You are on page 1of 167

การใชภาษาสรางจินตภาพของสํานวนเปรียบในวรรณคดีเรื่องพระปฐมสมโพธิกถา

ปริญญานิพนธ
ของ
ลักขณากร ธรรมเที่ยง

เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเปนสวนหนึ่งของการศึกษา


ตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
พฤษภาคม ๒๕๔๗
AN IMAGERY LANGUAGE OF COMPARISON
IN PHRA PATHOMSOMBODHIKATHA

A THESIS
BY
LAKKHANAKORN THAMTIENG

Presented in partial fulfillment of the requirements


For the Master of Art degree in Thai
At Srinakharinwirot University
April 2004
การใชภาษาสรางจินตภาพของสํานวนเปรียบในวรรณคดีเรื่องพระปฐมสมโพธิกถา

บทคัดยอ
ของ
ลักขณากร ธรรมเที่ยง

เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเปนสวนหนึ่งของการศึกษา


ตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
พฤษภาคม ๒๕๔๗
ลักขณากร ธรรมเที่ยง. (๒๕๔๗). การใชภาษาสรางจินตภาพของสํานวนเปรียบในวรรณคดีเรื่อง
พระปฐมสมโพธิกถา. ปริญญานิพนธ ศศ.ม. (ภาษาไทย). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. คณะกรรมการควบคุม : อาจารยวิรฬุ หรัตน ไฉนงุน ,
ผูชวยศาสตราจารยสุวดี ภูประดิษฐ

ปริญญานิพนธฉบับนี้มุง ศึกษาวิเคราะหการใชภาษาสรางจินตภาพของสํานวนเปรียบใน
วรรณคดี เ รื่ อ งพระปฐมสมโพธิ ก ถา โดยใช วิ ธี วิ จั ย เอกสาร และเสนอผลการศึ ก ษาแบบพรรณนา
วิเคราะห ผลการศึกษาพบวา
การใชภาษาสรางจินตภาพของสํานวนเปรียบ เปนการวิเคราะหในดานความสัมพันธทาง
ความหมายระหวางแบบเปรียบและสิ่งที่ถูกเปรียบ พบวาสํานวนเปรียบในเรื่องพระปฐมสมโพธิกถามี
การใชแบบเปรียบ ๗ ประเภท คือ แบบเปรียบเกี่ยวกับสรรพสัตว ธรรมชาติ พืช แรธาตุ สิ่งของเครื่องใช
สถานที่ และอื่นๆ นอกเหนือจากที่กลาวมาแลว แบบเปรียบสวนมากที่ผูนิพนธใชเปนแบบเปรียบเหนือ
จริ ง คื อ เทพ และสวรรค เพื่ อ ให ผู อ า นเกิ ด จิ น ตภาพเห็ น ความยิ่ ง ใหญ และความงดงามของ
พระพุทธเจา ผูทรงคุณอันใหญหลวงแกมนุษย และนอกจากนั้นก็ใชแบบเปรียบที่สามารถเกิดขึ้นจริงได
เพื่อใหผูอานเกิดจินตภาพตามไปกับสิ่งที่ผูนิพนธตองการสื่อดวย
แนวนิ ย มในการใช สํ า นวนเปรี ย บ พบว า มี ก ารนํ า สํ า นวนเปรี ย บไปใช เ พื่ อ จุ ด ประสงค ๔
ลักษณะ คือ แสดงบุคลิกลักษณะทางกายภาพของตัวละคร แสดงอารมณความรูสึก แสดงฉากและ
บรรยากาศ และแสดงคติธรรม ซึ่งแนวนิยมในการใชสํานวนเปรียบที่พบมากที่สุดคือ การใชสํานวน
เปรียบแสดงบุคลิกลักษณะทางกายภาพของพระพุทธเจา ทั้งพระรูปกายโดยรวม และพระองคาพยพ
เพื่อใหผูอานเกิดจินตภาพในความงดงาม และความมีบุญบารมีของพระพุทธองค อันเปนลักษณะ
พิเศษเหนือบุคคลธรรมดาไดชัดเจนขึ้น
AN IMAGERY LANGUAGE OF COMPARISON
IN PHRA PATHOMSOMBODHIKATHA

AN ABSTRACT
BY
LAKKHANAKORN THAMTIENG

Presented in partial fulfillment of the requirements


for the Master of Art degree in Thai
at Srinakharinwirot University
May 2004
Lakkhanakorn Thamtieng. (2004). An Imagery Language of Comparison in Phra
Pathomsombodhikatha. Master thesis, M.A. (thai). Bangkok : Graduate School,
Srinakharinwirot University. Advisor Committee : Ms. Wiroonrat Chanaingoon ,
Assist.Prof. Suwadee Phupradit.

The aim of this thesis is to analyze an imagery language of comparison in Phra


Pathomsombodhikatha by analyzing the documents and presenting them as description.
The research result revealed as follow :
An imagery language of comparison is analysis to relation of meaning between vehicle
and tenor. The result of comparison in Phra Pathomsombodhikatha have vehicle 7 types
as persons , natures , plants , minerals , implements , places and others. The most vehicle is
supernatural’ s vehicle : deity and heaven. The readers will automatically image to grandeurs
of Buddha who make benefits to human. Additionally, the use of naturalistic ‘s vehicle to
conveying the imagery of comparison.
The favorite use of comparison of 4 types are the description of figure , feeling , setting
and atmosphere , moral. The most favorite use of comparison is description of body and
Buddha’s figure , for the readers image in grandeurs and virtues of Buddha who is the
special character above human.
ปริญญานิพนธ
เรื่อง

การใชภาษาสรางจินตภาพของสํานวนเปรียบในวรรณคดีเรื่องพระปฐมสมโพธิกถา

ของ
นางสาวลักขณากร ธรรมเที่ยง

ไดรับอนุมัติจากบัณฑิตวิทยาลัยใหนับเปนสวนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสูตร
ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

.................................................................คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
(รองศาสตราจารย ดร. นภาภรณ หะวานนท)
วันที่ .......เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๗

คณะกรรมการสอบปริญญานิพนธ

....................................................................ประธาน
(อาจารยวิรฬุ หรัตน ไฉนงุน )

....................................................................กรรมการ
(ผูชวยศาสตราจารยสวุ ดี ภูป ระดิษฐ)

....................................................................กรรมการที่แตงตั้งเพิ่มเติม
(อาจารยพรธาดา สุวธั นวนิช)

....................................................................กรรมการที่แตงตั้งเพิ่มเติม
(อาจารยศานติ ภักดีคํา)
ประกาศคุณูปการ

ปริญญานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงลงไดดวยความอนุเคราะหจากอาจารยวิรุฬหรัตน ไฉนงุน
และผศ.สุวดี ภูประดิษฐ ประธานและกรรมการควบคุมการทําปริญญานิพนธ ตามลําดับ ที่ไดกรุณาให
คําปรึกษา แนะนํา และตรวจสอบ ขัดเกลา แกไขขอบกพรองจนกระทั่งปริญญานิพนธฉบับนี้เสร็จ
สมบูรณ ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูง
ขอกราบขอบพระคุณรองศาสตราจารย ดร. อัมพร สุขเกษมที่ใหคําแนะนํา คอยดูแล และเปน
ที่ปรึกษาอยางดีตลอดมา อีกทั้งเปนผูปลูกฝงความรูเรื่องกระบวนจินตภาพอันเปนศาสตรที่สําคัญที่
ผูวิจัยใชเปนแนวทางการศึกษาปริญญานิพนธนี้ รวมทั้งอาจารยพรธาดา สุวัธนวนิช , อาจารยศานติ
ภั ก ดี คํ า และอาจารย ทุ ก ท า นที่ ไ ด ก รุ ณ าติ ด ตามความคื บ หน า ให คํ า ปรึ ก ษา และให กํ า ลั ง ใจใน
การศึกษาคนควาครั้งนี้ ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางยิ่ง
ขอขอบคุณทุนการวิจัยทบวงมหาวิทยาลัย และทุนวิจัยงบประมาณแผนดินที่ชวยใหการวิจัย
ครั้งนี้สําเร็จลงไดดวยความเรียบรอย
ทายที่สุดนี้ ผูวิจัยขอนอมรําลึกและกราบขอบพระคุณบิดามารดาที่ใหความรัก ความหวงใย
เปนกําลังใจดวยดีตลอดมา ขอขอบใจเพื่อนๆ วิชาเอกภาษาไทย ทั้ง ๗ คน ที่รวมทุกขรวมสุข คอยให
กําลังใจ ใหความชวยเหลือ ทั้งขูทั้งปลอบจนกระทั่งปริญญานิพนธฉบับนี้สําเร็จลงได
ผูวิจัยขอขอบคุณและจะรําลึกพระคุณอันใหญหลวงครั้งนี้ตลอดไป

ลักขณากร ธรรมเที่ยง
สารบัญ

บทที่ หนา
๑ บทนํา................................................................................................................... ๑
ภูมิหลัง....................................................................................................... ๑
ความมุง หมายของการศึกษาคนควา............................................................. ๔
ความสําคัญของการศึกษาคนควา.................................................................. ๔
ขอบเขตของการศึกษาคนควา........................................................................ ๔
นิยามศัพทเฉพาะ.......................................................................................... ๔
วิธีการดําเนินการศึกษาวิจัย....................................................................... ... ๕
เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วของ...................................................................... ๕

๒ การใชภาษาสรางจินตภาพของสํานวนเปรียบ.................................................. ๑๗
การใชแบบเปรียบของสํานวนเปรียบ .............................................................. ๑๘
แบบเปรียบเกี่ยวกับสรรพสัตว.................................................................. ๑๙
แบบเปรียบเกี่ยวกับธรรมชาติ................................................................... ๕๙
แบบเปรียบเกี่ยวกับพืช............................................................................ ๗๑
แบบเปรียบเกี่ยวกับแรธาตุ....................................................................... ๘๒
แบบเปรียบเกี่ยวกับสิ่งของ เครื่องใช.......................................................... ๘๗
แบบเปรียบเกี่ยวกับสถานที.่ ..................................................................... ๙๗
แบบเปรียบอื่นๆ ..................................................................................... ๑๐๖

๓ แนวนิยมการใชสํานวนเปรียบ......................................................................... ๑๑๔
การใชสํานวนเปรียบแสดงบุคลิกลักษณะทางกายภาพของตัวละคร.................. ๑๑๕
การใชสํานวนเปรียบแสดงอารมณความรูสึก................................................... ๑๓๔
การใชสํานวนเปรียบแสดงฉากและบรรยากาศ................................................ ๑๓๗
การใชสํานวนเปรียบแสดงคติธรรม................................................................ ๑๔๒

๔ สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ.................................................................. ๑๔๖

บรรณานุกรม........................................................................................................ ๑๕๑

ประวัติยอผูวิจัย.................................................................................................. ๑๕๗
บทที่ ๑
บทนํา

ภูมิหลัง

วรรณคดีนับเปนศิลปะแขนงหนึ่งที่ใชภาษาในการสื่อสารงานประพันธออกมาใหมนุษยเรา
ไดรับความบันเทิง ความเพลิดเพลิน รวมทั้งไดรับความรูตางๆ ที่งานประพันธเลมนั้นๆ ไดสอดแทรก
เอาไว วรรณคดีเปนงานประพันธที่ใชภาษาวรรณศิลปในการสงสารไปยังผูรับ สารนั้นเปนภาษาที่
ตกแตงอยางวิจิตรประณีต ใชภาษาเปรียบเทียบเพื่อแสดงความคิดเห็น อารมณความรูสึกอยางลึกซึ้ง
ดังในหนังสือวรรณคดีทัศนา กลาววา

ภาษาวรรณคดีนั้นตางจากภาษาธรรมดาที่ใชในชีวิตประจําวันคือความหมายที่ใชในวรรณคดี
อาจมีความหมายแตกตางไปจากความหมายในภาษาปจจุบัน เพราะภาษาธรรมดามักมีความหมายไป
ตามแนวทางของวัตถุ มุงแตเรื่องของวัตถุหรือ ที่เห็นดวยตาแตภาษาวรรณคดีมักกล าวถึงทางที่เปน
นามธรรมที่มองไมเห็น ทั้งนี้เพราะนักประพันธดูทุกสิ่งดวยใจคือนักประพันธไมไดมีภาษาเปนเครื่อง
สื่อสารแตเพียงอยางเดียว แตเขายังใชจินตนาการในการสราง ภาพพจนใหเห็นชัดเจน และใหเห็น
คลอยตามความรูสึกนึกคิดของตน

(ชัตสุณี สินธุสิงห . ๒๕๓๒ : ๑๒๗)

การใช คํ า การใช เ สี ย งของคํ า หรื อ การใช ค วามเพื่ อ สื่ อ ภาพ สื่ อ ความหมายและสร า ง
จินตนาการตางๆ ดังกลาวก็คือผูแตงใชภาษาจินตภาพหรือกระบวนจินตภาพนั่นเอง “กระบวน จินต
ภาพ” (IMAGERY) คือการใชภาษาเพื่อแทนความคิด อารมณและประสบการณดานความรูสึก และ
กอใหเกิดภาพในจิตหรือขอคิด (ราชบัณฑิตยสถาน. ๒๕๓๙ : ๑๑๙) นอกจากนั้น ทวีศักดิ์ ญาณ
ประทีป ไดกลาวถึงกระบวนจินตภาพวา กระบวนจินตภาพมีคุณคาเปนอยางยิ่งในดานความลึกซึ้ง
และดานความรูสึกรวมของผูอาน งานประพันธจะมีคุณคาหรือไมอยูที่กระบวนจินตภาพที่ทําใหเกิดขึ้น
ดวยการกระทบอารมณและความรูสึกของผูอานนี้เอง และจินตภาพที่เกิดขึ้นดวยการสรางสรรคของกวี
หรือผูประพันธจะทําใหผูอานเห็นภาพชัดเจน (ทวีศักดิ์ ญาณประทีป. ๒๕๓๑ : ๔) จะเห็นไดวา การใช
ภาษาเปนสิ่งสําคัญในการสรางจินตภาพชวยใหผูอานมองเห็นภาพ เขาใจสาร รวมทั้งเกิดอารมณ
ความรูสึกไปตามเรื่องราวที่ผูประพันธนําเสนอดวย

กระบวนจินตภาพที่ผูแตงวรรณคดีหรือวรรณกรรมนิยมใชกันมากก็คือ สํานวนเปรียบ ดังที่


เจตนา นาควัชระ ไดกลาวในเรื่องวรรณคดีวิจารณวา ภาษาในวรรณคดีโดยทั่วไปเปนภาษาที่ตองการ
ความงดงามและความไพเราะในการใชถอยคําสํานวนที่ประณีตกวาภาษาทั่วไป กวีจึงนิยมใชสํานวน
เปรียบในการสรางอารมณสุนทรียะ หนาที่ของวรรณคดีวิจารณในขั้นแรกก็คือตองชี้ใหเห็นวา กวีใช
สํานวนเปรียบไดเหมาะสมซาบซึ้งกินใจหรือไมประการใด (เจตนา นาควัชระ. ๒๕๑๔ : ๓๐)
เชนเดียวกับ ประจักษ ประภาพิทยากร ไดกลาวถึงสํานวนเปรียบวา สํานวนเปรียบนับเปนสีสันอัน
ตระการตาที่จะใหความวิจิตรของวรรณกรรมทรงคุณคาขึ้น คําประพันธตองอาศัยสํานวนเปรียบที่คม
คายดวย เพราะสํานวนเปรียบทําใหผูอานเกิดความซาบซึ้งใจโดยไมตองอธิบายใหยืดยาว (ประจักษ
ประภาพิทยากร.๒๕๒๕:๑๖๓) นอกจากนั้น สมร วิเศษมณี ไดกลาวถึงภาษาที่นิยมใชสํานวนเปรียบไว
วา ภาษาทางศาสนามักปรากฏขอความที่มีลักษณะของการเปรียบเทียบเพื่อใหเห็นภาพของสิ่งที่
ตองการเอยถึงและใหเกิดความเขาใจงายขึ้น (สมร วิเศษมณี. ๒๕๓๕:๒๓ ) ในที่นี้ ผูวิจัยเลือกศึกษา
วรรณคดีพุทธศาสนาเรื่องพระปฐมสมโพธิกถาฉบับสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
เนื่องจากสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงเปนนักประพันธที่มีผลงานดีเดน และ
เปนที่ประจักษแกบุคคลทั่วไป จะเห็นไดจากที่องคการวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ
หรือองคการยูเนสโกไดประกาศยกยองพระเกียรติคุณของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิต
ชิโนรสเปนบุคคลดีเดนทางดานวัฒนธรรมของโลกพระองคหนึ่ง พระนิพนธของพระองคมีทั้งสิ้นหลาย
เรื่องดวยกัน และเรื่องที่เดนเรื่องหนึ่งคือเรื่องพระปฐมสมโพธิกถา ดังที่ กุหลาบ มัลลิกะมาส ไดกลาวถึง
เรื่องพระปฐมสมโพธิกถาวา นอกจากจะมีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธประวัติอยางละเอียด แฝงดวยธรรมะ
และปรัชญาของศาสนาพุทธมากมายแลวยังมีความไพเราะงดงามในดานการใชสํานวนเปรียบเพื่อให
เกิดมโนภาพ และเกิดอารมณความรูสึก มีสํานวนสูงสงดวยคําและการเรียบเรียงเปน “รอยแกว” (
ประหนึ่งเอาแกวมณีมารอยกรอง ) อยางแทจริง (กุหลาบ มัลลิกะมาส. ๒๕๑๗ : ๑๓๕)
นอกจากนั้น ปรีชา ทิชินพงศ ไดกลาวยกยองเรื่องพระปฐมสมโพธิกถาไวเชนกัน ดังขอความวา

ถาไดลองอานศึกษาจากเรื่องพระปฐมสมโพธิกถา ฉบับสมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรสจริงๆ ก็
จะเห็นถึงจินตนาการประเภทตีความ (Interpretative Imagination) อันเปนเรื่องสอดใสสัญลักษณ การสวม
ลักษณะสิ่งหนึ่งใหกับอีกสิ่งหนึ่งซึ่งผูอานจําตองใชความสามารถเปนพิเศษในการตีความเหลานี้สรุปไดวา
ในขั้นของจินตนาการนี้เคาโครงใหญเปนจินตนาการขั้นธรรมดา เพราะองคพระนิพนธทรงแปล ชําระ
มาจากคัมภีรอื่น แตในดานการบรรยายสอดใสสัญลักษณจัดเปนจินตนาการขั้นสูง กระทําไดยาก ควรคา
แกการยกยองจริงๆ

(ปรีชา ทิชินพงศ. ๒๕๒๔ : ๑๕๖ )


การศึกษาเรื่องสํานวนเปรียบนั้น สวนใหญผูศึกษามักจะศึกษาสํานวนเปรียบวาเปนเพียงสวน
หนึ่งของวรรณคดีหรือวรรณกรรมเทานั้น คือศึกษาวาผูแตงใชสํานวนเปรียบประเภทใดบาง เชน อุปมา
อุปลักษณ นามนัย เปนตน แตในการวิจัยนี้ผูวิจัยตองการศึกษาสํานวนเปรียบนั้นวามีความหมาย
อย า งไรที่ ส ามารถทํ า ให ผู อ า นเกิ ด จิ น ตภาพขึ้ น ได โดยผู วิ จั ย จะจั ด กลุ ม ของสํ า นวนเปรี ย บตาม
แบบเปรียบหรือสิ่งที่นํามาเปรียบ การแบงกลุมในลักษณะนี้จะทําใหทราบวาการใชแบบเปรียบอยาง
นั้นมีผลตอความเขาใจทั้งดานความหมายและอารมณในวรรณคดีอยางไร การวิเคราะหความหมาย
ของสํานวนเปรียบนี้ผูวิจัยจะวิเคราะหความหมายโดยการตีความโดยอาศัยปริบททางภาษา และปริบท
ทางสังคม เปนตน ทั้งนี้เพราะวาถอยคําที่ใชนั้นมีจุดประสงคของการสื่อสารที่เปลี่ยนแปลงไปตาม
สถานการณหรือโอกาสที่สื่อสาร ตัวอยางการใชสํานวนเปรียบในเรื่องพระปฐมสมโพธิกถา ปริจเฉท
ที่ ๙ มารวิชัยปริวรรต ดังนี้

ตัวมารโยธาแตละคนๆพื้นพิกลนานา ตาเหลือกเหลืองแลเขี้ยวโงงออกนอกปาก หนาผากเถลิก


คิ้วขมวดคอมคด หนวดปรากฏดุจลวดทองแดงแข็งกระดาง รูปรางดุรายกาจหยาบชาหนาแสยะ ผมหยิก
สยองมวนทบดุจกอนหอยเปนกลุมกลม เล็บทั้งใหญทั้งคมทั้งแหลมเลหหลาวยาวโงงทุกๆ คน แตละคนๆ
ลวนมีมือสรรพศาสตราวุธหลากหลายมีกายสูงคาพยุตหนึ่งบาง ๓ คาพยุตบางกึ่งโยชนบาง โยชนหนึ่งบาง
๒ โยชนบาง ๓ โยชนก็มีบาง ตางๆ แสดงฤทธิ์เตนโลดโดดขึ้นบนอากาศตวาดศัพทสําเนียงเสียงสะทาน
สะเทื้อนกองดุจทองพสุธาจะโทรมทรุด มิฉะนั้นดุจเสียงมหาเมฆลั่นบันลือแลเสียงอสนีบาตแลเสียงคลื่น
ในทองมหาสาครสมุทรตางๆ ทําลายซึ่งจักรวาฬอันอื่นมา เพื่อจะมาย่ําเหยียบมหามงคลจักรวาฬอันนี้ มี
ครุวนาดุจมหาบรรพตอันเนื่องติดกันมาทับมหาโพธิมณฑลใหโทรมทรุดทําลาย

( สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระ ปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๔๐ : ๑๕๕-๑๕๖)

จากตัวอยางขางตนนี้จะเห็นไดวามีการใชสํานวนเปรียบหลายสํานวนดวยกัน รวมทั้งมีการใช
ภาษาที่แสดงภาพตางๆ ในเหตุการณนั้นไดอยางชัดเจนยิ่งขึ้น การใชสํานวนเปรียบ คือ (๑) หนวด
ปรากฏดุจลวดทองแดงแข็งกระดาง (๒) ผมหยิกสยองมวนทบดุจกอนหอยเปนกลุมกลม (๓) เล็บทั้ง
ใหญทั้งคมทั้งแหลมเลหหลาวยาวโงงทุกๆ คน (๔)ตวาดศัพทสําเนียงเสียงสะทานสะเทื้อนกองดุจทอง
พสุธาจะโทรมทรุด มิฉะนั้นดุจเสียงมหาเมฆลั่นบันลือแลเสียงอสนีบาตแลเสียงคลื่นในทองมหาสาคร
สมุทรตางๆ ทําลายซึ่งจักรวาฬอันอื่นมา เพื่อจะมาย่ําเหยียบมหามงคลจักรวาฬอันนี้ มีครุวนาดุจ
มหาบรรพตอันเนื่องติดกันมาทับมหาโพธิมณฑลใหโทรมทรุดทําลาย จากสํานวนเปรียบเหลานี้จะเห็น
ไดวามีการใชแบบเปรียบที่แตกตางกันออกไป เชนใหหนวดที่แข็งเปรียบเทียบกับลวด ใหผมที่หยิกมวน
เปรียบเทียบกับกอนหอย ใหเล็บที่คม ใหญ และแหลมเปรียบเทียบกับหลาว หรือใหความดังของเสียง

เปรียบเทียบกับเสียงแผนดินถลมหรือเสียงฟาผา เปนตน นอกจากจะมีการใชสํานวนเปรียบที่ทําให


ผูอานเกิดจินตนาการและเห็นภาพตามไปดวยแลวยังมีการใชภาษาที่ทําใหผูอานเกิดจินตภาพตามไป
อีกดวย ดังการใชคํา เชน ตาเหลือกเหลือง คิ้วขมวดคอมคด ผมหยิกสยอง หรือการใชเสียงของคํา เชน
ทั้งแหลมเลหหลาวยาวโงง ตวาดศัพทสําเนียงเสียงสะทานสะเทื้อน เปนตน
เนื่องจากวรรณคดีเรื่องพระปฐมสมโพธิกถาเปนวรรณคดีที่ไดรับยกยองวาเปนผลงานที่โดด
เดนเรื่องหนึ่งในวรรณคดีไทย ดังนั้นจึงมีผูนําเรื่องนี้มาวิจัยหลายทานดวยกัน อาทิ วงเดือน สุขบาง
(๒๕๒๔) ศึกษาพระปฐมสมโพธิกถาในแนวสุนทรียะ สวาง ไชยสงค (๒๕๓๘) ศึกษาภาพพจนใน
วรรณคดีเรื่องพระปฐมสมโพธิกถา โดยการตีความและขยายความ และสราวุธ จันสีหา (๒๕๔๒)
ศึกษาการเปลี่ยนแปลงคํายืมภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตที่ปรากฏในพระปฐมสมโพธิกถา จาก
งานวิจัยขางตนนี้ยังไมมีผูที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องสํานวนเปรียบที่ปรากฏในเรื่องพระปฐมสมโพธิกถา
ผูวิจัยสนใจและตองการศึกษาความหมายของสํานวนเปรียบในเรื่องนี้ทุกสํานวนวาสามารถชวยสราง
จินตภาพอยางไรแกผูอาน โดยวิเคราะหจากการตีความตามรูปศัพท และตีความหมายตามปริบท
แวดลอมในเรื่องดวย และนอกจากนั้นก็ยังวิเคราะหแนวนิยมในการใชสํานวนเปรียบ เพื่อใหทราบวา
ผูนิพนธมักจะใชสํานวนเปรียบในเนื้อหาอยางไร จากการวิเคราะหนี้จะเปนสวนสําคัญอันจะนําไปสู
การเขาใจสาระสําคัญของเรื่องตอไป

ความมุงหมายของการศึกษาคนควา
เพื่ อ ศึ ก ษาการใช ภ าษาสร า งจิ น ตภาพของสํ า นวนเปรี ย บ และศึ ก ษาแนวนิ ย มการใช
สํานวนเปรียบในวรรณคดีเรื่องพระปฐมสมโพธิกถา

ความสําคัญของการศึกษาคนควา
ทําใหเขาใจการใชภาษาสรางจินตภาพของสํานวนเปรียบ และแนวนิยมการใชสํานวนเปรียบ
ในวรรณคดีเรื่องพระปฐมสมโพธิกถา อันจะนําไปสูการเขาถึงอารมณ ความรูสึกนึกคิด และเขาใจ
สาระสําคัญของเรื่องไดดียิ่งขึ้น

ขอบเขตของการศึกษาคนควา
ศึกษาวิเคราะหสํานวนเปรียบในพระปฐมสมโพธิกถา เฉพาะฉบับของสมเด็จพระมหาสมณเจา
กรมพระปรมานุชิตชิโนรส

นิยามศัพทเฉพาะ
สํานวนเปรียบ หรือความเปรียบ หรือโวหารเปรียบเทียบ หรือสํานวนเปรียบเทียบ หมายถึง
คําหรือขอความที่มิไดมีความหมายตรงไปตรงมา แตแสดงความหมายในเชิงเปรียบเทียบ โดยมีคํา
แสดงการเปรียบเทียบหรือคําเชื่อม เชน ดุจ เหมือน ประหนึ่ง เปนตน คั่นอยูระหวางสิ่งที่ตองการเปรียบ
กับแบบเปรียบ
แบบเปรียบ หมายถึง สิ่งที่นํามากลาวอางอิงถึงในสํานวนเปรียบเพื่อใหผูอานเกิดจินตภาพ
ไดดีขึ้น
แนวนิยม หมายถึงการปรากฏซ้ําของสํานวนเปรียบ หรือน้ําหนักของการใชสํานวนเปรียบ
เพื่อนําไปสูความเขาใจในจุดมุงหมายและความคิดที่กวีนําเสนอแกผูอาน

วิธีดําเนินการศึกษาคนควา
การศึ ก ษาคน คว า สํ า นวนเปรีย บในพระปฐมสมโพธิ ก ถาจะดํ า เนิ น การศึ ก ษาค น คว า ตาม
ขั้นตอนดังนี้
๑. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
๒. ศึกษาสํานวนเปรียบในวรรณคดีพุทธศาสนาเรื่องพระปฐมสมโพธิกถา
๓. วิเคราะหการใชภาษาสรางจินตภาพของสํานวนเปรียบตามลําดับขั้นตอนดังตอไปนี้
๓.๑ จัดกลุมตามแบบเปรียบ
๓.๒ วิเคราะหความหมายโดยพิจารณาจากคํา เสียงของคํา ขอความ
๔. วิเคราะหแนวนิยมในการใชสํานวนเปรียบ โดยพิจารณาจากความหมายของสํานวน
เปรียบแตละสํานวน
๕. สรุปผลและเสนอผลการศึกษาคนควาแบบพรรณนาวิเคราะห

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการศึกษาคนควา
การวิเคราะหการใชภาษาสรางจินตภาพของสํานวนเปรียบในวรรณคดีเรื่องพระปฐมสมโพธิ
กถานี้ ผูวิจัยไดศึกษาและคนควาแนวความคิดมาจากเอกสารและงานวิจัยจํานวนมาก ในประเด็น
ตางๆ กันไป ในที่นี้ผูวิจัยไดสรุปเนื้อหาที่นํามาใชในการวิเคราะหโดยแบงเปนหัวขอ ดังตอไปนี้
๑. วรรณคดีเรื่องพระปฐมสมโพธิกถา
๒. สํานวนเปรียบ
๓. การสรางจินตภาพ
๔. การใชภาษา

วรรณคดีเรื่องพระปฐมสมโพธิกถา
พระปฐมสมโพธิกถา เปนงานพระนิพนธของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิต
ชิโนรส มีเนื้อหาเกี่ยวกับประวัติของพุทธศาสนา เนื้อเรื่องแบงออกเปนตอนๆ เรียกวา ปริจเฉท มี ๒๙
ปริจเฉท นอมนิจ วงศสุทธิธรรม กลาววา

ลักษณะของเรื่องเปนพุทธประวัติอยางละเอียดในแนวสรรเสริญพุทธคุณ มีอรรถรสและสาระขั้น
อภิธรรมเนื้อหาหนักไปทางอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริยและบุคลาธิษฐาน ซึ่งสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระ
ปรมานุ ชิ ต ชิ โ นรส ทรงมุ ง หวั ง ที่ จ ะโน ม น า วจิ ต ใจคนให เ กิ ด ศรั ท ธาเลื่ อ มใสในองค พ ระศาสดา หรื อ ใน
พระพุทธศาสนา เพื่อนําไปสูการปฏิบัติธรรมตอไป เปนการสนองพระราชประสงคแหงพระบาทสมเด็จพระ
นั่งเกลาเจาอยูหัว ในอันที่จะธํารงพระพุทธศาสนาไวใหเปนปกแผนตอไป

(นอมนิจ วงศสุทธิธรรม. ๒๕๓๐ : ๙๑)

เรื่อพระปฐมสมโพธิกถานี้เดิมมีผูแตงไวหลายทานดวยกัน ดังที่พบในหอพระสมุด ๖ สํานวน


คือ

๑. สํานวนเกามี ๒๒ ปริจเฉท ไมไดบอกไววาใครแตง แตงที่ไหน เมื่อไร และใครแปล


๒. สํานวนสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรสทรงแปลชําระมี ๒๙ ปริจเฉท
๓. ปฐมสมโพธิฉบับ ๑๐ กัณฑ สมเด็จพระสังฆราช (สา) วัดราชประดิษฐทรงพระนิพนธ
๔. ปฐมสมโพธิฉบับ ๓ กัณฑ ของสมเด็จพระสังฆราช (สา) เชนกัน
๕. ปฐมสมโพธิมหาปธานทุกกรกิรยิ า สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ฤทธิ์) วัดอรุณราชวราราม เมื่อครั้ง
เปนพระธรรมไตรโลกาจารย วัดบพิตรพิมุข เรียบเรียง มีความเพียงพระมหาบุรุษทรงกระทําทุกรกิริยา
๖. ปฐมสมโพธิ ๓๐ ปริจเฉท พระเถระ ๓๐ รูปแตงเทศนในรัชกาลที่ ๕ สํานวนนี้แตงตามปฐมสมโพธิ
กถาของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส

(เสาวนิต วิงวอน. ๒๕๔๐ : ๗๗)

ส ว นพระปฐมสมโพธิ ก ถาสํา นวนสมเด็จ พระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิต ชิ โ นรสนี้ มี


ผูเชี่ยวชาญหลายทานไดแสดงทัศนะและวิเคราะหเนื้อเรื่องบางตอนไวบางดังเชน สุภาพรรณ ณ บาง
ชาง ไดกลาวยกยองเรื่องพระปฐมสมโพธิกถาในสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรสวา

...เปนผลงานวรรณคดีที่มีความงามในการแตงเปนเลิศเรื่องหนึ่งในวรรณคดีไทย เมื่อไดตรวจเทียบ
กับพระปฐมสมโพธิกถาฉบับภาษาไทยกับปฐมสมโพธิฉบับภาษาบาลี ไดพบวาพระปฐมสมโพธิกถาฉบับ
ภาษาไทยของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส เปนงานแปลภาษาบาลีเปนภาษาไทยที่
เยี่ยมที่สุดในบรรดาหนังสือแปลภาษาบาลีเปนไทย เพราะสามารถแปลรักษาคํารักษาความในสํานวนบาลี
ออกมาในรูปภาษาไทยที่เปนภาษาไทยในวรรณคดีขั้นสูง

(สุภาพรรณ ณ บางชาง .๒๕๓๓:๘๕)

นอกจากนั้น ศักดิ์ศรี แยมนัดดา ก็ไดใหขอสังเกตในเรื่องพระปฐมสมโพธิกถาวา

เรื่องนี้ใชสํานวนพรรณนาโวหารตั้งแตตนจนจบ แมจะมีเทศนาโวหารแทรกอยูก็เปนสวนนอย ใน
การพรรณนาโวหารนั้น นอกจากจะเลนศัพทบาลี และสันสกฤตมากมายแลวยังมีการพรรณนาแบบอติพจน
(Hyperbole) คือการพรรณนาเกินความจริง เปรียบเทียบเกินความจริงเปนอันมาก เรื่องนี้ถือเปนเรื่องธรรมดา
เพราะวรรณคดีมิไดมุงขอเท็จจริงแตมุงความเพลิดเพลินบันเทิงใจเปนสําคัญดวย เชน เจาหญิง สิริมหา
มายาเสด็จไปพักผอนในพระราชอุทยาน ทรงมีบริวารสตรีแวดลอมถึงแสนนาง หรือตอนพระพุทธเจาเสด็จ
ลงมาจากสวรรคชั้นดาวดึงสมีเทพและอมนุษยจากหมื่นจักรวาลติดตามมาเปนขบวนเกียรติยศ สง
เสด็จเปนตน เรื่องเหลานี้มิไดมุงเอาความจริงกวีผูนิพนธมุงเอาความหมายแตเพียงกวางๆ ใหเห็นความ
ยิ่งใหญมโหฬารเทานั้นเอง จะยิ่งใหญมโหฬารมากแคไหนก็อยูที่จินตนาการของกวี และผูอื่นจะรับกันได
หรือไมเพียงใดเทานั้น ความจริงยอมไมเปนสิ่งสําคัญในกรณีนี้เพราะพิสูจนไมได

