You are on page 1of 22

2101338 HIGHWAY ENGINEERING

FACULTY OF ENGINEERING
HIGHWAY DESIGN LAB

เรื่อง การสำรวจผิวทาง

จัดทำโดย
นายวรเมธ ลีลาอดิศร 6130920021

เสนอ

รศ.ดร.บุญชัย แสงเพชรงาม
เอกสารอ้างอิงและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
1.) ทฤษฎีที่ใช้ในการสำรวจความเสียหาย เช่น ชนิดของรอยแตก ระดับความรุนแรง ปริมาณ และทางเลือกในการซ่อมบำรุง
อ้างอิงมาจาก คู่มือการตรวจสอบ และประเมินสภาพความ เสียหายของผิวทาง (Pavement Distress Identification Manual)
ของสำนักงานวิเคราะห์และตรวจสอบ สำนักบริหารบำรุงทาง และกรมทางหลวง 2550

2.) แบบฟอร์มที่ใช้สำรวจผิวทางอ้างอิงจากจาก คู่มือการตรวจสอบ และประเมิน สภาพความเสียหายของผิวทาง (Pavement


Distress Identification Manual) ของสำนักงานวิเคราะห์และตรวจสอบ สำนักบริหารบำรุงทาง และกรมทางหลวง 2550
3.) สัญลักษณ์ที่ใช้แทนร่องรอยของความเสียหายต่างๆของผิวทางอ้างอิงจากจาก คู่มือการตรวจสอบ และประเมินสภาพความ
เสียหายของผิวทาง (Pavement Distress Identification Manual) ของสำนักงานวิเคราะห์และตรวจสอบ สำนักบริหารบำรุง
ทาง และกรมทางหลวง 2550
รายละเอียดของถนน
ชื่อถนน : CU Rd
ชนิดถนน : คอนกรีต
ตำแหน่งที่ตั้ง : แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
จำนวนช่องจราจร : 2 ช่องจราจร
ความกว้างแต่ละช่องทาง : 3.3 เมตร
ความยาวในการสำรวจถนน : 50 เมตร
ปริมาณการจราจรต่อวันโดยประมาณ : 150 คัน/วัน
เวลาที่ทำการสำรวจ : 17.30 – 18.30 น.
ภาพตัวอย่างความเสียหายที่พบจากการสำรวจ
- รอยแตกตามยาว (Longitudinal Crack) : LCR

- รอยแตกตามขวางและรอยแตกตามแนวทแยงมุม (Transverse and Diagonal Crack) : TDCR

- ความเสียหายของวัสดุยาแนวรอยต่อ (Joint Seal Damage) : JSD


- รอยบิ่นกะเทาะที่มุม (Corner Spall) : CSP

- รอยบิ่นกะเทาะที่รอยต่อ (Joint Spall) : JSP


- ผิวมวลรวมถูกขัดสีเป็นมัน (Polished Aggregate) : PAG

- รอยแตกกระแทก (Faulting) : FAU


- รอยปะซ่อมผิวคอนกรีต (Patching) : P
ตารางสรุปชนิดความเสียหาย
- ความเสียหายระดับเล็กน้อย (L)
Station ชนิดของความเสียหาย
Start End LCR TDCR JSD CSP ( JSP PAG ( FAU P (m 2)
Station Station (m) (m) (m) m)
2
(m) m)
2
(m)
00+000 00+005 - 2 - - - 15 0.25 -
00+005 00+010 3.5 1.5 - - 4 15 - -
00+010 00+015 - - - - 5 30 0.2 -
00+015 00+020 3 - - - - 30 - -
00+020 00+025 - - 1.5 - - 15 - -
00+025 00+030 3.5 0.7 - - 5 10 - -
00+030 00+035 - - - - - 25 - 0.25
00+035 00+040 3 - - - - 30 0.2 -
00+040 00+045 4 1.5 1.5 - - 30 - 0.2
00+045 00+050 3 - - 0.3 5 10 - -
Total 20 5.7 3 0.3 19 210 0.65 0.45

- ความเสียหายระดับปานกลาง (M)
Station ชนิดของความเสียหาย
Start End LCR TDCR JSD CSP ( JSP PAG ( FAU P (m 2)
Station Station (m) (m) (m) m)
2
(m) m)
2
(m)
00+000 00+005 - - - 0.35 - - - -
00+005 00+010 - - - - - - - -
00+010 00+015 - - - - - - - -
00+015 00+020 - - - 0.4 - - - -
00+020 00+025 - - - - - - - -
00+025 00+030 - - - - - - - -
00+030 00+035 - - - - - - - -
00+035 00+040 - - - - - - - -
00+040 00+045 - - - - - - - -
00+045 00+050 - - - - - - - -
Total - - - 0.75 - - - -

