You are on page 1of 30

1

การจัดกลุ่มเนื้อหาของแบบฝึกเข้มข้นใหม่ เพื่อง่ายต่อการทาความเข้าใจ 3 กลุ่ม

กลุ่มที่ 1 เนื้อหาส่วนของ
1. พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
2. พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
พ.ศ. ๒๕๕๑
3. พระราชบัญญัตริ ะเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗
และที่แก้ไขเพิ่มเติม
4. พระราชบัญญัตกิ ารจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
6. ความรู้เกี่ยวกับงานด้านการศึกษาทัง้ ในระบบ นอกระบบ การศึกษาพิเศษ
การศึกษาตามอัธยาศัย

(หัวข้อเลขที่เห็นเรียงตามหลักสูตรสอบที่ท้องถิ่นแจ้ง เราได้นาข้อ 6 สลับข้อ 5)


-----------------------------------------------------------------------------------------------------
กลุ่มที่ 2 เนื้อหาส่วนของ
5. แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙
7. ความรู้ในการจัดทาแผนงาน/โครงการต่างๆ เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการ
จัดการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
8. ความรู้ในการวางแผนการศึกษา การจัดพิพิธภัณฑ์ทางการศึกษา และจัดทา
มาตรฐานสถานศึกษา
-----------------------------------------------------------------------------------------------------
กลุ่มที่ 3 เนื้อหาส่วนของ
9. ความรู้ที่เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานทีป่ ฏิบัต”ิ ของตาแหน่งที่สมัครสอบ

ในชุดแบบฝึกนี้จะเป็นเนื้อหาในส่วนของ “กลุ่มที่ 2” ในหน้าถัดไปได้เลยแบบฝึกหัด


2

ในส่วนนี้จะเป็นการสรุปเพิ่มเติมและแบบฝึกหัดเกี่ยวกับเรื่องที่เป็นข้อสอบ
3

แบบฝึกเข้มข้นเสริมความรู้

พื้นฐานเรื่องแผนการศึกษาแห่งชาติ
ระบุข้อมูลต่อไปนี้ถูกหรือผิด ถ้าผิดต้องแก้ไขอย่างไร
1. ………. แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปัจจุบัน เป็นแผนระยะ 15 ปี
2. ………. แผนการศึกษาแห่งชาติ ประกาศใช้ พ.ศ. 2561
3. ………. วิสัยทัศน์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ คือ การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง
มั่งคั่ง และ ยั่งยืน
4. ………. แผนการศึกษาแห่งชาติได้กล่าวถึงการพัฒนาคนไทยทุกคนได้รับการศึกษา
ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ และดารงชีวิตอย่างมีความสุขสอดคล้องกับหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
5. ………. ยุทธศาสตร์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ มี 6 ยุทธศาสตร์
6. ……… ยุทธศาสตร์แรกสุดของแผนการศึกษาแห่งชาติคือการสร้างความเสมอภาค
และความเท่าเทียมทางการศึกษา
7. ……… การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษาคือยุทธศาสตร์ที่ 6
8. ……… เป้าหมายของแผนการศึกษามีอยู่ 6 เป้าหมาย
9. ………. เด็กไทยต้องมีทักษะในศตวรรษที่ 21 คือ 3Rs4Cs
10. ……… ตามแผนการศึกษาแห่งชาติจะช่วยให้คนไทยก้าวข้ามกับดักรายได้ ขั้นต่า

ข้อ มูล ทีห่ ายไป คือ คาตอบทีถ่ ูกต้อง ให้เติมข้อความนัน้

แผนการศึกษาแห่งชาติมุ่งหวังให้สังคมไทยเป็นไปในลั กษณะใด
ก. เป็นสังคมแห่งการพัฒนา ข. ………………….………………………….
ค. เป็นสังคมแห่งการสร้างสรรค์ ง. เป็นสังคมแห่งการศึกษาตลอดชีวิต

แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปัจจุบัน คือข้อใด


ก. พ.ศ. 2560 – 2565 ข. พ.ศ. 2560 – 2574
ค. …………………………………… ง. พ.ศ. 2561 – 2580
4

เฉลยแบบฝึกหัดเข้มข้นหน้าก่อนนี้ : พื้นฐานเรื่องแผนการศึกษาแห่งชาติ
ระบุข้อมูลต่อไปนี้ถูกหรือผิด ถ้าผิดต้องแก้ไขอย่างไร
มีข้อ 4 5 7 คือข้อที่ถูกต้องแล้ว ส่วนข้อต่อไปนี้ต้องแก้ไข ดังนี้
1. ………. แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปัจจุบัน เป็นแผนระยะ 15 ปี
ผิด ต้องแก้เป็นแผน ระยะ 20 ปี
2. ………. แผนการศึกษาแห่งชาติ ประกาศใช้ พ.ศ. 2561
ผิด เพราะ ประกาศใช้ พ.ศ. 2560 (พ.ศ. 2560 – 2579)
3. ………. วิสัยทัศน์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ คือ การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง
มั่งคั่ง และ ยั่งยืน / ผิด เพราะ วิสัยทัศน์ คือ “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษา
และเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21
6. ……… ยุทธศาสตร์แรกสุดของแผนการศึกษาแห่งชาติคือการสร้างความเสมอภาค
และความเท่าเทียมทางการศึกษา / ผิด นี่เป็น ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์
แรก คือ การจัดการศึกษาเพื่อความมั่น คงของสัง คมและประเทศชาติ
8. ……… เป้าหมายของแผนการศึกษามีอยู่ 6 เป้าหมาย
ผิด เป้าหมายมี 2 ด้าน คือ 1. เป้าหมายด้านผู้เรียน 3Rs8Cs กับ 2. เป้าหมาย
ของการจัดการศึกษา มีอยู่ 5 ประการ (ไม่มีเลข 6 เกี่ยวข้องอยู่เลยนั่นเอง)
9. ………. เด็กไทยต้องมีทักษะในศตวรรษที่ 21 คือ 3Rs4Cs
ผิด เป็น 3Rs8Cs เรียกว่า เป้าหมายด้านผู้เรียน (Learner Aspirations)
10. ……… ตามแผนการศึกษาแห่งชาติจะช่วยให้คนไทยก้าวข้ามกับดักรายได้ ขั้นต่า
ผิด เขาไม่ได้กล่าวถึง รายได้ขั้นต่า แต่พูดถึง ก้าวข้ามกับดักรายได้ ปานกลาง
“ประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล้า
ภายในประเทศลดลง”

ข้อ มูล ทีห่ ายไป คือ คาตอบทีถ่ ูกต้อง ให้เติมข้อความนัน้


แผนการศึกษาแห่งชาติมุ่งหวังให้สังคมไทยเป็นไปในลั กษณะใด
ข. เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้

แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปัจ จุบัน คือข้อใด ค. พ.ศ. 2560 – 2579


5

เจาะลึกข้อสอบ

ปัญหาด้านคุณภาพการศึกษา ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ไม่ได้กล่าวถึงเรื่องใด


ก. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ ยมาก
ข. คุณภาพของกาลังแรงงานอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ยังไม่ตรงกับความต้องการตลาดงาน
ค. และผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชีวศึกษามีสัดส่วนน้อยกว่าประเภท
สามัญศึกษา ทาให้มีการขาดแคลนแรงงานระดับกลาง
ง. แรงงานที่สาเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษามีสมรรถนะหรือคุณลักษณะอื่นๆ
ที่ต่าและไม่มีความพร้อมในการทางานร่วมกับสถานประกอบการ

เฉลย ง. ไม่ถูกต้อง ในตัวแผนการศึกษาไม่ได้กล่าวว่าจบมามีสมรรถนะหรือ


คุณลักษณะที่ไม่ดี แต่กล่าวถึงจบไม่ตรงสาย ดังข้อความในแผนต่อไปนี้

….. ส่วนแรงงานที่สาเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษามีจานวนเพิ่ม ขึ้ นทุกปี


แต่ไม่ตรงกับความต้องการของตลาดงาน และยังมีสมรรถนะหรือคุณลักษณะอื่นๆ
ที่ไม่ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ ทาให้มีผู้ว่างงานอยู่จานวนมาก

สรุป ปัญหาด้านคุณภาพการศึกษาระดับ ต่างๆ คือ


การศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับมีคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยมาก
และต่ากว่าหลายประเทศในแถบเอเชีย ส่วนประเด็นคุณธรรม จริยธรรมของเด็กและเยาวชน
ยังต้องมีการพัฒนาเพิ่มขึ้น คุณภาพของกาลังแรงงานอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ยังไม่ตรงกับความ
ต้องการของตลาดงาน และผู้เรียน มัธยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชีวศึกษามีสัดส่วน
น้อยกว่าประเภทสามัญศึกษา ทาให้มีการขาดแคลนแรงงานระดับกลาง ส่วนแรงงานที่สาเร็จ
การศึกษาระดับอุดมศึกษามีจานวนเพิ่มขึ้นทุกปี แต่ไม่ตรงกับความต้องการของตลาดงาน
และยังมีสมรรถนะหรือคุณลักษณะอื่นๆ ที่ไม่ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ
ทาให้มีผู้ว่างงานอยู่จานวนมาก
6

ข้อสอบจริงปีที่ผ่านมาถามว่า ข้อใดหมายถึง learner Aspirations


ก. แรงบันดาลใจของผู้เรียน ข. แรงจูงใจของผู้เรียน
ค. เป้าหมายด้านผู้เรียน ง. การพัฒนาผู้เรียน

เฉลย ค. เป้าหมายด้านผู้เรียน

แผนการศึกษาแห่งชาติแบ่งเป้าหมายออกเป็น 2 ด้าน
คือ 1. เป้าหมายด้านผู้เรียน (learner Aspirations) ซึ่งก็คือ 3Rs8Cs
2. เป้าหมายของการจัดการศึกษา (Aspirations) ซึ่งแบ่งไว้ 5 ประการ
ได้แก่ Access / Equity / Quality / Efficiency / Relevancy

*************************************************************************
ตัวอย่างแนวข้อสอบเพิม่ เติม
แผนการศึกษาแห่งชาติแบ่งเป้าหมายออกเป็นกี่ด้าน
ก. 2 ด้าน ข. 3 ด้าน
ค. 4 ด้าน ง. 5 ด้าน