(ศักดิ์ศรี แยมนัดดา. ๒๕๓๓:๑๐๓)

นอกจากนั้น เกษม บุญศรี ยังไดกลาวถึงการใชภาษาในเรื่องพระปฐมสมโพธิกถานี้วา

...มีการใชสํานวนวรรณคดีแท แตละบทแตละตอนมีความไพเราะ เชนถาเราพูดเพียงวา นางงาม


มาก หรืองามหาที่เปรียบมิได หรือสวยมาก หรือสวยที่สุดเทานั้นก็คงจะไมคอยมองเห็นภาพที่สวยงามได
มากนัก ถึงมากก็ดูไมซึมซาบถึงจิตใจ แตพอพูดวา“พระราชกุมารมีพระสิริวิลาสเลิศเลหประการหนึ่งวา
เทวราชธิดาอันแวดลอมดวยอเนกนิกรเทพอัปสรกัญญา” เราจะมองเห็นภาพไปตามที่ไดยินนั้น ทําใหเกิดรส
ยิ่งขึ้น

(เกษม บุญศรี .๒๕๑๘:๑๙๙)


ดวงมน จิตรจํานงค ไดกลาวถึงเรื่องพระปฐมสมโพธิกถาวา

...เปนงานประพันธ ประเภทรอยแกวกวีนิพนธ (poetic prose) คือนอกจากจะบันทึกขอเท็จจริง


เหตุการณสําคัญ แลวยังมุงผลทางสุนทรียะดวย คุณสมบัติเชิงกวีนิพนธของเรื่องพระปฐมสมโพธิกถา คือ
การใชองคประกอบของภาษานับตั้งแตเสียง คํา กลุมคํา และประโยค เปนวัสดุสรางแรงกระทบอารมณที่เรา
การรับรูของผูอานอยางที่ไมปรากฏในการสื่อสารตามปกติ จุดมุงหมายของเรื่องพระปฐมสมโพธิกถามิใชการ
เลา เรื่อ งพุ ท ธประวัติ แต เป น การใหการรับ รู ท างความหมายอัน ลึกซึ้ ง ของพุท ธประวัติผา นกระบวนการ
ตัดสินใจและพฤติกรรมตางๆ ของพระพุทธเจา ผูทรงนิพนธจึงตองอาศัยกลวิธีทางภาษาอยางมุงใหประกอบ
วัสดุทุกสวนมีความหมายมากที่สุด

(ดวงมน จิตรจํานงค . ๒๕๔๐ : ๑๘๕-๑๘๗ )

งานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องพระปฐมสมโพธิกถามีหลายเลมดวยกัน งานวิจัยที่สําคัญไดแก
งานวิจัยของ วงเดือน สุขบาง (๒๕๒๔) ไดศึกษาพระปฐมสมโพธิกถาในแนวสุนทรียะ มุงวิเคราะห
รสคํา รสความ และทวงทํานองเขียนในพระปฐมสมโพธิกถา พบวาคําที่ใชมีลักษณะดีเดนทั้งดาน
ความหมายที่เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง บุคคล เหตุการณ สถานที่ เวลา และโอกาส เสียงของคําไพเราะ
สละสลวย มีทั้งสัมผัสสระ สัมผัสพยัญชนะ ลีลาจังหวะ และการเลนคํา เลนอักษร และการเลียนเสียง
ธรรมชาติ นอกจากนี้ยังมีการซ้ําคําซ้ําวลี การหลากคํา การใชคําที่กอใหเกิดภาพ คําที่มีลักษณะสูงสง
คํา ที่ แสดงอาการเคลื่อนไหว และคํา ที่ กอใหเ กิ ดการสะเทื อนอารมณ การเลื อกสรรคํา ในลักษณะ
ดังกลาว ทําใหผูอานไดรับความสนุกสนานเพลิดเพลิน เกิดจินตนาการ มองเห็นภาพ มีอารมณคลอย
ตาม ไดทั้งความรูและความคิดดวย นอกจากนั้น สวาง ไชยสงค (๒๕๓๘) ไดศึกษาภาพพจนใน
วรรณคดีพระปฐมสมโพธิกถา โดยการ ตีความและขยายความ พบวา วรรณคดีพระปฐมสมโพธิกถามี
ภาพพจนทั้งสิ้น ๙ ประเภทรวมจํานวนทั้งหมด ๒๓๓ แหงภาพพจนที่ปรากฏมากที่สุดคือ การใช
สัญลักษณ ภาพพจนที่ปรากฏนอยที่สุดคือ การใชคําถามชวนคิด สวนภาพพจนที่ไมปรากฏใชเลยคือ
การกลาวเทาความ การตีความภาพพจนที่ปรากฏในวรรณคดีตามหลักธรรมวิภาคนี้ไดความหมาย
ทั้งสิ้น ๑๕๓ ความหมาย ภาพพจนที่ตีความไดความหมายมากที่สุด คือ การใชสัญลักษณ ภาพพจนที่
ตีความไดนอยที่สุด คือการใชคําถามชวนคิด ความหมายทุกความหมาย มีเนื้อความตรงตามหลัก
พุทธธรรมในหมวดธรรมวิภาคทั้งสิ้น สวนการขยายความไดขยายความทั้งสิ้น ๑๕๓ ครั้ง โดยขยาย
ความหมายที่ไดจากการตีความภาพพจนทั้ง ๙ ประเภท การขยายความแตละครั้ง เปนการอธิบาย
ความหมายใหละเอียดยิ่งขึ้น โดยยกพุทธธรรมมาสนับสนุน เพื่อใหเขาใจเหตุผลและรายละเอียดของ
ความหมาย ตลอดจนความสัมพันธระหวางความหมายกับภาพพจนนั้นๆ ใหชัดเจนยิ่งขึ้น

กลาวโดยสรุป วรรณคดีเรื่องพระปฐมสมโพธิกถา เปนวรรณคดีที่มีการใชภาษาที่ประณีตสูงสง


ใชคําที่มี ความหมายลึกซึ้ง และประกอบดวยภาษาเปรียบเทียบ หรือสํานวนเปรียบหลายสํานวน
ดวยกัน ทั้งนี้ก็เพื่อเสนอเรื่องราวในพุทธประวัติอยางละเอียดอันเปนการสรางความเลื่อมใสศรัทธาแก
ผูอานวรรณคดีเรื่องนี้ ดังนั้น การศึกษาสํานวนเปรียบในเรื่องพระปฐมสมโพธิกถานี้จึงตองการศึกษาให
ลึกถึงความหมายที่แทจริงของสํานวนเปรียบและเขาใจวิธีการใชภาษาในเรื่องนี้

สํานวนเปรียบ
คําวา “สํานวนเปรียบ” ในที่นี้มีความหมายเหมือนกับ คําวา ความเปรียบ สํานวน
เปรียบเทียบ หรือโวหารเปรียบเทียบที่หลายทานไดใหนิยามไว ดังนั้นเพื่อความเขาใจตรงกันในที่นี้จะ
ใช “สํานวนเปรียบ” ในความหมายวา ภาษาที่มีการเปรียบเทียบโดยนําสิ่งหนึ่งมาเปรียบกับสิ่งหนึ่งเพื่อ
สรางความเขาใจหรือสรางความรูสึกประทับใจใหแกผูอาน ทําใหผูอานมีสวนรวมคิด รวมเขาใจและ
เขาถึงอารมณของผูแตงไดอยางเต็มที่ กลาวไดวา สํานวนเปรียบทําใหผูอานสามารถเห็นภาพที่ผูแตง
ตองการกลาวถึงไดแจมชัด และกวางขวางยิ่งขึ้นกวาคําอธิบายธรรมดา เพราะสํานวนเปรียบเปน
ขอความที่แนะความหมายใหผูอานใชความคิด จินตนาการ และประสบการณของตนเอง ดวยเหตุน้ี
สํานวนเปรียบจึงเปนกลวิธีที่กวีใชเราความรูสึกของผูอานใหเกิดความสนใจที่จะตีความตลอดจนมี
อารมณรวมไปกับเนื้อเรื่องตามที่กวีตองการ

ลักษณะของสํานวนเปรียบมี ๒ ลักษณะ ตามที่ ดิเรกชัย มหัทธนะสิน ไดแบงไวดังตอไปนี้

๑) แบบที่ปรากฏทั้งสิ่งที่ถูกเปรียบและแบบเปรียบ ถอยคําสํานวนที่ปรากฏทั้งสิ่งที่ถูกเปรียบและแบบ
เปรียบในโครงสรางผิวนั้นมาจากโครงสรางทางความหมาย ซึ่งประกอบขึ้นดวยสวนประกอบ ๒ สวน คือ
ก. สิ่งที่ถูกเปรียบ (Tenor) คือความคิดหรือสิ่งที่เราตองการนํามาเสนอหรือ เปรียบเทียบอาจจะตรงกับ
อุปไมย
ข. แบบเปรียบ (Vehicle) คือสิ่งที่สื่อใหเห็นถึงความคิดหรือสิ่งที่นํามาเปนแบบของการเปรียบเทียบ อาจ
จะตรงกับอุปมา
นอกจากนั้นยังมีคําเชื่อม (Conjunction) ที่บงความหมายไปในทํานองเหมือนกันเปรียบกัน ไดแก ยัง
กะ ราวกับ อยางกับ เหมือน เปน คลายกัน หรือ อาจ บอกความตางไดแก ใช ไมใช
เมื่อนําสวนประกอบทั้ง ๒ สวน คือ สิ่งที่ถูกเปรียบและแบบเปรียบมาสัมพันธกันทําใหเราเห็นโครงสรางได
ชัดเจน เชน
๑๐

สิ่งที่ถูกเปรียบ คําเชื่อม แบบเปรียบ

แกมแดง เหมือน ลูกตําลึงสุก

๒) แบบที่ปรากฏเฉพาะแบบเปรียบ ถอยคําสํานวนที่ปรากฏเฉพาะแบบเปรียบเทียบในโครงสรางผิวนั้น มา
จากโครงสรางทางความหมายซึ่งประกอบดวยสวนประกอบ ๒ สวน คือสิ่งที่ถูกเปรียบและแบบเปรียบ แตดวย
กระบวนการสรรคําแบบลด การเพิ่มและการสัมผัส จึงทําใหปรากฏเฉพาะแบบเปรียบเทานั้น เชนสํานวน “สาวไสให
กากิน” เปนตน

(ดิเรกชัย มหัทธนะสิน. ๒๕๒๙ : ๔๖-๖๐)

งานวิจัยที่ไดศึกษาเรื่องเกี่ยวกับสํานวนเปรียบนี้มีหลายทานดวยกัน ดังเชน บุญชอบ เริงทรัพย


(๒๕๒๐) ไดศึกษา อุปมา อุปไมย ในพระไตรปฎก โดยการรวบรวมมาจัดเปนหมวดหมู พบวาคําอุปมา
ที่นํามาใชลวนเปนสิ่งหรือขอเท็จจริงที่อยูใกลชิดหรือมีความสัมพันธกับผูรับฟงในชีวิตประจําวัน ใน
กรณี ที่ เ ป น สิ่ ง ที่ อ ยู ห า งไกลก็ จ ะเป น สิ่ ง ที่ รู ชั ด กั น อยู ทั่ ว ไป ซึ่ ง ส ว นมากก็ จ ะเป น ธรรมชาติ หรื อ
ปรากฏการณ ทางธรรมชาติ ไมนิยมยกสิ่ง ที่เปน นามธรรมมาเปน ขออุ ปมา ในภาษาไทยก็ นิยมใช
หลักการเดียวกันนี้ นอกจากนั้น ญาดา อรุณเวช (๒๕๒๖) ไดศึกษา “ความเปรียบในบทละครในพระ
ราชนิพนธ ใน รัชกาลที่สอง” โดยเลือกศึกษาบทละครในพระราชนิพนธเรื่องอิเหนาและรามเกียรติ์ จาก
การศึกษาพบวา

ความเปรี ย บส ว นใหญ มี เ นื้ อ หาแสดงความผู ก พั น กั บ ธรรมชาติ อ ย า งลึ ก ซึ้ ง กล า วคื อ นํ า เอา
ธรรมชาติมาเปนตัวเชื่อมโยง นอกจากนี้เนื้อหาของความเปรียบยังเกี่ยวพันอยูกับความเปนไปในสังคมไทย
สมัย รัตนโกสินทรตอนตน คือ เปนกระจกสะทอนภาพของบานเมือง อาชีพ การดําเนินชีวิต และความ
เปนอยูของผูคนในสังคม ความรูสึกนึกคิดและความนิยมในสมัยนั้น ภาษาที่ใชขนบธรรมเนียมประเพณี
ตลอดจนศิลปวัฒนธรรม สาขาตางๆ สิ่งเหลานี้เปนสิ่งที่คุนเคยเพราะไดพบเห็นไดยินไดฟงอยูเสมอ จึง
สามารถทําความเขาใจไดงายขึ้นไมสับสน

(ญาดา อรุณเวช : ๒๕๒๖)


๑๑

การสรางจินตภาพ
“จินตภาพ” ในงานวิจัยนี้ตรงกับคําวา IMAGERY หมายถึงการใชศัพทพิเศษในงานเขียนชิ้นหนึ่งๆ
เพื่อแทนความคิ ด อารมณ และประสบการณ ดา นความรู สึก และก อให เ กิ ด ภาพในจิต หรื อขอคิ ด
( ราชบัณฑิตยสถาน. ๒๕๓๙ : ๑๑๙ ) และมีผูที่กลาวถึงจินตภาพไวอีกหลายทาน ดังตอไปนี้

กุหลาบ มัลลิกะมาส ไดกลาวถึงภาพในจิต หรือในที่นี้ก็คือ “ จินตภาพ” วาเปนคุณสมบัติที่


เปนอาภรณสําคัญประดับใหวรรณคดีงดงามขึ้น อาจกลาวถึงคุณคาที่เปนประการสําคัญไดวา

๑) กอใหเกิดจินตนาการ อันเปนความบันเทิงดานอารมณ อาจเปนอารมณเศราครึกครื้นออนหวาน


หมนหมอง ชื่นชม บางครั้งมีความแปรผันของอารมณอยางรวดเร็ว บางครั้งจะเปนไปอยางเชื่องชาเอื่อยเฉื่อย
และจะใหความรูสึกเพียงใดนั้นเปนไปตามประสบการณของผูอาน การไดเขาถึงอารมณตางๆ และทําให
อารมณแปรผันไปตางๆ การไดทบทวนอารมณในอดีตตลอดจนไดสรางสรรคจินตนาการใหม นั่นคือความ
บันเทิงดานอารมณของมนุษยทั่วไป
๒) ทําสิ่งที่เปนนามธรรมใหเปนรูปธรรม ทําสิ่งเลือนลางใหกระจางชัดเจนขึ้น และสรางนัยสรุปของ
เรื่องราวใหสั้นเขา การสรางสรรคเชนนี้ทําใหวรรณคดีกระทบกับสัมผัสประสาทของผูอานไดงายขึ้น และสราง
ความรูสึกดูดดื่ม กินใจไดรวดเร็วขึ้น
๓) สรางความเขมขนทางอารมณ คือวรรณคดีนั้นๆ มิไดเปนแตเพียงการบอกเลาใหรูเรื่อง แตเปนการ
กระทบใหรูสึกอีกดวย
๔) สรางความกระชับรัดกุม ไมจําเปนตองกลาวมากก็เขาใจไดกวางขวางเทากับเปนการสรางมิติในการ
เขาถึงสิ่งตางๆ และอารมณตางๆ จากจินตนาการของผูอานเอง ไดเปนเฉพาะแตถอยคําของกวี แตเปนความ
เขาใจรวมและรูสึกรวมของผูอานดวย

(กุหลาบ มัลลิกะมาส. ๒๕๓๕ : ๑๓๒ )

นอกจากนี้ คะวะบะตะ ยะชุนะริ ไดกลาวถึงการสรางจินตภาพไวในหนังสือ “ลักษณะลีลาและ


การใชจินตภาพ” ( แปลโดย ปยะจิต ทาแดง) ดังขอความตอไปนี้

ผูประพันธตองใชคําสั้นที่สุด กระชับที่สุดเพื่อเสนออารมณใหตรงกับภาพในใจผูอานรับภาพนั้น
แลวก็เปนภาพในใจของผูอาน กอใหเกิดอารมณสะเทือนใจรวมกับผูประพันธ เมื่อผูประพันธใชคําเพียง
นอยที่สุด มักจะเลือกคําที่ทําใหผูอานไดเห็นเปนภาพจากคําตางๆ เมื่อมารวมเรียงก็จะเกิดเปนภาพ
ผูประพันธตองคํานึงวาคําที่เลือกมาจะแสดงออกทางดานสี แสง รส กลิ่น เสียง สัมผัส ซึ่งพอเมื่อ
รวมกันแลวทําใหเห็นภาพหรือจินตภาพตรงกับอารมณที่ตองการจะสื่อ
(คะวะบะตะ ยะชุนะริ. ๒๕๓๖ : ๘๗-๘๘)
๑๒

จากขอความดังกลาวสรุปไดวา การใชภาษามีความสัมพันธตอการสรางจินตภาพ ชวยให


ผูอานมองเห็นภาพและเขาใจสิ่งที่ผูเขียนตองการนําเสนอ และในทํานองเดียวกันนี้บังอร ฤทธาภรณ ยัง
ไดกลาวถึงการใชภาษาในสํานวนเปรียบเพื่อสรางจินตภาพวา ควรยึดหลักการในการเลือกถอยคํา
ดังตอไปนี้
๑) เลือกหาถอยคําที่มีความหมายอยางเดียวกัน แตมีความลึกซึ้งและไพเราะกวาใชแทนศัพทธรรมดา
๒) เลือกหาถอยคําในทํานองเปรียบเทียบซึ่งทําใหรูสึกนาเกลียด นากลัว นารัก นาดู นาอัศจรรย
นาเกรงขาม ฯลฯ
๓) เลือกหาถอยคําที่ทําใหรูสึกเจ็บใจ เราใจ ตื่นเตน ฮึกเหิม
๔) เลือกหาถอยคําที่ทําใหรูสึกสงสาร เห็นอกเห็นใจ กรุณา เมตตา
๕) เลือกหาถอยคําที่มีความคมคาย นาคิดตริตรอง เสียดสี แดกดัน อิจฉา กาวราว
๖) เขาใจในการลําดับคํา ลําดับความและลําดับประโยคใหสละสลวย ฟงหรืออานแลวรูสึกกินใจ
ประทับใจ คมคาย

(บังอร ฤทธาภรณ. ม.ป.ป. : ๔๖)

สรุปไดวาการสรางจินตภาพในวรรณคดีนั้นเปนเรื่องของการใชภาษาโดยตรง การใชภาษาเพื่อ
แสดงภาพนั้นมีรูปแบบที่แตกตางกันออกไปตามลีลาของผูแตงแตละคนวาสามารถใชภาษาใหผูอาน
เกิดความประทับใจ และรูสึกตามไปไดเพียงใด

การใชภาษา
การศึกษาวิเคราะหสํานวนเปรียบในพระปฐมสมโพธิกถานี้ ไดศึกษาการใชภาษาระดับคําและ
ความ เนื่องจากในสํานวนเปรียบโดยมากจะใชภาษาในระดับคําและความที่มีลักษณะเฉพาะ มีการ
เลือกถอยคําอยางมีศิลปะและเหมาะสมกับเนื้อเรื่องและสถานการณในเรื่อง ผูวิจัยจึงยึดหลักการ
วิเคราะหภาษาในดานความหมายของภาษา โดยใชขอมูลตอไปนี้เปนแนวทางในการศึกษา

คําและความหมาย
คํามีอิทธิพลอยางมากในการใชภาษา คําอาจกอใหเกิดความรูสึกกระทบกระเทือนอารมณ
ปลุกเรามโนคติ ใหทั้งความรูสึกที่เปนสุข และในขณะเดียวกัน คําก็สามารถกระทบใจใหผูอานเกิด
ระทมความทุกขไดเชนกัน ดังนั้นการเลือกใชคําใหเหมาะสมกับงานจึงเปนสิ่งสําคัญ ดังที่ พรทิพย
ภัทรนาวิก ไดใหคําจํากัดความของคําวาไววา
๑๓

คํา คือ เสียงที่เปนเครื่องหมาย และแสดงออกมาเปนความมุงหมายตางๆ แตขอบเขตของ


ความหมายนั้นไมคงที่ตายตัว อาจจะกวาง แคบ หรือเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลา นอกจากนี้ คํายังเปน
เครื่องใชติดตอทําความเขาใจกัน เปนเครื่องมือของการจํา การคิด การสังเกต การพิจารณา การแสดง
ความคิดเห็น และการแสดงความรูสึก ซึ่งคําตางๆ นั้นมีความหมายได ๒ อยางคือ
๑) ความหมายหลัก (หรือความหมายโดยตรง) ไดแก ความหมายเดิมของคําที่เปน
ความหมายในพจนานุกรม เชน คําวา “สําลี” และคําวา “ลิง” พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน อธิบาย
ความหมายไววา
สําลี น. ตนไมชนิดหนึ่งมีปุยสีขาว, เรียกปุยของเม็ดตนสําลี
ลิง น. สัตวเลี้ยงลูกดวยนม มีปรกติอยูบนตนไม มีหางบาง ไมมีหางบาง มีหลายชนิด เชนลิงลม ลิง
แสม ว.ชอบกระโดดโลดเตน
๒) ความหมายแฝง (หรือความหมายโดยนัย) หมายถึง ความหมายที่ชักนําความคิดใหเกี่ยว
โยงไปถึงสิ่งอื่น ความหมายแฝงของคําอาจจะเกี่ยวของกับสิ่งตางๆ หลายอยาง เชน เกี่ยวของกับความรูสึก
ความเคยชิน กาลเทศะ บุคคล และความสุภาพของภาษา ฯลฯ ตัวอยาง เชน
“สําลี” อาจจะหมายไปถึง ความเบาหรือสีขาว
“ลิง” อาจจะหมายไปถึง ความซน
“เสือ” อาจจะหมายไปถึง คนเกง , คนดุราย เปนตน

(พรทิพย ภัทรนาวิก. ๒๕๒๑ :๔-๕)

ปราณี กุลละวณิชย และคนอื่นๆ ไดอธิบายความหมายของคําวาคําแตละคํามีหลายความ


หมาย โดยแบงไดเปน ๓ ประเภท คือ

๑) ความหมายพื้นฐาน คําทุกคํามีความหมายพื้นฐาน ไมวาจะปรากฏในถอยคําใด คําเหลานี้จะมีความ


หมายนั้นอยู คําหนึ่งอาจมีความหมายพื้นฐานไดหลายความหมาย เชน คําวา “จับ” อาจหมายถึงอาการที่ใช
แตะตองสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ตลอดจนกํายึดไวหรือหมายถึงเกาะ หรือติด, เริ่ม, เกาะกุมตัวไมใหหนี เปนตน
๒) ความหมายแฝง ไดแกความหมายของคํา ๆหนึ่งอาจมีเพิ่มขึ้นจากความหมายพื้นฐานความหมายที่เพิ่ม
ขึ้นนี้มักจะบอกใหรูถึงความรูสึกของผูพูด เชน คําวา “เลา” หรือ “โม” มีความหมายพื้นฐานเหมือนกันคือ บอก
เรื่องราวใหผูอื่นฟง แตคํา ๒ คํานี้มีความหมายแฝงตางกันในความรูสึกคือ คําวา “โม” แสดงใหเห็นวาเราไม
ชอบคําๆ นี้ สวนคําวา “เลา”เรามีความรูสึกธรรมดาเมื่อเราพูดถึงเขา
๓) ความหมายในบริบท ทุกภาษามีคําอยูจํานวนหนึ่งที่มีความหมายพื้นฐานที่คอนขางกวาง เมื่อคําเลานี้
ปรากฏรวมกับคําอื่นๆ จะมีความหมายเพิ่มขึ้น เชน ดวงดี มีความหมายที่เพิ่มขึ้น คือรุงโรจน ไมมีเคราะห
หมายความในบริบทเหมือนกับความหมายแฝงตรงที่ความหมายทั้งสองประเภทเปนความหมายที่เพิ่มขึ้นจาก
๑๔

ความหมายพื้นฐานของคํา ในทุกภาษา คําทุกคํามีความหมายพื้นฐาน แตไมใชทุกคําที่มีความหมายแฝงหรือ


ความหมายในบริบท

นอกจากนี้ คํายังแบงออกตามความหมายได ๓ กลุม คือ


๑) คําพองความหมาย หมายถึง คําที่มีความหมายคลายคลึงกัน เชน กิน ทาน รับประทาน แมจะมีความ
หมายคลายคลึงกัน แตจะมีการใชแตกตางกัน คือ “รับประทาน” จะใชในภาษาที่สุภาพ หรือเปนทางการ
มากกวา “กิน” เปนตน
๒) คําแยงความหมาย คือ คําที่มีความหมายแตกตางกันในลักษณะตรงกันขาม ตัวอยาง ดี-เลว, หอม-
เหม็น, บาป-บุญ, คําติ-คําชม
๓) คําที่มีอยูในกลุมความหมายเดียวกัน คือ การที่ความหมายของคําบางคําครอบคลุมความหมายของคํา
อีกคําหนึ่ง ตัวอยางเชน ในกลุม ขาว ขาวจาว ขาวเหนียว ขางฟาง ขาวสาลี ขางโพด คําวา “ขาว” เปนคําที่มี
ความหมายกวางที่สุด ครอบคลุมความหมายของคําอื่นๆ ไดทั้งหมด แสดงวาในภาษาไทยมีคําเปนชุดซึ่งแสดง
ความสัมพันธกันในลักษณะที่คําในชุดมีความหมายแคบกวางกวากัน

(ปราณี กุลละวณิชย และคนอื่น. ๒๕๓๗ :๑๐๔-๑๐๖ )

ในงานประพันธผูแตงมักพิถีพิถันใน การใชคําการเรียบเรียงรอยแกวก็เชนเดียวกัน ผูแตงตอง


เลือกสรรใชคําใหคํานั้นมีน้ําหนัก รัดกุม และแสดงความชัดเจน ดังที่เปลื้อง ณ นคร ไดกลาววาในการ
ใชคํามีหลายรูปแบบ ผูอานตองทราบคุณสมบัติของคํา ดังตอไปนี้

๑) รูปศัพท หมายถึงคําที่ไทยไดมาจากบาลีสันสกฤต ควรจะเขาใจรูปศัพทของคํานั้นวามีมูลมาอยางไร


ประกอบขึ้นอยางไร
๒) เสียงคํา เสียงของคํานอกจากจะสื่อใหรูสึกถึงความหมายแลวยังใหความไพเราะรื่นหูอีกดวย
๓) ประวัติของคํา คําบางคํามีประวัติและเรื่องราว ถาเราสามารถรูประวัติหรือเรื่องราวของคําไดทําใหเขา
ใจคํานั้นๆ และนํามาใชในทางที่เหมาะสม
๔) ศักดิ์ของคํา คําบางคําเปนคําต่ํา บางคํามีตระกูล บางคําศักดิ์สิทธิ์ บางคํามีน้ําหนัก ตองคํานึงถึง
ศักดิ์ของคํานี้ดวย

(เปลื้อง ณ นคร. ๒๔๙๙ : ๕๓ - ๕๖)


๑๕

นอกจากนั้น วันเนาว ยูเด็น กลาวถึงการเลือกใชคําในการเขียนวาเสียงของคําทําใหเกิดภาพ


สรางความรูสึกและอารมณ ถือเปนการสรางใหถอยคํามีชีวิต การใชคําใหเกิดความงาม เชน

๑.การซ้ําคํา สามารถแบงได คือ


๑.๑ การใชคําในลักษณะคํายมก คือ ใชคํานั้นซ้ําลงไปอีกครั้ง เพื่อใหคํานั้นมีน้ําหนักเพิ่มขึ้นหรือ ลดลง
๑.๒ การใชคําซ้ําแบบเลนคํา คือ นําคํามาใชในความหมายตางกัน เพื่อสรางความรูสึกอันเกิดจาก
เสียงของคํา
๑.๓ การใชคําเพื่อเลียนเสียงธรรมชาติ การเลียนเสียงธรรมชาติสรางความรูสึกเหมือนไดรับประสบ-
การณตรง จึงถายทอดความจริงออกมาในรูปถอยคําเหมือนรับฟงดวยหู
๒.การวางจังหวะเสียงของคํา มีอยู ๔ ลักษณะคือ
๒.๑ ลีลาจังหวะ หมายถึง การวางเสียงของคําที่ทําใหเกิดการขัดแยงระหวางเสียงสูงกับเสียงต่ํา เสียง
สั้นกับเสียงยาว เสียงหนักกับเสียงเบา เสียงแหลมกับเสียงทุม การวางเสียงของคําทําใหตื่นเตนเราใจหรือมี
ความออนหวาน
๒.๒ การใชเสียงของคําในลักษณะประเภทเดียวกัน คือเลนคําและเลนอักษร ซึ่งสามารถแบงไดคือ
๒.๒.๑ การเลนอักษรเดียวกันอยูใกลกัน
๒.๒.๒ การเลนคําที่มีลักษณะเปนคําคู
๒.๒.๓ การเลนคําตนเหมือนกันหรือเปนอักษรตัวเดียวกัน
๒.๒.๔ การเลนคําหลังเปนอักษรตัวเดียวกัน
๒.๓ สัมผัสสระ หมายถึง คําที่คลองจองกันในดานสระ คือคําที่ใชสระและมาตราสะกดเดียวกัน อยูใกล
ชิดติดกัน หรือคั่นกันในวรรคหรือตางวรรค
๒.๔ สัมผัสพยัญชนะ หมายถึง คําคลองจองกันในดานพยัญชนะ คือใชพยัญชนะตัวเดียวกันหรือเสียง
เดียวกัน อยูในวรรคเดียวกันหรือตางวรรคกัน

(วันเนาว ยูเด็น. ๒๕๓๒ : ๒๐)

ลักษณะการใชคําตางๆ ขางตนนี้ ในการวิจัยผูวิจัยจะนําลักษณะตางๆ ของการใชคํานี้มาเปน


แนวทางในการวิเคราะหสํานวนเปรียบเรื่องพระปฐมสมโพธิกถานี้

จากการคนควาพบวามีงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องการใชภาษาสรางจินตภาพ ดังจะนํามา
กลาวไวในที่นี้ คือ ดลฤทัย ขาวดีเดช ศึกษา “ภาษาจินตภาพในเรื่องสั้น ของอัศศิริ ธรรมโชติ” พบวา
๑๖

ภาษาในเรื่องสั้นของอัศศิริ ธรรมโชติ มีลักษณะตางๆ ที่ทําใหผูอานเกิดจินตภาพที่ชัดเจน


ลึกซึ้งและทําใหผูอานเกิดอารมณสะเทือนใจ อันไดแก การเลนเสียงสัมผัสคลองจองและจังหวะ การใชคํา
ซอน การใชคําบอกแสง สี การใชคําทําเนียบกวี การใชคําที่มีความหมายตรงกันขาม การซ้ําคํา การใช
ประโยคซ้ําความ การใชประโยคคําถาม การใชประโยคยาว การสรางความสมดุลทางโครงสรางประโยค
การใช ภ าพพจน แ ละสั ญ ลั ก ษณ ลั ก ษณะการใช ภ าษาทั้ ง หมดนี้ มุ ง สร า งจิ น ตภาพที่ ส อดคล อ งกั บ
สาระสําคัญของเรื่อง มีสัมพันธภาพและเปนเอกภาพเพื่อเชื่อมโยงไปสูการตีความและเขาใจสาระของ
เรื่องอยางลึกซึ้งชัดเจน ไดแก จินตภาพของความโหดราย ความนาสะพรึงกลัว ความทุกข ความเศรา
ความเหงา ความทอแท และความสิ้นหวัง จินตภาพเหลานี้ปรากฏไดเห็นอยางเดนชัดในชื่อเรื่องและฉาก

(ดลฤทัย ขาวดีเดช : ๒๕๔๐)

นอกจากนั้ น สุ วั ฒ นา วรรณรั ง ษี ศึ ก ษา “ภาษาในวรรณกรรมของสุ ว รรณี สุ ค นธา :


ความสัมพันธระหวางแนวคิดกับจินตภาพ” ผลการศึกษาแสดงใหเห็นวา

กลวิธีการใชภาษาสรางจินตภาพของสุวรรณี สุคนธา เริ่มจากการใชคําที่สุวรรณีนํามาใช คือคําที่


ใหรายละเอียดแหงสี แสง เสียง กลิ่น รส ความเคลื่อนไหว และอารมณความรูสึกไดอยางชัดเจนงดงาม
โดยเฉพาะคําบอกสี คําบอกแสง คําบอกการเคลื่อนไหวนั้นสุวรรณี สามารถนํามาใชไดอยางประณีต
งดงามเป น พิ เ ศษ นอกจากนี้ สุ ว รรณี ยั ง สร า งจิ น ตภาพโดยใช อ ลั ง การ คื อ การนํ า ความเปรี ย บและ
สัญลักษณมาสรางจินตภาพ โดยมุงเนน ที่การนําธรรมชาติเขามาใช ทําใหเกิดจินตภาพที่ชัดเจน ดู มี
ชีวิตชีวา แฝงไวซึ่งความหมายที่ลึกซึ้งเพื่อมุงสูแนวคิดของเรื่องอยางประสานกลมกลืน ดังนั้นการสราง
จินตภาพจึงเปนกลวิธีสําคัญที่สุวรรณีใชสื่อแนวคิดของเรื่อง

(สุวัฒนา วรรณรังษี : ๒๕๔๐)

จากเอกสารและงานวิจัยทั้งหมดนี้ ผูวิจัยไดนํามาเปนแนวทางในการวิเคราะหตามความ
มุงหมายของการศึกษา คือการวิเคราะหความหมายและการใชภาษาสรางจินตภาพของสํานวนเปรียบ
รวมทั้งแนวนิยมการใชสํานวนเปรียบในวรรณคดีเรื่องพระปฐมสมโพธิกถาดวย
บทที่ ๒
การใชภาษาสรางจินตภาพของสํานวนเปรียบ

สํานวนเปรียบ คือ ขอความแสดงการเปรียบเทียบระหวางสิ่งสองสิ่ง สิ่งที่นํามาเปรียบนั้นมีทั้ง


สิ่งที่เปนนามธรรมและรูปธรรมเพื่อใหผูอานเกิดจินตนาการเห็นภาพ และความเขาใจอารมณความรูสึก
ตามที่กวีตองการสื่อ ดังนั้นสํานวนเปรียบจึงเปนการใชภาษาที่ชวยใหเกิดจินตภาพไดชัดเจนยิ่งขึ้นวิธี
หนึ่ง
เรื่องพระปฐมสมโพธิกถา เปนวรรณคดีเรื่องหนึ่งที่มีสํานวนเปรียบจํานวนมาก และมีการใช
แบบเปรียบแตกตางกันออกไปตามเนื้อเรื่อง ดังที่ สุธิวงศ พงศไพบูลย กลาวถึงพระปฐมสมโพธิกถาวา

...เปนวรรณคดีที่มีศิลปะในการแสดงความคิดตามวิธีของศิลปะโดยแท การพูดเปรียบเทียบ
ตางๆ ใชโวหารอยางสูง มีศิลปะแบบไมจํากัดแนวความคิดไปแนวใดแนวหนึ่งโดยเฉพาะ ยอมแลวแตใคร
จะตีความเปนอยางไร ไมตัดสินชี้ขาด จึงเปนศิลปะแบบ Arbitrary Art และในการเปรียบการกลาวมี
ศิลปะอยางเราความสนใจ ทิ้งขอคิดที่แยบคายพิสดารไว