- ความเสียหายระดับสูง (L)
Station ชนิดของความเสียหาย
Start End LCR TDCR JSD CSP ( JSP PAG ( FAU P (m 2)
Station Station (m) (m) (m) m)
2
(m) m)
2
(m)
00+000 00+005 - - - - - - - -
00+005 00+010 - - - - - - - -
00+010 00+015 - - - - - - - -
00+015 00+020 - - - - - - - -
00+020 00+025 - - - - - - - -
00+025 00+030 - - - - - - - -
00+030 00+035 - - - - - - - -
00+035 00+040 - - - - - - - -
00+040 00+045 - - - - 5 - - -
00+045 00+050 - - - - - - - -
Total - - - - 5 - - -

แผนภูมิเปรียบเทียบปริมาณความเสียหาย

แผนภูมิเปรียบเทียบความเสียหาย (m)
25

20

15

10

0
LCR TDCR JSD JSP FAU

L M H
แผนภูมิเปรียบเทียบความเสียหาย (m^2)
250

200

150

100

50

0
CSP PAG P

L M H

วิธีซ่อมบำรุง
- รอยแตกตามยาว (Longitudinal Crack)
ทำการอุดเชื่อมตามระยะรอยแตกร้าว ไม่จำเป็ นต้องทำการซ่อมบำรุง เนื่องจากเป็นความเสียหายระดับเล็ก
น้อย รอยกะเทาะไม่กว้างมาก
- รอยแตกตามขวางและรอยแตกตามแนวทแยงมุม (Transverse and Diagonal Crack)
ทำการอุดเชื่อมตามระยะรอยแตกร้าว ไม่จำเป็ นต้องทำการซ่อมบำรุง เนื่องจากเป็นความเสียหายระดับเล็ก
น้อย รอยกะเทาะไม่กว้างมาก
- ความเสียหายของวัสดุยาแนวรอยต่อ (Joint Seal Damage)
ทำการเปลี่ยนวัสดุยารอยต่อชนิดเทร้อน แต่สำหรับความเสียหายระดับเล็กน้อย อาจจะสามารถใช้งานต่อ
ไปได้ก่อนระยะหนึ่งก่อนซ่อมแซม
- รอยบิ่นกะเทาะที่มุม (Corner Spall)
ทำการอุดเชื่อมรอยแตกร้าว และเปลี่ยนวัสดุปะซ่อม
- รอยบิ่นกะเทาะที่รอยต่อ (Joint Spall)
ทำการเปลี่ยนวัสดุยารอยต่อชนิดเทร้อน และทำการอุดเชื่อมรอยแตกร้าว
- ผิวมวลรวมถูกขัดสีเป็นมัน (Polished Aggregate)
ปริมาณผิวมวลรวมถูกขัดสีกินพื้นที่เกือบทั้งแผ่นถนน ซึ่งผิวมวลรวมถูกขัดสีเป็ นมันนั้น ไม่มีการแบ่งระดับ
ความเสียหาย โดยใช้ตัวแปรความฝื ดของระดับผิวทางเป็ นหลัก ซึ่งสามารถทดสอบได้ด้วย วิธีการทดสอบความฝื ด
(Skid Resistance Test) นั่นเอง โดยวิธีการซ่อมบำรุงนั้น ทำได้โดยการไสผิวทางให้หยาบ (Grooving) หรือเสริมผิว
ทาง
- รอยแตกกระแทก (Faulting)
ทำการซ่อมแซมบางส่วนของความหนา หรือทำการอุดซ่อมรอยแตกร้าว
- รอยปะซ่อมผิวคอนกรีต (Patching)
ผิวถนนที่ทำการสำรวจมีรอยปะซ่อมผิวคอนกรีตเพียงเล็กน้อย อาจจะสามารถใช้งานต่อไปได้ก่อนระยะ
หนึ่งก่อนซ่อมแซม สามารถซ่อมบำรุงด้วยการเปลี่ยนวัสดุยารอยต่อชนิดเทร้อน
รายละเอียดของถนน
ชื่อถนน : อังรีดูนังต์ (มุ่งหน้าแยกเฉลิมเผ่า)
ชนิดถนน : Asphalt
ตำแหน่งที่ตั้ง : แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
จำนวนช่องจราจร : 4 ช่องจราจร (สำรวจเพียง 2 ช่องจราจร ฝั่งซ้าย)
ความกว้างแต่ละช่องทาง : 3.8 เมตร
ความยาวในการสำรวจถนน : 50 เมตร
ปริมาณการจราจรต่อวันโดยประมาณ : 150 คัน/วัน
เวลาที่ทำการสำรวจ : 17.30 – 18.30 น.
ภาพตัวอย่างความเสียหายที่พบจากการสำรวจ
- รอยแตกตามขอบ (Edge Crack) : ECR