เฉลย ข้อ ก 2 ด้าน ได้แก่ ด้านผู้เรียน และ ด้านการจัดการศึกษา


ด้านผู้เรียน = 3Rs8Cs
ด้านการจัดการศึกษา = 5 ประการ

ถ้าใครไม่รู้แม่นในพื้นฐานตรงนี้ คงไม่ค่อยกล้าตอบ 2 ด้านแน่ๆใช่ปะละ


ถ้าเดา ก็คงไปเดากันว่า 3 บ้าง 4 บ้าง เสียดาย 1 คะแนนที่หายไปเลย
วิธีป้องกันคะแนนตกหล่นแบบที่ว่านี้ มีวิธีเดียว ฝึกฝนบ่อยๆจนแม่นยา
7

เป้าหมาย 2 ด้าน โดยด้านแรกคือ ด้านผู้เรียน ต้องได้ผู้เรียนแบบ 3Rs8Cs ใช่ไหม

แต่หน้านี้จะขอพูดเน้นย้าถึง เป้าหมายด้านที่ 2 คือ ด้านการจัดการศึกษา

จาให้ได้ต่อไปนี้ 5 ประการ เป้าหมายของการจัดการศึกษา


๑) ประชากรทุกคนเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพและมี มาตรฐานอย่างทั่วถึง (Access)
๒) ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน
อย่างเท่าเทียม (Equity)
๓) ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถ
เต็มตามศักยภาพ (Quality)
๔) ระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการลงทุนทางการศึกษาที่
คุ้มค่าและบรรลุเป้าหมาย (Efficiency)
๕) ระบบการศึกษาที่สนองตอบและก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นพลวัตและ
บริบทที่เปลี่ยนแปลง (Relevancy)

ข้อสอบจริงที่ออก  นโยบายเรียนฟรี 15 ปี คือเป้าหมายด้านใด


ก. Equity ข. Quality
ค. Relevancy ง. Access
ตอบ ก

เป็นข้อสอบจริง ถามเกี่ยวกับเป้าหมายด้านการจัดการศึกษา 5 ประการ

ที่อาจลังเล ก กับ ง (ลองเหลือบตาดูข้อมูลด้านบน) ว่า Access กับ Equity มี


ความก้ากึ่ง ที่อาจโน้มน้าวให้คิดถึงเรื่องเรียนฟรีได้ แต่ในแผนฯระบุไว้ชัดเจนถึงตัวบ่งชี้ว่า
จะบรรลุเป้าหมาย Equity นี้ได้ โดยดูจาก เรียนฟรีขั้นพื้นฐาน 15 ปี 100 %
8

แนวข้อสอบเพิ่มเติมแบบเข้มข้น ละเอียด เรื่องเป้าหมายด้านการจัดการศึกษา

ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับ Aspirations ในแผนการศึกษาแห่งชาติ


ก. Access ข. Equity
ค. Efficiency ง. Flexibility เฉลย ง.

เป้าหมายการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติ
ประชากรอายุ 12 – 14 ปี ได้เข้าเรียนระดับ ม.ต้น หรือเทียบเท่าเป็น
จานวนอัตราร้อยละเท่าใด
ก. ร้อยละ 50 ข. ร้อยละ 60
ค. ร้อยละ 80 ง. ร้อยละ 100 เฉลย ง.

เพราะเหตุใดข้อสอบจึงถามแบบนี้ (ใครจะไปจาได้นะ) ใช่ปะละ เวลาที่คิดกัน


หาว่าออกข้อสอบแบบบ้าๆบอๆ ที่จริงไม่ใช่นะ ต้องจาได้สิ ถึงจาร้อยละไม่ได้
หรือไม่ได้อ่านในแผนการศึกษาแห่งชาติว่าเขียนเป้าหมายไว้กี่เปอร์เซ็นต์แต่ก็
ต้อง “วิเคราะห์ / สังเคราะห์” ได้เพราะกฏหมายระบุไว้ชัดเจน “การศึกษา
ภาคบังคับ” คือ 9 ปี บังคับว่าต้องเรียนหนังสือ จบ ม.ต้น ในทางหลักการคือ
บังคับก็คือ ไม่เรียนผิดกฎหมาย นั่นแปลว่า ทางภาษาทางการเวลาเขียนแผน
หรือเวลาอะไรก็ตาม จะมาเขียนแผนตามความจริงไม่ได้ เพราะความเป็นจริง
เป็นไปไม่ได้หรอกที่จะ 100 % เต็ม ถ้าเขียนจริงๆคงผิดกฏหมาย ก็ต้องเขียน
ตามกฏหมายว่า เอ่อ ทุกคนนะ ต้องเข้าการศึกษาภาคบังคับนะ สรุป ก็คือว่า
เด็ก 12 – 14 ปี ได้เข้าเรียน ม.ต้น (หรือเทียบเท่า) ทุกคนหรือคิดเป็น 100%
เช่นเดียวกัน ถ้าข้อสอบถามว่า ผู้เรียนพิการได้รับการพัฒนาสมรรถภาพหรือ
บริการทางการศึกษาที่เหมาะสม คิดเป็นสัดส่วนตามเป้าหมายกี่เปอร์เซ็นต์ ?
เราก็ต้องตอบ 100% (เป็นกฎหมายว่าต้องช่วยบุคคลเหล่านี้ให้ได้ทุกคน)
9