(สุธิวงศ พงศไพบูลย. ๒๕๒๕: ๓๒)

นอกจากนั้ น สํ า นวนเปรี ย บในวรรณคดี เ รื่ อ งนี้ ยั ง ใช ภ าษาที่ ไ พเราะงดงาม สามารถสื่ อ


ความหมายไดอยางชัดเจน ดังที่ ปรีชา ทิชินพงศ กลาววา

ผู ท รงนิ พ นธ ว รรณคดี เ รื่ อ งนี้ เ ป น นั ก ปราชญ ที่ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ใ นทางศาสนา วรรณคดี แ ละ
อักษรศาสตรอยางยอดเยี่ยม จึงไดทรงแทรกความรูและเรื่องราวตาง ๆ ในทางศาสนา และวรรณคดีเอาไว
โดยตลอด ศัพทที่ใชเปนศัพทสูง ความไพเราะสละสลวย โออา ทวงทํานองเขียนที่ใชเปนแบบสัญลักษณ
เปรียบเทียบซึ่งยากที่คนธรรมดาอานแลวจะเขาใจ

(ปรีชา ทิชินพงศ. ๒๕๒๔: ๑๔๙)

ดังนั้นสํานวนเปรียบในวรรณคดีเรื่องนี้จึงมีความหมายที่ลึกซึ้ง ใชภาษาที่ไพเราะ ชวยใหผูอาน


ประทับใจ และเกิดจินตภาพดานเสียงและความหมาย
การศึกษาเรื่องการใชภาษาของสํานวนเปรียบในเรื่องพระปฐมสมโพธิกถานี้ ผูวิจัยจึงมุงศึกษา
ความหมายของสํานวนเปรียบวาในเนื้อหาตอนที่ผูนิพนธใชสํานวนเปรียบนั้นสามารถสือ่ ความหมายได
๑๘

อยางไร ดังนั้นการศึกษาความหมายของสํานวนเปรียบ ผูวิจัยจะจัดประเภทตามแบบเปรียบของแตละ


สํานวนเปรียบ เพื่อใหเห็นการใชแบบเปรียบแตละประเภทไดชัดเจนขึ้น
พระปฐมสมโพธิกถามีทวงทํานองการแตงเปนรอยแกว โดยผูนิพนธใชวิธีหลากคําเปรียบใน
การเปรียบ เพื่อความไพเราะสละสลวยของภาษา แตละสํานวนเปรียบที่ตอกันจะมีคําเชื่อมมาเชื่อม
ระหวางแบบเปรียบ ตัวอยางคําเชื่อมที่ผูนิพนธใช เชน ดุจ มิฉะนั้นดุจ ครุวนาดุจ ประดุจ ประหนึ่ง เลห
เปนตน ตัวอยางสํานวนเปรียบที่ตอกันมีดังตอไปนี้

อันธรรมดาวาเปนหมายแลวก็ไดแตความยากอันอัปยศ สิ้นยศ สิ้นสงา หาอํานาจมิได ไมมีใคร


ยําเกรง ยอมหมิ่นประมาท ครุวนาดุจราชรถอันมีงอนปราศจากธงชัย มิฉะนั้นดุจกองไฟอันปราศจากควัน
ถามิดังนั้นดุจราชธานีอันไมมีบรมกษัตริย จะดํารงไอสวริยสมบัติครอบครอง จะตองติฉินยินรายบวาย
อัปมาณ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๓๑๓)

การวิเคราะหการใชภาษาของสํานวนเปรียบจะแยกสํานวนเปรียบตามหัวขอของแบบเปรียบที่
ปรากฏทีละสํานวนเพื่อใหเห็นการใชแบบเปรียบแตละชนิดไดชัดเจน โดยเนนศึกษาความสัมพันธทาง
ความหมายของแบบเปรียบและสิ่งที่ถูกเปรียบ

การใชแบบเปรียบของสํานวนเปรียบ
จากการศึ ก ษาพบว า สํ า นวนเปรี ย บในเรื่อ งพระปฐมสมโพธิ ก ถา มี ก ารใช แ บบเปรีย บซึ่ ง
สามารถแบงออกไดเปน ๗ ประเภท คือ
๑. แบบเปรียบเกี่ยวกับสรรพสัตว
๒. แบบเปรียบเกี่ยวกับธรรมชาติ
๓. แบบเปรียบเกี่ยวกับพืช
๔. แบบเปรียบเกี่ยวกับแรธาตุ
๕. แบบเปรียบเกี่ยวกับสิ่งของ เครื่องใช
๖. แบบเปรียบเกี่ยวกับสถานที่
๗. แบบเปรียบอื่นๆ
๑๙

๑. แบบเปรียบเกี่ยวกับสรรพสัตว
สัตว หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่มีจิตทุกชนิด พจนานุกรมพุทธศาสตนฉบับประมวลศัพท ของพระธรรม
ปฎก ไดใหความหมายของสัตวไววา หมายถึงผูที่ติดของในรูปารมณเปนตน , สิ่งที่มีความรูสึกหรือ
เคลื่ อ นไหวไปได เ อง รวมตลอดทั้ ง เทพ มาร พรหม มนุษ ย เ ปรต อสุ ร กาย ดิรั จ ฉาน และสั ตว น รก
(พจนานุกรมพุทธศาสตน ฉบับประมวลศัพท. ๒๕๔๓ : ๓๒๒-๓๒๓ )
จากวรรณคดีเรื่องไตรภูมิพระรวง ของพระญาลิไทย (๒๕๑๕) ไดแบงสัตวโลกออกตามภูมิได
๓ ภูมิ คือ กามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูมิ แตละภูมิพอจะสรุปไดดังนี้

๑. รูปภูมิ เปนดินแดนของพรหมที่มีรูป เรียกวา โสฬสพรหม มี ๑๖ ชั้น แบงตามผูสําเร็จฌานทั้ง ๔ คือ


ปฐมฌานภูมิ ทุติยฌานภูมิ ตติยฌานภูมิ และจตุตถฌานภูมิ
๒. อรูปภูมิ เปนดินแดนของพรหมไมมีรูป แบงตามผูสําเร็จอรูปฌาน ๔ คือ อากาสานัญจายตนภูมิ
วิญญานัญจายตนภูมิ อากิญจัญญายตนภูมิ เนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ
๓. กามภูมิ เปนดินแดนที่ยังของอยูดวยกามตัณหา ประกอบดวยทุคติภูมิ (หรืออบายภูมิ ๔) และ
สุคติภูมิ ๗ รวมได ๑๑ ภูมิ
๓.๑ สุคติภูมิ ไดแก ฉกามาพจรภูมิ (หรือสวรรคภูมิ ๖) และมนุสสภูมิ ๑
๓.๒ ทุคติภูมิ หรืออบายภูมิ ไดแก นรกภูมิ เปตภูมิ อสุรกายภูมิ และติรัจฉานภูมิ

(พระญาลิไทย . ๒๕๑๕ : ๑ - ๘ )

ดังนัน้ ผูวิจยั จึงจัดแบบเปรียบเกี่ยวกับสัตวโดยแบงสัตวเปนภูมิตางๆ เฉพาะภูมทิ ี่ผูนพิ นธ


นํามาใชเปนแบบเปรียบในเรื่องพระปฐมสมโพธิกถา ดังหัวขอตอไปนี้
๑.๑ รูปภูมิ คือดินแดนของพรหมที่มีรูปทัง้ ๑๖ ชั้น
๑.๒ กามภูมิ คือดินแดนของผูที่ยงั ของอยูก ับกามตัณหา สัตวในกามภูมทิ ี่ผูนพิ นธใชเปน
แบบเปรียบ คือ
๑.๒.๑ สุคติภมู ิ คือดินแดนของผูเกี่ยวของอยูกับกาม แบงออกเปน ๒ ลักษณะ ดังนี้
๑.๒.๑.๑ ฉกามาพจรภูมิ หรือสวรรคภูมิ เปนดินแดนของเทวดาที่ยงั เกีย่ วของ
กับกามตัณหา
๑.๒.๑.๒ มนุสสภูมิ เปนดินแดนของคน หรือมนุษย
๑.๒.๒ ทุคติภูมิ คือดินแดนอันชั่วราย ภูมทิ ี่ผูนพิ นธนาํ มาเปนแบบเปรียบคือ
เดรัจฉานภูมิ เปนดินแดนของสัตวที่ปราศจากความเจริญ
๒๐

เนื่องจากอรูปภูมิเปนดินแดนของพรหมไมมีรูป หาตัวตนไมได มีแตจิต จันทรศิริ แทนมณี ได


กลาววา “อรูปพรหมนั้นหาตัวตนไมได เพราะรังเกียจวาการมีตัวตนจะกอใหทําความชั่วตางๆ ดังนัน้ จึง
ภาวนาใหเหลือแตจิตอยางเดียว ฉะนั้นเมื่อสิ้นชีวิตขณะเขาฌานจึงไปบังเกิดในชั้นอรูปพรหม ซึ่งมีจิต
เปนอายตนะเพียงอยางเดียว” (จันทรศิริ แทนมณี . ๒๕๒๒ : ๖๓) ดังนั้นสมเด็จพระมหาสมณเจา
กรมพระปรมานุชิตชิโนรสจึงไมนําพรหมที่อยูในอรูปภูมิมาใชเปนแบบเปรียบ แตนําเฉพาะพรหมในรูป
ภูมิ หรือพรหมมีรูปมาใชเปนแบบเปรียบเทานั้น เพราะมีลักษณะที่สามารถนํามาเปรียบเทียบได

๑.๑ รูปภูมิ
รูปภูมิเปนดินแดนของพรหม เรียกวา โสฬสพรหมหรือรูปพรหม มี ๑๖ ชั้น ตามที่ปรากฏใน
หนังสือไตรภูมิโลกวินิจฉยกถา ดังตอไปนี้

รูปพรหม ๑๖ ชั้น คือ พรหมปาริสัชชา ๑ พรหมปโรหิตา ๑ มหหพรหมา ๑ ปริตตาภาพรหม ๑


อัปมาณาภาพรหม ๑ อาภัสสรพรหม ๑ ปริตตาสุภาพรหม ๑ อัปมาณสุภาพรหม ๑ สุภกิณหกาพรหม ๑
เวหัปผลพรหม ๑ อสัญญีสัตตาพรหม ๑ อวิหาพรหม ๑ อตัปปาพรหม ๑ สุทัสสาพรหม ๑ สุทัสสีพรหม ๑
อกนิฏฐพรหม ๑ เปน ๑๖ เหลาดวยกันฉะนี้... พรหมทั้งหลายอายุยืน ๕๐๐ มหากัป เมื่อสิ้นอายุแลจะจาก
เมืองพรหมแลพระหมนั้นมีบุญอันใดไดกระทําแตกอน แลสิ้นใจนั้นก็คืนมาเปนปกติดังคนทั้งหลาย แลไป
เกิดโดยอําเภอบุญแลบาป เพราะวาบมิไดถึงนิพพาน มีพรหม ๕ ชั้น คือ อวิหาพรหม ๑ อตัปปาพรหม ๑
สุทัสสาพรหม ๑ สุทัสสีพรหม ๑ อกนิฏฐพรหม ๑ นับเปน จตุตถฌานภูมิ ตายไปก็ไดเกิดในพรหม ๕ ชั้น
ชื่ปญ
 จพิธสุทธาวาศ และจะไมเกิดในเมืองมนุษยนี้เลย

(พระยาธรรมปรีชา (แกว) . ๒๕๒๐ค : ๒๒๘ – ๒๔๑ )

ผูนิพนธนําพระพรหมมาใชเปนแบบเปรียบในหลายสํานวนดวยกัน โดยลักษณะของพระพรหม
ที่ผูนิพนธนํามาใชเปนแบบเปรียบ คือ รูปกาย และเสียงของพระพรหม

๑.๑.๑ แบบเปรียบเกี่ยวกับรูปกายของพระพรหม
ผูนิพนธใชรูปกายของพระพรหมเปนแบบเปรียบ รูปกายของพระพรหมนั้นมีความ
งดงาม ดังที่ พระยาธรรมปรีชา (แกว) ยังไดกลาวพรรณนารูปกายของพระพรหมไวดังขอความตอไปนี้

ถ า จะว า ด ว ยสั ณ ฐ พ รรณแห ง พรหมนั้ น พรหมทั้ ง หลายมี ลั ณ ฐ พ รรณอั น งามกว า เทวดาใน


ฉกามาพจรสวรรค รัศมีแหงพรหมนั้นรุงเรืองกวารัศมีเทวดาในฉกามาพจรสวรรค รัศมีแหงพรหมทั้งหลาย
นั้นรุงเรืองกวากันยิ่ง ๆ ขึ้นไปทุกชั้น ๆ ถาจะวาโดยสัณฐานประมาณใหญนอยแหงพรหมนั้น พรหมทั้งหลาย
มีสัณฐานเปนบุรุษ มิไดเปนสัณฐานสตรี แทจริงสตรีภาพอันจําเริญฌานสมาบัติไดนั้น บังเกิดไดแตใน
๒๑

ปาริสัชนาพรหมชั้นต่ํา มิอาจลวงขึ้นไปบังเกิดในพรหมโลกชั้นบน ๆ นั้นได … ทาวมหาพรหมทั้งหลายนั้น


แตลวนกอปรดวยสิริโสภาครูปโฉมนั้นงามอุดม … รูปแหงมหาพรหมทั้งปวงนั้นงามประดุจดังรูปทองทั้ง
แทง มิฉะนั้น รุงเรืองงามประดุจดังวาแสงแหงประทีปอันสองสวางชวลิตโอภาส งามบริสุทธิ์สะอาดไมมีที่ชั่ว
อาการภายในตัวคือ ตับ ไต ไส เสนนอย เสนใหญ แลเสมหะ รุธิระ เสโท เมโท ปุพโพ โลหิต แลทอนอัฐินอย
ใหญนั้น จะไดมีในกายแหงทาวมหาพรหมทั้งปวงนั้นหาบมิได ทาวมหาพรหมทั้งปวงนั้นคงมีแต เกสา นขา
ทันตา ผม เล็บ ฟน ทั้ง ๓ นั้นมีอยู แลวทาวมหาพรหมทั้งปวงนั้น จะไดหายใจเขาออกอยางประหนึ่งวา
เทพยดาในชั้นฉกามาพจรสวรรคทั้ง ๖ ชั้นนั้นหาบมิได อันวาคุยหฐานประเทศที่ลับ แลอุจจาระปสสาวะ
แหงทาวมหาพรหมนั้นจะไดมีหาบมิได พรหมทั้งหลายนั้นจะไดบริโภคอาหารนั้นหาบมิได อิ่มอยูดวยปติสุข
ปติทั้ง ๕ ประการนั้น เปนอาหารแหงพรหมทั้งปวง แลองคาพยพแหงพรหมทั้งปวงนั้นประณีตบรรจง งาม
กวากันยิ่งๆ ขึ้นไปทุกชั้น ๆ ที่จะสูงจะใหญนั้นเลา ก็สูงใหญกวากันยิ่งขึ้นไปทุกชั้น ๆ แลหมูพรหมทั้งหลาย
จะไดเอากลิ่นเปนอารมณ เอารสเปนอารมณ สัมผัสเปนอารมณนั้นหาบมิได เหตุใด? เหตุวา ฆานวิญญาณ
แลชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณนั้น บมิไดมีในพรหมโลก แลวิมานแหงพรหมทั้งปวงนั้น เทียรยอมแลวไป
ดวยแกว โดยกําหนดเปนที่สุดแตพื้นแผนดินในพรหมโลกนั้นก็แลวไปดวยแกวประพาฬ ในวิมานพรหมนั้น
จะไดมีนางเทพอัปสรฟอนรําบําเรอดวยเครื่องดุริยางคดนตรีดีดสีตีเปา เหมือนในฉกามาพจรสวรรคนั้นหาบ
มิได ในพรหมโลกนั้น มิไดมี…สตรีเปนอันขาด วิมานอันหนึ่งก็มีพรหมอยูองคหนึ่ง ในพรหมโลกนั้นมีแต
สิริไสยาสนกับ… ภูษาเครื่องประดับประดาอาภรณทั้งปวงจะไดมีทิพยบริขารอันเศษนอกกวานั้นบมิได

(พระยาธรรมปรีชา (แกว) . ๒๕๒๐ค : ๒๖๒ – ๒๖๓ )

ลักษณะของพระพรหมที่ยกมาดังกลาวสามารถสรุปไดวา พระพรหมมีลักษณะ
ดังตอไปนี้
๑) พระพรหมมีรัศมีสวางไสว
๒) พระพรหมมีสัณฐานเปนบุรุษ
๓) พระพรหมมีรูปดังทอง รุงเรืองดวยแสงแหงประทีป
๔) พระพรหมไมมีลมหายใจเขา ลมหายใจออก
๕) พระพรหมไมมีอวัยวะสําหรับบอกเพศ
๖) พระพรหมไมเสวยอาหาร อิ่มดวยฌานสมาบัติ
๗) พระพรหมไมรูจักกลิ่นหอมและเหม็น ไมเสวยอาหาร และสัมผัสไมรูสึกเจ็บ แสดงวา
พระพรหมมีอายตนะหรือสื่อติดตอเพียง ๓ ทาง คือ ตา หู และใจ

ผูนิพนธนํารูปกายอันสงางามของพระพรหมมากลาวเปนแบบเปรียบในขอความตอนที่
บรรยายลั ก ษณะของเจ า ชายสิ ท ธั ต ถะขณะประสู ติ ผู นิ พ นธ ไ ด เ ปรี ย บเที ย บเจ า ชายสิ ท ธั ต ถะกั บ
พระพรหม ดังขอความตอไปนี้
๒๒

พระราชกุมารนี้มีทอนพระกายอันตั้งตรงดุจกายทาวมหาพรหม จะไดนอมไปในเบื้องหนาแล
เบื้องหลัง เหมือนกายชนทั้งหลายอื่นก็หามิได ในบุเรชาติพระองคมิไดเบียดเบียนฆาเสียซึ่งสัตวอื่น จึงได
พระมหาบุรุษลักษณะนี้

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๗๔)

ผูนิพนธเปรียบรูปกายของเจาชายสิทธัตถะวามีลักษณะกายตั้งตรงเหมือนพระพรหม
“จะไดนอมไปเบื้องแลหนาเบื้องหลัง เหมือนกายชนทั้งหลายอื่นก็หามิได” ลักษณะที่ผูนิพนธใชเปรียบ
รูปกายของเจาชายสิทธัตถะวามีรูปกายตั้งตรงดุจพระพรหมนี้ เปนลักษณะที่ปรากฏตามลักษณะมหา
บุรุษ ขอ ๑๕ ซึ่งกลาววา “มีพระกายตรงเหมือนกายพรหมฯ” (พระสุตตันตปฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค
เลม ๑๐ หนา ๑๔ . ๒๕๔๕ : ซีดีรอม) ผูนิพนธเปรียบรูปกายของเจาชายสิทธัตถะวามีลักษณะกายตั้ง
ตรงเหมือนกับพระพรหม แสดงใหเห็นถึงความงดงาม และสงาผาเผยของเจาชายสิทธัตถะ

นอกจากนัน้ ขอความตอนที่เจาชายสิทธัตถะเสด็จประพาสพระราชอุทยานเพื่อดูแล
ความเปนอยูของประชาชนนัน้ ผูนพิ นธไดเปรียบเทียบเจาชายสิทธัตถะวามีความสงางามประดุจ
พระพรหม ดังขอความตอไปนี้

สมเด็จอัมรินทรปนสุทัศนเทพธานีทาวโกสียทรงอาวัชนาการก็ทราบเหตุ จึงตรัสสั่งเวสสุกรรม
เทพบุตรใหลงไปประดับพระกายพระมหาสัตว... แลพระเวสสุกรรมทรงเครื่องประดับพระมหาสัตวดวย
นานาทิพยปลันธนาภรณไพโรจนอรามงามประดุจพรหมกุมาร เสร็จแลวก็กลับไปยังเทวโลก

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๑๐๐)

พระเวสสุกรรมคือเทพการชางแหงสวรรค ไดลงจากสวรรคชวยแตงองคใหเจาชาย
สิทธัตถะดวยเครื่องประดับฉลองพระองคทงี่ ดงามทําใหเจาชายสิทธัตถะสงางามดุจพรหมกุมาร

๑.๑.๒ แบบเปรียบเกี่ยวกับเสียงของพระพรหม
พระสุตตันตปฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค เลม ๑๐ ไดกลาวถึงเสียงของสนังกุมาร
พรหม ซึ่งเปนพรหมที่เฝาติดตามพระพุทธเจา ดังขอความตอไปนี้

เสียงของสนังกุมารพรหมผูกลาวเนื้อความนี้ ประกอบดวยองค ๘ ประการ คือ แจมใส ๑ ชัดเจน


๑นุมนวล ๑ นาฟง ๑ กลมกลอม ๑ ไมพรา ๑ ลึก ๑ มีกังวาน ๑ สนังกุมารพรหมยอมใหบริษัทประมาณ
๒๓

เทาใดทราบความดว ย เสียง กระแสเสียงก็ไ มแ พรไ ปในภายนอกบริษั ทเทานั้น ก็ผูใ ดมี เสี ยงประกอบ
ดวยองค ๘ ประการอยางนี้ ผูนั้นทานกลาวกันวา มีเสียงดังเสียงพรหม ฯ

(พระสุตตันตปฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค เลม ๑๐ หนา ๑๗๙ . ๒๕๔๕ : ซีดีรอม)

ผูนิพนธเปรียบเทียบเสียงอันไพเราะเหมือนกับเสียงของพระพรหมไวในเนื้อหาตอนที่
บรรยายความงามของพระนางสิริมหามายาแลวกลาวถึงเสียงและถอยคําอันไพเราะของพระนาง ดัง
ขอความตอไปนี้

พระสุรศัพทสํานวนมธุรสารเสนาะ ดุจสําเนียงแหงทาวมหาพรหมอันเพราะพรอมไปดวยองค ๘
ประการ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๘)

ผูนิพนธไดบรรยายถึงเสียงและถอยคําของพระนางสิริมหามายาวาทรงมีพระกระแส
เสียงที่ไพเราะกังวาน ออนหวานจับใจผูฟง เหมือนเสียงทาวมหาพรหม

นอกจากนั้นตอนที่เจาชายสิทธัตถะประสูติจากพระครรภ ขณะนั้นก็ไดเกิดสิง่ มหัศจรรย


ขึ้น คือเมื่อประสูติก็สามารถเสด็จดําเนินได ๗ กาว รวมทั้งสามารถเปลงวาจาดวยเสียงอันไพเราะได
ดังตอไปนี้

แลพระโพธิสัตวทอดพระเนตรไปทั้ง ๑๐ ทิศ มิไดเห็นผูใดผูหนึ่งซึ่งจะเสมอดวยพระองค จึงบาย


พระพักตรไปขางทิศอุดรแลวยางพระบาทไป ๗ กาว บนพื้นแผนทอง อันทาวจตุโลกบาลถือรองรับ แลว
หยุดยืนบนทิพยปทุมชาติมีกลีบได ๑๐๐ กลีบ จึงเปลงพระสุรเสียงอันไพเราะดุจเสียงมหาพรหม กอปร
ดวยองค ๘ ประการ ดํารัสอาสภิสวาจาดวยพระคาถา... อธิบายความวา อาตมานี้ประเสริฐยิ่งใหญใน
โลก หาผูประเสริฐเสมอมิได แลชาตินี้เปนชาติสุดทายของอาตมา

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๕๖)

เมื่อเจาชายสิทธัตถะประสูติจากพระครรภ พระองคทอดพระเนตรไปทั้ง ๑๐ ทิศ คือทิศ


ใหญ ๔ ทิศ ทิศนอย ๔ ทิศ และทิศเบื้องบนเบื้องลาง ทรงเห็นวาไมมีใครดีเลิศและเพียบพรอมเสมอ
พระองคได จึงผินพระพักตรไปทางทิศเหนือแลวเสด็จพระดําเนินไป ๗ กาว ตรัสดวยเสียงอันไพเราะ
๒๔

เหมื อ นเสี ย งพระพรหม พร อ มด ว ยคุ ณ ลั ก ษณะ ๘ ประการ อั น เป น ลั ก ษณะบ ง ชี้ ว า พระองค เ ป น
มหาบุรุษ

๑.๒ กามภูมิ คือดินแดนของผูที่ยังติดของอยูกับกามตัณหา สัตวในกามภูมิที่ผูนิพนธใชเปน


แบบเปรียบคือ
๑.๒.๑ สุคติภูมิ ดินแดนของผูที่ยังของเกี่ยวอยูในกาม
๑.๒.๑.๑ ฉกามาพจรภูมิ
ฉกามาพจรภูมิเปนดินแดนของเทพที่ยังของเกี่ยวกับกามคุณ ๕ คือ
รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส เทพชั้นฉกามาพจรภูมิ มีรายละเอียดดังตอไปนี้
๑. จาตุมหาราชิกา สวรรคชั้นที่หนึ่ง มีทาวมหาราช ๔ องคผูทําหนาที่อภิบาลโลกทั้ง ๔ ทิศ
ทาวมหาราชทั้ง ๔ คือ ทาวธตรฐ ทาววิรุฬหก ทาววิรูปกษ และทาวกุเวร (ทาวเวสสุวัณ)
๒. ดาวดึงส สวรรคชั้นที่ ๒ เปนสวรรคของทาวสักกะหรือพระอินทร
๓. ยามา สวรรคชั้นที่ ๓ เปนที่สถิตของเทพผูไมมีความทุกข ความลําบากทั้งหลาย และมี
ความสุขอันเปนทิพย เทพผูปกครองชั้นนี้คือ ทาวสุยามเทพบุตร
๔. ดุสิต สวรรคชั้นที่ ๔ เทพผูเปนใหญในชั้นนี้คือ สันดุสิตเทพบุตร เปนสวรรคชั้นที่เปยมดวย
ความบริสุทธิ์ และกอนที่พระพุทธเจาทุกพระองคจะจุติและตรัสรูจะตองเสวยพระชาติเปนเทพบุตรที่
สวรรคชั้นนี้
๕. นิมมานนรดี สวรรคชั้นที่ ๕ เทพในชั้นนี้สามารถเนรมิตรโภคสมบัติไดดวยตนเองตามความ
ตองการ ทาวนิมมานนรดีเปนผูปกครองเทพชั้นนี้
๖. ปรนิมมิตวสวัตตี สวรรคชั้นที่ ๖ เทพชั้นนี้ปรารถนาสิ่งใดไมตองเนรมิตเอง แตจะมีเทพอื่น
เนรมิตให มีทาวปรนิมมิตวสวัตตีปกครองสวรรคชั้นนี้

สํานวนเปรียบในเรื่องพระปฐมสมโพธิกถา มีการใชเทพในฉกามาพจร
ภูมิเปนแบบเปรียบ เทพองคที่ผูนิพนธมักจะนํามาใชเปนแบบเปรียบมากคือ พระอินทร เทพในสวรรค
ชั้นดาวดึงส และเทพทั่วไปไมไดระบุวาเปนเทพในสวรรคชั้นใด

พระอินทร
พระอินทรทรงเปนเทพสูงสุด ทรงอํานาจเด็ดขาดในสวรรคชั้นดาวดึงส พระไตรปฎก
กลาวถึงพระอินทรโดยเรียกวา “ทาวสักกะผูเปนใหญของทวยเทพ” (พระสุตตันตปฎก สังยุตตนิกาย
สคาถวรรค เลม ๑๕ หนา ๑๙๒ .๒๐๐๒ : ซีดีรอม) พระอินทรทรงมีพระนามมากมาย เชน โกสีย สักกะ
๒๕

มฆวา วัชรินทร เพชรปาณี เปนตน อุดม รุงเรืองศรี ไดกลาวถึงรูปกายและคุณสมบัติของพระอินทรไว


ในหนังสือ เทวดาพุทธ ดังขอความตอไปนี้

พระอินทรมีกายสีทองสุกปลั่งคลายสีเปลวไฟ น้ําเสียงคลายระฆังทอง เมื่อพระอินทรปรากฏกาย


ขึ้นที่ใด ที่นั้นจะมีแสงสวางอันงดงามที่เกิดจากรัศมีกาย คนทั่วไปชื่นชมและยกยองความสงางามของพระ
อิ น ทร เ สมอ นอกเหนื อ จากนี้ พระอิ น ทร ยั ง เหนื อ กว า เทพอื่ น ๆ ทั้ ง อายุ ความงาม อํ า นาจ รวมทั้ ง มี
ความสามารถพิเศษในดานความรูสึกในรูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัส

(อุดม รุงเรืองศรี. ๒๕๒๓ : ๗๓ - ๗๕)

แบบเปรี ย บเกี่ ย วกั บ รู ป กายของพระอิ น ทร สํ า นวนเปรี ย บที่ นํ า พระอิ น ทร ม าเป น
แบบเปรียบ คือ สํานวนเปรียบในเนื้อความตอนที่กลาวถึงความงามของพระนางสิริมหามายาดัง
ขอความวา

พระราชกุมารี อันทรงสถิตบนรัตนขจิตบัลลังก ในทามกลางสภังคมณฑลที่สนามเลน มี


พระสิริวิลาสเลิศเลห… ประดุจทาวเทพยวชรินทรอันเสด็จนิสีทนาการ เบื้องบนบัณฑุกัมพลศิลาอาสน
ณ ภายใตตรุราชปาริกฉัตรพฤกษในดาวดึงสเทวโลก แลแวดลอมดวยทวยเทพยคณานิกรบรรษัทเปน
บริวาร

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๖)

ขอความวา “พระสิริวิลาสเลิศเลห… ประดุจทาวเทพยวชรินทร” ซึ่งใชคําวา


“ประดุจ” เปนคําเปรียบนัน้ เปรียบเทียบใหเห็นวาพระนางสิริมหามายาผูสถิตเหนือรัตนบัลลังกยอมมี
ความงดงามเหนือเหลานางสนมกํานัลทั้งหลาย โดยเปรียบกับพระอินทรที่มีความสงางามเหนือเทพ
ทั้งหลาย
ผูนิพนธไดเปรียบเทียบพระนางสิริมหามายาขณะทีน่ ั่งอยูบนรัตนบัลลังกวา มีความ
งดงาม เหมือนพระอินทรทนี่ ั่งอยูบนแทนศิลาแกวใตตนปาริชาติ บนสวรรคชั้นดาวดึงสและแวดลอม
ดวยหมูเทพอันเปนบริวารมากมาย

ในสํานวนตอนที่กลาวถึงความงามของเจาชายสิทธัตถะก็มีการกลาวเปรียบเจาชาย
สิทธัตถะกับพระอินทรอีกเชนกัน ดังขอความตอไปนี้
๒๖

กาลเมื่อทิวากรอันใกลจะอัสดงคตก็เสด็จบทจรขึ้นจากสระมงคลสระ นิสีทนาการนั่งเหนือ
ปาสาณมงคลอาสนกอปรดวยพระสิริวิลาสอุฬาร ปานประหนึ่งองคสมเด็จวัชรินทรเทพสถิต ณ เบื้องบน
บัณฑุกัมพลศิลาอาสน ณ ภายใตปาริฉัตกตรุราชในสุราลัยโลก

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๙๙ -๑๐๐)

ผูนิพนธเปรียบใหเห็นความงามของเจาชายสิทธัตถะกับพระอินทร ในขณะเจาชาย
สิทธัตถะประทับในพระราชอุทยาน โดยเปรียบกับพระอินทรที่นงั่ อยูบ นพระแทนบัณฑุกัมพล ใตตนปาริ
ชาติบนสวรรคชั้นดาวดึงส
ผูนิพนธใชขอความเปรียบเทียบเพื่อแสดงใหเห็นวาพระพุทธเจามีบุญบารมีเหนือเทพ
บนสวรรคคือพระอินทร โดยเปรียบเทียบใหเห็นภาพของพระพุทธเจาประทับนั่งเหนือปาสาณมงคล
อาสนซึ่งเปนที่นั่งทําจากแผนศิลา กับภาพของพระอินทรประทับนั่งบนบัณฑุกัมพลศิลาอาสนซึ่งเปน
แทนหินใตตนปาริชาติ เปนอาสนะของพระอินทรอยูในสวรรคชั้นดาวดึงส แสดงใหเห็นความสงางาม
และความยิ่งใหญของพระพุทธเจาอยางเลิศลนเทาเทียมกับพระอินทรเทพบนสรวงสวรรค

นอกจากนั้น ยังมีแบบเปรียบเกี่ยวกับความสุขของพระอินทร ผูนิพนธไดนําความที่


พระอินท รผูยิ่งใหญบนสวรรค ผูมีบุญญาธิการมีบริวารคอยรับใชมากมายมาเปรียบเทียบกับเจาชาย
สิทธัตถะ พระญาลิไทย กลาวถึงความสุขของพระอินทรที่ไดครองทิพยสมบัติอยูบนสรวงสวรรคชั้น
ดาวดึงส ดังขอความตอไปนี้

เมืองของพระอินทรกวางขวาง มีปรางคปราสาทแกว กําแพงแกว ประตูทองประดับดวยแกวทั้ง ๗


ประการ เมื่อเปดประตูจะไดยินเสียงดนตรีอันไพเราะ กลางสวรรคชั้นดาวดึงสมีไพชยนตปราสาทที่ประทับ
ของพระอินทร ประดับดวยแกว ๗ ประการ บนสวรรคชั้นดาวดึงสทางทิศตะวันออก มีอุทยาน ชื่อนันทวนุ
ทยาน มีตนไมดอกไมงอกงามมาก ทิศใตมีอุทยานชื่อ ผรุสกวัน มีตนไมออนคอมเหมือนไมดัด ทิศตะวันตก
มีอุทยานใหญชื่อ จิตรลดาวัน มีเหลาไมเลื้อยประดับ ทิศเหนือมีอุทยานใหญ ชื่อสักกวัน มีเถาวัลยรางกับมี
ผูแตงไว ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีอุทยานชื่อ มหาวัน ในสวนนี้มีตนกัลปพฤกษที่มีแทนศิลาแกว ชื่อ
บัณฑุกัมพล เปนแทนสีแดงดังฟูกผา

(พระญาลิไทย. ๒๕๑๕ : ๒๐๗-๒๑๐)

จะเห็นไดวาเมืองของพระอินทรนั้นงดงามตระการตาและใหญโตมาก ดังนั้นผูนิพนธ
จึงใชแบบเปรียบเปนพระอินทรที่เสวยทิพยสมบัติอยางเปนสุขบนสวรรคมาเปรียบเทียบกับเจาชาย
สิทธัตถะ ดังขอความตอไปนี้
๒๗

จนสายั ณ หสมั ย แวดล อ มไปด ว ยคณานางอเนกนิ ก รสุ ร างค สั ก ราชกั ญ ญาลงสรงสนานใน


มหามงคลสระโบกขรณี ครุ ว นาดุ จ องค โ กสี ย สุ เ รนทรมเหสั ก ข มั ฆ วาน อั น เสด็ จ ลงสรงสนานใน
ทิพยนันทโบกขรณี มีอัปสรสุรางคนิกรกัญญาเปนบริวาร

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๙๙)

