้ำ ภำษำที่ใช้มท ี ั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง
พยัญชนะมี 44 ตัว แบ่งเป็น 3 หมู่ คือ อักษรสูง 11 ตัว อักษรกลำง 9 ตัว อักษรตำ่ำ 24 ตัว
วรรณยุกต์มี 4 รูป 5 เสียง ❅ หนังสือมูลบทบรรพกิจ
เป็นแบบเรียนภำษำไทย ซึ่งพระยำศรีสุนทรโวหำร ได้เรียบเรียงขึ้นในรัชกำลพระบำท
สมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว มีกำรสอนวิธีกำรใช้ตัวอักษร พยัญชนะเสียงสูง ตำ่ำ
กำรผัน กำรประสมอักษร กำรสะกดกำรันต์ สันนิษฐำนว่ำได้เค้ำมำจำกหนังสือ
จินดำมณี และนำำมำดัดแปลงเพื่อให้เหมำะสมกับยุคสมัย งดใช้สระ 5 ตัว และ
พยัญชนะ 13 ตัว แต่ไม่เป็นที่ยอมรับ และในที่สุดก็ต้องยกเลิกไป
✐ ระดับเสียง ฐำนทีเ่ กิดเสียง, ประเภทของเสียง, กำรสั่นสะเทือนของเส้นเสียง
✐ ระดับคำำ กำรประสมคำำ,กำรประสมหน่วยคำำ,กำรซ้อนคำำ,กำรซำ้ำคำำระดับ
ประโยค ประโยคควำมเดียวเช่น – น้องนอนหลับ - คุณแม่ไปตลำด ประโยคควำม
รวม เช่น - เขำอยำกไปดูหนังแต่ต้องอยูเ่ ฝ้ำบ้ำน- คุณแม่ไม่สบำยฉันต้องอยูด ่ ูแลท่ำน
ประโยคควำมซ้อน เช่น - วินัยบอกสุดำว่ำเขำจะไปต่ำงประเทศ- ดอกกุหลำบที่เธอให้
ฉันสวยมำก
- - ไตรภูมิพระร่วง
เป็นวรรณคดีเรื่องเด่นและสมบูรณ์ที่สุด พระยำลิไทยทรงพระรำชนิพนธ์ขึ้น เพื่อใช้
เทศน์โปรดพระรำชมำรดำและประชำชนที่สนใจ เปรียบได้เป็นวิทยำนิพนธ์เล่มแรกของ
ไทย- สุภำษิตพระร่วง มุง่ สอนให้ปฏิบัติตนเป็นคนดีมีคุณภำพ รูจ้ ักดำำเนินชีวิตอยู่ร่วม
กับผู้อื่นได้- ตำำรับนำงนพมำศ มีพิธีพรำหมณ์โบรำณปรำกฏอยู่

- ลิลติ ยวนพ่ำย แต่งขึ้นเพื่อสรรเสริญสมเด็จพระบรมไตรโลกนำถ


- ลิลิตพระลอ เป็นนิยำยพื้นบ้ำนทีม่ ีเค้ำเรื่องจริงที่เกิดขึ้นทำงเหนือ เนื้อเรือ
่ งแบบ
โศกนำฏกรรม
- โคลงทศรถสอนพระรำม โคลงพำลีสอนน้อง โคลงรำชสวัสดิ์ เป็นโคลงสี่สุภำพทีม ่ ุ่ง
สอนบุคคลผู้มีบทบำทต่อบ้ำนเมือง
- กำพย์ห่อโคลง กล่ำวถึงสภำพชีวิตควำมเป็นอยู่ของประชำชนชำยหญิงในพระนคร

- รำชำธิรำช สำมก๊ก ไซฮั่น เป็นนิยำยพงศำวดำรมอญและจีน- นิทำนอิหร่ำนรำชธรรม


จำกนิทำนสุภำษิตของแขกเปอร์เชีย
- กำกีคำำสอน ลิลิตศรีวิชัยชำดก เป็นนิทำนชำดกทำงพระพุทธศำสนำ- นอกจำกนี้ยังมี
สังข์ทอง คำวี ไกรทอง มณีพิชัย ไชยเชษฐ์ สังข์ศิลป์ชย
ั ขุนช้ำงขุนแผน พระอภัยมณี
สิงหไกรภพ

- ลูกอีสำน ถนนนอกเมือง ประตูที่ปิดตำย ผู้หญิงคนนั้นชื่อบุญรอด คำำพิพำกษำ เนื้อหำ


สะท้อนสังคมและผู้คนต่ำงเพศ วัย อำชีพ และชนชั้น- นักเขียนที่มีผลงำนต่อเนื่อง ได้แก่
อังคำร กัลยำณพงศ์ / เนำวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ / คมทวน คันธนู / จิรนันท์ พิตรปรีชำ /
ประเสริฐ จันทร์ดำำ –ให้นิสิตบอกแนวโน้มของภำษำไทยในอนำคต-ให้
นิสต
ิ บอกแนวโน้มของวรรณคดีไทยในอนำคต

You might also like