นี่คือข้อมูลจากภาพสรุป โดยสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา เป้าหมายที่ 1


ซึ่งใช้ตอบคาถามในข้อก่อนนี้ (และเคยเป็นข้อสอบจริงด้วย ถามอะไรแบบนี้)

ตัวอย่าง เป้าหมาย สัดส่วนนักเรียน ม.ปลาย หรือเทียบเท่า ต่อประชากร


กลุ่มอายุ 15 – 17 ปี เพิ่มขึ้น ให้มีเป้าหมายกี่เปอร์เซ็นต์ ตอบ 95 %

การศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.ปลาย หรือ เทียบเท่า) ไม่ได้บังคับว่าต้องเรียนทุกคน


ดังนั้น ไม่ครบ 100 % ก็ได้ แต่อยากให้ทุกคนได้เรียนจนจบการศึกษาระดับนี้
อาจเรียนแบบ ปวช หรือ ม.ปลายก็แล้วแต่ แต่ก็หวังว่าจะได้ถึง 95 % นั่นเอง
ซึ่งในความเป็นจริง เป็นไปไม่ได้หรอก จบ ม.3 ก็ออกทางาน หรือมีครอบครัว

ตัวอย่างข้อสอบ เป้าหมายตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ด้าน Access


สถานศึกษามีอินเทอร์เน็ตความเร็ วสูงและมีคุณภาพ
คิดเป็นสัดส่วนกี่เปอร์เซ็นต์ของสถานศึกษา
ตอบ 100 % (ทุกแห่ง) จะเป็นไปได้จริงเหรอ เนอะ
ได้ไม่ได้ว่าก็ว่ากันอีกที แต่แผนฯเขียนไว้แบบนี้ ก็ต้องตอบแบบนี้นั่นเอง
10

ตัวอย่างข้อสอบจริง
ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคนได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการศึกษา
เป็นเวลากี่ปี ตามเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ
ก. 12 ปี ข. ไม่น้อยกว่า 12 ปี
ค. 15 ปี ง. ไม่น้อยกว่า 15 ปี

ข้อนี้สังเกตให้ดีว่า ไม่ได้ถามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ แต่ถามถึง


เป้าหมายในแผนการศึกษาแห่งชาติ ใครพลาด ไม่แน่น
อาจตอบ ข (ซึ่งผิด) ต้องตอบข้อ ค จากเป้าหมายข้อนี้

แผนการศึกษาแห่งชาติ ได้วางเป้าหมายเด็กวัยเรียนที่มีความต้องการจาเป็ นพิเศษ


ได้รับการศึกษาเต็มตามศักยภาพเพิ่มขึ้นเป็นอัตราส่วนเท่าใด
ตอบ 65 % (ดูในภาพสรุป เป้าหมายที่ 2 Equity นี้)
11

ตัวอย่างแนวข้อสอบ
เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ให้นักเรียน
มีคะแนน O-Net แต่ละวิชาร้อยละ 50 ข้อไป คิดเป็นอัตราส่วนกี่เปอร์เซ็นต์
ก. 50 % ข. 60 % ค. 65 % ง. 80 %

ข้อนี้เป็นข้อสอบจริงนะ เฉลย ค 65 % ดูตามกรอบผังสรุปนี้เลย


แต่หลายคนไม่กล้าตอบ เพราะไม่ค่อยคุ้นว่าการวางเป้าหมายต่างๆ
จะวางตัวเลขเป็น 65 % เวลาเดาจึงไปเดา 50 บ้าง 60 บ้าง เป็นต้น

เป้าหมายคุณภาพการศึกษา ให้ผลคะแนนเฉลี่ย PISA ของนักเรียน


อายุ 15 ปี เพิ่มขึ้น เป็นกี่คะแนน ตอบ 530 คะแนน
12

ตัวอย่างแนวข้อสอบ
สัดส่วนผู้เรียนเอกชนสูงขึ้น เมื่อเทียบกับรัฐเป็นอัตราส่วนเท่าใด
ก. 30 : 70 ข. 40 : 60
ค. 45 : 55 ง. 50 : 50

ตอบ ง. 50 : 50

ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ
คือเป้าหมายด้านการจัดการศึกษาข้อใดตามแผนการศึกษาแห่งชาติ
ก. เป้าหมายที่ 2 ข. เป้าหมายที่ 3
ค. เป้าหมายที่ 4 ง. เป้าหมายที่ 5

ตอบ ค. เป้าหมายที่ 4 ข้อนี้สอบจริง แต่หลายคนพลาดท่าไปตอบ ง ซึ่งผิด


ง. เป็นเป้าหมายที่ 5 ของยุทธศาสตร์ที่ 6 เขาไม่ได้ถามถึงเรื่องตรงนั้น
13

ตัวอย่างแนวข้อสอบ
เป้าหมายการวางสัดส่วนของผู้ที่เรียนอาชีวศึกษา ต่อ สามัญศึกษา คิดเป็นเท่าไร
ก. 30 : 70 ข. 40 : 60
ค. 50 : 50 ง. 70 : 30