ผูนิพนธแสดงใหเห็นบุญญาธิการของเจาชายสิทธัตถะทีม่ ีเหลาบริวารและนางกํานัล
ตามรับใชไมขาดแมเวลาลงสรงน้ําในสระโบกขรณีก็ยังมีบริวารเฝาแหน เหมือนพระอินทรลงสรงน้าํ ใน
สระทิพยนันทโบกขรณีบนสวรรคแลวมีเหลานางฟามากมายคอยรับใช

นอกจากนัน้ ในตอนที่กลาวถึงเจาชายสิทธัตถะไดเสวยสุขสมบัติในปราสาทสามหลัง
คือ ปราสาทฤดูหนาว ปราสาทฤดูรอน และปราสาทฤดูฝน ทีพ่ ระเจาสิริสุทโธทนะสรางให ดังขอความ
ตอไปนี้

แลสมเด็จบรมโพธิสัตวเสวยสุขสมบัติในปราสาททั้ง ๓ ปานประหนึ่งสมเด็จเพชรปาณีเทวราช
อันเสวยทิพยสมบัติในไพชยนตรัตนทิพยพิมานสวรรคในชั้นดาวดึงสเทวโลก

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๙๕)

ผูนิพนธเปรียบใหเห็นความสุขสบายของเจาชายสิทธัตถะที่ไดครองราชสมบัติกรุง
กบิลพัสดุ เชนเดียวกับสมเด็จเพชรปาณีหรือพระอินทรทไี่ ดเสวยทิพยสมบัติในไพชยนตพิมานบนสรวง
สวรรค ดังที่ พระยาธรรมปรีชา (แกว) ไดกลาวบรรยายความงามของไพชยนตพิมาน ไววา

ไพชยนตพิมานนั้นประกอบดวยเสาลวนงาม ๆ พิจิตร อานุภาพฤทธิ์นฤมิตรสรางสรรค เสา


ทั้งหลายนั้น บางเหลาก็แลวดวยทอง บางเหลาก็แลวดวยเงิน บางเหลาก็แลวดวยแกวมณี บางเหลาก็
แลวดวยแกวประพาฬ บางเหลาก็แลวดวยแกวแดง บางเหลาก็แลวดวยแกว ๗ ประการ ตนเสาทั้งปวงนั้น
มีสัณฐานดังรูปหมอ พิจิตรดวยลวดลายจําหลัก เปนรูปพาฬมฤคบรรจงตางๆ

(พระยาธรรมปรีชา (แกว) . ๒๕๒๐ ค : ๑๑๖)

จะเห็นไดวา ขอความที่ยกมาขางตนนัน้ ไดบรรยายถึงความงามของปราสาทไพชยนต


ไวอยางงดงามวิจิตรตระการตา ดังนัน้ จากการเปรียบเทียบความสุขสบายของเจาชายสิทธัตถะกับพระ
อินทรนั้นจึงแสดงใหเห็นถึงความงดงามของปราสาท ๓ หลังที่ประทับของเจาชายสิทธัตถะอีกดวย
๒๘

นอกจากความงามและความสุขของพระอินทรที่ครองทิพยสมบัติอันมากมายแลว ผู
นิพนธยังใชแบบเปรียบเกี่ยวกับพระบรมเดชานุภาพของพระอินทร ผูนิพนธเปรียบเทียบพระบรมเดชานุ
ภาพของพระอินทร กับเจาชายสิทธัตถะ ดังขอความตอไปนี้

พระบรมโพธิสัตวทรงสถิตบนมงคลราชรถ แวดลอมดวยมหัน ตโยธาเสนามาตยบริพารปาน


ประหนึ่งวาองคโกสียสักยเทวราช อันสถิตทามกลางทิพยเวชยันตรถแวดลอมดวยอมรคณาทั้ง ๗ ชั้นฟา
เปนบริวาร

( สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๐๒)

เจาชายสิทธัตถะขณะที่เสด็จเยี่ยมเยือนราษฎรเสด็จโดยทางรถที่ตกแตงประดับ
ประดาอยางวิจิตรงดงามสมพระเกียรติ แวดลอมไปดวยจาตุรงคเสนา อํามาตย และขาราชบริพาร
มากมายรายลอม เหมือนกับพระอินทรราชาแหงสวรรคชั้นดาวดึงสที่ประทับนัง่ บนรถเวชยันตแวดลอม
ไปดวยเหลาเทพเปนบริวาร แสดงถึงความมีอํานาจ ความยิง่ ใหญ ทีม่ ีเหลาขาราชบริพารแวดลอม
อารักขาเปนกองทัพขนาดใหญ

นอกจากนัน้ ยังมีสาํ นวนที่กลาวถึงพระบรมเดชานุภาพของพระอินทรเปนแบบเปรียบ


อีกสํานวนคือตอนที่กลาวถึงเจาชายสิทธัตถะอภิเษกกับพระนางยโสธราพิมพา ดังขอความตอไปนี้

สมเด็จพระบรมกษัตริยก็ราชาภิเษกพระมหาบุรุษใหเสวยสมบัติตั้งพระพิมพาเทวีองคอัครมเหสี
แลพระมหาสัตวแวดลอมดวยอเนกขัตติยราชนารีเปนบริวาร ปานประหนึ่งวาสมเด็จวัชรินทรเทวราชอันมี
เทพอัปสรกัญญาเปนบริวาร

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๙๔)

ผูนิพนธไดเปรียบเทียบเจาชายสิทธัตถะและพระนางยโสธราพิมพา วาเหมือนกับ
สมเด็จวัชรินทร หรือพระอินทร เพื่อแสดงใหเห็นถึงอํานาจ ความยิง่ ใหญ ความสุขสบายเมื่อไดครอง
ทิพยสมบัติพรอมทั้งมีนางฟาเปนบริวารคอยรับใชอีกมากมาย เชนเดียวกับเจาชายสิทธัตถะ และ
พระนางยโสธราพิมพาที่มีเหลากษัตริยแวดลอม ราวกับพระอินทรทมี่ ีนางฟาเปนบริวาร
๒๙

เอราวัณเทพบุตร
เอราวัณเทพบุตรสถิตบนสวรรคชั้นดาวดึงส มีหนาที่เนรมิตตนเปนชางพาหนะเมื่อพระ
อินทรและเทพบริวารทัง้ ๓๒ องคประสงคจะเสด็จออกประพาสพระอุทยาน ผูน พิ นธนําลักษณะงวง
ของชางเอราวัณมาเปรียบเทียบกับลําพระกรของเจาชายสิทธัตถะดังขอความตอไปนี้

ลําพระกรทั้งสองงามดุจงวงแหงเอราวัณเทพยหัตถี

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๘)

สํานวนเปรียบนี้เปรียบแขนทั้งสองขางของเจาชายสิทธัตถะวามีลักษณะเหมือนกับ
งวงชาง แสดงถึงความออนชอยของแขน และมีรูปทรงกลมกลึงงดงาม

เทพ
เทพจัดเปนบุคคลที่มีลักษณะพิเศษกวามนุษยทั่วไป ทั้งดานตัวตนและทรัพยสมบัติ
ตาง ๆ ทั้งการอุบัติ , ลักษณะรูปราง, การเคลื่อนไหว , รัศมี เปนตน นอกจากนั้น ที่อยูอาศัยของเทพก็
ตางจากโลกมนุษย มีลักษณะเปนทิพย คือ มีลักษณะเดนวิเศษเหนือปกติธรรมดา (พินิจ สุขสถิตย.
๒๕๓๗: ๓๑) เทพที่ผูนิพนธนํามาใชเปนแบบเปรียบนี้หมายรวมถึงเทพฝายบุรุษ เทพฝายสตรี และ
เทพโดยรวมไมระบุวาเปนเทพฝายบุรุษหรือฝายสตรี สํานวนเปรียบที่ใชแบบเปรียบเปนเทพดังตัวอยาง
ตอไปนี้

ตอนที่เจาชายสิทธัตถะพระชนมายุได ๗ พรรษา พระเจาสิริสุทโธทนะมหาราชใหขุด


สระโบกขรณี ซึ่งเปนสระน้าํ ที่มีขนาดใหญโตและงดงามมาก เพราะทรงทราบวาเด็กวัย ๗ ขวบมักชอบ
เลนน้าํ จึงขุดสระไวใหเจาชายสิทธัตถะไดวายน้ําเลน ดังขอความตอไปนี้

ครั้นเจริญกาลมาพระโพธิสัตวเจริญพระชนมพรรษาได ๗ ขวบสมเด็จบรมกษัตริยตรัสถามหมู
อมาตยวา ธรรมดาทารกมี ๗ ขวบนั้นชอบใจเลนสิ่งอันใด อมาตยทั้งหลายกราบทูลวา พอใจเลนน้ํา จึง
ดํารัสใหหาบรรดาชางมีอยูในพระนครมาพรอมกัน แลวตรัสสั่งใหไปทําการขุดสระโบกขรณีในที่โพน
สําหรับจะใหพระราชบุตรแหงเราลงเลนน้ํา นายชางทั้งหลายก็ไปกระทําการรับสั่ง… จําเดิมแตนั้นมา
พระมหาสัตวเปรียบประดุจเทวกุมารเสด็จลงสรงสนานเลนอุทกวารีในทิพยโบกขรณีเปนนิตยกาล

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๘๖-๘๗)


๓๐

สํานวนนี้เปรียบเจาชายสิทธัตถะขณะทรงเลนน้ําอยูในสระ วาเหมือนกับเทวกุมารที่
เลนน้าํ อยูในสระทิพย เทวกุมาร อาจหมายถึงเด็กที่ถกู ตามใจ อยากไดอะไรก็ได เปนการเปรียบเทียบ
ใหเห็นวาเจาชายสิทธัตถะเปนผูที่มีสงาราศี สูงศักดิ์เหมือนเทวดา และยังเปนพระราชกุมารที่มีความ
งดงาม นารักใคร อีกดวย

นอกจากนัน้ ในขอความตอนทีพ่ ระนางสิริมหามายาประทับอยูบนบัลลังกแกว


ทามกลางนางกํานัลและบริวารมากมาย ผูน ิพนธไดใชสํานวนเปรียบเพือ่ ใหเห็นความสงางามของพระ
นาง ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารี อันทรงสถิตบนรัตนขจิตบัลลังกในทามกลางสภังคมณฑลที่สนามเลน มี
พระสิริวิลาสเลิศเลหประหนึ่งวาเทวราชธิดา อันแวดลอมดวยอเนกนิกรเทพอัปสรกัญญาในดุสิตเทวาพิภพ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๑๖)

สํานวนนี้เปรียบเทียบพระนางสิริมหามายาซึ่งมีนางกํานัลเปนบริวารแวดลอมกับ
เทวราชธิดาทีม่ ีนางอัปสรมาคอยรับใช ทัง้ ยังแสดงพระสิริโฉมของพระนางสิริมหามายาวามีพระสิริโฉม
งดงามเดนเหนือกวานางกํานัลทัง้ หลาย เฉกเดียวกับนางเทวราชธิดาซึง่ มีความงามเหนือกวานางอัปสร
บริวาร

นอกจากนั้ น ตอนที่ พ ระพุ ท ธเจ า เสด็ จ กลั บ มากรุ ง กบิ ล พั ส ดุ และออกบิ ณ ฑบาต
ผูนิพนธไดกลาวเปรียบเทียบทาพระดําเนินขณะเสด็จบิณฑบาตวาเหมือนทาพระดําเนินของเทพ ดัง
ขอความวา

บัดนี้พระราชบุตรแหงพระองคมาเสด็จโคจรบิณฑบาตโดยวิถีในพระนครนี้ดวยเทวลีลาศอันงาม
ดุจดังเทพยดา

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๓๐๘)

สํานวนนี้แสดงใหเห็นทาทางอันงดงามของพระพุทธเจาขณะบิณฑบาตวามีกิริยา
ทาทางงดงามเหมือนกับเทพ คือ กิริยาทาทางการเดินมีความองอาจ งดงาม มีสงาราศีประจักษแก
สายตาบุคคลทั้งหลาย และมีทาพระดําเนินเบา ไมลงฝเทาหนัก เพราะเทวดาเดินเทาไมติดดิน
เหมือนกับเหาะหรือลอยไปมากกวา
๓๑

นอกจากนั้นตอนที่พระเจาพิมพิสารไดยินเสียงเปรตรองตอนกลางคืน จึงเสด็จไปถวาย
ภัตตาหารแดพระสงฆ แลวอุทิศสวนกุศลใหเปรตเหลานั้น เมื่อเปรตไดรับสวนบุญก็พนจากความเปน
เปรตกลายเปนเทพที่มีรัศมีสวางไสวดุจเทวดาในดาวดึงสเทวโลก ดังขอความตอไปนี้

เปรตทั้ ง ปวงได บ ริ โ ภคซึ่ ง นานาทิ พ ยสมบั ติ พ น จากเปรตวิ สั ย มี รั ศ มี โ อภาสดุ จ เทพยดาใน


ดาวดึงสเทวโลก

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๒๗๓)

ขอความนี้ไดบรรยายลักษณะเปรตซึ่งไดเสวยเทพยสมบัตวิ ามีลักษณะเหมือนเทพใน
ชั้นดาวดึงส มีรัศมีไพโรจน เพื่อแสดงใหเห็นถึงบุญกุศลที่พระเจาพิมพิสารอุทิศใหเปรตนั้นเปนกุศลที่
ใหญหลวงทําใหเปรตสามารถหลุดพนจากความเปนเปรต
พระสังฆราชเมธังกร ไดกลาวถึงลักษณะของเปรตไวใน “โลกทีปกสาร” วา

พวกเปรตเปนผูพลุงพลานไปเพราะความหิวกระหาย มีรูปรางซูบผอมทั้งๆ ที่มีรางใหญ มีสัณฐานของ


กระดูกปรากฏเห็นไดชัด ซี่โครงกางเห็นเปนซี่ ๆ มีหนังทองเทานั้นเปนเครื่องปดซี่กระดูกอันเปนหนามของ
กระดูกสันหลัง ผิวหนังเหี่ยวยนเหมือนผลน้ําเตาที่ยังไมแกแตเหี่ยวแหง ฉะนั้นมีรางที่จะเหลือใหเห็นก็คือ
ผิวหนัง กระดูก และเอ็น ดวงตาทั้งคูอยูลึกลงไป มีผมยาวยุงรุงรัง มีขนรักแร เล็บ และขนทั่วๆ ไปงอกยาว...

(พระสังฆราชเมธังกร . ๒๕๒๙ : ๒๔)

จะเห็นไดวา เปรตมีลักษณะอัปลักษณไมนามอง แตเมื่อไดรับบุญกุศลที่พระเจาพิม


พิสารอุทิศให กลับกลายเปนเทพผูมีรางกายงดงามมี ผิวพรรณผองใสเอิบอาบไปดวยรัศมีเปลงออก
จากกายงดงาม แสดงถึงบุญกุศลที่พระเจาพิมพิสารอุทิศใหนั้นใหญหลวงยิ่งนัก

เทพอัปสร
อัปสร หมายถึง นางฟา (ราชบัณฑิตยสถาน . ๒๕๔๖ : ๑๓๕๖) ผูนิพนธไดใชแบบ
เปรียบเปนเทพอัปสรในตอนที่พระเจาสีหนุราชตองการใหพระสิริสุทโธทนะไดอภิเษกสมรส จึงให
พราหมณ ๘ คนไปหาหญิงที่มีคุณสมบัติเพียบพรอมเหมาะสมกับพระโอรส แลวพราหมณก็ไปพบพระ
นางสิริมหามายา ผูที่มีความงดงามเปนเลิศ ดังสํานวนเปรียบตอไปนี้
๓๒

ขาพระบาททั้ง ๘ เที่ยวบทจรแสวงหาพิจารณาในอุตตมวงศแลหินพงศทั้งหลายทั่วทั้ง
แปดหมื่นสี่พันพระนครก็บมิพบพาน มาจนถึงนครสถานที่นี้ไดเห็นพระแมเจาผูทรงศรีสุนทรลักษณ
ลวงเสียซึ่งสตรีในมนุษยโลกหามิเสมอได ดุจเทพอัปสรกัญญา ทั้งรุงเรืองดวยพระบวรวงศาประเสริฐกวา
สรรพอเนกนารี

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๑๙)

ผูนพิ นธเปรียบความงามของพระสิริมหามายาผูเปนธิดาของพระเจาชนาธิปราช
กษัตริยผูครองกรุงเทวทหนครวามีความงดงามยิ่งกวาสตรีทั้งปวงดุจเปนนางอัปสรซึง่ เปนนางฟางาม
เหนือมนุษยทงั้ หลาย ตามทีพ่ ระยาอนุมานราชธน กลาววา เมื่อมนุษยนึกถึงนางฟาจะเห็นวาเปนบุคคล
ที่ประเสริฐกวามนุษย สิ่งใดดีที่สุด ไมมีตัวตนในมนุษยหรือมีแตไมดีถึงขนาดก็จะนําไปผนวกเขาเปน
ลักษณะของนางฟา (พระยาอนุมานราชธน (เสฐียรโกเศศ). ๒๕๑๘ : ๑๒๖) สํานวนนี้จึงแสดงวา
พระนางสิริมหามายามีสิริโฉมงดงามเปนเลิศ ทั้งยังเปนผูมีชาติตระกูลสูงสงกวาสตรีทั่วไป
ขอความนี้แสดงใหเห็นถึงความพยายามอยางมากของพราหมณทั้ง ๘ ในการเสาะ
แสวงหาหญิงที่มีคุณสมบัติเหมาะสม และแสดงใหเห็นความงามอันโดดเดนของพระนางสิริมหามายา
จาก ขอความวา “พิจารณาในอุตมวงศแลหินพงศทวั่ ทัง้ แปดหมืน่ สี่พันพระนคร” สถานที่แปดหมื่นสี่
พันพระนครทีพ่ ราหมณไปแสวงหาหญิงที่เหมาะสมทั้งหญิงในตระกูลสูง และหญิงในตระกูลต่ําก็ไมมี
สตรีใดที่จะเพียบพรอมดวยคุณสมบัติและรูปสมบัติเหมาะสมเทียบเทากับพระนางสิริมหามายาไดเลย
ดังนัน้ พระนางจึงมีความเหมาะสมที่สุดที่จะเปนพระมเหสีของพระเจาสิริสุทโธทนะ

นอกจากนัน้ ผูน ิพนธไดเปรียบความงามของเหลานางสนมที่มาเลนดนตรี ขับรอง ฟอน


รําในพระราชวังของเจาชายสิทธัตถะวามีความงามดุจนางเทพอัปสรกัญญา ดังขอความตอไปนี้

ในขณะนั้นนางสนมทั้งหลายลวนประดับกายดวยสุภาภรณทรงสรีรรูปอันงามดุจนางเทพอัปสร
กัญญามีหัตถถือนานาดุริยสังคีตแวดลอมประโคมนฤโฆษศัพยดุริยางคบางก็ฟอนรําขับรองบําเรอประโลม
พระทัยใหยินดีในเบญจพิธกามคุณ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๑๐๓)

จากขอความนี้เปนเนื้อหาตอนที่เจาชายสิทธัตถะมีพระชนมายุ ๒๙ พรรษา เจาชาย


สิทธัตถะมีพระประสงคจะเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ พระองคทรงเบื่อหนายความสุขสบายสิ่งบําเรอ
ตาง ๆ จะเห็นไดวานางสนมที่มาขับรอง ฟอนรํา เลนดนตรี เพื่อใหเจาชายสิทธัตถะเกิดความ
๓๓

เพลิดเพลิน เบญจกามคุณ จากขอความวา “นางสนมทั้งหลายลวนประดับกายดวยสุภาภรณทรงส


รีรรูปอันงามดุจนางเทพอัปสรกัญญา” เปรียบเทียบใหเห็นวาเหลานางสนมทั้งหมดที่เขาปรนนิบตั ิ
บําเรอเจาชายสิทธัตถะลวนแลวแตเปนผูมรี ูปรางงดงามยั่วยวนใจชายเปนอยางยิง่ โดยผูนิพนธเปรียบ
วานางสนมเหลานัน้ งดงามดุจเหลาเทพอัปสรกัญญา คือ มีความงามเกินยิง่ กวามนุษยทวั่ ไป

๑.๒.๑.๒ มนุสสภูมิ
มนุสสภูมิ หรือโลกมนุษย มนุษยมีความคิดแลปญญายิ่งกวาสัตวทงั้ หลาย
มากไปดวยความดําริตริตรอง และสติสัมปชัญญะ มนุษยในทีน่ ี้คือมนุษยที่อาศัยอยูใ นชมพูทวีปเทานั้น
สวนอีก ๓ ทวีป คือ บุรพวิเทหะ อุตรกุรุทวีป และอมรโคยาน เปนทวีปในอุดมคติ มนุษยที่อยูใน ๓ ทวีป
นี้ถือศีล ๕ ไมเคยทําบาปจึงมีอายุยนื นาน แตมนุษยในชมพูทวีปอายุจะยาวหรือสัน้ ขึ้นกับบุญกุศลที่ได
กระทํา
ผูนพิ นธนาํ มนุษยมาใชเปนแบบเปรียบเพื่อใหเกิดจินตภาพ และเขาใจ
ความหมายของสํานวนเปรียบนัน้ ชัดเจนขึ้น ลักษณะของมนุษยทนี่ าํ มาใชมีทงั้ กิรยิ าอาการ ตําแหนง
หนาที่ อาชีพ และคุณสมบัติพิเศษแตละบุคคล เปนตน ดังนัน้ ผูวิจยั จึงจัดประเภทแบบเปรียบเกี่ยวกับ
มนุษยออกตามความหมายที่ผูนพิ นธเจตนาจะสื่อออกมาเปน ๓ ประเภท คือสถานภาพของมนุษย
กิริยาอาการของมนุษย และอวัยวะสวนตางๆ ของมนุษย ดังตอไปนี้

ก. สถานภาพของมนุษย คือ ลักษณะของมนุษยตามฐานะ ตําแหนงหนาที่


หรือเกียรติยศของบุคคลที่ปรากฏในสังคม สํานวนเปรียบที่ใชสถานภาพของมนุษยเปนแบบเปรียบ มี
ดังตอไปนี้

จักรพรรดิ
จักรพรรดิ หรือจักรพัตราธิราช คือผูยิ่งใหญในแผนดิน เปนผูปกครอง แผนดิน ดูแล
ทุกขสุขของประชาชน จึงมีสํานวนที่ผูนิพนธนํามาเปรียบเพื่อแสดงความมีอํานาจและยิ่งใหญของ
บุคคล ดังสํานวน ตอไปนี้

พระราชกุมารี อันทรงสถิตบนรัตนขจิตบัลลังก ในทามกลางสภังคมณฑลที่สนามเลน มี


พระสิริวิลาสเลิศเลห…ปานประหนึ่งวาองคบรมจักรพัตราธิราช อันทรงสถิตในระหวางแหงขัตติยสามนต
ทั้ง ๑๐๑ พระองค

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๑๖)


๓๔

ขอความนี้ไดกลาวชมพระนางสิริมหามายาวามีความยิ่งใหญราวกับจักรพรรดิที่สถิต
อยูทามกลางราชานุราชทั้งหลาย การที่ผูนิพนธใชจัก รพรรดิมาเปนแบบเปรียบ นอกจากตองการ
สะทอนความยิ่งใหญ สงางามแลวยังแสดงถึงบุญบารมี และพระบรมเดชานุภาพเหนือกษัตริยเมือง
ประเทศราชพระองคอื่น

บิดา
ผูนิพนธใชแบบเปรียบเปนบิดาเพื่อสะทอนถึงความรัก ความเมตตา ที่พอมีตอลูก ดัง
ขอความตอไปนี้

สมเด็จพระโพธิสัตวไดทัศนาพระยามาร มีพระบวรสันดานระงับพิโรธ เวนจากโทสจริตคิดเมตตา


การุณย ประดุจบิดาอันเห็นซึ่งบุตรเปนพาลทารกมีปกติเลนอยูแทบบาทมูลเหมือนดังนั้น

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๖๔)

สํานวนนี้เปนเนื้อความตอนที่พระยามารเกิดความริษยาตองการขัดขวางพระโพธิสตั ว
มิใหบรรลุพระโพธิญาณ แตพระองคทรงมีสมาธิแนวแนมิไดหวัน่ ไหวแตอยางใด ดังสํานวนที่กลาววา
พระองคมีจิตกรุณาพระยามาร ดุจบิดามีความกรุณาตอบุตร ที่เลนซนไปตามประสาเด็กอยูท แี่ ทบเทา
นอกจากนัน้ ยังแสดงใหเห็นพระอุปนิสยั ของพระโพธิสัตวที่สามารถละโทสะไดอยางแทจริง

ธรรมกถึก
ธรรมกถึก หมายถึงพระที่เปนนักเทศนผูแสดงธรรม มีเมตตากรุณา ทรงคุณงามความ
ดี สํานวนเปรียบที่ใชแบบเปรียบเปนพระธรรมกถึก คือ ขอความตอนที่เจาชายสิทธัตถะประสูติออก
จากพระครรภ ม ารดาซึ่ ง ไมทํ า ใหพ ระองค เ องและพระมารดารู สึ ก เจ็บ ปวดเหมื อนกับ บุค คลทั่ว ไป
โดยทั่วไปในการคลอดบุตรนั้นมารดาจะตองออกแรงเบงนานพอสมควรจนกวาบุตรจะคลอดออกมา
แตในการประสูติเจาชายสิทธัตถะไมไดทําใหพระมารดารูสึกเจ็บปวด โดยผูนิพนธเปรียบเทียบการ
ประสูติของเจาชายสิทธัตถะวาเหมือนกับพระสงฆที่เทศนเสร็จและกาวลงจากธรรมมาสน ดังขอความ
ตอไปนี้

พระกายนั้นยืนเหยียดพระบาทแลพระหัตถออกมากอน ครุวนาดุจธรรมกถึกลงจากธรรมาสน
บมิไดเกิดทุกขเวทนาแกพระองคแลพระมารดาเหมือนดังสัตวทั้งหลายอื่น

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๕๔)


๓๕

ผูนิพนธกลาวถึงเจาชายสิทธัตถะวามีลักษณะการประสูติออกจากครรภพระมารดา
สงางามเหมือนพระธรรมกถึกที่กาวลงมาจากธรรมาสนหลังจากการแสดงเทศนาธรรมเสร็จ อาการ
ขณะที่พระเทศนเสร็จและกําลังจะลงจากธรรมาสน เปนอาการที่สํารวม สงบ แลวคอยๆ กาวลงจาก
ธรรมาสน ทําใหเห็นภาพการประสูติเหมือนกับลงจากธรรมาสน คือ พระองคประสูติจากครรภมารดา
โดยเอาพระบาทและพระหัตถออกมากอน ตางจากทารกทั่วไปที่เอาหัวออกมากอน

นายเกวียน
การคา ขายในสมัย ก อน ต อ งเดิน ทางไกลมาคา ขายในเมื อ งหรือแหลง ชุม ชน การ
เดินทางก็ยังไมมีถนน ไมมีเสนทางที่แนนอน ตองเดินทางมาตามปาเขา หรือทองทุง ดังนั้นการเดินทาง
คาขายจึงจําเปนตองมีผูนําทาง หรือนายเกวียนที่รูเสนทางเปนอยางดี หรือเคยเดินทางมาแลวหลาย
ครั้งจนชํานาญเสนทาง จากสํานวนเปรียบนี้ผูนิพนธไดเปรียบพระพุทธเจากับนายเกวียนดังขอความ
ตอไปนี้

ขาแตสมเด็จพระภควั นตบพิตรผูมีมหัน ตอุตสาหะ อาจสามารถมีชัยชํานะแกกิ เลสสงคราม


กอปรดวยความกรุณาในหมูสัตวเปนอันมาก ดุจนายสัตถวาทเชฏฐะพอคาเกวียนผูใหญอันพาหมูเกวียน
ทั้งหลายขามพนจากทางกันดาร

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๒๐๙)

จากขอความนี้ ทาวสหัมบดีมหาพรหมลงจากสวรรคมาขอใหพระพุทธเจาทรงแสดง
ธรรมแกป ระชาชนทั่ ว ไปให ท ราบหลั ก ธรรมที่พ ระองค ตรั สรู ผูนิ พ นธ เ ปรี ย บเทีย บพระพุ ท ธเจ า กั บ
นายเกวียนวาพระพุทธเจายอมรูหลักธรรมที่ชวยใหสรรพสัตวขามพนหวงโอฆสงสาร ดุจนายเกวียน
ผูชํานาญทางยอมพาบริวารทั้งหลายใหขามพนทางลําบากกันดารไปไดโดยงาย

สารถี
สารถี คื อ คนบั ง คั บ ม า ผู นิ พ นธ เ ปรี ย บเที ย บพระพุ ท ธเจ า กั บ ผู บั ง คั บ ม า ที่ เ ก ง กาจ
สามารถบังคับมาพยศคือพระเทวทัตได ดังขอความตอไปนี้

ขาพระพุทธเจาขอถวายอัฐิคางนี้ บูชาพระสัพพัญูเปนอัครบรมครูอันใหญยิ่งกวาเทพยดาทั้ง
ปวงอาจทรมานเสียซึ่งนรชาติทั้งหลายใหหายพยศอันหยาบชา ดุจนายสารถีทรมานมาพยศใหเชื่องเปน
อันดีแล

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๔๑)


๓๖

พระเทวทัตคบคิดกับเจาชายอชาตศัตรู ทํารายพระพุทธเจา แตไมสําเร็จ ถูกศิษยของ


พระพุทธเจาชื่อโกกาลิกภิกษุเอาเขากระทุงยอดอกบาดเจ็บ ๙ เดือนจึงสํานึกผิด ตองการไปขอขมา
พระพุทธเจา จึงใชใหลูกศิษยหามพระเทวทัตขึ้นเหนือแครเดินทางไปเฝาพระพุทธเจา พอศิษยหามเขา
มาถึงสระโบกขรณีใกลประตูพระเชตุวันมหาวิหาร พระลูกศิษยพักเหนื่อย แตพระเทวทัตใจรอนจึงกาว
ลงจากแครทําใหถูกธรณีสูบ เมื่อธรณีสูบลงไปเกือบทั้งตัว พระเทวทัตจึงกลาวขอขมาพระพุทธเจาและ
ถวายกระดูกคางซึ่งเปนอวัยวะเพียงสวนเดียวที่ยังโผลพนแผนดินเพื่อเปนพุทธบูชา แลวพระเทวทัตก็
ถูกแผนดินสูบสิ้นชีวิต โดยมิไดเขาเฝาพระพุทธเจา
ผูนิพนธเปรียบเทียบพระพุทธเจาวาเปนเหมือนนายสารถีผูเกงกาจสามารถทําให
มนุษยทั้งหลายหลุดพนจากความทุกขทั้งปวงได ราวกับนายสารถีผูสามารถปราบมาพยศ

ทาส
ทาสเปนชนชั้นต่ํา ตองทํางานหนักตามคําบัญชาของเจานาย ไมมีอิสรภาพ ถาหากทํา
ผิดเจานายสามารถเฆี่ยนตี กักขัง หรือลามโซตรวนได ขอความที่ใชทาสเปนแบบเปรียบมีดังนี้

ดู ก อ นพระยามาราธิ ร าช ตั ว ท า นมิ ไ ด รู ซึ่ ง ตนว า มี กํ า ลั ง น อ ยดุ จ เป น ทาสช ว งใช แ ห ง อาตมา
แลอาตมานี้ถึงซึ่งบารมีธรรมแตผูเดียวเปนอนัญสาธารณ มิไดทั่วไปแกบุคคลผูอื่น

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๖๔)

จากข อ ความนี้ พ ระยามารพยายามทํ า ลายการบรรลุ ธ รรมของพระพุ ท ธเจ า


พระพุทธเจาจึงกลาวเตือนสติพระยามารวาอํานาจของพระยามาราธิราชเมื่อเทียบกับอํานาจทศพล
ญาณของพระองคแลวไซร กําลังอํานาจของพระยามารมีเพียงนอย ดุจมารนั้นเปนเพียงทาสรับใชของ
พระองค ทั้งพระพุทธเจายังประกอบไปดวยบารมี ๓๐ ทัศอันเปยมลน มิปรากฏในบุคคลอื่นอีก (ทาน,
ศีล, เนกขัมมะ, ปญญา, วิริยะ, ขันติ, สัจจะ, อธิษฐาน, เมตตา (พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับ
ประมวลศัพท. ๒๕๔๓: ๑๓๖)

จัณฑาล
จัณฑาล หมายถึงบุตรที่เกิดจากสามีภรรยาอยูตางวรรณะกัน คือแมอยูในวรรณะสูง
พออยูในวรรณะต่ํา เชนฝายแมอยูในวรรณะพราหมณ สวนพออยูในวรรณะศูทร ลูกที่เกิดมาเปน
จัณฑาล เพราะฉะนั้นจึงเปนที่รังเกียจเหยียดหยามที่สุดในระบบวรรณะพราหมณ (เสมอ บุญมา.
๒๕๓๖ : ๕) สํานวนที่ใชจัณฑาลเปนแบบเปรียบคือ ขอความตอนที่พระนางพิมพาไดทราบจากนาง
๓๗

กํานัลวาพระพุทธเจาเสด็จมาบิณฑบาตในกรุงกบิลพัสดุ จึงนึกสมเพชวา แตกอนนั้นพระองคจะเสด็จที่


ใดก็จะทรงชาง , มาพระที่นั่ง วอ หรือรถไปอยางสงางาม สะดวกสบาย แตมาบัดนี้ตองปลงพระเกศา
พระมัสสุ (หนวด) นุงผายอมฝาด เดินถือบาตรเที่ยวขออาหาร ไรพระราชอํานาจ ผูนิพนธบรรยายภาพ
ของพระพุทธเจาตามความรูสึกอันปวดราวของพระนางยโสธราพิมพา ดังขอความตอไปนี้

พระลูกเจาสถิตอยูในพระนครนี้ จะเสด็จไปแหงใดก็เคยทรงกุญชรชาติพาชีสีวิกาญจนยานราช
รถ อันปรากฏดวยอดิเรกราชานุภาพมหิมา บัดนี้มาปลงพระโลมัสสุเกศา ทรงนุงหมผายอมฝาด พระหัตถ
ทรงบาตรเสื่อมสูญพระยศศักดาเดช ดุจเพศคนจัณฑาลเที่ยวภิกขาจารทรมานพระองค ไมมีพระภูษา
อาภรณทรงหรือไฉน พระสรีระวิลาสจะแปลกประหลาดเปนประการใดในคราวนี้แท

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๓๐๕)

ผูนิพนธเปรียบเทียบพระพุทธเจาขณะที่ออกบิณฑบาตวาเหมือนกับคนจัณฑาลเที่ยว
เดินขออาหารจากคนอื่นเพื่อประทังชีวิต เสื้อผาที่สวมใสก็เปนผาที่ยอมดวยเปลือกไมฝาด ไมสมศักดิ์
ศรีกษัตริยที่ตองทรงพระคชาธารราชพาหนะ มีฉลองพระองคที่งดงาม

ข. กิริยาอาการของมนุษย
ผู นิ พ นธ นํ า กิ ริ ย าอาการของมนุ ษ ย ม าเป น แบบเปรี ย บเพื่ อ ช ว ยสื่ อ
ความหมายของสํานวนเปรียบ ชวยใหผูอานสามารถมองเปนภาพและเขาใจความหมายของสํานวน
เปรียบไดชัดเจนขึ้น ดังกิริยาอาการตอไปนี้