- รอยแตกสะท้อน (Reflection Crack) : RCR


- รอยแตกระหว่างช่องจราจร (Lane Joint Damage) : LJC

- การหลุดล่อน (Raveling) : RAV

- หลุมบ่อ (Pot Hole) : POT


- รอยปะซ่อม (Patching) : P

- ความเสียหายตามขอบ (Edge Deterioration) : ED


ตารางสรุปชนิดความเสียหาย
- ความเสียหายระดับเล็กน้อย (L)
Station ชนิดของความเสียหาย
Start End ECR RCR LJC RAV ( POT ( P (m 2) ED (m)
Station Station (m) (m) (m) m)
2
m)
2

00+000 00+005 - - - - - - -
00+005 00+010 - - - - - - -
00+010 00+015 0.5 - - - - - -
00+015 00+020 - - - - - - -
00+020 00+025 - - - - - - -
00+025 00+030 - - - - - - -
00+030 00+035 - - - - - - -
00+035 00+040 0.5 - 5 - - - -
00+040 00+045 - - - - - - -
00+045 00+050 - - - - - - -
Total 1 - 5 - - - -

- ความเสียหายระดับปานกลาง (M)
Station ชนิดของความเสียหาย
Start End ECR RCR LJC RAV ( POT ( P (m 2) ED (m)
Station Station (m) (m) (m) m)
2
m)
2

00+000 00+005 1.5 - - - - - -


00+005 00+010 - - 4.5 15 - - -
00+010 00+015 - - - 15 - 1 -
00+015 00+020 - 2 - 15 - - -
00+020 00+025 - - 4.5 15 - - -
00+025 00+030 - - - - 4 1 2.5
00+030 00+035 1.5 - - 15 - - 2.5
00+035 00+040 - 1.5 - 15 1.5 - 5
00+040 00+045 1.5 - - 15 - - 5
00+045 00+050 1 - - - - 0.25 -
Total 5.5 3.5 9 105 5.5 2.25 15

- ความเสียหายระดับสูง (H)
Station ชนิดของความเสียหาย
Start End ECR RCR LJC RAV ( POT ( P (m 2) ED (m)
Station Station (m) (m) (m) 2
m)
2
m)
00+000 00+005 - - - - - - 5
00+005 00+010 - - - - 1.5 1 -
00+010 00+015 - - - - 1 - 5
00+015 00+020 - - - - 2 - 5
00+020 00+025 - - - - 2.5 - 5
00+025 00+030 - - - - - - -
00+030 00+035 - - - - - - -
00+035 00+040 - - - - - - -
00+040 00+045 - - - - - - -
00+045 00+050 - - - - 2.5 - -
Total - - - - 9.5 1 20

แผนภูมิเปรียบเทียบปริมาณความเสียหาย

แผนภูมิเปรียบเทียบความเสียหาย (m)
25

20

15

10

0
ECR RCR LJC ED

L M H
แผนภูมิเปรียบเทียบความเสียหาย (m^2)
120

100

80

60

40

20

0
RAV POT P

L M H
วิธีซ่อมบำรุง
- รอยแตกตามขอบ (Edge Crack)
ทำการอุดรอยแตก กรณีกว้างกว่า 3 มม. ให้ใช้แอสฟัลต์ผสมกับวัสดุละเอียด กรณีรอยแตกลึกมาก ให้ใช้
ทรายผสมปูน กรอกในรอยแตกก่อน
- รอยแตกสะท้อน (Reflection Crack)
ทำการอุดรอยแตกขุดซ่อม กรณีรอยแตกขนาดใหญ่
- รอยแตกระหว่างช่องจราจร (Lane Joint Damage)
ทำการอุดรอยแตกขุดซ่อม กรณีรอยแตกขนาดใหญ่
- การหลุดล่อน (Raveling)
กรณีเสียหายระดับปานกลาง ทำการฉาบผิว เสริมผิว สำหรับกรณีเสียหายระดับสูง ทำการเสริมผิว เซอร์
เฟสรีไซคลิง
- หลุมบ่อ (Pot Hole)
ทำการปะซ่อมผิวทาง หรือขุดซ่อมผิวทาง
- รอยปะซ่อม (Patching)
ในกรณีเสียหายระดับสูง ทำการอุดรอยแตกขุดซ่อม
- ความเสียหายตามขอบ (Edge Deterioration)
ทำการปะซ่อมผิวทาง ในกรณีที่เสียหายระดับสูง

You might also like