ตอบ ง. 70 : 30 แผนการศึกษาแห่งชาติ พยายามให้คนหันไปเรียนอาชีวศึกษา


กันมากขึ้น เพื่อจะได้ผลิตแรงงานออกมาตรงงาน ใช้งานได้เลย
เนื่องจากสายอาชีวศึกษาเน้นการฝึกปฏิบัติโดยตรง จบมาจะมี
ทักษะในการทางานดีกว่าการไปเรียนสายสามัญ (เชิงวิชาการ)
นี่คือการวาง “บริบทที่ต้องการให้เปลี่ยนแปลง” Relevancy
แต่ค่านิยมของคนไทย ภาพรวมยังให้ลูกหลานเรียนสายสามัญ
14

แบบฝึกหัดเจาะความรู้ลึก แม่นยา 3Rs8Cs

เติมคาที่หายไปให้ถูกต้อง
1. การอ่านออก (Reading) การเขียนได้(Writing) และ ....................... (Arithmetics)
2. 8Cs ได้แก่
- ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ.................. (Critical
Thinking and Problem Solving)
- ทักษะด้านการสร้างสรรค์และ..................... (Creativity and Innovation)
- ทักษะด้าน.......................ต่างกระบวนทัศน์ (Cross – cultural Understanding)
- ทักษะด้าน..................... การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา (Collaboration,
Teamwork and Leadership)
- ทักษะด้าน......................... สารสนเทศ และการรู้เท่าทันสื่ อ
(Communications, Information and Media Literacy)
- ทักษะ...................................และการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy)
- ทักษะอาชีพ และ......................(Career and Learning Skills)
- ความมีเมตตา กรุณา มีวินัย ............................ (Compassion)

ข้อใดหมายถึง Compassion เป็นหมายด้านผู้เรียน


ก. มีทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม
ข. มีเมตตา กรุณา มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม
ค มีทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ง. มีทักษะในการแก้ปัญหา

ที่จริงถ้ารู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษก็คงจะพอเดาคาตอบได้ เพราะคาศัพท์นั้น
ตรงตัวกับประเด็นแต่ละอย่างอยู่แล้ว เพียงแต่ว่าคนจานวนหนึ่งที่ไม่ ได้รู้คาศัพท์
ภาษาอังกฤษจึงทาให้ข้อสอบบางข้อที่ไม่ได้ยากเกินไป กลายเป็นยากเลยนั่นเอง
compassion แปลว่าความรู้สึกเห็นอกเห็นใจ รู้สึกสงสารผู้อื่น หรือแปลว่าการ
มีเมตตาและความกรุณาปราณีนั่นเอง เฉลย ข.
15

แนวข้อสอบเกี่ยวกับ 8Cs ในแผนการศึกษาแห่งชาติ

เป้าหมายด้านผู้เรียน ที่เน้นสร้างสรรค์มุ่งสร้างสิ่งใด
ก. สร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ ข. สร้างนวัตกรรม
ค. สร้างประสบการณ์ชีวิต ง. สร้างสิ่งแวดล้อม

Cross – cultural Understanding คือทักษะตามข้อใด


ก. ทักษะการสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรม
ข. ทักษะการดารงชีวิตอย่างมีความสุขตามวัฒนธรรม
ค. ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์
ง. ทักษะด้านการสื่อสารอย่างเข้าใจกันในวัฒนธรรมที่แตกต่าง

ทักษะด้านความร่วมมือ คือข้อใด
ก. Collaboration ข. Problem Solving
ค. Critical Thinking ง. Teamwork

ICT Literacy เป็นทักษะที่เกี่ยวข้องกับข้อใด


ก. การใช้คอมพิวเตอร์ ข. การสร้างสรรค์นวัตกรรม
ค. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ง. การสื่อสารสาร รู้เท่าทันสื่อ

แผนการศึกษาแห่งชาติได้วางเป้าหมายผู้เรียนให้มีทักษะอาชีพคู่กบั สิ่งใด
ก. คุณธรรม จริยธรรม ข. การสร้างสรรค์
ค. ทักษะด้านการสื่อสารและเทคโนโลยี ง. การเรียนรู้

ข้อใดไม่ใช่เป้าหมายด้านผู้เรียนในเรื่อง Compassion ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ


ก. เมตตา กรุณา ข. วินัย
ค. จรรยาบรรณ ง. คุณธรรม จริยธรรม
16

ข้อสอบพวกนี้เป็นข้อสอบที่นามาจากแผนการศึกษาแห่งชาติ ตามตัวอักษร
เวลาตอบจะต้องตอบตามตัวอักษรในแผนที่เขียน ไม่ใช่ตอบตามความคิดเห็น

เป้าหมายด้านผู้เรียน ที่เน้นสร้างสรรค์มุ่งสร้างสิ่งใด ตอบ ข. สร้างนวัตกรรม

Cross – cultural Understanding คือทักษะตามข้อใด


ตอบ ค. ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์

ทักษะด้านความร่วมมือ คือข้อใด ตอบ ก. Collaboration

สังเกตว่า ถ้าผู้สอบไม่แม่น เวลาเราแปลมาและใช้ความรู้สึก ความคิด


ของเราเอง ใจน่าจะอยากตอบ ง ใช่ปะละ คือทีมเวิร์คไง ร่วมมือ กัน แต่ไม่ใช่นะ
หมายถึงไม่ใช่คาตอบที่ถูก จงใจนามาเป็นตัวหลอกให้อยากตอบเลย เพราะคาว่า
Teamwork แผนการศึกษาบัญญัติเป็น “การทางานเป็นทีม” ใม่ใช่ความร่วมมือ
คาตอบต้องนามาจากข้อความตรงนี้ใน 8Cs

ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา


Collaboration, Teamwork and Leadership

ICT Literacy เป็นทักษะที่เกี่ยวข้องกับข้อใด


ตอบ ค. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

แผนการศึกษาแห่งชาติได้วางเป้าหมายผู้เรียนให้มีทักษะอาชีพคู่กับสิ่งใด
ตอบ ง. การเรียนรู้

ข้อใดไม่ใช่เป้าหมายด้านผู้เรียนในเรื่อง Compassion ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ


ตอบ ค. จรรยาบรรณ
17
18

การกาหนดมาตรฐานสถานศึกษา

ประกาศใช้ พ.ศ. 2563 ประกาศใช้ พ.ศ. 2564


อ้างอิงเรื่องมาตรฐานสถานศึกษา หรือประกันคุณภาพ ให้ใช้คู่มือสองเล่มนี้ อัพเดตล่าสุด
19

ข้อมูลควรรู้ จะเรียกระดับคุณภาพว่า “การกาหนดค่าเป้าหมาย 5 ระดับคุณภาพ”


20

ตัวอย่างการเขียนของสังกัด อปท ที่เป็น 3 มาตรฐาน 21 ประเด็นพิจารณา


21

ขั้นตอนการกาหนดมาตรฐานของสถานศึกษา มี 5 ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ ๑ เตรียมความพร้อมการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ขั้นตอนที่ ๒ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐานการศึกษา
ขั้นตอนที่ ๓ กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ขั้นตอนที่ ๔ พิจารณาให้ความเห็นชอบมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ขั้นตอนที่ ๕ ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
22

สังเกตเปรียบเทียบ ระหว่างของกระทรวงศึกษาธิการ และของมหาดไทย (อปท)


มีความสอดคล้องกันอยู่ใน 5 ขัน้ ตอน (ลองศึกษาเหลือบตาเปรียบเทียบดูได้ ดังต่อไปนี้)

ขั้นตอนการกาหนดมาตรฐานของสถานศึกษา มี 5 ขั้นตอน (กระทรวงศึกษาธิการ)


ขั้นตอนที่ ๑ เตรียมความพร้อมการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ขั้นตอนที่ ๒ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐานการศึกษา
ขั้นตอนที่ ๓ กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ขั้นตอนที่ ๔ พิจารณาให้ความเห็นชอบมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ขั้นตอนที่ ๕ ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ข้อสอบจะคัดเลือกมาถามจาก 5 ขั้นตอนนี้ (ข้อสอบการจัดทามาตรฐานสถานศึกษา)

กระทรวงมหาดไทยได้กาหนดแนวทางการก าหนดมาตรฐานสถานศึกษา อปท ไว้ดังนี้


การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้สถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง
ดาเนินการและถือเป็นความรับผิดชอบร่วมกัน ดังนี้
๑.๑ ศึกษา วิเคราะห์มาตรฐานและประเด็นพิจารณาตามประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่องมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและแนวทางในการ
ดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายในโรงเรี ยนสังกัดองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ลงวันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
๑.๒ พิจารณาสาระสาคัญที่จะกาหนดในมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สะท้อน
อัตลักษณ์ เอกลักษณ์และมาตรการส่งเสริมของสถานศึกษา
๑.๓ กาหนดค่าเป้าหมายความสาเร็จของแต่ละมาตรฐานการศึกษา
๑.๔ เสนอเพื่อขอความเห็นชอบคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑.๕ ประกาศค่าเป้าหมายแต่ละมาตรฐานว่าด้วยการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ให้ผู้เกี่ยวข้อง ทั้งภายในและภายนอกรับทรา
23

สังเกตว่าในคู่มือประกันคุณภาพการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น
ได้วางให้การจัดทามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา อยู่ในขั้นตอนแรก
ของกระบวนการ PDCA คือ ขั้นการวางแผน (Plan) อยู่ในข้อที่ 3 นั่นเอง
24
25
26

แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา

1. แผนการศึกษาแห่งชาติ เป็นแผนระยะใด
ก. แผนการศึกษาชาติ ระยะ 15 ปี (พ.ศ. 2560 – พ.ศ. 2574)
ข. แผนการศึกษาชาติ ระยะ 15 ปี (พ.ศ. 2561 – พ.ศ. 2575)
ค. แผนการศึกษาชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – พ.ศ. 2579)
ง. แผนการศึกษาชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – พ.ศ. 2580)

2. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับระยะเวลาของยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อพัฒนาประเทศไทย
ก. พ.ศ. 2560 – พ.ศ. 2564 ข. พ.ศ. 2561 – พ.ศ. 2565
ค. พ.ศ. 2560 – พ.ศ. 2579 ง. พ.ศ. 2561 – พ.ศ. 2580

เฉลย 1. ตอบ ค. / 2. ตอบ ง. อธิบายให้เข้าใจดังต่อไปนี้

จากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ฉบับปัจจุบัน ซึ่งเป็นฉบับที่ 20