ยกไมกงดีดฝาย
ผูนิพนธนํากิริยาของผูหญิงที่ยกไมกงดีดฝายมาเปรียบเทียบกับเจาชายสิทธัตถะที่
กําลังยกคันธนู ไมกงเปนเครื่องมือที่ใชในการดีดฝายของหญิง เพื่อเตรียมเสนฝายไปใชในการทอผา
ตอไป ซึ่งไมกงนั้นจะมีน้ําหนักเบา ดังขอความตอไปนี้

สมเด็จพระมหาสัตวกับทั้งพระราชบิดาเสด็จดวยมหันตบริวารยศไปยังที่มณฑลสันนิบาต เสด็จ
สถิตบนรัตนบัลลังกในมหามณฑปแลวใหมาหาซึ่งนายขมังธนูทั้ง ๔ คือ อักขณเวธี ๑ วาลเวธี ๑ สรเวธี ๑
สัททเวธี ๑ ใหไปนํามาซึ่งสหัสถามธนูอันหนักถึงกําลัง ๑ พันบุรุษจึงยกขึ้น ทรงยืนเหยียบซึ่งที่สุดเบื้องต่ํา
๓๘

แหงคันธนูดวยพระบาทเบื้องซาย ประดิษฐานไวในระหวางแหงนิ้วพระบาท แลวทรงยกขึ้นคันธนู ดูอาการ


ดุจเบาครุวนาดังสตรีอันยกขึ้นซึ่งไมกงดีดฝาย บรรดาสรรพสัตวทั้งหลายเห็นอาการอันทรงกระทําแต
เทานั้น ก็ชวนกันชื่นชมโสมนัส

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๙๒)

จากข อความนี้ เป น ตอนที่ พ ระเจา สิริสุทโธทนะมีพ ระประสงคใหเจา ชายสิท ธัตถะ


อภิเษก จึงแจงใหกษัตริยเมืองอื่น ๆ สงพระธิดามาใหเจาชายสิทธัตถะดูตัว แตกษัตริยเหลานั้นไมยอม
สงพระธิดามาเพราะเห็นวาเจาชายสิทธัตถะนั้นไมมีวิชาความรูใด ๆ ดังนั้นเจาชายสิทธัตถะจึงแสดง
ศิลปะการยิงธนูใหดู โดยเริ่มจากยกสหัสถามธนูซึ่งเปนคันธนูที่มีน้ําหนักที่ตองใชชายถึง ๑,๐๐๐ คน
ยก แตเจาชายสิทธัตถะนั้นสามารถยกคันธนูนั้นไดอยางงายดาย ราวกับวาคันธนูนั้นมีน้ําหนักเบา
เทากับไมกงที่ผูหญิงใชดีดฝาย

ยืนอยูบนปราสาท
เมื่อพระโพธิสัตวสามารถเอาชนะมารไดในวันเพ็ญเดือน ๖ พอถึงเวลามัชฌิมยาม
พระองคก็ทรงบรรลุทิพยจักษุญาณ ดังขอความวา

พระองคไดทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ดุจเปนทิพย ลวงเสียซึ่งจักษุแหงมนุษยเห็นซึ่งสัตวทั้งหลาย...
อยางประหนึ่งวาบุรุษยืนอยูบนปราสาท อันมีอยูทามกลางหวางถนน ๔ แพรง เล็งแลไปเห็นมนุษยแลสัตว
ทั้งหลายอันเขาสูเรือนและออกจากเรือนและสัญจรไปตามวิถี และนั่งอยูในทามกลางทาง ๔ แพรง แลเห็น
แจงประจักษดุจนั้น

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ :๑๗๘-๑๗๙)

ขอความนี้เปรียบวาพระองคเปนผูไดทิพยจักษุญาณอันเหนือไปกวาครรลองจักษุของ
มนุษยโดยทั่วไป ทิพยจักษุญาณของพระองคมีความกวางไกลดุจบุรุษผูยืนอยูบนปราสาทกลางถนน ๔
แพรง ทําใหสามารถแลเห็นความเปนไปมนุษยทั้งหมดซึ่งสัญจรไปในวิถีไดอยางชัดเจน

ไดอาบน้ําชําระเกลา
กิริยาอาการไดอาบน้ําสระผมนี้ผูนิพนธนํามาใชเปรียบเทียบกับนางปชาบดีโคตมีเมื่อ
ไดฟงธรรมเทศนาแลวก็เกิดรูแจง สามารถละกิเลสได มีความสุขโสมนัสเหมือนกับไดอาบน้ําชําระลาง
รางกายและปรุงประทินดวยเครื่องหอม ดังขอความตอไปนี้
๓๙

พระมหาประชาบดีก็รับพุทโธวาทมี พระทัยประสาทเลื่อมใสโสมนัส ตรัสแกพระอานนทวา ขาแต


พระผูเปนเจามีความยินดี ดุจบุรุษอันไดอาบน้ําชําระเกลาแลวไดซึ่งคันธบุปผชาติ คือดอกอุบลแลดอก
มะลิก็ดี

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๗๓)

พระนางปชาบดีโคตมีเมื่อไดฟงเทศนาแลวบรรลุโสดาปตติผล สามารถละกิเลสได มี
ความสุขโสมนัส มีจิตใจสะอาด ดุจบุรุษผูหมักหมมดวยเหงื่อไคลไดอาบน้ําสระผมทําความสะอาด
รางกาย และปรุงประทินดวยเครื่องหอมนานา รางกายมีกลิ่นหอมเหมือนมีกลิ่นดอกมะลิและดอกบัว
ติดกายอยู ทําใหมีแตความราเริงยินดี

คราเอานัยเนตร
เมื่อเจาชายสิทธัตถะเสด็จบรรพชา พระองคก็เสด็จไปประทับอยูที่ปาอนุปยอัมพวัน
เปนเวลา ๗ วัน เมื่อถึงวันที่ ๘ จึงเสด็จออกบิณฑบาตในกรุงราชคฤห และผูนิพนธไดบรรยายความงาม
ของพระองคขณะออกบิณฑบาตไวดังขอความตอไปนี้

สวนพระมหาบุรุษมีพระอินทรียสํารวมระงับ ครุวนาดุจคราเอานัยเนตรแหงมหาชนทั้งหลายไป
ดวยพระรูปสิริโสภาคย

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๒๗)

ขณะบิณฑบาตพระโพธิสัตวทรงมีความงาม และมีทาทีที่สํารวมสงางามเปนที่พึงใจ
ตอผูพบเห็น ทําใหทุกคนที่เห็นพระองคตองหยุดตะลึงจองมองดูไมวางตา

คราเอาดวงกมล
ขอ ความตอนที่ก ลา วถึ ง นางสนมที่ มาฟอ นรํา ถวายเจ าชายสิ ท ธั ตถะเพื่ อให ค วาม
เพลิดเพลิน แตพระองคก็ไมทรงพอพระทัยหรือยินดีกับการแสดงของนางสนมเหลานั้นเลย ไดมีการ
เปรียบเทียบทาฟอนรําของนางสนมวาเปนทาที่ยั่วยวนตองการดึงดูดความสนใจของผูพบเห็น ดัง
ขอความตอไปนี้

ตางฟอนรําพลางชายเนตรชําเลืองแลพระมหาสัตวใหกําหนัดโสมนัสเสนหา ครุวนาดุจคราเอา
ดวงพระกมลมาใสไวในหีบหองพระหฤทัยแหงตน

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๐๕)


๔๐

ผูนิพนธอธิบายกิริยาทาทางของนางสนมที่พยายามฟอนรําชําเลืองตาเยายวนเจาชาย
สิทธัตถะใหหลงใหลไดกําหนัดในกามคุณ มีความประสงคแตนางรําเหลานั้น

บริโภคอาหารอันคดใหผูอื่น
จากเนื้อหาตอนที่พระสารีบุตรอุปสมบทได ๑๕ วัน ก็ตามเสด็จพระพุทธเจาไปฟง
ธรรมที่พระพุทธเจาทรงแสดงธรรมเทศนาแกปริพาชกหรือนักบวชนอกศาสนา พระสารีบุตรก็เกิดความ
ซาบซึ้งในพระธรรมที่พระพุทธเจาเทศนานั้นจนสามารถบรรลุอรหันตได ดังขอความตอไปนี้

สว นพระสารีบุ ต รเถรเจา จํ า เดิ ม แต บ รรพชาลว งไปได กึ่ ง เดื อ นพระผูเ ป น เจ า ตามเสด็ จ พระ
สัพพัญูไปอยูในคูหาสุกรเลณะใกลกรุงราชคฤห ไดสดับพระสัทธรรมเทศนาปริคคหสูตรอันพระสุคต
โปรดประทานแกฑีฆนขปริพาชกซึ่งพระนัดดาของพระพุทธเจา พระผูเปนเจาสงญาณพิจารณาไปตาม
พระสูตรนั้น ก็บรรลุพระอรหันถึงซึ่งที่สุดสาวกบารมีญาณปานประหนึ่งวาบริโภคภัตตาหารอันคดใหแก
ผูอื่น

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๒๘๑)

ผูนิพนธเปรียบเที ยบพระสารีบุตรซึ่งบวชเปนพระในพระพุทธศาสนาแลวได บรรลุ


อรหันตผลเพราะการฟงเทศนาที่พระพุทธองคแสดงแกนักบวชนอกพุทธศาสนา เหมือนกับการไดกิน
อาหารที่พระพุทธเจาตักใหผูอื่น อาหารคือพระธรรมที่พระพุทธเจาเทศนา และปริพาชกหรือนักบวช
นอกพุทธศาสนาคือผูที่พระพุทธเจาตักอาหารให แตผูไดลิ้มรสแหงอาหารเหลานั้นคือพระสารีบุตรซึ่ง
บรรลุอรหัตผล

ตกลงในเหวลึก
ผูนิพนธนํากิริยาอาการของคนที่ตกลงไปในเหวลึกมาใชเปนแบบเปรียบเพื่อแสดงถึง
ความทุกขทรมานเหมือนกับคนที่กําลังตกลงจากที่สูง ดังขอความตอไปนี้

แทจริงสัตวทั้งหลายอื่นกาลเมื่อคลอดจากครรภ ลมกรรมชวาตหากพัดผันใหศีรษะลงเบื้องต่ํามี
เทาขึ้นเบื้องบน ครุวนาดุจตกลงในเหวลึกได ๑๐๐ ชั่วบุรุษ ลงสูปสสาวมรรคแหงมารดา อันเปนที่บรมสัม
พาธฐาน เสวยทุกขเวทนาเจ็บปวดเปนสาหัสมีกายอันแปดเปอนดวยเสมหรุธิรอสุจิมลทินอันลามก แลพระ
มหาสัตวประสูติจากครรภจะไดเปนดังนั้นก็หามิได

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๕๔ )


๔๑

ลักษณะการคลอดของทารกตอนที่ทารกออกจากครรภมารดาโดยทั่วไปนั้นทารกจะ
เอาศีรษะออกมากกอนเปน สวนแรก ผูนิพนธใชเปรียบเทียบกับมนุษยที่ตกเหวลงในเหวลึกศี รษะ
ยอมตกลงพื้นดินกอนเสมอ แตการประสูติของเจาชายสิทธัตถะนั้นยอมแตกตางจากมนุษยทั่วไป คือ
พระองคประสูติจากครรภพระมารดาโดยกาวพระบาทออกมาจากพระครรภกอน

นําเอาหลาวเหล็กมาแทงในชองโสต
การฟ งเรื่องที่ไมดี หรื อเรื่องที่ผูฟงไมตองการใหเ ปน อยางที่ไดยิ น ผูนิพนธใชแบบ
เปรียบวาเหมือนกับมีผูนําเอาหลาวเหล็กมาแทงหู ดังขอความตอไปนี้

พระสรีรกายนั้นเหี่ยวแหง... บัดนี้ทําลายพระชนมชีพลมลงอยูในที่สุดแหงที่จงกรม เมื่อขา


พระองคไดสดับดุจมีผูนําเอาหลาวเหล็กมาแทงในชองโสตทั้งสอง

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๑๐)

เมื่อพระพุทธเจาเสด็จกลับมาบิณฑบาตที่กรุงกบิลพัสดุ นางกํานัลเห็นพระพุทธองค
จึงนําเรื่องมากราบทูลแกพระนางยโสธราพิมพาวาพระพุทธเจาเสด็จมาบิณฑบาต บัดนี้พระกายของ
เจาชายเหี่ยวแหง ซูบผอมลงอยางมาก เมื่อพระนางยโสธราไดสดับดังนั้นก็รูสึกเสียพระทัยเพราะเปน
เรื่องราวที่เสียดแทงพระทัยพระนางเหมือนมีผูนําเอาเหล็กหลาวมาแทงชองหูทั้งสองใหเจ็บปวด

เลนมหรสพ
มหรสพ เปนการแสดงเพื่อใหเกิดความสนุกนานเพลิดเพลินแกผูชม เชนการเลนโขน
ละคร เปนตน ผูนิพนธใชแบบเปรียบผูเลนมหรสพ ในขอความตอไปนี้

พระสิริมหามายาผิวาเสด็จนิสัชนาการสถิตแลทรงพระดําเนินไปสูที่เลน ณ ตําบลใดๆ ในเวลาทิวา


กาล อันวาอสุรราชทั้งหลายก็ทรงเพศดุจเลนการมหรสพ มากระทํากิจบริรักษอยูโดยรอบ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๑๖)

เมื่อพระนางสิริมหามายาเสด็จไป ณ สถานที่ใดๆ ก็ดี อสูรก็เนรมิตกายมาดูแลปกปอง


เฝาแหนพระนางสิริมหามายา ณ สถานใด ๆ ก็ดี เหลาอสุรราชทั้งหลายยอมเขาพิทักษรักษาพระองค
โดยผูนิพนธไดเปรียบเทียบกายเนรมิตของเหลาอสุรราชเหลานั้นวามีกายเนรมิตงดงามดุจบุคคล
แตงกายเขาในงานมหรสพ เพื่อไมใหมีความนาเกลียดนากลัว
๔๒

เห็นดวยทิพยจักษุญาณ
เห็นดวยทิพยจักษุญาณ เปนความหยั่งรูดวยตาทิพย ผูนิพนธนํามาใชเปนแบบเปรียบ
ในขอความตอนที่สมเด็จพระสีหนุราชพระบิดาของพระสิริสุทโธนะทรงพระสุบินก็เรียกหาบิดาของ
พราหมณโกญทัญญะมาทํานายพระสุบินให โดยมีขอความดังนี้

ครั้นเวลารุงเชา ดํารัสใหหาพราหมณผูเปนบิดาโกณทัญญพราหมณมาทํานายพระสุบิน แล
พราหมณนั้นพิจารณาในลักษณะพระสุบินดวยศิลปศาสตรแหงตนๆ แลวกราบทูลทํานายดุจเห็นดวย
ทิพยจักษุญาณ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๒๕)

สํานวนเปรียบนี้มีการเปรียบเทียบวา คําทํานายของพราหมณเปนคําทํานายที่ชัดเจน
แมนยําเหมือนมองเห็นไดดวยตาทิพย

เปดภาชนะอันคว่ําใหหงายขึ้น ชี้บอกทางใหแกคนหลงทาง
ผูนิพนธเปรียบเทียบพระพุทธเจาตอนที่แสดงธรรมจนสามารถทําใหพระเจาพิมพิสาร
บรรลุโสดาปตติผลไดวาเหมือนกับพระพุทธเจามาเปดภาชนะที่คว่ําอยูใหหงายขึ้น ดังขอความตอไปนี้

แลวโปรดประทานจตุราริยสัจจธรรมเทศนา พอจบลงองคบรมกษัตริยพิมพิสารราชกับพราหมณ
คหบดีทั้งหลาย ๑๑ หมื่น ก็ตั้งอยูในโสดาปตติตผล แลบัดนี้ความปรารถนาแหงขาพระบาทก็สําเร็จพรอม
ทั้ง ๕ ประการ มีพระกมลสันดานยินดีโดยยิ่งจะหาสิ่งเสมอมิไดในพระสัทธรรมเทศนา อุปมาดังภาชนะ
อันคว่ําและมีผูมายกหงายขึ้นได มิฉะนั้นไซรดุจวัตถุอันปกปดอยูและมีผูมาเปดขึ้นซึ่งสิ่งอันกําบัง ให
ปรากฏแจงกระจาง มิฉะนั้นดุจชี้บอกหนทางใหแกคนอันหลงมรรคา

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๒๖๗)

เมื่อพระพุทธเจาเสด็จพระราชดําเนินไปกรุงราชคฤห และแสดงธรรมจตุราริยสัจจะ
(อริยสัจ ๔ ) โปรดพระเจาพิมพิสารและบริวารจนบรรลุโสดาปตติผล พระเจาพิมพิสารกลาวสรรเสริญ
พระพุทธเจาวาสามารถทําใหพระองคเขาใจหลักธรรมไดเปนอยางดี เทียบไดกับภาชนะที่คว่ําอยูแลวมี
ผูเปดนั้นใหหงายขึ้น หรือวัตถุที่ถูกปดมานานแลวมีผูมาเปดออก นอกจากนั้น พระพุทธเจายังทําให
ความปรารถนาของพระเจาพิมพิสารทั้ง ๕ ขอที่พระองคปรารถนาที่จะกระทําใหไดนั้นสําเร็จลุลวงได
ความปรารถนา ๕ ขอคือ ไดราชสมบัติ , พระพุทธเจาเสด็จมาโปรด , ไดเฝาพระพุทธเจา ,
พระพุทธเจาแสดงธรรมโปรด และเขาใจในหลักธรรมที่พระพุทธเจาแสดงอยางลึกซึ้ง
๔๓

เดินทางมาแตไกล
ผูนิพนธเปรียบเทียบความเหน็ดเหนื่อยของผูเดินทางมาไกล กับอาการประชวรหนัก
ครั้งหนึ่งของพระพุทธเจาที่มีพระชนมายุมากขึ้น ดังขอความตอไปนี้

ทรงอาพาธหนักครั้งหนึ่ง ทรงเยียวยาพระโรคของพระองคดวยโอสถคือ สมาบัติใหระงับ ...


เปรียบดังบุคคลอันเดินทางมาแตไกล เหน็ดเหนื่อยอิดโรยหอบหิว และไดบริโภคบวรสุทธาโภชนอันเปน
ทิพย จึงไดบรรเทาความลําบากเสียได

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๔๑๙)

พระพุทธเจาตอนที่อาพาธพระองคใชสมาบัติ (อานาปานสติ คือ การระลึกรูล มหายใจ


เขาและออก) มาขมอาการทรมานที่เกิดจากโรคาพยาธิทั้งปวง โดยผูนิพนธเปรียบโรคดุจอาการเหน็ด
เหนื่ อ ยอิ ด โรยของผู เ ดิ น ทางมาไกลแล ว หายได ด ว ยอาหารทิ พ ย เช น เดี ย วกั บ อาการประชวรของ
พระพุทธเจาที่หายดวยสมาบัติ เปรียบอาหารอันเปนทิพยกับกําลังของสมาบัติ

ค. อวัยวะสวนตางๆ ของรางกาย
อวัยวะของรางกายก็สามารถนํามาเปนแบบเปรียบ เพื่อชวยสื่อจินตภาพ
ไดเชนกัน ดังขอความตอไปนี้

ตา หัวใจ
ทั้งตาและหัวใจลวนเปนอวัยวะที่สําคัญยิ่งของรางกายมนุษย เปรียบเทียบไดกับลูกที่
มีความสําคัญกับพอแมเหมือนกับแกวตาดวงใจ ดังขอความตอไปนี้

แมรักเจาเสมือนนัยเนตรแลดวงหฤทัย

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๓๓๐)

สํานวนเปรียบนี้เปนเนื้อหาตอนที่พระมารดาของพระอนุรุทธะกลาวถึ งความรัก ที่


พระนางมีตอพระโอรส โดยเปรียบเทียบวาบุตรมีความสําคัญเสมือนแกวตาดวงใจของมารดา เพราะ
มนุษยถาตาบอดก็จะทําใหมองไมเห็น รวมทั้งหัวใจก็เปนอวัยวะที่สําคัญ ถาปราศจากหัวใจมนุษยก็ไม
สามารถมีชีวิตอยูได ดังนั้นจึงเปรียบเทียบลูกที่เปนคนสําคัญของแม และแสดงถึงความรักความผูกพัน
ของแมที่มีตอลูกอยางเปยมลน ถาขาดลูกไปแมก็จะทุกขใจอยางแสนสาหัสจนไมอาจมีชีวิตอยูได
๔๔

ลําไสใหญจะกลับออกทางพระโอษฐ
การเปรียบลําไสใหญจะกลับออกทางพระโอษฐแทนอาการอยากจะอาเจียน ในตอนที่
พระพุทธเจาออกบิณฑบาตรับอาหารจากประชาชน เปนอาหารทีท่ ุกคนใสรวม ๆ กันลงมาในบาตร ซึ่ง
เปนอาหารหลายประเภทรวม ๆ กัน ดูแลวไมนา กิน และเนื่องจากพระองคเคยเสวยแตพระกระยาหาร
ดี ๆ สะอาด เมื่อตองมาเสวยอาหารที่คละกันจึงทําใหรูสกึ รังเกียจ อยากจะอาเจียน ดังขอความตอไปนี้

ทรงพิ จ ารณาภั ต ตาหารในบาตรด ว ยปฏิ กู ล สั ญ ญา ในขณะนั้ น ก็ บั ง เกิ ด ปฏิ กู ล ยิ่ ง นั้ น ปาน
ประหนึ่งวาลําไสใหญจะกลับออกทางพระโอษฐเหตุพระองคเคยเสวยประณีตโภชนาหาร... มิไดเคยทรง
โภชนาการซึ่งมิสกาหารดังนั้น จึงบังเกิดปฏิกูลเปนอันมาก

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๑๒๗)

สํานวนนี้เปนการเปรียบเทียบความรูสึกสกปรกนารังเกียจราวกับลําไสใหญจะกลับ
ออกทางปาก เปนอาการพะอืดพะอมอยากอาเจียนอยางมากจนดูเหมือนลําไสใหญซึ่งเปนอวัยวะ
ภายในจะหลุดออกมาทางพระโอษฐ แสดงใหเห็นสิ่งที่พระโพธิสัตวประสบวาลําบากมาก แตพระองคก็
ยอมอดทนตอความลําบากที่พระองคไมเคยไดรับมากอนเพื่อจะไดตรัสรู

เสนผม
พระเทวทัตไดรวมคบคิดพระเจาอชาตศัตรูปลงพระชนมพระพุทธเจา จึงถูกโกกาลิก
ภิ ก ษุ ศิ ษ ย พ ระพุ ท ธองค เ อาเข า กระทุ ง ยอดอกบาดเจ็ บ สาหั ส แล ว สํ า นึ ก ผิ ด ต อ งการจะไปขอขมา
พระพุทธเจาจึงขอใหศิษยพาไปเฝาพระพุทธเจา พระเทวทัตกลาวพรรณนาขอความชวยเหลือโดย
กลาวถึงความดีของพระพุทธเจา ดังขอความตอไปนี้

ทานทั้งปวงอยาใหเราพินาศฉิบหายเลย แลเรากระทําเวรอาฆาตในพระบรมครู พระบรมครูจะได


อาฆาตตอบเราแตมาตรวาเทาเสนเกศามิไดมี เราจะไปขมาโทษพระชินสีหใหสิ้นโทษ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๓๔๐)

ความผิดของพระเทวทัตนั้นมากมาย แตพระพุทธเจาก็ไมไดถือโทษ หรืออาฆาตเลย


แมแตนอย ผูนิพนธเปรียบเทียบวาพระพุทธเจาจะมีความอาฆาตถือโทษตอพระเทวทัตแมเพียงเทาเสน
ผมก็หามิได แสดงถึงจิตใจที่บริสุทธิ์สามารถละโลภ โกรธ หลง และใหอภัยในความผิดของผูอื่น แมวา
พระเทวทัตเคยคิดทํารายพระองค พระองคก็ไมไดมีพระทัยโกรธเคืองเลยแมแตนอย
๔๕

มืออันติดเปอนดวยหญาคา
ผูนิพนธเปรียบมืออันติดเปอนดวยหญาคากับจิตใจมนุษยที่เต็มไปดวยกิเลส ซึ่งกิเลส
นั้นอาจจะทํารายมนุษยใหบาดเจ็บได ดังขอความตอไปนี้

สัตวทั้งหลายยอมมีสันดานหนวงหนักไปดวยอากูลเต็มไปดวยกองกิเลส... ดุจมืออันติดเปอน
ดวยหญาคา ยอมเศราหมองอยูดวยราคาภิรัติ ขัดแคนอยูดวยโทสะประทุษรายและมุงหมายมัวหมองอยู
ดวยโมหะ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๓๑๓)

ขอความนี้เปรียบวาราคะเปนดุจคายหญาคา คือบริเวณขนละเอียดแหลมคมที่ติดอยู
บริเวณใบของหญาคากลาวคือ ราคะยอมทําใหจิตใจของมนุษยเศราหมอง รุมรอน เหมือนคายหญาคา
เมื่อถูกผิวหนังจะทําใหรูสึกระคายคันได

๑.๒.๒ ทุคติภูมิ ดินแดนอันชั่ว มากไปดวยความทุกข สรรพสัตวที่อาศัยอยู


ในดินแดนนี้มากไปดวยกิเลส จิตใจเต็มไปดวยความโลภ ความโกรธ ความหลง ทั้งยังมัวเมาอยูในการ
ทําบาป ดินแดนในทุคติภูมิ ประกอบไปดวย นรกภูมิ อสุรภูมิ เปตภูมิ และเดรัจฉานภูมิ
เรื่องพระปฐมสมโพธิกถา พบวา ผูนิพนธใชแบบเปรียบเปนสัตวที่
อาศัยอยูในเดรัจฉานภูมิเทานั้น

๑.๒.๒.๑ สัตวในวรรณคดี
สัตวในวรรณคดี คือสัตวที่เรามักพบในวรรณคดี ไมมี
ตัวตนจริงๆ เปนสัตวที่เกิดขึน้ จากจินตนาการของผูนพิ นธ สัตวในวรรณคดีที่ปรากฏเปนแบบเปรียบของ
สํานวนเปรียบในเรื่องพระปฐมสมโพธิถา มีดังตอไปนี้

นกการเวก นกกินรี
นกการเวก หรือกรวิก เปนชื่อของนกชนิดเดียวกัน เปนนกในปาหิมพานต บินสูงเหนือ
เมฆ จึงไมมีใครไดเห็นรูปรางลักษณะ นอกจากจะไดยินเสียงเทานั้น กวีมักจะบรรยายวามีเสียงรองที่
ไพเราะมาก สวนนกกินรี เปนสัตวจําพวกหนึ่ง ที่มีรูปลักษณครึ่งคนครึ่งนก มีถิ่นอาศัยอยูแถบเชิงเขา
ไกรลาส (มาลัย . ม.ป.ป. : ๑๘๘ , ๒๐๓) ทั้งนกการเวกและนกกินรี เปนสัตวที่มีลักษณะเหมือนกัน
อยูอยางหนึ่งก็คือ มีเสียงที่ไพเราะ ดังนั้นผูนิพนธจึงนํามาเปนแบบเปรียบ ดังขอความตอไปนี้
๔๖

ทั้งไดสดับพระสุรศัพทสํานวนมธุรสารเสนาะ… เปรียบปานประดุจเสียงสกุณการเวก แลเสียง


ขับแหงสกุณกินรี อันไพเราะเปนปยกถาบริบูรณไปดวยลักษณะอันนํามาซึ่งมโนภิรมยแหงมหาชนทั้งปวง

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๘)

สํานวนนี้กลาวถึงพระนางสิริมหามายาวามีพระกระแสเสียงอันไพเราะ เหมือนกับ
เสียงนกการเวกและนกกินรี ซึ่งลวนเปนนกในวรรณคดีที่อาศัยอยูในปาหิมพานต นอกจากนั้นพระ
ดํารัสของพระนางสิริมหามายาก็ออนหวานชวนฟงเปนอยางยิ่งอีกดวย
นอกจากนั้ น ผู นิ พ นธยั งไดเ ปรีย บเทีย บเสี ย งของเจ า ชายสิท ธั ต ถะกับเสีย งของนก
การเวกวาเปนเสียงที่มีความไพเราะเหมือนกัน ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารนี้มีพระสุรเสียงอันอําไพประกอบดวยองค ๘ ประการ ดุจเสียงแหงทาวมหาพรหม


แลเสียงแหงนกกรเวก

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๖)

ตามคําพรรณนาในเรื่องไตรภูมิโลกวินิจฉยกาไดกลาวถึงอานุภาพของเสียงนกการเวก
วา

นกการเวกนั้นครั้นทํามธุรนาท สําเนียงหวานกึกกองไพเราะ ณ ภายใตกิ่งพฤกษาแลวก็บินขึ้นจับใน


ประเทศเบื้องบนกิ่งพฤกษาแล สดับฟงสําเนียงแหงตนที่บันลือลั่นกองเขาอยูเสนาะสนั่นนั้น... ในเวลาที่นก
การเวกรองนั้น สัตวจตุบาททั้งหลายแตบรรดาที่ไดฟง ก็เคลิบเคลิ้มมัวเมา พิศวงงงงวยไปไมมีสติ ละเลิง
หลงลืมตน ที่ขวนขวายดวยอาหาร กินอาหารคาอยูนั้น ก็คายอาหารเสีย เงี่ยโสตสดับสําเนียง บมิไดไหวไดติง
กาย... พาฬมฤคราชทั้งหลาย เปนตนวาเสือโครง แลเสือเหลืองที่ไลติดตามเนื้อนอย ๆ เพื่อประโยชนแก
ภักษาหารนั้น ก็สิ้นสติลืมตนสลวนที่จะเงี่ยโสตสดับเสียง... แตเทาที่ยกขึ้นก็บมิอาจจะวางลงเหนือแผนปฐพี
ได... ยืนแข็งอยูไมไหวติงอยางประหนึ่งวารูปเขียนแลรูปปน... เนื้อนอย ๆ ที่พาฬมฤคราชติดตามนั้นก็สิ้นสติ
ลืมกาย ความกลัวนั้นสูญหาย หยุดยืนฟงสําเนียง นกการเวกรอง บมิไดไหวติงกาย... หมูปกษาชาติทั้งหลาย
ที่บินไปในอากาศนั้น ก็ราปกหยุดฟงสดับสําเนียง... บมิอาจไหวปกไหวกาย เปรียบเหมือนรูปจําหลักอัน
บุคคลนําขึ้นไปติดไวที่เพดาน ตกใจสิ้นสติละเลิงหลงลืมตัว... จนแตปลาในน้ําก็เมามัวลืมตน... สลวนที่
จะเงี่ยโสตสดับเสียงบมิอาจจะไหวหูไหวหางได ลอยตัวซื่อตัวแข็งอยูสิ้นดวยกัน... นกการเวกทั้งหลายนั้น มี
สําเนียงเปนอันไพเราะจับจิตเหตุสัตวทั้งปวงดวยประการฉะนี้

(พระยาธรรมปรีชา (แกว) . ๒๕๒๐ ก : ๑๙๘ – ๒๐๐)


๔๗

จะเห็นไดวา นกการเวกนั้นเปนนกที่มีเสียงไพเราะจับใจผูไดยินอยางมาก เหมือนกับ


เจาชาย สิทธัตถะที่มีเสียงไพเราะเหมือนเสียงพระพรหมและเสียงนกการเวก จนทําใหผูไดยินถึงกับ
หลงลืมตัววากําลังทําสิ่งใดอยู

ชางฉัททันต
ชางฉัททันต เปนชางตระกูลหนึง่ ในชาง ๑๐ ตระกูลทีอ่ าศัยอยูในปาหิมพานต ชาง
ฉัททันตมีผิวสีขาวบริสุทธิ์ดุจเงินยวง ปากและเทาสีแดง ชางฉัททันต ๑ เชือกมีกาํ ลังเทาชางอุโบสถ
(ชางสีทอง) ๑๐ เชือก ฉะนั้นชางฉัททันตแตละเชือกจะมีกําลังเทากับบุรษุ กําลังดี ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ คน
(เกื้อพันธุ นาคบุปผา. ๒๕๔๒ : ๑๕๗) นอกจากนั้น พระสังฆราชเมธังกร ไดกลาวถึงพญาชาง
ฉัททันตไวในหนังสือ “โลกทีปกสาร” ไวอีกวา

พญาชางฉัททันตนั้นสูง ๘๐ ศอก ยาว ๑๒๐ ศอก งาทั้งคูยาวขางละ ๓๐ ศอก วัดโดยรอบ


ประมาณ ๕๐ ศอกกํา งดงามดวยรัศมี ๖ ประการ พญาชางนั้นจึงชื่อวา ฉัททันต …พญาชางจะอยูในถ้ํา
ทองกวางประมาณ ๑๒ โยชน พรอมดวยบริวารโขลงชางประมาณ ๘,๐๐๐ เชือก มีงาอันงอนงามเหมือน
งอนไถ มีความรวดเร็วปานลมพัด ประหารไดฉับพลัน แมชางเหลานั้นจะยืนคอยดู ตลอดทั้งสามยาวยอม
โกรธ แมลมที่กระพือพัดตองพญาชาง ยังมีพวกชางขนาดใหญอื่นๆ อีก ทั้งชางพลายชางพัง ทั้งสีดํา สี
เขียว สีเหลือง สีแดงเพลิง แมสีแดงเลือดนกก็มี…

(พระสังฆราชเมธังกร . ๒๕๒๙ : ๕๒)

จากขอความขางตนนี้แสดงใหเห็นความงดงาม มีพลกําลัง ความเปนผูน ําของพญาชาง


ฉัททันต แบบเปรียบที่เปนชางฉัททันต มีดังขอความตอไปนี้

องคพระชินสีหเสด็จมาจากอรัญญามรรคาสถลสถานปานประหนึ่งวาพระยาฉัททันตคชสารอัน
โคจรออกจากหองแหงเกาะแกวมณี

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๒๒๓)

ผูนิพนธเปรียบพระพุทธเจากับพญาชางฉัททันตในตอนที่พระพุทธเจาเสด็จพระราชดําเนินไป
ยังปาอิสิปตนมฤคทายวันเพื่อแสดงธรรมเทศนาโปรดปญจวัคคียทั้ง ๕ ทาทางที่ทรงพระดําเนินนั้นสงา
งามมากเหมื อ นกั บ ช า งฉั ท ทั น ต เ ดิ น ออกจากเกาะแก ว มณี แสดงให เ ห็ น ภาพท า พระดํ า เนิ น ของ
พระพุทธเจาวามีฝเทาเบา แชมชา นุมนวล มั่นคง พระดําเนินดวยความรูตัวมีสติตลอดเวลา
๔๘

ราชสีห
ราชสีห คือสิงห หรือสิงโต เปนสัตวดุราย กินเนื้อ รูปรางคลายเสือ แตปลายหางมี
กระจุกขนเปนพู และตัวผูมีขนสรอยคอ (ขนตรงหัวตลอดแผงคอยาวฟู) และคําวา สีห กับสิงหกเ็ ปนคํา
เดียวกัน นอกจากนี้ คําวา ไกรสร ไกรศร ไกรศรี ไกรสรี ไกรสิทธิ เกสร (หมายถึงขนแผงคอ) เกสรี และ
สิงหราก็มีความหมายวา สิงหหรือสิงโต เชนเดียวกัน ราชสีหถือวาเปนสัตวสําคัญ มีกําลังและดุราย มี
อํานาจเหนือกวาสัตวปาทั้งมวล จึงถูกยกยองใหเปน “ราชาแหงสัตวปา” (มาลัย . ม.ป.ป. : ๑๘๖ -
๑๘๗) สํานวนเปรียบที่กลาวเปรียบกับราชสีห ตอนที่กลาวถึงเจาชายสิทธัตถะวา

เสด็จยืนอยูมีพระอาการองอาจดุจพระยาสีหราชอันอยูบนยอดบรรพตขณะนั้น ทั้งหมื่นโลกธาตุก็
หวาดไหวเกิดโอภาสสวางไปทั่วโลกทั้งปวง บรรดาแกวประดับวิมานแหงภุมเทวยดาแลอาการเทพยดา
ทั้งหลายก็เปลงแสงโอภาสรุงเรืองยิ่งนักทั่วทุกๆ ทิพยวิมาน อันวาพิณ แลเภรีสรรพดุริยดนตรีตางๆ มิไดมี
ผูใดกระทบกระทั่งก็บันลือศัพทสําเนียงออกเอง รัศมีพระจันทรก็โอภาสสวางยิ่งนัก รัศมีพระอาทิตยก็ออน
มิไดรอนเย็นสบาย มหาเมฆก็ตั้งขึ้นในทิศทั้ง ๔ ยังวัสโสทกใหตกลงในที่โดยรอบ ทิศานุทิศทั้งหลายก็
โอภาสสวางยิ่งนัก แลสรรพบุพนิมิตปาฏิหาริยมหัศจรรยตางๆ ก็ปรากฏมีดุจกาลเมื่อลงสูปฏิสนธิในมาตุ
ครรภนั้น

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๕๖-๕๗)

สํานวนนี้ไดกลาวถึงเจาชายสิทธัตถะในตอนประสูติจากครรภพระมารดาวามีทา ยืนที่
แสดงถึงความองอาจ มั่นคง มีอํานาจ ผูน พิ นธไดนํามาเปรียบกับราชสีหทยี่ ืนผงาดอยูบนยอดเขา

นอกจากนัน้ ยังไดนําราชสีหม าเปรียบเทียบทาเดินของเจาชายสิทธัตถะอีกวา

พระดําเนินดุจสีหราช

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๘)

สํ า นวนนี้ ได ก ล า วเปรี ย บเทีย บท า เดิน ของเจา ชายสิ ท ธัต ถะว า มี ลั ก ษณะที่ ผึ่ ง ผาย
องอาจ มั่นคง นาเกรงขาม เหมือนกับราชสีหผูยิ่งใหญในปา

๑.๒.๒.๒ สัตวทวั่ ไป
๔๙

สัตวทั่วไป คือสัตวที่มีอยูจ ริงในโลกมนุษย อาจเปนสัตว


เลี้ยงหรือสัตวปาทีพ่ บไดตามแหลงธรรมชาติ หรืออาจจะเปนสัตวหายาก สัตวทวั่ ไปที่นํามาเปนแบบ
เปรียบมีดังตอไปนี้
หงส
หงสเป นชื่อนกจําพวกเปด ขนขาว ลําตัวใหญคอยาว นอกจากนั้น เกื้อพัน ธุ นาค
บุปผา ไดก ลาวว า หงสถือเปน สัตวในตระกูลสูง มีเ สียงไพเราะ หงสเ ปน สัตวรักความสะอาด ใน
วรรณคดีเมื่อกลาวชมหงสก็มักจะพูดถึงคุณสมบัติของหงสวา มีเสียงรองไพเราะ นิยมเลนน้ํา และมีทา
ว า ยน้ํ า ที่ ง ดงาม เนื่ อ งจากหงส เ ป น สั ต ว ใ นตระกู ล สู ง จึ ง นิ ย มนํ า มาเปรี ย บกั บ ผู ที่ อ ยู ใ นตระกู ล สู ง
(เกื้อพันธุ นาคบุปผา. ๒๕๔๒: ๑๖๒ ) สํานวนเปรียบที่ใช “หงส” มาเปนแบบเปรียบ มีดังตอไปนี้

พระราชกุ ม ารี อั น ทรงสถิ ต บนรั ต นขจิ ต บั ล ลั ง ก ในท า มกลางสภั ง คมณฑลที่ ส นามเล น มี


พระสิริวิลาสเลิศเลห … เหมือนดวยพระยาสุวรรณาวิหคหงสอันปรากฏ ในทามกลางแหงหงส
อเนกคณา แลบินรอนราบนอนิลบถประเทศฐาน

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๖)

สํานวนนี้เปนการเปรียบพระนางสิริมหามายาวามีความงามเหมือนกับพระยาสุวรรณ
วิหคหงสหรือพระยาหงสทอง คือนอกจากจะมีชาติตระกูลสูงแลวยังสงางาม มีอํานาจ และมีความเปน
ผูนําอีกดวย

นอกจากนั้นมีการเปรียบเทียบทาทางพระดําเนินของเจาชายสิทธัตถะกับหงส ดัง
ขอความตอไปนี้

พระดําเนินงามดุจดําเนินแหงหงส

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๘)

หงส เ ป น สั ต ว ที่ มี รู ป ร า งงดงาม ลี ล าบิ น ร อ นอ อ นช อ ย ลี ล าการว า ยน้ํ า ที่ ส ง า งาม
ผู นิ พ นธ ไ ด นํ า มาเปรี ย บเที ย บกั บ ท า พระดํ า เนิ น ของเจ า ชายสิ ท ธั ต ถะว า มี ค วามสง า และงดงาม
เหมือนกับหงส นอกจากนั้นผูนิพนธนําหงสทองมาเปรียบเทียบกับถาดทองที่พระโพธิสัตวนําไปลอย
แลวอธิษฐานเสี่ยงทายวาพระองคจะไดตรัสรูเปนพระพุทธเจาหรือไม ดังขอความตอไปนี้
๕๐

ขณะนั้นอันวาถาดทองเหมือนดังมีเจตนาจะแสดงซึ่งนิมิตแกพระโพธิสัตว อันจะไดตรัสแกพระ
สัพ พัญ ุต ญาณ ก็ บั น ดาลดุจ สุว รรณวิห คหงส ล งเลน สิน ธุ ว ารี เลื่ อ นลอยทวนกระแสชลทีขึ้ น ไปไกล
ประมาณ ๘๐ ศอกถึงที่วนแหงหนึ่ง ก็จมลงตรงเบื้องบนภพพิมานแหงพญากาฬนาคราชกระทบกับถาด
อันเปนพุทธบริโภคแหงพระสัพพัญูทั้ง ๓ ในอดีต แสดงศัพทสําเนียงเสียงกิริๆ แลวลงประดิษฐานอยูอโธ
ทิศาภาคภายใต ตั้งรองซึ่งถาดแหงพระพุทธเจาทั้ง ๓ นั้น

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๔๔)

สํานวนนี้อยูในเนื้อหาตอนที่พระโพธิสัตวทรงไดรับขาวมธุปยาสของนางสุชาดา จึง
เสด็จจากตนไทรไปฝงแมน้ําเนรัญชรา ทรงปนขาวมธุปยาสเปน ๔๙ ปน ขนาดเทาผลตาลสุก โดยทรง
คํานวณวาจะใหเปนอาหารสําหรับ ๗ สัปดาห และเก็บขาวสวนที่เหลือไว แลวทรงนําถาดทองคําไป
ลอยในแมน้ําเนรัญชรา แลวอธิษฐานเสี่ยงทายวา ถาพระองคจะไดตรัสรูเปนพระพุทธเจาขอใหถาดนั้น
ลอยทวนกระแสน้ํ า แล ว ถาดนั้ น ก็ ล อยทวนกระแสน้ํ า จริ ง ๆ ซึ่ ง ปรากฏการณ นี้ ผู นิ พ นธ ก ล า วว า
เหมือนกับถาดทองที่ลอยทวนไปเหมือนกับลีลาการเลนน้ําของหงสแลววายทวนน้ําขึ้นไป

นอกจากนั้น ตอนที่พวกเดียรถียหรือนักบวชนอกพระพุทธศาสนาประกาศทําปาฏิหาริย
แขงกับพระพุทธเจา จิรสามเณรี สามเณรีอายุ ๗ ขวบ ก็อาสาจะแสดงปาฏิหาริยแทนพระพุทธองค
ดังขอความตอไปนี้

ขาแตพระบรมครู ขาพระองคจะนํามาซึ่งภูเขาสิเนรุราชเขาจักรวาฬกับทั้งหิมพานตบรรพต มา
ประดิษฐานในที่เรียงรายกันเปนลําดับแลว ขาพระบาทจะเหาะมาจากเขาทั้งหลายนั้นปานประหนึ่งวา
หงษทอง หาสิ่งที่จะขัดของมิได ใหชนทั้งหลายเห็นทั่วกันสิ้นในที่สมาคมนี้

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๘๘)

สํานวนนี้ไดกลาวถึงจิรสามเณรีที่จะเหาะแสดงปาฏิหาริยไปเอาเขาสิเนรุราช เขาจักรวาฬ
และเขาหิมพานตมาตั้งเรียงกันโดยเปรียบเทียบทาทางการเหาะวาเหมือนกับหงสทอง แสดงใหเห็นถึง
ทาทางการเหาะที่งดงามเหมือนอยางหงส
นอกจากนั้นตอนที่พระเจาสิริสุทโธทนะทรงพระประชวรหนัก พระพุทธเจาทราบขาวจึง
เสด็จไปเยี่ยมพระพุทธบิดาพรอมกับพาพระภิกษุสงฆ ๕๐๐ รูปไปดวย พระองคเสด็จโดยการเหาะไป
ทางอากาศ ดังขอความตอไปนี้
๕๑

ทานทั้งปวงจงไปทัศนาซึ่งพระพุทธบิดาดวยตถาคต เปนปจฉิมทัศนาในวาระครั้งนี้ พระสงฆ ๕


รอยที่เปนบริวารกระทําอิทธานุภาพปาฏิหาริยเหาะขึ้นสูอนิลบถ ครุวนาดุจทาวธตรัฏฐราชมหาหงส อัน
แวดลอมไปดวยหมูหงส ๙ หมื่นเปนบริวาร

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๖๒)

ขอความนี้เปรียบพระพุทธเจาเปนทาวธตรัฏฐราชมหาหงส และพระสาวกดุจหมูหงสทั้ง ๙
หมื่นผูเ ปนบริวารของทาวธตรัฏฐมหาหงสนั้น ทาวธตรฐราชมหาหงสที่ผนู พิ นธนาํ มาใชเปนแบบ
เปรียบเทียบกับพระพุทธเจานี้แสดงใหเห็นวาพระพุทธเจาเปนผูท ี่มีอาํ นาจ มีความเปนผูนาํ และเปน
ผูปกครองที่มผี ูเคารพนับถือมากมาย นอกจากนั้นยังแสดงถึงรูปรางทาทางที่สวยงามออนชอย สงางาม
เหมือนกับหงสอีกดวย
ในชาดกกลาววา ครั้งหนึง่ พระโพธิสัตวเสวยพระชาติเปนพญาหงสธตรฐราชปกครอง
บริวารทัง้ เกาหมื่นในถ้าํ ทองที่เขาจิตรกูฏนี้ (เกื้อพันธุ นาคบุปผา. ๒๕๔๒ : ๑๖๒) ทําใหผอู านยอน
นึกถึงภาพความยิง่ ใหญในอดีตของพระโพธิสัตวที่นาํ มาเปรียบไดอีกดวย

กา
กา หมายถึงชื่อนกชนิดหนึ่ง ตัวดํา (ราชบัณฑิตยสถาน.๒๕๔๖ : ๕ ) นอกจากนั้น
พลโท ดําเนิร เลขะกุล ยังกลาวถึงกาวา กาหรืออีกาเปนนกตระกูลใหญ มีวงศาคณาญาติแยกยอยและ
กระจายอยูทั่วโลกทีเดียว แมจะมีขนาดตัวและสีขนตามตัวแตกตางกันบาง เชนสีดําสนิท สีเทา และสี
เทาออกน้ําตาลแกๆ แตในสวนรวมแลวนับไดวาขนของมันมีสีคล้ําเปนสวนมาก เพราะเหตุนี้เอง พันธุ
ยอยของอีกาตามทองถิ่นตางๆ จึงมีชื่อแยกยอยออกไปมากมาย…แตเฉพาะชื่อที่มีคําวา “กา” อยู
ดวย ขนตามตัวมักจะดําสนิทเสมอ (ดําเนิร เลขะกุล. ๒๕๒๑ : ๒๐๑)
สํ า นวนเปรี ย บที่ ใ ช แ บบเปรี ย บเป น กามั ก จะนํ า ลั ก ษณะของสี ดํ า ของกามาใช
เปรียบเทียบ ดังขอความตอไปนี้

พระยามากัณฐกะอัศวราช อันมีกายโดยยาวตั้งแตคอจนทายมีประมาณ ๑๘ ศอก โดยสูงก็


สมควรกับกายอันยาว … ศีรษะนั้นดําดุจสีแหงกา

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๐๘)


๕๒

ผูนิพนธไดกลาวเปรียบเทียบสีผมของมากัณฐกะวามีสีดําสนิท เหมือนกับสีขนของกา

สังข
สังข หมายถึงชื่อหอยทะเล เปลือกสีขาว ชองเปดเรียวงามไดรูปทรงใชสําหรับหลั่งน้ํา
พระพุทธมนต หรือใชเปา จากวรรณคดีเรื่องพระปฐมสมโพธิกถานี้ ไดเปรียบเทียบความขาวของหอย
สังขกับความขาวของพระทนตของเจาชายสิทธัตถะดังขอความตอไปนี้

พระทนตขาวดุจสีสังข

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๗๙)

นอกจากนั้นยังเปรียบเทียบสีของมากัณฐกะมาทรงของเจาชายสิทธัตถะวามีสีขนขาว
เหมือนกับสีของหอยสังข ดังนี้

พระยามากัณฐกะอัศวราช อันมีกายโดยยาวตั้งแตคอจนทายมีประมาณ ๑๘ ศอก โดยสูงก็


สมควรกับกายอันยาว สีขาวบริสุทธิ์ดุจสังขอันขัดใหม

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๑๔)

ลักษณะของหอยสังขที่นํามาใชเปนแบบเปรียบคือลักษณะสีของหอยสังขที่มีสีขาว
นวล สะอาด บริสุทธิ์ และมีความแวววาวงดงาม

แมลงวัน
แมลงวันเปนสัตวปกชนิดหนึ่ง มีปากเจาะดูดเปนแทงแข็งสีดํา กัดและดูดเลือด ชอบ
กินสัตวเนาเปอย มักจะอยูตามที่สกปรก จึงเปนพาหะนําโรคตางๆ เชนไขรากสาด อหิวาตกโรค เปนตน
ผูนิพนธไดเปรียบเทียบกองทัพของพระยามารวาเหมือนกับแมลงวัน และเปรียบพระโพธิสัตวกับกอน
เหล็กแดงคือเหล็กที่ลนไฟจนมีสีแดงรอนจัด ดังขอความตอไปนี้

สวนพระยามารผูใจบาป ยกพลเสนามารก็มิอาจเขาไปใกลโพธิมณฑลไดก็ยับยั้งอยูแตที่อันไกล
เมื่อพระยามารมาไดทัศนาการโยธาแหงตนยนยออยูดังนั้น ก็รองประกาศสําทับขับมารโยธาทั้งหลาย ให
เขาแวดลอมโพธิมณฑลสถานปานประหนึ่งวา หมูแมลงวันอันจะบินเขาตอมกอนเหล็กแดงอันรุงโรจน รอน
ดวยเปลวเพลิงมิอาจสามารถเขาไปใกลได
๕๓

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๕๗)

ฝายพระยามารไดยกกองทัพมาเพื่อทําลายการทําวิปสนาของพระโพธิสัตว แตก็ไม
สามารถเขาไปใกลพระโพธิสัตวได ผูนิพนธเปรียบการ “กรู” เขามาของหมูมาร วาเปนดุจการกรูเขามา
ของเหลาแมลงวัน พระโพธิสัตวมีบุญญาธิการมากทําใหหมูมารไมสามารถกรูเขามาทํารายได เหมือน
กอนเหล็กแดงที่รอนผาว แมลงวันไมอาจกรูเขามาเกาะได

หิ่งหอย
หิ่งหอยเปนแมลงปกแข็ง ลําตัวเล็ก ตัวและปกออน มีหนวดแบบฟนเลื่อย ๑๑ ปลอง
สันหลังอกปลองแรกขยายใหญเปนขอบบางมักคลุมลงไปถึงหัว หิ่งหอยเปนสัตวที่หากินเวลากลางคืน
มีเครื่องทําแสงใหเกิดเปนแสงกระพริบเปนจังหวะ แสงเปนสีเขียวปนเหลือง (อุทัย สินธุสาร. ๒๕๑๖ :
๔๕๔๐) ผูนิพนธเปรียบเทียบหิ่งหอยกับพระจันทร พระอาทิตยและดวงดาว ดังขอความตอไปนี้

พระฉัพพรรณรังสีทั้ง ๖ ประการแผไพศาลแวดลอมไปโดยรอบพระสกลกายินทรียกําหนดที่ ๑๒
ศอกโดยประมาณ อันวาศศิสุริยประภาแลดาราก็วิกลวิการอับแสงเศราสีดุจหิ่งหอยเหือดสิ้นสูญ มิได
จํารูญไพโรจนโชติชัชวาล

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๙๑)

เมื่อพระพุทธเจาตรัสรูก็ปรากฏมีรังสีแผออกมาจากพระกายพระองค ผูนิพนธกลาววา
รังสีนั้นสวางเจิดจาและมีอานุภาพมาก แมแสงสวางจากพระจันทร พระอาทิตย และดวงดาว ซึ่งมีแสง
สวางมากอยูแลวเมื่อนํามาเทียบกับรังสีที่แผออกมาจากพระวรกายของพระพุทธเจาแสงของพระ
อาทิตย พระจันทร และดวงดาวนั้นก็ราวกับแสงอันริบหรี่ของหิ่งหอย

แมลงทับ
แมลงทับเปนแมลงจําพวกดวงเจาะไม ลําตัวยาวแคบไปทางหาง สีเขียวเปนมันสดใส
บางชนิดเป น สีน้ํ าเงินและสี ท องแดง ลํ า ตัว แข็ง หนวดเปนแบบฟนเลื่ อย (อุทัย สิน ธุส าร. ๒๕๑๖:
๑๗๖๒) ผูนิพนธนําสีอันสวยงามของปกแมลงทับมาใชเปนแบบเปรียบในขอความตอไปนี้

ทรงจับพระจุฬาโมฬีขวางขึ้นไปบนอากาศทรงพระอธิษฐานวาถาอาตมาจะมิไดตรัสแกพระ
ปรมาภิสมโพธิญาณโดยแทแลวขอจุฬาโมฬีนี้จงตั้งอยูในอากาศอยาไดตกลง ผิวมิไดลุสมประสงคจะตก
ลงมายังสุธาภาค แลพระจุฬาโมฬีกับพระภูษาพันโพกพระเศียรนั้น ก็ประดิษฐานลอยอยูบนอากาศสูง
๕๔

ประมาณโยชนหนึ่ง จึงสมเด็จอัมรินทรธิราชก็นํามาซึ่งผอบแกว อันมีสัณฐานสูงใหญไดโยชนหนึ่งตั้งบน


พระเศียรรองรับซึ่งเวฐนพัสตรา แลพระจุฬาโมฬีอันมีพรรณงามเปนแสงดุจปกแมลงทับทอง อัญเชิญขึ้นไป
ประดิษฐานบรรจุไวในจุฬามณีเจดีย อันแลวดวยแกวอินทนิลสูงประมาณ ๔ โยชนในดาวดึงสเทวโลก

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๑๗)

ตอนที่เจาชายสิทธัตถะทรงตัดพระโมฬีของพระองคเอง แลวทรงโยนพระเกศาและผา
โพกพระเศียรขึ้นบนทองฟา แลวอธิษฐานวา ถาพระองคจะไดสําเร็จเปนพระพุทธเจาขอใหพระเกศา
และผาโพกพระเศียรนี้จงลอยอยูบนอากาศ แตถาไมสามารถตรัสรูเปนพระพุทธเจาได ใหพระเกศาและ
ผานี้หลนลงมาสูพื้นทราย ขณะนั้นพระเกศาและผาโพกพระเศียรก็ลอยอยูบนอากาศสองแสงแพรว
พราวระยิบระยับเหมือนกับปกแมลงทับ เมื่อพระอินทรไดยินคําอธิษฐานของเจาชายสิทธัตถะก็นําผอบ
มารองรับพระเกศานั้นไวไมใหหลนลงพื้นแลวนําไปประดิษฐานไวในจุฬามณีเจดีย สวรรคชนั้ ดาวดึงส ผู
นิพนธเปรียบเทียบพระเกศาและผาโพกพระเศียรขณะที่ลอยบนอากาศวามีแสงแพรวพราวระยิบระยับ
เหมือนกับสีของปกแมลงทับ

ลิง
ลิงเปนสัตวที่ฉลาดกวาสัตวทั้งหลาย สามารถทําอะไรหลายอยางไดเหมือนคน เปน
สัตวซึ่งมีสังคมคลายคน คืออาศัยรวมกันเปนฝูง ผูนิพนธใชลิงเปนแบบเปรียบดังขอความตอไปนี้

พระราชกุ ม ารนี้ มี นิ้ ว พระบาทแลนิ้ ว พระหั ต ถ ทั้ ง หลายยาวเรี ย วดุ จ นิ้ ว วานร ข า งต น ใหญ
แลวเรียวลงไปจนปลายนิ้วกลมงาม

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๖๘)

ผูนิพนธไดเปรียบเทียบนิ้วพระบาทและนิ้วพระหัตถของเจาชายสิทธัตถะวามีลักษณะ
เรียวยาวเหมือนกับนิ้วลิง เนื่องจากนิ้วลิงมีลักษณะเรียวเหมือนกับนิ้วคนมาก โครงสรางกระดูกของนิ้ว
ลิงจะยาวเกือบเทากันทุกนิ้ว อันเปนลักษณะของมหาบุรุษ

นอกจากนั้นผูนิพนธใชแบบเปรียบเปนภาพของวานรไมมีหู ไมมีจมูก และไมมีหาง นั่งอยู


บนตอไมในที่นาอันเพลิงไหมซึ่งเปนภาพที่ไมนาดูอยางยิ่ง เพราะลิงเปนสัตวที่ซุกซน อยูไมสุข ตองหอย
๕๕

โหนกิ่งไมไปมาอยูตลอดเวลา เมื่อลิงมานั่งอยูบนตอไมที่ถู กไฟไหมกลางทุงนา จึ งเปนภาพที่ไมมี


ชีวิตชีวา ผูนิพนธใชแบบเปรียบนี้ในขอความดังตอไปนี้

ฝายพระนนทเถระมีจิตกระสันเปนทุกข มิไดยินดีในบรรพชาจะลาบรรชิตเพศจึงบอกเลาเหตุนั้น
แกพระสงฆทั้งปวง ทราบถึงพระบรมครู จึงดํารัสใหหา มีพระพุทธฎีกาตรัสถาม พระนนทก็กราบทูลตาม
ความสัตยวามีจิตกําหนัดคํานึงถึงนางชนปทกัลยาณี ลําดับนั้นพระชินสีหจึงทรงจูงพระกรพระนนททรง
อนุชา สําแดงพุทธอิทธานุภาพพาขึ้นไปสูดาวดึงสเทวโลก แลบันดาลใหพระนนทเห็นแมวานรตัวหนึ่ง อันมี
หูแลจมูกแลหางอันขาด นั่งอยูบนตอไมในที่นาอันเพลิงไหม ในตําบลหนึ่งในระหวางหนทางแลวขึ้นไปถึงเท
วโลก สําแดงใหเห็นนางเทพอัปสรกัญญา ๕๐๐ อันมีเทาแดงดุจเทาแหงนกพิราบบทจรขึ้นเฝาทาวสหัสนัย
จึงตรัสถามพระนนทวา ทานสําคัญดังฤๅวา นางฟาทั้งหลายนี้ กับนางชนปทกัลยาณีนั้นใครงามกวากัน ขา
แตพระผูมีพระภาค นางชนปทกัลยาณีนั้นดูเหมือนดุจแมวานรอันมีหูและจมูกแลหางอันขาดซึ่งนั่งอยูที่ตอ
ไมกลางทาง จะเอามาเปรียบกับโฉมนางฟาทั้ง ๕๐๐ นี้สักเสี้ยวสวนก็มิได

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๒๕ – ๓๒๖)

ขอความนี้เปนขอความตอนพระนนทบรรพชาใหมๆ ยังไมสามารถตัดใจจากนาง
ชนปทกัลยาณีผูเปนพระชายาได พระพุทธเจาจึงพาพระนนทไปดาวดึงส ระหวางทางก็เนรมิตใหเห็นลิง
หู จมูก และหางขาดนั่งอยูบนตอไดอันเพลิงไหมกลางทองนา และพาไปพบกับเทพอัปสรกัญญา แลว
นางพระอานนทวาระหวานางชนปทกัลยาณีผูเปนพระชายากับเทพอัปสรกัญญาผูใดงามกวากัน พระ
นนทตอบวานางชนปทกัลยาณีเมื่อเทียบความงามกับเทพอัปสรกัญญาแลวนั้นนางชนปทกัลยาณีนั้น
ไมมีความงามใดที่จะสูกับนางฟาไดเลย เหมือนกับลิงหู จมูก และหางขาด นั่งอยูบนตอไมเพลิงไหม ไม
มีความงามเลย ยิ่งเนนวาลิงที่นั่งอยูบนตอไมอันเพลิงไหมแสดงใหเห็นภาพของตอไมสีดํา เปนรอยแตก
จากการเผาไหม ยิ่งแสดงใหเห็นความแหงแลง ไมมีชีวิตชีวา ยิ่งทําใหผูพบเห็นหดหู เศราสลดใจยิ่งขึ้น
แลวพระพุทธเจาตรัสวาถาพระนนทประพฤติตนอยูในศาสนพรหมจรรยจะไดนางฟาเหลานั้น ตอมา
พระอานนทก็ตั้งใจปฏิบัติธรรมจนสามารถบรรลุอรหันต สามารถละกิเลส ความโลภ โกรธ หลงไดอยาง
เด็ดขาดจึงไมตองการนางฟาอีกตอไป จากเหตุการณนี้เปนวิธีการสอนธรรมวิธีหนึ่งของพระพุทธเจา

เนื้อทราย
ผูนิพนธเปรียบเทียบพระชงฆของเจาชายสิทธัตถะกับแขงของเนื้อทรายหรือกวางชนิด
หนึ่ง ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารนี้มีลําพระชงฆอันเรียวดุจเกลียวแหงแขงเนื้อทราย
๕๖

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๗๐)

พระชงฆของเจาชายสิ ทธัตถะเหมือนกับแขงของเนื้อทรายเปนแขงที่ เรียวงาม ได


สัดสวนสวยงาม ไมมีรอยเสนพระอัฐิ ไมมีไขมัน

ชาง
ชางเปนสัตวสี่เทาที่มีขนาดใหญ ผูนิพนธเปรียบเทียบทาพระดําเนินของเจาชายสิทธัต
ถะวามีกิริยานวยนาด งดงาม มีสงาราศี ดังขอความตอไปนี้

พระดําเนินงามดุจอาการดําเนินแหงกุญชร

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๘)

ขอความนี้แสดงใหเห็นทาพระดําเนินที่มีความสงางาม องอาจ การเดินของชางจะชา


เนิบนาบ แตก็มีความมั่นคง

นอกจากนั้นยังเปรียบเทียบฝาพระบาทในขณะที่พระดําเนินวาเหมือนกับฝาเทาของ
ชาง ดังขอความวา

แต พ ระกายท อ นเบื้ อ งต่ํ า ชนทั้ ง ปวงแลเห็ น ฝ า พระบาทอั น ยกย า งไปมาทั้ ง เบื้ อ งหน า แล
เบื้องหลังปรากฏดุจฝาเทาแหงกุญชรชาติ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๖๙)

ผูนิพนธเปรียบเทียบฝาพระบาทของเจาชายสิทธัตถะกับฝาเทาของชางแสดงใหเห็น
ลักษณะฝาพระบาทวามีเนื้อพระบาทเต็มไมมีสวนโคงเวาเหมือนกับชนทั่วไป

หอย
ผูนิพนธบรรยายรูปรางของมาร โดยเปรียบเทียบหยักผมของมารกับกอนหอยหรือกน
หอย ดังขอความตอไปนี้

ตัวมารโยธาแตละคนๆพื้นพิกลนานา ตาเหลือกเหลืองแลเขี้ยวโงงออกนอกปาก หนาผากเถลิก


คิ้วขมวดคอมคด หนวดปรากฏดุจลวดทองแดงแข็งกระดาง รูปรางดุรายกาจหยาบชาหนาแสยะ ผมหยิก
สยองมวนทบดุจกอนหอยเปนกลุมกลม เล็บทั้งใหญทั้งคมทั้งแหลมเลหหลาวยาวโงงทุกๆ คน แตละคนๆ
๕๗

ลวนมีมือสรรพศาสตราวุธหลากหลายมีกายสูงคาพยุตหนึ่งหนึ่งบาง ๓ คาพยุตบางกึ่งโยชนบาง โยชนหนึ่ง


บาง ๒ โยชนบาง ๓ โยชนก็มีบาง

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๕๕)

ขอความนี้แสดงใหเห็นภาพของผมวาเปนกอนมีสว นโคนใหญแลวขดมวนวนเปนวง
ขึ้นมาเขาหาศูนยกลาง แลดูแข็งกระดาง นากลัว และเสนผมที่แข็งกระดาง เพราะลักษณะของเสนผม
ทั่วไปควรจะเปนเสนเล็ก ดําสนิท และมีลักษณะออนนุม

อสรพิษ
อสรพิ ษ คื อสั ต ว มีพิ ษ ที่เ ขี้ย ว เช น งู ผูนิ พ นธ เ ปรี ย บโรคที่ เ ข า มาทํ า ให พ ระพุ ท ธเจ า
เจ็บปวยเหมือนกับอสรพิษ ดังขอความตอไปนี้

ทรงอาพาธหนักครั้งหนึ่ง ทรงเยียวยาพระโรคของพระองคดวยโอสถคือ สมาบัติใหระงับ ...