โดยในมาตรา 65 ของกฎหมายรัฐธรรมนูญฯ กาหนดให้ต้องมี “ยุทธศาสตร์ชาติ”

ประเด็นคือช่วงประมาณปี 2559 – 2560 คาๆนี้จึงเริ่มมีบทบาทในสังคมไทย เผยแพร่


และทาความรู้จักกันว่า มันคืออะไร ยังไง ตอนนั้น เขาคิดกันว่า น่าจะร่างและทาเสร็จ
ในช่วงปี 2560 (กะไว้ประมาณนั้น) เพราะเริ่มทากันมาตั้งแต่ปี 2559 แต่พอทาเข้าจริง
มีการจัดตั้งคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ (มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน) และก็จัดตั้ง
คณะกรรมการปฏิรูปประเทศ ทั้ง 11 ด้าน อีกทั้ง ยังมีการจัดตั้งคณะกรรมการจัดทา
ร่างยุทธศาสตร์ชาติ 6 คณะกรรมการ โดยผู้ทรงคุณวุฒิแต่ละด้านเป็นประธาน เพราะ
แบ่งให้แยกกันไปทาทีมละยุทธศาสตร์ (เนื่องจากยุทธศาสตร์ชาติ มี 6 ยุทธศาสตร์)

ประเด็นอยู่ตรงที่ว่า เขาเริ่มเผยแพร่ “ร่าง” ของ ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี


ออกมาประมาณช่วงปี 2559 – 2560 เพื่อให้ ส่วนราชการต่างๆได้ไปกาหนด
ยุทธศาสตร์ของงานตัวเองตามร่างนั้น โดยร่างดังกล่าว กาหนดไว้ระยะ 20 ปี
พ.ศ. 2560 – 2579 ช่วงนั้น ทุกคน ทุกฝ่าย ทุกส่วนราชการ ก็เลยเห็น ร่างฯ
ในแบบเดียวกัน คือ พ.ศ. ดังกล่าว และยึดถือตามแบบนั้น ราชการต่างๆเวลา
ร่างแผนต่างๆ ก็เลยกาหนดอ้างเอายุทธศาสตร์ พ.ศ. 2560 – 2579 เป็นหลัก
27

แผนการศึกษาแห่งชาติเอง ก็กาหนด ยุทธศาสตร์ 6 ยุทธศาสตร์ อ้างอิงตัวนั้น


เช่นกัน และแผนการศึกษาชาติ ก็ประกาศใช้ อย่างเป็นทางการ พ.ศ. 2560
จึงออกมาเป็น แผนการศึกษาชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ตามนั้น
และส่วนราชการอื่นๆ แทบทุกสังกัดในประเทศไทย ก็จะคล้ายๆกันนี้เลยนะ

เช่น แผน กทม ก็เป็น 2560 – 2579 หรือราชการอื่นๆ ก็เหมือนกัน แต่ประเด็นคือ


ยุทธศาสตร์ชาติ ทาไม่เสร็จในปี 2560 กว่าจะเสร็จ และประกาศใช้ ก็ปาเข้าไปในปี 2561
จึงปรับชื่อกลายมาเป็น ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ผ่างงง … เงิบ
ทีนี้ ผู้อ่านนึกภาพตามเล่นๆว่าส่วนราชการต่างๆจะเงิบและงงกันหรื อไม่ เพราะว่าส่วนงาน
ต่างๆก็ได้ประกาศแผนของเขามาตั้งแต่ช่วงปี 2560 และอ้างอิงระยะ 2560 – 2579 ทั้งนั้น
แต่อยู่ดีๆ ยุทธศาสตร์ชาติ กลายเป็นระยะ 2561 – 2580 ซะงั้น จะไปประกาศแก้แผนฯ
ใดๆที่ประกาศมาก่อนแล้วอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2560 มันก็ใช่ที่อยู่

สรุป ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ไม่มีแล้วนะ ตอนนี้


ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ใช้ตัวนี้เป็นทางการ
ในขณะที่แผนการศึกษาแห่งชาติ เป็นระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)

ตัวอย่างข้อสอบเพิ่มเติม
3. ยุทธศาสตร์แรกสุดของแผนการศึกษาชาติ คือ ข้อใด
ก. การศึกษาเพื่อความมั่นคง ข. การศึกษาเพื่อความสมดุล
ข. การศึกษาเพื่อปวงชนชาวไทย ง. การศึกษาเพื่อความเสมอภาค
เฉลย ข้อ ก. สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติในข้อแรก “ความมั่นคง”

4. แผนการศึกษาแห่งชาติถูกขับเคลื่อนด้วยอะไร
ก. นโยบายรัฐบาลด้านการศึกษาที่แจ้งต่อรัฐสภา
ข. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
ค. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติและกฎหมายการศึกษา
ง. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
28

5. ข้อใดคือทักษะพื้นฐานของนักเรียนไทย ในศตวรรษที่ 21
ก. อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น ข. เทคโนโลยีสารสนเทศ
ค. การสื่อสารและการคิด ง. การแก้ปัญหาและทักษะชีวิต

6. ข้อใดคือ ::Learner Aspirations


ก. 3Rs ข. 5Rs
ค. 7Rs ง. 8Cs

7. ข้อใดไม่อยู่ใน 3Rs
ก. การอ่าน ข. การเขียน
ค. การคิด ง. การสร้างสรรค์

8. 8Cs มุ่งเน้นในด้านใด
ก. เทคโนโลยี ข. การแก้ไขปัญหา
ค. ทักษะชีวิต ง. คิดวิเคราะห์