เปรียบดังอสรพิษอันราย ใหเสื่อมหายดวยอานุภาพแหงมนตวิเศษ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๔๑๙)

ขอความนี้เปรียบโรคเปนอสรพิษ และเปรียบอานุภาพของสมาบัติ (อานาปานสติ) เปน


มนต วิ เ ศษกรรมฐานช ว ยข ม ความเจ็ บ ปวดไว โรคภั ย ยั ง อยู แต ไ ม เ จ็ บ ปวด ไม ท รมาน ผู นิ พ นธ
เปรียบเทียบอาการอาพาธเหมือนกับอสรพิษหรือสัตวที่มีพิษในเขี้ยวที่จะเขามาทํารายรางกายให
เจ็บปวย แตเมื่อรายมนตก็สามารถไลอสรพิษคือความเจ็บปวดไปได แสดงใหเห็นวาสมาบัติมีคุณอัน
พิเศษ ยามเจ็บปวยพระพุทธเจาก็สามารถขมอาการเจ็บปวยนั้นไดดวยสมาบัติ
พระพุทธเจาเปนบุคคลที่มีคุณลักษณะพิเศษ ยามเจ็บปวยก็ไมตองใชยารักษาโรคเชนคน
ทั่วไป แมวาโรคนั้นจะมีอาการรุนแรงก็ยังสามารถขมไวไดดวยสมาธิ

โค
ผู นิ พ นธ เ ปรี ย บเที ย บดวงตาของโคหรื อ วั ว ที่ เ พิ่ ง คลอดกั บ พระเนตรของเจ า ชาย
สิทธัตถะ ดังขอความตอไปนี้
๕๘

พระราชกุมารนี้มีดวงเนตรทั้งสองอันผองใสงามดุจดวงจักษุแหงลูกโคอันคลอดไดประมาณมุหุต
หนึ่ง

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๖)

ลูกโคเพิ่งคลอด มีดวงตาดําที่กลมโต ดังนั้นผูนิพนธจึงนํามาเปรียบเทียบกับพระเนตร


ของเจาชายสิทธัตถะตอนที่ประสูติวามีพระเนตรดําที่กลมโต ดําเงางาม

นอกจากนั้นผูนิพนธยังเปรียบเทียบทาพระดําเนินของเจาชายสิทธัตถะวาเหมือนกับ
อุสุภราช ซึ่งเปนโคทรงของพระอิศวร แสดงถึงความเปนผูนํา และความยิ่งใหญ ผูนิพนธนําอุสุภราชมา
เปนแบบเปรียบ ดังขอความตอไปนี้

พระดําเนินงามดุจอุสุภราชดําเนิน

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ :๗๘)

ผูนิพนธเปรียบเทียบทาพระดําเนินของเจาชายสิทธัตถะวามีความสงาผาเผย กลา
หาญ องอาจ และแข็งแรงเหมือนกับทาเดินของอุสุภราช

จะเห็นไดวา แบบเปรียบเกี่ยวกับสรรพสัตวที่ผนู พิ นธใช มีการนําแบบเปรียบที่เปนเทพมา


เปรียบเทียบกับบุคคลที่มีลักษณะพิเศษกวาบุคคลธรรมดา คือพระพุทธเจา พระนางสิริมหามายา
ลักษณะความพิเศษของทั้งสองพระองค เชน ความพิเศษดานรูปรางหนาตา ความมีบุญญาธิการ
ความมีจิตใจสูงสง มีเมตตากรุณา ความเปนอยูและสิ่งบําเรอความสุข การใชแบบเปรียบเปนเทพมา
เปรียบเทียบกับมนุษยนกี้ เ็ พือ่ ชวยใหผูอา นเห็นภาพของบุคคลที่มีลักษณะพิเศษอยางชัดเจน เห็น
ลักษณะของบุคคลที่ยิ่งใหญกวามนุษยทวั่ ไป อันจะแสดงใหเห็นวาพระพุทธเจาเปนบุคคลที่ไมมมี นุษย
เทียบได
นอกจากนัน้ ผูน ิพนธยงั นํามนุษยมาเปนแบบเปรียบในการเปรียบเทียบอีกดวย ลักษณะของ
มนุษยทนี่ ํามาใชในการเปรียบเทียบมีทงั้ การใชสถานภาพของมนุษย เชนใชจกั รพรรดิเปนแบบเปรียบ
เพื่อแสดงความยิ่งใหญในแผนดิน การใชกิริยาอาการของมนุษย เชน อาการการกาวลงจากธรรมาสน
ของพระหลังจากเทศนาเสร็จเพื่อแสดงภาพประสูติของพระพุทธเจา และการใชอวัยวะสวนตางๆ ของ
รางกายมนุษย เชนดวงตาดวงใจเพื่อแสดงความรักและการทะนุถนอมของแมทมี่ ีตอลูกรักดังแกวตา
๕๙

ดวงใจ จากการศึกษาพบวา การนํามนุษยและกิริยาอาการของมนุษยมาเปนแบบเปรียบนัน้ เพือ่ จะให


ผูอานเขาใจลักษณะเปรียบเทียบ และเขาใจความหมายของการเปรียบนัน้ ชัดเจนเพราะเปนลักษณะ
อาการของมนุษยทพี่ บเห็นได
นอกจากนัน้ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรสไดนําลักษณะบางประการ
ของสัตวชนิดตางๆ มาใชเปนแบบเปรียบใหผูอานเกิดจินตภาพ สามารถเขาถึงสิง่ ที่ผูนพิ นธตองการสื่อ
ไดอยางชัดเจน สัตวที่นาํ มาใชเปนแบบเปรียบมีทงั้ สัตวในวรรณคดี และสัตวทมี่ อี ยูจริงตามธรรมชาติ
การนําสัตวในวรรณคดีมาเปรียบเทียบก็เพือ่ แสดงลักษณะพิเศษที่แตกตางออกไปจากสัตวที่สามารถ
พบเห็นไดทวั่ ไป เพราะสัตวในวรรณคดีเปนสัตวที่เกิดจากจินตนาการ ดังนั้นลักษณะตางๆ ของสัตว
ยอมมีความพิเศษมากกวาสัตวทั่วไป เชน มีพละกําลังมาก มีความงดงาม มีเสียงอันไพเราะ หรือเปน
สัตวที่เกิดจากตระกูลสูงสง เปนตน ดังนั้นลักษณะทีน่ ํามาเปรียบจึงสามารถแสดงความหมายได
หลากหลายออกไป เชนเปรียบเจาชายสิทธัตถะกับพระยาสีหราช แสดงถึงความสงางาม มีอาํ นาจและ
เปน ผูยงิ่ ใหญ เปนตน สวนการนําสัตวทั่วไปมาใชเปนแบบเปรียบนั้นเปนการนําลักษณะเดนของสัตว
ชนิด นั้น ๆ มาเปรียบเพื่อใหเกิดจินตภาพชัดเจนขึน้ เชน หงสทมี่ ีสขี าวสงางามมาเปรียบกับความงาม
ของพระนางสิริมหามายา หรือเปรียบเทียบลักษณะมหาบุรุษของพระพุทธเจาขอที่วามีพระทนตขาว
โดยเปรียบเทียบความขาวกับสีของสังข เปนตน

๒. แบบเปรียบเกี่ยวกับธรรมชาติ
ผูนิพนธนําธรรมชาติมาใชเปนแบบเปรียบในการเปรียบเทียบในสํานวนเปรียบหลายสํานวน
ธรรมชาติที่นํามาเปนแบบเปรียบเทียบ เชน พระจันทร พระอาทิตย แมน้ํา ดวงดาว เปนตน จากการใช
ธรรมชาติมาเปนแบบเปรียบนี้ ทําใหผูอานสามารถมองเห็นภาพของสํานวนเปรียบไดชัดเจนขึ้น
ธรรมชาติตางๆ ที่ผูนิพนธนํามาใช สามารถแบงออกไดดังตอไปนี้
๒.๑ ธรรมชาติ
๒.๒ ปรากฏการณธรรมชาติ

๒.๑ ธรรมชาติ
ธรรมชาติ คือ สิ่งที่มีและเปนอยูแลวตามธรรมชาติ เชน ดวงอาทิตย ดวงจันทร ธรรมชาติที่
ผูนิพนธนํามาใชเปนแบบเปรียบ มีดังตอไปนี้
๖๐

ดวงจันทร
ดวงจันทรจะมีแสงนวล สวางโดดเดนบนทองฟาในยามค่ําคืน ทองฟาในตอนกลางคืนนั้นเปน
สีดํามืด จึงทําใหดวงจันทรยิ่งโดดเดนยิ่งขึ้น แสงจันทรทําใหรูสึกเย็นตา และมีความสุข คนจึงชอบดูดวง
จันทรวันเพ็ญ ขอความที่ใชดวงจันทรเปนแบบเปรียบ มีดังตอไปนี้

พระราชกุมารี อันทรงสถิตบนรัตนขจิตบัลลังก ในทามกลางสภังคมณฑลที่สนามเลน มีพระสิริ


วิลาสเลิศเลห… เปรียบปานบุรณจันทรอันอเนกนักขัตตดาราแวดลอมเปนบริวารในระหวางคัคนาดลวิถี
ทิศฑิฆัมพร

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กระพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๑๖)

ผูนิพนธนําดวงจันทรอันงามสวางโชติชวงแวดลอมไปดวยดวงดาวบนผืนฟาในยามกลางคืน
มาเปรียบเทียบกับพระนางสิริมหามายาซึ่งกําลังนั่งอยูทามกลางบริวาร แสดงใหเห็นถึงพระนางสิริมหา
มายา ทรงมีพระฉวีผองใส สงางามแวดลอมดวยนางกํานัลดุจดวงจันทรสุกสวางลอยเดนทามกลาง
ดวงดาวกลางทองฟา

นอกจากนั้นขอความตอนที่พระพุทธเจาเสด็จไปกรุงกบิลพัสดุ และประทับอยูที่พระนิโคร
ธารามมหาวิหาร ผูนิพนธไดบรรยายความงามของพระพุทธเจาเปรียบเทียบกับพระจันทรดังขอความ
ตอไปนี้

ครั้นถึงก็เขาไปสูสํานักพระทศพลซึ่งทรงสถิตบนทามกลางพุทธบัลลังกประดับดวยพระสงฆ
สาวกแวดลอม รุงเรืองดวยพระศิริวิลาสเปนอันงามดุจศศิมณฑลลวนแวดลอมดวยคณาเนกดาราทั้งปวง
อันเลื่อนลอยอยูบนคัคนัมพรประเทศ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๓๔๕)

ขอความนี้เปรียบพระพุทธเจาที่สถิตเหนือรัตนบัลลังกทามกลางเหลาพระสงฆสาวกทั้งหลาย
วางามเดนดุจพระจันทรที่แวดลอมไปดวยดวงดาวนอยใหญ โดยเปรียบพระพุทธเจาเปนพระจันทร
และเปรียบพระสาวกเปนดวงดาวนอยใหญ แสดงถึงความสงางามเหนือกวาผูอื่น

นอกจากนั้ น ผู นิ พ นธ ยั ง ใช แ บบเปรี ย บพระจั น ทร โ ดยใช ลั ก ษณะรู ป ร า งของพระจั น ทร
เปรียบเทียบกับอวัยวะของรางกาย คือพระหนุ (คาง) ของเจาชายสิทธัตถะ กับสวนโคงของวงจันทรใน
วันทวาสีศุกรปกษหรือวันขึ้น ๑๒ ค่ํา ดังขอความตอไปนี้
๖๑

พระราชกุมารนี้มีพระหนุ... เสมือนดวยสัณฐานแหงวงพระจันทรในวันทวาทสีศุกรปกษ
ขึ้น๑๒ ค่ํา

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กระพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๒๗๖)

ขอความนี้เปรียบเทียบพระหนุของพระพุทธเจาวาเปนคางพระจันทรเสี้ยว คือ ใบหนา เมื่อ


มองดานขาง เปนรูปพระจันทรเสี้ยว คางแหลมงอนขึ้นเล็กนอย ซึ่งลักษณะคางแหลมงอนนี้เปนคติ
ความงามสมัยกอน
นอกจากนัน้ ขอความตอนทีพ่ ระโพธิสัตวออกจากกรุงกบิลพัสดุมา แลวสงนายฉันนะกับมา
กัณฐกะกลับเมืองไป พระองคประทับอยูล ําพัง ณ ปาอนุปยอัมพวัน เปนเวลา ๗ วัน แลวจึงเดินทาง
ตอไป ดังขอความวา

ครั้นลวงเขาถึงวันเปนคํารบ ๘ ก็เสด็จจากปาไมมวงตําบลนั้น บทจรดําเนินไปในพนสณฑวิถี


พระสิริวิลาสอันรุงเรืองงามดวยพยามประภาพรรโณภาส ดุจพระรัชนิกรเทวราชอันบริบูรณดวยพระรัศมี
มีพรรณไพโรจนทิฆัมพรจํารัสปางเมื่อสรทกาลสมัย เสด็จดําเนินไปแตพระองคเดียวดูดุจแวดลอมดวย
อเนกนิกรบรรษัท

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๒๔)

ขณะที่ พ ระโพธิ สั ต ว เ สด็ จ พระราชดํ า เนิ น อยู ใ นป า นั้ น พระองค มี ค วามงดงามเหมื อ นกั บ
พระจันทรที่สองแสงสวางไปทั่วทองฟาในฤดูใบไมรวง ซึ่งมีอากาศหนาวทองฟาปลอดโปรงไมมีเมฆมา
บดบังแสงนวลจากดวงจันทร แสดงใหเห็นความงดงาม บริสุทธิ์ แมวาพระองคจะเสด็จพระราชดําเนิน
พระองคเดียวแตก็ดูเหมือนมีคนหอมลอม แสดงถึงบุญญาธิการที่มีแตผูเคารพนับถือ เฝาลอมอารักขา
ตลอดการเดินทาง

นอกจากนั้น ยังมีอีกสํานวนเปรียบที่กลาวถึงความงดงามของพระพุทธเจาที่มีรัศมีสีขาวเปลง
ออกมาจากพระกาย ดังขอความตอไปนี้

พระรัศมีที่ขาวก็ขาวดุจดวงรัชนีกร แลแกวมณีและสีสังขแลแผนเงินแลดวงผกาพรึกพุงออกมา
จากพระสรีระประเทศในที่อันขาวแลวแลนไปในทิศโดยรอบ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๙๑)


๖๒

รัศมีที่เปลงออกมาจากพระกายของพระพุทธเจาแสดงใหเห็นความมีบุญญธิการและความ
พิเศษที่เหนือกวาบุคคลทั่วไป รัศมีที่เปลงออกมาจากพระกายพระพุทธเจานั้นเรียกวา ฉัพพรรณรังสี

ฉัพพรรณรังสี หรือ รัศมี ๖ ประการ คือ


๑. นีล เขียวเหมือนดอกอัญชัน
๒. ปต เหลืองเหมือนหรดาลแทง
๓. โลหิต แดงเหมือนตะวันออน
๔. โอทาต ขาวเหมือนแผนเงิน
๕. มัญเชฐ สีหงสบาทเหมือนดอกเซงหรือดอกหงอนไก
๖. ประภัสสร เลื่อมพรายเหมือนแกวผลึก

(ราชบัณฑิตยสถาน. ๒๕๔๖ : ๓๓๕ )

ฉัพพรรณรังสีที่เปลงออกมาจากพระกายพระพุทธเจา แสดงใหเห็นลักษณะที่แตกตางจาก
บุคคลธรรมดา และหนึ่งในฉัพพรรณรังสีทั้ง ๖ ประการที่เปลงออกจากพระกายพระพุทธเจาคือ รัศมีสี
ขาวนั้ น ผู นิ พ นธ เ ปรี ย บเที ย บรั ศ มี นี้ กั บ แสงจัน ทร แสงของดวงจั น ทร มี สี ข าวนวล มองดูส บายตา
นอกจากนี้ยังเปรียบแสงสีขาวกับสีของแกวมณี สังข แผนเงิน และดาวประกายพรึกซึ่งมีสีขาวงดงาม
เปนประกายเชนกัน ผูนิพนธใชการเปรียบเทียบโดยใชแบบเปรียบหลายชนิดนี้เพื่อใหเห็นความงดงาม
ของแสงสีระยิบระยับ สีขาวของแบบเปรียบแตละอยางนั้นถึงจะมีสีขาวเหมือนกันแตก็มีลักษณะเดนที่
แตกตางกัน สีขาวของแสงจันทรจะเปนสีขาวนวล สีขาวจากแกวมณีมีลักษณะใสแวววาว สีขาวของ
สัง ขเ ปน สีข าวบริสุทธิ์ ส ว นสีข าวของแผ น เงิ น มีลัก ษณะมัน วาว และสี ข าวของดาวประกายพรึ ก มี
ลักษณะเปนประกาย

สวนอีกสํานวนที่ใชแบบเปรียบเปนดวงจันทร คือขอความตอนที่พระพุทธเจาเสด็จกลับมา
เยี่ยมพระญาติที่กรุงกบิลพัสดุ และเปนครั้งแรกที่พระนางยโสธราพิมพาทอดพระเนตรเห็นพระสวามีอกี
ครั้งหลังจากที่พระองคเสด็จออกมหาภิเนษกรมณเมื่อ ๘ ปกอน ดวยพระทัยที่ปวดราวทําใหพระนาง
ยโสธราพิมพาทอดพระเนตรเห็นวาพระสวามีมีพระรูปเปลี่ยนไปมาก พระกายซูบผอม ดังขอความ
ตอไปนี้
๖๓

พระกรัชกายก็ซูบเศราหมองมีครุวนาดุจจันทรเลขาในกาฬปกษจาตุททสีราตรีกาล มิฉะนั้น
เปรียบปานประหนึ่งวาศศิรังษีในฤดูฝนระคนไปดวย ราตรีแหงเมฆพลาหก… พระฉวีวรรณที่ผุดผองก็
เศราหมองวิปริตผิดเผือดเหี่ยวแหง

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๑๑-๓๑๒)

ผูนิพนธเปรียบเทียบพระฉวีอันเศราหมองของพระพุทธเจาวาเหมือนกับพระจันทรขางแรม คือ
วันแรม ๑๔ ค่ํา ซึ่งเปนคืนพระจันทรมืด และยังเหมือนแสงจันทรในฤดูฝนที่มีเมฆมาบดบังทําใหทองฟา
ในค่ําคืนนั้นมืดสลัว เมื่อนํามาเปรียบกับพระกายที่ซูบผอมจึงแสดงใหถึงพระฉวีหมองคล้ําไมผองใส
เหมือนแตกอนของพระพุทธเจา

ดวงอาทิตย
ดวงอาทิตยมีแสงสวางรุงโรจน สองสวางไปทั่วพื้นโลกใหมนุษยไดรับความสวางไสวกันทั่วไป
สํานวนเปรียบที่ใชดวงอาทิตยหรือประภากรเปนแบบเปรียบ ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุ ม ารี อั น ทรงสถิ ต บนรั ต นขจิ ต บั ล ลั ง ก ในท า มกลางสภั ง คมณฑลที่ ส นามเล น มี


พระสิริวิลาสเลิศเลห… ดุจดวงประภากรอันมีรัศมีไดเกาแสนสองไพโรจนจํารัส

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๑๖)

ผูนิพนธไดเปรียบเทียบดวงอาทิตยกับพระนางสิริมหามายาวามีความงามยิง่ เปนที่เลืองลือไกล
เหมือนกับดวงอาทิตยอนั มีแสงโชติชวง แสดงความมีอาํ นาจ บารมี จะเห็นไดวาผูน ิพนธนําดวงอาทิตย
มาเปรียบเทียบกับพระนางสิริมหามายาเพื่อตองการใหเห็นวาพระนางนัน้ เปนผูที่มอี ํานาจ และเด็ด
เดี่ยว

นอกจากนัน้ เนื้อหาในตอนที่กลาวถึงการประสูติของเจาชายสิทธัตถะวา เมื่อถึงเวลาอันเปน


สิริมงคล เจาชายสิทธัตถะก็ไดประสูติจากครรภพระมารดาในวันเพ็ญเดือน ๖ โดยผูนิพนธไดกลาว
เปรียบเทียบพระกายของเจาชายสิทธัตถะในตอนที่ประสูติวาเหมือนกับดวงอาทิตยแรกขึ้นที่โผลพน
ออกมาจากเมฆ ดังขอความตอไปนี้
๖๔

พระบรมโพธิสัตวกําหนดซึ่งกาลอันควรแกอุดมมหุติฤกษก็ประสูติจากมาตุคัพโภทร มีพระกาย
อันบริสุทธิ์ดุจตรุณทิพากรอันออกจากระหวางแหงพื้นแผนมหาเมฆดวยวิสาขนักขัตฤกษวันเพ็ญเดือน ๖

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๕๔)

ดวงอาทิตยที่เพิ่งโผลแทรกหมูเมฆขึ้นมานัน้ แสดงถึงความมีบุญญาธิการของเจาชายสิทธัตถะ
มีรัศมีเปลงออกมาอยางงดงาม และทรงความบริสทุ ธิ์ สะอาดไมมีลามกอาจมติดเปอนพระกาย เหมือน
ดวงอาทิตยแรกขึ้น

นอกจากนัน้ ในขอความตอนทีพ่ ระพุทธเจาเสด็จไปปาอิสิปตนมฤคทายวันนัน้ ระหวางทาง


พระองคไดทรงพบกับอุปกาชีวก นักบวชไดเห็นความสงางามของพระพุทธเจาก็เกิดความเลือ่ มใส
ผูนิพนธไดบรรยายความงามของพระพุทธเจา ดังขอความตอไปนี้

องคพระผูทรงสวัสดิโสภาคยเสด็จบทจรมา… ทรงสบงจีวรลวนมีพรรณอันแดงดุจแสงพระ
อาทิตย อันอุทัยเหนือยอดยุคนธรบรรพต

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๒๒๐)

จากสํานวนนี้เปนการเปรียบเทียบสบงและจีวรที่พระพุทธเจาหมอยูน ั้นวามีสีแดงดุจ
แสงอาทิตยทขี่ ึ้นอยูเหนือยอดเขายุคนธรซึ่งเปนทิวเขาที่ลอมรอบเขาพระสุเมรุ แสดงใหเห็นวาสบงและ
จีวร ของพระพุทธเจานั้น รุงเรืองไปดวยรัศมีอันไพโรจน แสดงความยิ่งใหญเหมือนแสงอาทิตย

ในครั้งทีพ่ ระพุทธเจาเสด็จไปปาอิสิปตนมฤคทายวันซึง่ เปนทางบกตองผานปา เพื่อแสดงธรรม


เทศนาแกปญจวัคคียทง้ั ๕ รูป ขณะทีท่ รงพระดําเนินนัน้ เหมือนกับดวงอาทิตยอันลอยออกจากกลีบ
เมฆ ดังขอความตอไปนี้

องคพระชินสีหเสด็จมาจากอรัญญมรรคาสถลสถาน ดุจดวงทิพากรอันออกจากหองแหงเมฆ
พลาหกดูเพริศแพรวพรรณรายดวยกระแสสายชาลประภาไพโรจนจํารัสทั่วจังหวัดวนัศไพรสณฑ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๒๒๓)

ขอความนี้เปรียบการเสด็จดําเนินออกจากปาของพระพุทธเจา ดุจการดําเนินออกจากหมูเมฆ
ของพระอาทิตย พระพุทธเจามีพระรัศมีแผราวตาขายกระจายเปนที่สะดุดตาแกปญจวัคคียทั้ง ๕ การ
๖๕

เปรียบเทียบพระพุทธเจากับพระอาทิตยนแี้ สดงใหเห็นวาพระพุทธเจาเปนผูทบี่ ุญญาบารมี แผไพศาล


ไปทั่ว มีพลังอํานาจที่สามารถดึงดูดความสนใจของผูพบเห็นได

นอกจากนัน้ ผูน ิพนธยงั ใชแบบเปรียบพระอาทิตยในการเปรียบเทียบพระนลาฏของพระราหุล


ดังขอความตอไปนี้

สมเด็จพระลูกเจามีเสนพระเกศาอันออนแลเวียนวนเปนทักษิณาวรรต มีสีดําสนิททุกๆ เสน แลมี


พื้นนลาตอันงามยิ่งนัก ดุจสุริยมณฑลอันปราศจากเมฆมลทิน รุงเรืองไปดวยขายพระรัศมีพรรณโอภาส

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๐๖)

ขอความนีพ้ รรณนาพระนลาฏของพระราหุลวามีผวิ พรรณผองใสงดงาม เกลี้ยงเกลาเหมือน


พระอาทิตยทสี่ องแสงสวางสดใสไมมีเมฆมาบดบังความงดงามนั้น

ไฟ
ไฟแสดงถึงความสวางไสว ความรุงเรือง ความรอน ผูน ิพนธไดนาํ ไฟมาเปรียบเทียบกับความ
งามอันโดดเดนของพระนางสิริมหามายาวา

ในวันสุนทรนักษัตฤกษ อัญเชิญพระธิดาขึ้นพระอูแกวแลวถวายพระนามบัญญัติวา พระสิริมหา


มายาราชกุมารี เหตุมีพระสิริรังสีอันรุงเรืองยิ่งนัก ครั้นจําเนียรภาคพระราชกุมารี ทรงพระวัยวัฒนากับ
ดวยมหันตบริวารยศกําหนดพระชนมายุได ๑๖ พระพรรษา มีพระสรีรรูปประภาปรากฏแผออกจากพระ
วรกายรุงเรือง ครุวนาดุจมหาอัคคีขันธอันปรากฏเหนือยอดบรรพตอันสูงในเวลามัชฌันติกราตรี แลทรง
พระอุดมรูปกายินทรียอันงามโดยยิ่งหาหญิงอื่นในพื้นสถลโลกธาตุจะมีสิริวิลาสเสมอหามิได

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๖)

พระนางสิริมหามายานั้นมีความงามสะดุดตาราวกับกองไฟสองแสงบนยอดเขากระจางเห็นได
ชัดในเวลาเทีย่ งคืน ทองฟามืดสนิททําใหกองไฟยิง่ มีแสงสองสวางโดดเดนยิ่งขึน้ แสดงวาพระนางสิริ
มหามายาเปนผูมีชื่อเสียงเปนที่เลื่องลือไปทั่วถึงความงามยิ่งเหนือกวาสตรีใดใดในโลก โดยผูแตงไดย้ํา
ความในขอความวา “หาหญิงอื่นในพืน้ สถลโลกธาตุจะมีสิริวิลาสเสมอหามิได”

นอกจากจะนําความรอนของไฟมาเปรียบแลวยังมีสาํ นวนทีน่ ําคุณประโยชนของไฟคือการให


แสงสวางมาใชเปรียบในสํานวน
๖๖

พระสุคตจักปรินิพพานในกาลอันพลัน อันวาประทีปแกวสองโลก จะพลันดับสูญอันตรธาน

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๔๘๘)

สํานวนนี้กลาวถึงพระพุทธเจาที่ใกลจะปรินิพพาน วาเหมือนกับดวงไฟดวงใหญที่ใหแสงสวาง
ทางปญญาแกมนุษยโลก กําลังจะดับลง เนื่องจากพระพุทธองคทรงเสียสละความสุขสวนพระองค
บําเพ็ญเพียรจนสามารถตรัสรู และไดทําประโยชนอันใหญหลวงแกมนุษย ชวยแนะแนวทางการดําเนิน
ชีวิต พรอมทั้งใหคําสอนตางๆ มากมายแกประชาชน ชวยใหคนพนทุกขจากสังสารวัฏ นับเปนบุคคลที่
ทรงคุณอันยิ่งใหญแกชาวโลก เมื่อพระองคปรินิพพานไปก็เหมือนกับชาวโลกตองสูญเสียบุคคลสําคัญ
คนหนึ่งไป

นอกจากนั้น ไฟยังเปนแบบเปรียบที่มีความหมายอีกอยางหนึ่งคือ ไฟสื่อถึงอารมณความรูส กึ ที่


รุนแรงของอารมณโกรธ เชนในสํานวนดังตอไปนี้

สวนพระยามารธิราช เมื่อไดทัศนาการพระมหาบุรุษทรงสถิตโดยปกติอาการ มิไดหวั่นไหวแตภัย


พิลึก เห็นปานดังนั้น ก็ยังมีความพิโรธเปนกําลัง พระเนตรแดงดังอัคนีกาฬ จึงรองประกาศแกหมูมารโยธา
หาญดวยผรุสคําสํารากรายวา ทานทั้งหลายจงเริ่มเขาไปดวนๆ ชวนกันกลุมรุมฟนแทง ทุบตีเขนฆาพระ
สิทธัตถะราชกุมารกาลบัดนี้

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗:๑๘๖)

ไฟในสํานวนนี้สื่อถึงอารมณความรูสึกของพระยามาร คืออารมณโกรธ เมื่อนํามาเปรียบเทียบ


กับไฟ แสดงใหเห็นถึงอารมณโกรธที่มีความรุนแรงเพิ่มขึ้น โกรธมากเหมือนไฟที่สามารถเผาผลาญ
ทําลายสิ่งที่อยูรอบขางใหมอดไหมไปไดเลยทีเดียว เหมือนกับสํานวนไทยที่กลาววา “โกรธเปนฟนเปน
ไฟ” นั่นเอง

น้ํา
ผูนิพนธนําน้ํามาเปรียบกับพระรัศมีของพระนางสิริมหามายาเพื่อแสดงใหเห็นวาพระนาง
สิริมหามายาทรงมีบุญญาธิการ มีรัศมีเปลงออกมาจากพระกายเหมือนกับมีน้ําสีทองที่สุกสวางหลั่ง
ออกจากผิวพระกายของพระนาง ดังขอความตอไปนี้
๖๗

พระรัศมีก็โอภาสออกจากพระกายทั่วทุกขุมพระโลมา ปรากฏเหมือนดุจรดไปดวย สุวัณโณทก


ธาราไพโรจนจํารัส แลบริบูรณดวยอิริยาบถอันสํารวมเปนอันดี แลรุงเรืองดวยพระสิริขันธพรรณโสภาคย

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๑๗)

พระรัศมีที่เปลงออกมาจากทั่พระวรกายของพระนางสิริมหามายานั้นดุจน้ําทองที่อาบรดเอิบ
อาบไปทั่วพระวรกาย เปลงรัศมีสองสวางโชติชวงออกจากพระกาย แสดงใหเห็นวาพระนางเปนผูมี
บุญญาบารมี มีความงดงาม มีพระฉวีอันผองใส

นอกจากนัน้ ขอความตอนทีพ่ ระพุทธเจาเสด็จกลับมาเยีย่ มพระญาติทกี่ รุงกบิลพัสดุ พระนาง


พิมพาทอดพระเนตรเห็นพระพุทธองคในภาพนักบวชปลงพระเกศา หมผายอมฝาด มีพระกายซูบซีด
เหือดแหง เหมือนกับน้ําใสไหลลงกองถาน ดังขอความตอไปนี้

พระกรัชกายก็ซูบซีดเศราหมอง... ดุจอุทกวารีอันใสไหลลงในราศีกองถานอันรอนก็แหงเหือด

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๑๒)

ขอความนี้เปนตอนที่พระนางยโสธราพิมพาทอดพระเนตรพระพุทธองคดวยพระทัยอันปวดราว
ทําใหรูสึกถึงพระกายพระพุทธองคซูบหมอง เปรอะเปอนฝุน พระฉวีขาดความชุมชื่น และไมมีน้ํามีนวล
เหมือนกับน้ําที่ไหลลงกองถานรอน จนกลายเปนผงเถาสีเทา แสดงถึงภาพผิวพรรณที่เคยสดใสเปลง
ปลั่งงดงามของพระพุทธเจาเมื่ออดีต แตมาบัดนี้เหี่ยวแหงซูบซีด มีผิวหมองคล้ําลงเหมือนสีของเถา
ถาน ทําใหพระนางพิมพาโทมนัสเปนอยางมากที่พระพุทธเจาตองตกระกําลําบากจนรางกายซูบซีด
เชนนี้

ภูเขา
ภูเขามีลักษณะเปนเนินดิน หรือหิน ใหความรูสึกสูงใหญทึบทะมึน นาสะพรึงกลัว ผูนพิ นธ
เปรียบภูเขากับมานะ คือความถือตัว ของปญจวัคคีย ดังขอความตอไปนี้

สมเด็จพระผูมีพระภาคเจาอันยิ่งดวยคุณคือพระมหากรุณา เมื่อพระองคจะทรงประหารเสียซึ่ง
ภูเขาอันใหญ กลาวคือมานะแหงปญจวัคคีย ดวยพระขรรคแกว วชิราวุธ กลาวคือ ปญญาในคราวนั้น

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๕)


๖๘

ขอความนี้เปนเนื้อหาตอนทีพ่ ระพุทธเจาตรัสรูแลวและเสด็จมาโปรดปญจวัคคีย เพื่อเทศนา


สอนพระสัทธรรมที่พระองคตรัสรู แตเนื่องจากปญจวัคคียที่เคยเปนมิตร บัดนี้ไดเสื่อมศรัทธาในพระ
พุทธองค เนือ่ งจากตอนทีพ่ ระองคเลิกบําเพ็ญทุกรกิรยิ า ทําใหปญจวัคคียคิดวาพระองคเลิกลมความ
ตั้งใจที่จะแสวงหาพระโพธิญาณแลว จึงแยกตัวออกมาบําเพ็ญธรรมเอง ดังนั้นเมือ่ พระองคตองการจะ
แสดงธรรมโปรดปญจวัคคียพระองคจงึ ตองพิชิตความถือตัว ความเสือ่ มศรัทธาใหไดกอน โดยผูน ิพนธ
เปรียบเทียบมานะหรือความถือตัวของปญจวัคคียกับภูเขา เพื่อแสดงใหเห็นถึงความถือตัวทีย่ ิ่งใหญจน
ยากที่จะเอาชนะไดเปนปญหาสําคัญที่พระพุทธองคจะตองพิชิตใหได

๒.๒ ปรากฏการณธรรมชาติ
ปรากฏการณ ธ รรมชาติ คื อ การสํา แดงออกมาให เ ห็ น ของธรรมชาติ เช น ฟา ร อง ฟ า แลบ
แผนดินทรุด เปนตน

ฟารอง
ฟารองเปนปรากฏการณธรรมชาติ แสดงถึงเสียงที่ดังกอง นากลัว ดังในเนื้อหาตอนที่กลาว
บรรยายถึงลักษณะการเปลงเสียงของเจาชายสิทธัตถะวาเสียงนั้นดังกอง ดังตอไปนี้

ขณะเมื่อจะเปลงพระสุรเสียงตรัสออกมานั้นระเบียบพระเสนที่ลําพระศอมิไดปรากฏออกมา
ภายนอก พระสุรเสียงนั้นดังกองดุจะเสียงเมฆอันบันลือ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๓-๗๔)

สํานวนนี้แสดงถึงเสียงของเจาชายสิทธัตถะ วามีเสียงดังชัดเจน แมมีพระราชกระแสเปนปกติ


พระสุรเสียงก็กองกังวานเหมือนกับเสียงฟารอง ขณะที่เปลงเสียงออกมานัน้ ลําพระศอไมปรากฏเสน
เอ็นนูนและสัน่ เลยแมแตนอ ยไมเหมือนกับมนุษยที่เวลาเปลงเสียงดังๆ ออกมาเสนเอ็นบริเวณคอจะ
ปรากฏนูนขึ้นมาและเห็นการเคลื่อนไหวเสนเสียงอยางชัดเจน

นอกจากนัน้ ในตอนที่กลาวถึงพระราชพิธอี ภิเษกสมรสของพระเจาสุทโธทนะกับพระนางสิริ


มหามายาก็เกิดปาฏิหารย คือมีเทวดามาแสดงความยินดี ดังสํานวนตอไปนี้

ขณะนั้นก็บังเกิดมหัศจรรยตางๆ ที่พื้นพสุนธรากัมปนาทเปนตน อันวาหาฝนแกว ๗ ประการก็


บันดาลตกลงจากอากาศเต็มตลอดบริเวณโยชนหนึ่ง โดยรอบมหามณฑปนั้น เทพยดาทั้งหลายทั่วจักวาฬ
ก็โปรยปรายสัตตรัตนมณี นฤโฆษศัพทสาธุการเอิกเกริกกลาหลบันลือลั่นเปนอันเดียวกัน ตั้งแตพื้น
ภูมิภาคตลอดถึงภวัครพรหม แลกษัตริยทั้งหลาย มีสมเด็จพระเจาสีหนุราชเปนอาทิ แลมหาชนบรรษัทเห็น
๖๙

มหัศจรรยดังนั้น ก็มีโลมชาติสยดสยองแซซองสรรเสริญพระกฤษดาภินิหารแหงกษัตริยทั้ง ๒ พระองค


เสียงนฤโฆษครุวนาดุจเสียงมหาเมฆอันกึกกองในมหาสมุทร

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๑)

ในพระราชพิธอี ภิเษกสมรสมีสิ่งมหัศจรรย คือ แผนดินไหว ฝนแกว ๗ ประการ และ


นอกจากนัน้ เทวดาไดโปรยสัตตรัตนมณี คือ ทอง เงิน มุกดา แกว ไพฑูรย เพชร แกวประพาฬ (สุธิวงศ
พงศไพบูลย. ๒๕๒๕: ๒๒-๒๓) ลวนเปนสิ่งมงคลเพือ่ รวมแสดงความยินดี พรอมทั้งสงเสียงยกยอง
สรรเสริญบารมีของทัง้ ๒ พระองค เมื่อประชาชนเห็นเขาก็ตะลึงในปาฏิหาริยดังกลาว ผูนิพนธ
ไดเปรียบเสียงแซซองสรรเสริญวาดังกึกกองเหมือนเสียงฟารองดังสนัน่ ในมหาสมุทร แสดงถึงความ
ยิ่งใหญของพระเจาสุทโธทนะและพระนางสิริมหามายาที่ประชาชนชืน่ ชมบารมีมาก

ฟาแลบ
ฟาแลบเปนปรากฏการณธรรมชาติ มักเกิดในชวงฤดูฝน ลักษณะของฟาแลบจะเกิดเปนแสง
วาบเปนเวลาเพียงนิดเดียวเทานั้น

ดูกรบรมบพิตร อันวาชีวิตแหงมนุษยทั้งหลายนี้นอยนักดํารงอยูโดยพลันบมิไดยั่งยืนอยู ครุวนา


ดุจสายฟาแลบอันปรากฏมิไดนาน อันวาวัยวัฒนาการยอมมีชราเปนที่สุด สภาวะหาโรคบมิได มีพยาธิ
ประทุษฐบีฑาเปนปริโยสาน อันวาชีวิตสังขารก็มีมรณะเปนธรรมดา สมบัติทั้งปวงก็ลวงละวิบัติยายี

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๙๐)

เนื้อความนี้ เปนตอนที่พระเจาสิริสุทโธทนะ พระราชบิดาของพระพุทธเจาทีท่ รงชราภาพ และ


ประชวรหนัก พระพุทธเจาเสด็จมาแสดงธรรมโปรดจนพระราชบิดาบรรลุพระธรรมในที่สุด ผูน ิพนธได
นําปรากฏการณฟาแลบนีม้ าเปรียบเทียบกับชวงชีวิตคนตั้งแตเกิด แก เจ็บ จนถึงตายนัน้ ก็เปนเวลาที่
ไมนาน เหมือนกับฟาแลบที่มีแสงแปลบปลาบชั่วครูเทานัน้

นอกจากนัน้ ตอนที่ผนู ิพนธบรรยายความงดงามของเครือ่ งแตงกายนางรําของกษัตริยวา


ประดับดวยมณีถึง ๗ ชนิด เมื่อมณีเหลานั้นกระทบกับแสงทําใหเกิดประกายวูบวาบ เหมือนกับแสงฟา
แลบ ดังขอความตอไปนี้
๗๐

ฝายฝูงนางบําเรอทั้งหลายกาลเมื่อจะยกหัตถขึ้นฟอน ดูกรอันกระหยับกรีดกรายยายกระบวนรํา
ไปพรอม ๆ กัน สรรพกาญจนาภรณประดับดวยสัตตรัตมณีก็หวั่นไหวไพโรจนรังสีจํารัสทั่วทั้งพื้นภายใน
ปราสาทก็โอภาสเพียงวิชชุลดาสายฟาแลบไดสักแสนครั้ง

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๐๕)

ขณะที่นางบําเรอฟอนรําเคลื่อนไหวรายรําเยื้องกายอยูน ั้นเครื่องประดับที่ทาํ จากมณีทั้ง ๗