9. Learner Aspirations หมายถึงอะไร


ก. ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ ข. เป้าหมายด้านการจัดการศึกษา
ค. เป้าหมายด้านผู้เรียน ง. แรงบันดาลใจในการเรียน

10. ข้อใดคือวิสัยทัศน์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ
ก. คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ
ข. จัดการศึกษาสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ค. จัดการศึกษาสอดคล้องการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21
ง. ถูกทุกข้อ

11. การสร้างความสามารถในการแข่งขันในแผนการศึกษาแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ที่เท่าใด


ก. ยุทธศาสตร์ที่ 1 ข. ยุทธศาสตร์ที่ 2
ค. ยุทธศาสตร์ที่ 3 ง. ยุทธสาสตร์ที่ 4
29

12. เป้าหมายของการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติ มีอะไรบ้าง


ก. เข้าถึง เข้าใจ พัฒนา เปลี่ยนแปลง
ข. เข้าถึง เท่าเทียม คุณภาพ ประสิทธิภาพ
ค. สังคมแห่งการเรียนรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม
ง. เข้าถึง เท่าเทียม คุณภาพ ประสิทธิภาพ ตอบโจทย์บริบทที่เปลี่ยนแปลง

13. มาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานสถานศึกษามีกี่มาตรฐาน


ก. 2 มาตรฐาน ข. 3 มาตรฐาน
ค. 4 มาตรฐาน ง. 5 มาตรฐาน

14. การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จัดทามาตรฐานสถานศึกษามีกี่ขั้นตอน


ก. 4 ขั้นตอน ข. 5 ขั้นตอน
ค. 6 ขั้นตอน ง. 8 ขั้นตอน

15. ขั้นตอนแรกของการจัดทามาตรฐานสถานศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ นคือข้อใด


ก. กาหนดวัตถุประสงค์ของการจัดทามาตรฐาน
ข. ศึกษา วิเคราะห์มาตรฐานและประเด็นพิจารณา
ค. พิจารณาสาระสาคัญที่สะท้อนอัตลักษณ์ของสถานศึกษา
ง. กาหนดค่าเป้าหมายความสาเร็จของแต่ละมาตรฐานการศึกษา

16. ขั้นตอนสุดท้ายของการจัดทามาตรฐานสถานศึกษา คือข้อใด


ก. สรุปผลการดาเนินงาน ข. การทาประชาพิจารณ์ ขอความเห็น
ค. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ ง. ประกาศค่าเป้าหมายแต่ละมาตรฐาน

17. การประกาศใช้มาตรฐานสถานศึกษา ต้องทาเป็นข้อใด


ก. ประกาศสถานศึกษา
ข. ประกาศสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ค. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการหรือการศึกษาท้องถิ่น
ง. ประกาศสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
30

18. เครื่องมือในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์การที่ได้รับความนิยมมากที่สุดคือข้อใด
ก. PDCA ข. PERT
ค. SWOT ง. System thinking

19. การวางแผนโดยมีการวิเคราะห์สภาพและแนวโน้มทางเศรษฐกิจ สภาพทางการเมือง


กฎหมาย และนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินการด้านการศึกษา หมายถึงข้อใด
ก. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน ข. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก
ค. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมร่วม ง. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมกายภาพ

20. ประสิทธิภาพของโครงการ คือ


ก. ผลผลิตเท่าเดิม ปัจจัยนาเข้าลดลง ข. ผลผลิตเท่าเดิม ราคาต้นทุนที่ถูกลง
ค. สร้างผลงานได้ตามวัตถุประสงค์ ง. ตอบสนองความต้องการได้อย่างดี

5. ก 6. ก 7. ง 8. ข 9. ค 10. ง 11. ข 12. ง


13. ข 14. ข 15. ข 16. ง 17. ก 18. ค 19. ข 20. ง

ข้อ 20 เป็นข้อสอบจริงปีที่แล้ว สอบท้องถิน่ 2562 มีคนผิดข้อนี้เยอะมากๆ น่าเสียดาย

ประสิทธิภาพ ต้องได้ ผลผลิต ตัดข้อ ค ง ทิ้งได้เลย ... เหลือ ก กับ ข

ภาษาที่ใช้ตอบข้อสอบราชการต้องเป็น "ภาษาจริงๆที่วิชาการ" หรือ "ภาษาทางการใน


เรื่องนั้น" แต่บางคนไปตอบแบบภาษาที่ทั่วไปถูกนามาหลอกในข้อสอบ โครงการ ภาษาที่ใช้
เขาจะเรียกตัวที่เป็นต้นทุน หรือที่ลงทุนไปหรือที่ทาไปว่า "ปัจจัยนาเข้า" ซึ่งภาษาอังกฤษจะ
เทียบว่าเป็น input กับ output ดังนั้น การตอบ ข้อ ข ผิดตามหลักการสอบราชการ คือเรา
ตอบตามภาษาคิดของเราเอง ไม่ถูก โครงการจะต้องเป็นแบบ ปัจจัยนาเข้า -> ผลผลิต
input -> output

You might also like