ชนิดก็หวัน่ ไหวทําใหเกิดประกายวูบวาบงดงามเหมือนกับแสงฟาแลบซึ่งเปนแสงสวางวับๆ ตระการตา

ฟาผา แผนดินทรุด
ฟาผาเปนปรากฏการณธรรมชาติ เมื่อฟาผาลงพื้นดินจะมีเสียงดังสนัน่ หวั่นไหว นาสะพรึงกลัว
สวนแผนดินทรุดแสดงถึงการจมลงหรือลดลงของแผนดิน จากวรรณคดีเรื่องพระปฐมสมโพธิกถามี
การใชปรากฏการณฟาผาและแผนดินทรุดเปนแบบเปรียบ ดังขอความตอไปนี้

สมเด็จพระมหาสัตวกับทั้งพระราชบิดาเสด็จดวยมหันตบริวารยศไปยังที่มณฑลสันนิบาต เสด็จ
สถิตบนรัตนบัลลังกในมหามณฑปแลวใหหามาซึ่งนายขมังธนูทั้ง ๔ คือ อักขณเวธี ๑ พาลเวธี ๑ สรเวธี ๑
สัททเวธี ๑ ใหไปนํามาซึ่งสหัสถามธนูอันหนักถึงกําลัง ๑ พันบุรุษจึงยกขึ้น ทรงยืนเหยียบซึ่งที่สุดเบื้องต่ํา
แหงคันธนูดวยพระบาทเบื้องซาย ประดิษฐานไวในระหวางแหงนิ้วพระบาท แลวทรงยกขึ้นคันธนู ดูอาการ
ดุจเบาครุวนาดังสตรีอันยกขึ้นซึ่งไมกงดีดฝาย บรรดาสรรพสัตวทั้งหลายเห็นอาการอันทรงกระทําแต
เทานั้น ก็ชวนกันชื่นชมโสมนัส ในลําดับนั้นก็ทรงดีดสายเสียงสนั่นดุจเสียงอสนีบาตสัก ๑ พันครั้ง มิฉะนั้น
ดุจสําเนียงปฐพีทรุด แลกรุงกบิลพัสดุอันกวางยาวไดสัตตโยชนปานประหนึ่งวาจะหวาดไหวไปทั้งสิ้น
มหาชนทั้งหลายตางตกใจไตถามกันวาเสียงสิ่งใด

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๙๒)

ขอความนี้เปน ตอนที่เจาชายสิทธัตถะแสดงศิลปะการยิงธนูใหพระญาติไดทอดพระเนตร
ความสามารถของพระองค เ พื่อ จะยอมยกพระธิดาให คันธนูที่ เ จ าชายสิทธั ตถะใช ยิ ง นั้ นเป น ธนูที่
เรียกวา สหัสถามธนู คือเปนธนูที่ตองใชบุรุษมีกําลังจํานวนพันคนจึงสามารถยกขึ้นได แตเจาชาย
สิทธัตถะสามารถยกหางธนูขึ้นมาวางไวระหวางนิ้วพระบาทไดอยางงายดายแสดงถึงอิทธิฤทธิ์วามี
กําลังมากเหนือมนุษยคนอื่น เมื่อพระญาติเห็นดังนั้นก็ตางชื่นชมยินดีเปนอยางยิ่ง จากนั้นเจาชาย
สิทธัตถะทรงดีดสายธนูดังสนั่น โดยผูนิพนธไดเปรียบเทียบเสียงสายธนูที่เจาชายสิทธัตถะดีดวามีเสียง
ดังสนั่นราวกับเสียงฟาผาพันครั้ง หรือไมก็เสียงแผนดินทรุดทําใหประชาชนตางพากันชื่นชมโสมนัส
เสียงนั้น ปรากฏการณฟาผาและแผนดินทรุดผูนิพนธนํามาเปรียบเทียบกับเสียงที่กึกกองสนั่นหวั่นไหว
๗๑

ทั่วพื้นพิภพ ทั้งฟาผาและแผนดินทรุดเปนปรากฏการณที่รุนแรงและนากลัว แสดงถึงพลังอันยิ่งใหญ


ของเจาชายสิทธัตถะยกธนูขึ้นมาได

จะเห็นไดวาธรรมชาติที่ผนู ิพนธนาํ มาใชเปนแบบเปรียบนั้นลวนเปนธรรมชาติที่เห็นอยูเปน


ประจําทุกวัน หรือเห็นไดงาย เชน ดวงอาทิตย ดวงจันทร ภูเขา น้าํ รวมถึงปรากฏการณธรรมชาติที่รูจัก
คุนเคยกันดี เชนปรากฏการณฟาผา ฟารอง ฟาแลบเปนตน มาใชเปนแบบเปรียบเพื่อสรางจินตภาพแก
ผูอานและอารมณความรูสึกของตัวละครใหผูอานเกิดมโนภาพตามโดยจินตนาการถึงความโหดราย
และความงดงามตามที่ผนู ิพนธตองการไดอยางดี เชนภาพของแสงจันทรนวลตาแสดงถึงความงามของ
พระนางสิริมหามายาหรือพระรัศมีที่เปลงออกจากพระกายของเจาชายสิทธัตถะเพื่อใหเห็นความงาม
และลักษณะทีผ่ ิดกวาบุคคลทั่วไป หรือภาพของภูเขาแสดงถึงความดําและใหญทะมึนของมารทําให
รูสึกวาเปนภาพทีน่ ากลัวเกรง หรือเสียงฟารองที่ดังกึกกองเปรียบเทียบกับเสียงแซซรองสรรเสริญของ
ประชาชนทําใหเห็นภาพพลังศรัทธาของประชาชนที่มีตอ พระเจาสิริสทุ โธทนะ และพระนาง
สิริมหามายาอยางมากมายในวันอภิเษกของทัง้ สองพระองคเปนตน

๓. แบบเปรียบเกี่ยวกับพืช
พืชที่นํามาใชเปนแบบเปรียบของสํานวนเปรียบนั้นมีพืชหลากหลายชนิดดวยกัน เชน ดอกบัว
ขมิ้น ไผ ชบา ตาล ตําลึงเปนตน ดังนั้นจึงแยกประเภทของพืชที่นํามาใชในการเปรียบเทียบเปนตนไม
และดอกไม ดังนี้

๓.๑ ตนไม หมายถึงพืชที่มีลําตนใหญ แข็งแรง มีกิ่งแยกออกไป แบบเปรียบที่เปนตนไมนี้


รวมถึงสวนตางๆ ของตนไมดวย เชน ผล ใบ เปนตน

ไทร
ไทร เปนไมยืนตนขนาดกลางถึงใหญ ใบโตกลมขนาดฝามือและมีลายเล็กนอย มีรากอากาศ
ยอยลงมาและพาดพันหุมลอมรอบลําตนทําใหเปนซอกเปนโพรง เมื่อรากโตคลายกับเสาตอหมอ ชวย
ค้ํากิ่งใหแข็งแรง เปนไมใหความรมเย็น ดอกและผลโตกลม ผลสีเหลืองแดง นกอาศัยรมและเกาะกิน
ผล (หลวงบุเรศรบํารุงการ. ๒๕๑๘: ๓๗) ผูนิพนธไดเปรียบเทียบพระกายของเจาชายสิทธัตถะวา
บริบูรณดุจบริเวณโดยรอบของตนไทร กลาวคือมีพระกรทั้งสองขางยาวสมดุลกับพระกาย เหมือนกับ
ตนไทรที่มีรากหอยออกมารอบลําตน ดังขอความตอไปนี้
๗๒

พระราชกุมารนี้มีปริมณฑลพระกายบริบูรณพรอมดุจปริมณฑลแหงตนไมไทร อธิบายวา พระกร


ทั้งสองขางเหยียดออกโดยกวาง คือวาของพระองคมีประมาณยาวเทาใดก็วัดไดเทากันกับพระกายซึ่งสูงมี
ประมาณเทานั้น มิไดสั้นยาวกวาดุจสามัญสัตวทั้งหลายอื่นๆ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๓)

ผูนิพนธเปรียบเทียบเจาชายสิทธัตถะวามีพระกายเหมือนกับตนไทร คือความสูงของพระกาย
กับความยาวของแขนเมื่อกางออก (วา) นั้นเทากัน แสดงวาพระกายของเจาชายสิทธัตถะมีความ
สมดุลเหมาะสม ตามทีพ่ ระเผด็จ ทตฺตชีโว ไดกลาวไวในปาฐกถาธรรมเรื่องลักษณะมหาบุรุษวา “วา
ของบางคนยาวกวาความสูง แตของบางคนก็สั้นกวาความสูง สวนบางคนแขนยาวเกินไป เดินไปถึง
ไหนแขนก็ลูเกะกะ เปนสัดสวนที่ไมเหมาะสมแกการปฏิบัติธรรม” (พระเผด็จ ทตฺตชีโว. ๒๕๓๐ : ๓๖)

มะมวง
มะมวงเปนตนไมขนาดกลางถึงขนาดใหญ ใบใหญยาว ปลายใบแหลม มีผลกลมยาวตางๆ กัน
( หลวงบุเรศรบํารุงการ. ๒๕๑๘ : ๑๓) ผูนิพนธไดเปรียบเทียบการบําเพ็ญบารมีของเจาชายสิทธัตถะ
เหมือนกับการปลูกตนมะมวงที่ใหรมเงาและผลมะมวง ดังขอความตอไปนี้

พระบรมโพธิสัตวทรงบําเพ็ญพระสมดึงสบารมีทั้งปวง คือ พระทศบารมี ๑๐ พระทศอุปบารมี


๑๐ พระทศปรมัตถบารมี ๑๐ แลปลูกซึ่งบุญพีชนะจะบริโภคซึ่งผลยังฉายาแหงกุศลพฤกษใหรมเย็นแก
มหาชนทั้งหลาย ครุวนาดุจปลูกซึ่งอัมพพฤกษ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๕)

เจาชายสิทธัตถะทรงบําเพ็ญสมดึงสบารมีมาโดยตลอด ประสิทธิ์ ศรีสมุทร ไดกลาวถึง


ความหมายของสมดึงสบารมีดังนี้

สมดึงสบารมี คือ บารมี ๓๐ ทัศ คือคุณธรรมที่นําสัตวโลกใหถึงฝง ๓๐ ประการ บารมีนั้นมีองคธรรมอยู


๑๐ ประการ จําแนกเปน ๓ ระดับ พระโพธิสัตวไดทรงบําเพ็ญในพระชาติตางๆ เปนลําดับขึ้นไป คือ
ขั้นปกติเรียกวา บารมี
ขั้นสูงขึ้นไปอีก เรียกวา อุปบารมี
ขั้นสูงขึ้นไปและเครงครัดยิ่งขึ้น เรียกวา ปรมัตถบารมี
การเสวยพระชาติเพื่อบําเพ็ญปรมัตถปารมี คือ การเสวยพระชาติ ๑๐ ชาติสุดทาย (ทศชาติ) ดังตอไปนี้
๑. พระโพธิสัตวทรงบําเพ็ญ เนกขัมมบารมี คือการออกบวช ครั้งเสวยพระชาติเปนพระเตมีย
๗๓

๒. พระโพธิสัตวทรงบําเพ็ญ วิริยบารมี คือการบําเพ็ญเพียร ครั้งเสวยพระชาติเปนพระมหาชนก


๓. พระโพธิสัตวทรงบําเพ็ญ เมตตาบารมี คือการเจริญเมตตา ครั้งเสวยพระชาติเปนสุวรรณสาม
๔. พระโพธิสัตวทรงบําเพ็ญ อธิษฐานบารมี คือความตั้งใจมั่น ครั้งเสวยพระชาติเปนพระเจาเนมิราช
๕. พระโพธิสัตวทรงบําเพ็ญ ปญญาบารมี คือความรูทั่ว ครั้งเสวยพระชาติเปนพระมโหสถบัณฑิต
๖. พระโพธิสัตวทรงบําเพ็ญ ศีลบารมี คือการรักษาศีล ครั้งเสวยพระชาติเปนภูริทัต
๗. พระโพธิสัตวทรงบําเพ็ญ ขันติบารมี คือความอดทน ครั้งเสวยพระชาติเปนจันทกุมาร
๘. พระโพธิสัตวทรงบําเพ็ญ อุเบกขาบารมี คือการวางเฉย ครั้งเสวยพระชาติเปนนารทพรหม
๙. พระโพธิสัตวทรงบําเพ็ญ สัจบารมี คือการถือคําสัจ ครั้งเสวยพระชาติเปนวิธูรบัณฑิต
๑๐. พระโพธิสัตวทรงบําเพ็ญ ทานบารมี คือการใหทาน ครั้งเสวยพระชาติเปนพระเวสสันดร

(ประสิทธิ์ ศรีสมุทร. ๒๕๔๔ : ๑๙๑)

การบําเพ็ญสมตึงสบารมี (บารมี ๓๐ ทัศ) เชน การบริจาคทรัพยเปนบารมีขนั้ ต่าํ เรียกวา


ทานบารมี การบริจาคเกี่ยวกับอวัยวะ เชน บริจาคตาก็เปนทานบารมีที่สูงขึน้ ไปอีกขั้นหนึ่ง เปนขั้นอุป
บารมี เรียกวา ทานอุปบารมี และหากบําเพ็ญใหเครงคัดยิ่งขึ้นไปอีก เชน การบริจาคชีวิต อยางนี้
เรียกวาเปน ทานปรมัตถบารมี เปนตน พระโพธิสัตวทกุ พระองคจะบําเพ็ญหรือปฏิบัติทุกอยาง แตจะ
เนนหนักเปนอยาง ๆ ในแตละชาติ เชนพระเวสสันดรทรงเนนการใหทานเปนตน (เสมอ บุญมา.
๒๕๓๖ : ๓๐)
จะเห็นไดวาการบําเพ็ญบารมีนี้กระทําไดยากมาก นอกจากจะสงผลดีตอผูบําเพ็ญเพียรเอง
แลวยังสงผลดีใหแกประชาชนทัว่ ไปอีกดวย คือ ธรรมที่สงผลดีแกผปู ฏิบัติเองเปรียบไดกับการปลูกตน
มะมวงแลวไดรมเงาและผลมะมวงที่ใหรสหวาน ชุมชื่นแกผูปลูกและผูชิม

ตาล
ตนตาลเปนตนไมที่มีลําตนสูงคลายตนมะพราว แตมีใบใหญกวา ผูนิพนธนํายอดตาลมาเปน
แบบเปรียบดังขอความตอไปนี้

อนึ่ง ตถาคตก็มีราคโทสโมหปราศจากสันดาน เปนสมุจเฉทปหานสิ้นสูญมูลรากอันเด็ดขาด มิ


อาจบังเกิดเจริญอีกสืบไปในเบื้องหนา ครุวนายอดตาลอันตัดขาดมิอาจวัฒนาการสืบไปจะหวั่นไหวดวย
ราคาทิกิเลสบมิไดมีเปนแท

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๓๑๗)


๗๔

ขอความนี้เปนตอนที่พระพุทธเจาเสด็จโปรดพระนางพิมพา ทรงเปรียบเทียบวาแมพระนาง
พิมพาจะเขามาลูบพระบาทนั้นก็มิไดกอใหเกิดราคะกิเลสแกพระองคเพราะพระองคนั้นเปนผูที่ตัดขาด
กิเลสไดหมดแลว ไมทรงหวั่นไหวดวยประการทั้งปวง กิเลสนั้นเหมือนกับตาลยอดดวนที่ไมสามารถ
เจริญงอกงามขึ้นมาไดอีก

มะพลับ
มะพลับเปนไมยืนตนขนาดกลาง ใบหนาและยาว เปลือกตนสีดํา ผลออนสีเขียว สุกสีแดง
(หลวงบุเรศรบํารุงการ. ๒๕๑๘ : ๔๖) ผูนิพนธไดนําสีของผลมะพลับมาใชในสํานวนเปรียบ
ดังตอไปนี้

พระบวรโอษฐแหงพระสิริมหามายาราชบุตรี มีพรรณอันแดงดุจสีผลมะพลับทองอันสุกสด

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๘)

สํานวนนี้บรรยายความงดงามสีพระโอษฐของพระนางสิริมหามายาวามีพระโอษฐแดงเหมือน
ลูกมะพลับทองสุก ซึ่งมีสีแดงสด และมันวาว

ไผ
ไผ เปนไมยืนตน เกิดเปนกอ กอหนึ่งมีหลายตน ลําตนเปนขอปลอง หรือยาวสุดแตชนิดของ
พัน ธุ ภายในลํา ต น โปรง ใบเปน ใบยาวเรีย วแหลม กิ่ ง กา นมีทั้ ง ชนิดมีหนามและไมมีห นาม ใชทํ า
ประโยชนไดมากมาย เชน ตกแตงสวนเพื่อความสวยงาม ใชทําเปนเครื่องใชสอยได หรือทําเปนอาหาร
ก็ได (ชวลิต ดาบแกว. ๒๕๔๒ : ๗๕) ในเรื่องนี้ใชไมไผเปนแบบเปรียบในสํานวนตอไปนี้

ลํา ดับ นั้น พระศาสดาก็ ท รงเยี ย วยาพระโรคาพาธด ว ยโอสถกลา วคือ พระสมาธิ ฌ าณ ปาน
ประหนึ่งวาไมไผอันผูกกระหนาบคาบค้ําอุปถัมภซึ่งเกวียนอันเกาคร่ําคราพอประทังทุกขเวทนาไปใน
ทามกลางหนทาง

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๔๔๓)

สํานวนนี้เปนการเปรียบเทียบเกวียนเกาที่ใชงานมานานกับพระกายของพระพุทธเจาที่ทรงชรา
ภาพ มีพระอาการประชวร และเปรียบพระสมาธิฌาณเปนประดุจไมไผที่ชวยประคองค้ําเกวียนคือพระ
สมาธิญาณชวยประคองพระอาการประชวรของพระพุทธเจาไวได
๗๕

ข อ ความนี้ ก ล า วถึ ง ตอนที่ พ ระพุ ท ธเจ า ใกล จ ะเสด็ จ ดั บ ขั น ธ ป ริ นิ พ พาน พระพุ ท ธเจ า ทรง
พระประชวร รางกายของพระองคทรุดโทรมมากแตพระองคก็ใชพระสมาธิฌาณชวยประคับประคอง
พระวรกายไวได ราวกับเกวียนเกาที่ใกลจะพังแตที่ยังสามารถตั้งอยูไดเพราะเอาไมไผแซมค้ําจุนไว

กลวย
กลวย เปนไมลมลุกขนาดใหญ ลําตนเปนกาบหุมซอนกันหลายชั้น ปลายกาบเปนใบแผน แผน
ใบสีเขียว ดอกออกเปนหัวปลีหอยยอยลงมา แลวออกเปนผล ผลจะออกมาเปนหวี หวีหนึ่งมีหลายลูก
(ชวลิต ดาบแกว. ๒๕๔๒ : ๕๔)
เจาชายสิทธัตถะเปนผูที่มีคุณลักษณะที่เรียกวา มหาปุริสลักษณะ คือมีลักษณะมหาบุรุษ ๓๒
ประการ และนอกจากลักษณะมหาบุรุษทั้ง ๓๒ ประการแลวยังประกอบดวย อสีตยานุพยัญชนะ คือ
ลักษณะพิเศษเล็กๆ นอยๆ อีก ๘๐ อยาง และพระเพลาของเจาชายสิทธัตถะนี้ก็เปนลักษณะหนึ่งของ
อสีตยานุพยัญชนะของพระองค ผูนิพนธไดเปรียบเทียบพระเพลา (ขา) กับตนกลวยทอง ดังขอความ
ตอไปนี้

ลําพระเพลาทั้งสองกลมงามดุจลําสุวรรณกัทลี

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๘)

สํานวนเปรียบนี้เปรียบลําพระเพลาของเจาชายสิทธัตถะวาเหมือนกับลําตนของตนกลวยทอง
ลักษณะที่นํามาเปรียบคือ ลักษณะความกลมกลึง นวลเนียนสวยงาม ไมมีกลามเนื้อนูนเปนกอนขึ้นมา
บริเวณนองเหมือนบุคคลทั่วไป

มะขามปอม
มะขามเปนตนไมขนาดกลาง ผลกลม มีรสเปรี้ยวฝาด เมล็ดแข็ง ผลใชทํายาได ผูนิพนธได
เปรียบเทียบบารมีที่ยังไมเต็มเปยมของพระเจาสิริสุทโธทนะกับผลมะขามปอมดิบ ดังขอความตอไปนี้

ขอซึ่งพระสัพพัญูเสด็จยับยั้งอยูชา มิไดมาสูสํานักพระพุทธบิดาโดยดวนนั้น เหตุดวยพระ


บารมีญาณแหงพระพุทธบิดายังไมแกกลาบริบูรณ ครุวนาดุจผลมะขามปอมยังออนอยู แมวามีผูทิ้งขวาง
ดวยไมคอนกอนดินใดๆ ก็ดี ที่จะไดรวงหลนลงนั้นหาบมิได จะทําลายลงก็แตสาขานอยใหญตกลงสูพื้น
ปฐพี และผลมะขามปอมนั้นตอเมื่อใดสุกแกแลว แตตองลมลําพายพัดออนๆ ก็รวงหลนลงเอง

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๔๐๕)


๗๖

ผูนิพนธเปรียบเทียบพระเจาสิริสุทโธทนะกับมะขามปอมดิบที่ยังออนอยู สวนขั้วของผลที่ติด
กั บ กิ่ ง มะขามป อ มนั้ น ยั ง เหนี ย วอยู จะเอาสิ่ ง ของใดขว า งปาก็ ไ ม ส ามารถทํ า ให ห ล น ลงมาได ผล
มะขามปอมที่ยังออนอยูนี้เหมือนกับพระเจาสิริสุทโธทนะที่ยังมีบารมีไมแกกลา พระพุทธเจาจะทรง
เทศนาโปรดอยางไรก็ไมสามารถเขาใจธรรมนั้นได สวนธรรมะที่พระพุทธเจาแสดงเหมือนกับกอนหิน
กอนดินที่ปาไปยังมะขามปอมออน ปาอยางไรก็ไมหลน ดวยเหตุที่ผลมะขามปอมยังยึดติดกับกิ่งอยู
เชนเดียวกับพระเจาสุทโธทนะที่ยังยึดติดอยูกับกิเลสตามวิสัยของโลกียชน

ผลตําลึง
ผลตําลึงมีรูปรางคลายแตงกวา แตมีขนาดเล็กกวา ผลที่ออนมีสีเขียวและมีลายสีขาว พอสุก
จะกลายเปนสีแดงสด เนื้อสีแดง รับประทานได (วิทย เที่ยงบูรณธรรม. ๒๕๓๑ : ๓๑๕) ผูนิพนธใช
ตําลึงเปนแบบเปรียบ ดังขอความตอไปนี้

พระโอษฐเบื้องบนเบื้องต่ํามิไดเขาออกกวากัน เสมอเปนอันดีมีพรรณแดงงามดุจสีผลตําลึงสุก

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๙)

ผูนิพนธอธิบายลักษณะพระโอษฐของเจาชายสิทธัตถะเมื่อแรกประสูติวา ทั้งพระโอษฐลาง
และพระโอษฐบนนั้นเสมอกันพอดี แลดูงดงาม พระโอษฐมีสีแดงเหมือนผลตําลึงสุก คือมีสีแดง สุกสด
เปนมัน

ใบไมอันเหลืองหลนตกลงจากขั้ว
ข อ ความตอนที่ พ ระพุ ท ธเจ า เสด็ จ กลั บ มาเยี่ ย มพระญาติ ที่ ก รุ ง กบิ ล พั ส ดุ พระนางพิ ม พา
ทอดพระเนตรเห็นพระพุทธองความีพระกายซูบผอมลงไปมาก ดังขอความตอไปนี้

พระกรัชกายก็ซูบซีดเศราหมอง... ดุจใบไมอันเหลืองหลนตกลงจากขั้ว

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๑๑)

ผูนิพนธเปรียบเทียบรางกายอันซูบผอมของพระพุทธเจาวาเหมือนกับใบไมอันเหลืองตกลงจาก
ขั้ว ใบไมที่เหลืองและตกลงจากขั้วนั้นแสดงใหเห็นพระกายที่เหี่ยวแหง พระฉวีซูบซีดแหงติดพระบรมอัฐิ
ไมมีน้ํามีนวล ไมเหมือนตอนกอนเสด็จออกแสวงหาโมกขธรรม
๗๗

กอไมอออันเพลิงไหม
ผูนิพนธนําลักษณะของตนออที่ถูกไฟไหมมาแสดงใหเห็นความทุกขเวทนาของพระพุทธเจาที่
เกิดจากการอาพาธ แตพระองคก็สามารถรักษาพระองคเองไดดวยฌานสมาบัติ ดังขอความตอไปนี้

ทรงอาพาธหนักครั้งหนึ่ง ทรงเยียวยาพระโรคของพระองคดวยโอสถคือ สมาบัติใหระงับ มีครุวนา


ดังกอไมอออันเพลิงไหมและนํามาซึ่งสุคนธะอุทกธารามารดใหอันตรธานดับไว

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๔๑๙)

ผูนิพนธเปรียบเทียบอาการอาพาธของพระพุทธเจาวาเหมือนกับกอไมออที่ไฟไหม เมื่อเอาน้ํา
มารดก็ดับไฟลงได ลักษณะของตนออเปนตนไมที่มีขนาดเล็ก ดังนั้นเมื่อเกิดไฟไหมก็สามารถนําน้ํามา
ดับไดโดยงายกวาตนไมขนาดใหญ แสดงถึงอาการอาพาธของพระองคซึ่งสามารถรักษาไดโดยใชภาวะ
สงบทางจิตใจเปนยารักษาได

๓.๒ ดอกไม หมายถึงพรรณไมที่ผลิออกจากตนหรือกิ่ง มีดอกที่มีเกสร และเรณูเปนเครื่อง


สืบพันธุ ผูนิพนธใชแบบเปรียบเกี่ยวกับดอกไม ดังตัวอยางตอไปนี้

ดอกสามหาว ดอกกรรณิการ ดอกเซง ดอกชบา


ดอกไมทั้ง ๔ ชนิดนี้ ผูนิพนธนํามาใชเปนแบบเปรียบโดยนําลักษณะเดนคือสีของดอกไมแตละ
ชนิดนั้นมาเปรียบเทียบพระเนตรของเจาชายสิทธัตถะวามีหลายสีดวยกัน ทั้งสีเขียว เหลือง แดง ขาว
และดํา แสดงใหเห็นความสวยงามและมีแววเปนประกาย ดังสํานวนตอไปนี้

พระราชกุมารนี้มีดวงพระเนตรอันดํายิ่งนัก อธิบายวา ในดวงเนตรใชวาจะดําทั้งสิ้นก็หามิได ใน


ที่อันควรจะเขียวก็เขียวบริสุทธิ์ดุจสีดอกสามหาว ที่ควรจะเหลืองก็เหลืองดังสีดอกกรรณิการ ที่ควรจะแดง
ก็ แ ดงดั ง สี ด อกเซ ง แลดอกชบา ที่ ค วรจะขาวก็ ข าวดั ง ดาวประกายพรึ ก ที่ ค วรจะดํ า ก็ ดํ า ดั ง สี ผ ล
ประคําดีควาย

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๗๖)

สํานวนเปรียบนี้เปรียบเทียบพระเนตรของเจาชายสิทธัตถะวาไมไดมีสีดําสีเดียว แตยังมีสีอื่นๆ
ปนอยูดวย ผูนิพนธไดเปรียบเทียบสีของดวงตาสวนที่เปนสีเขียวเขมวาเหมือนกับดอกสามหาวหรือผัก
ตบซึ่งมีสีเขียวเขมออกน้ําเงินมวง และเปรียบดวงตาสวนที่มีสีเหลืองวาเหลืองเขมเหมือนกับดอก
กรรณิการ ดอกกรรณิการนั้นมีวงในดอกเปนสีแดงแสด มีกลิ่นหอม สมัยกอนใชดอกกรรณิการยอมผา
๗๘

ไดดวย สีที่ไดออกมาออกจะเปนสีเหลืองเขมหรือสีสม สวนที่เปนสีแดง ผูนิพนธไดเปรียบเทียบวามีสี


แดงเหมือนสีของดอกเซง และดอกชบา นอกจากนั้นดวงตาสวนที่เปนสีขาววาเปนสีขาวที่สองแสง
ประกายเหมือนดาวประกายพรึก และสวนที่เปนพระกาฬเนตร ก็มีสีดําเหมือนกับสีของผล
ประคําดีควายที่มีสีดํา
จะเห็นไดวาพระเนตรของเจาชายสิทธัตถะมีหลายสีคือสีเขียวเขม สีเหลืองเขม สีแดงเขม สี
ขาวใสเปนประกาย จนมาถึงพระกาฬเนตรที่มีดีดําสนิท แสดงใหเห็นวาพระเนตรของเจาชายสิทธัตถะ
นั้นมีประกายหลากสี และในขณะเดียวกันก็มีความคมเขมงดงามผิดกวาดวงตาชนทั่วไป แสดงใหเห็น
พระเนตรที่มีลักษณะพิเศษของมหาบุรุษ

ดอกอัญชัน
ดอกอัญชันเปนพันธุไมเลื้อยลมลุก ดอกคลายดอกถั่ว มีกลีบซอน ๒ กลีบ และหลายกลีบ มีทั้ง
พันธุสีมวงและสีขาว ดอกที่มีสีน้ําเงินอมมวง โคนกลีบจะเปนสีเหลืองนวล (ชวลิต ดาบแกว. ๒๕๔๒ :
๒๐๗) ผูนิพนธไดนําสีของดอกอัญชันมาเปรียบกับพระโลมาของเจาชายสิทธัตถะดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารนี้มีพระโลมาเกิดขึ้นเฉพาะขุมละเสน จะไดเกิดขึ้นเฉพาะขุมละสองสามเสนดุจชน
ทั้งปวงก็หามิได... อนึ่งพระราชกุมารนี้มีเสนพระโลมาดําสนิทดุจสีดอกอัญชันทั่วทั้งพระสรีรกาย แลเวียน
เปนทักษิณาวัฏได ๓ รอบ แลวมีปลายกลับขึ้นเบื้องบนทั้งสิ้น

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๑)

ผูนิพนธไดเปรียบเทียบวาพระโลมาของเจาชายสิทธัตถะวามีสีดําสนิทเหมือนสีดอกอัญชัน ผู
นิพนธเปรียบขนที่ดําของเจาชายสิทธัตถะกับสีดอกอัญชันอันเนื่องมาจากพระฉวีของพระพุทธองค
คอนขางขาว สีของพระโลมาตัดกันกับสีพระฉวีอยางเห็นไดชัด ทําใหสีของเสนพระโลมาดูดําสนิท
แสดงถึงความดํามัน เงางาม

บัว
บัวเปนพันธุไมน้ําชนิดหนึ่ง มีเหงาหรือหัวอยูในเลนในตม แตกใบและแตกดอกเปนสายออกมา
จากเหงา ใบและดอกบางชนิดก็ลอยน้ํา บางชนิดก็อยูเหนือน้าํ ใบและดอกมีขนาดใหญเล็กตามชนิด
ของพันธุ
บัวแบงออกเปน ๒ พวกใหญๆ คือปทุมชาติ และอุบลชาติ
ก. ปทุมชาติ ไดแก พวกบัวหลวง ลักษณะของใบกลมหนาสีเขียว กานมีหนาม ใบและกาน
ดอก ชูสูงอยูเหนือน้ํา ดอกเปนรูปหัวใจ ปลายดอกแหลม กลีบดอกซอนกัน เวลาดอกบานจะคลี่ออก มี
๗๙

กลิ่นหอมเล็กนอย เมื่อกลีบและเกสรรวงแลวจะติดฝก รับประทานได หัวบัวก็รับประทานได บัวหลวงมี


ดวยกันหลายชนิด เชน
ดอกสีแดง เรียกบัวหลวงแดงหรือชมพูแก เรียกวา สัตตบงกช
ดอกสีขาวบริสุทธิ์ กลีบซอนแนน เรียกวา สัตตบุษย
ดอกสีขาวอมเขียวจางๆ เรียกวาบัวหลวงขาว หรือบุณฑริก
ชาวพุทธใชดอกบัวบูชาพระรัตนตรัยมาแตโบราณกาล เราจะเห็นวารูปปนหรือรูปเขียนซึ่ง
แสดงอิริยาบถตางๆ ของพระพุทธเจามักจะมีดอกบัวรองรับ ดอกบัวเปนสัญลักษณของความสะอาด
บริสุทธิ์
ข. อุบลชาติ เรียกวา บัวสาย บัวพวกนี้ใบจะลอยอยูเหนือน้าํ สวนดอกบางชนิดจะลอยอยู
เหนือน้ํา บางชนิดก็ชูอยูเหนือน้าํ เล็กนอย บัวอุบลชาตินี้มีมากมายหลายชนิด ดอกมีสีตางๆ สวยงาม
มาก และมักมีกลิ่นหอม (ชวลิต ดาบแกว. ๒๕๔๒ : ๑๖๐)
จากคุณลักษณะของบัวทั้งสองชนิดนี้ ผูนิพนธไดนาํ มาใชเปนแบบเปรียบเพื่อชวยในผูอานนํา
เห็นภาพสิง่ ทีผ่ ูนิพนธตองการสื่อไดชัดเจนและชวยใหไดอรรถรสในการอานเพิ่มขึน้ ดวย
เรื่องพระปฐมสมโพธิกถา นําบัวหลวงมาใชเปนแบบเปรียบหลายสํานวน เพื่อแสดงใหเห็นถึง
ความสวยงาม สดชื่น ออนโยนนุมนวล เปนตน ยกตัวอยางสํานวนเปรียบดังตอไปนี้

พระราชกุมารี อันทรงสถิตบนรัตนขจิตบัลลังก ในทามกลางสภังคมณฑลที่สนามเลน มีพระสิริ


วิลาสเลิศเลห…ดุจดวงดอกโกกนุทมาลาอันโสภาปรากฏในทามกลางแหงอเนกบุปผชาติทั้งหลายใน
คิมหันตฤดู

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๖)

ดอกโกกนุทเปนดอกบัวหลวงอยางที่มีสีแดง ผูนิพนธเปรียบนางสิริมหามายาวาเปนผูที่มีความ
งดงาม สดใส เดนสงาทามกลางนางกํานัล เหมือนดอกบัวสีแดงที่อยูทามกลางดอกไมนานาชนิดในฤดู
รอน

ในตอนที่กลาวถึงลักษณะของพระกรรณของเจาชายสิทธัตถะในตอนที่ประสูติกลาวเปรียบวา

พระกรรณทั้งสองมีสัณฐานอันยาวดุจกลีบปทุมชาติ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๙)


๘๐

ผูนิพนธนํากลีบบัวที่มีลักษณะบาง รูปทรงมนโคงไดรูป สวนปลายเรียวแหลม มาเปรียบกับ


พระกรรณของเจาชายสิทธัตถะเพื่อแสดงถึงความเรียวบางและสวยงาม สมสวนไมลูหรือกางจนเกินไป

นอกจากนั้นยังเปรียบพระกายที่สดชื่นกับดอกบัวหลวงอีก ดังขอความตอนที่กลาววา

พระสรีรกายสดชื่นดุจดวงดอกปทุมชาติ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๘๐)

ดอกบัวแสดงถึงความสดชื่น มีน้ําหลอเลี้ยงชุมชื่นอยูตลอดเวลา เมื่อมาเปรียบกับกายของ


เจาชายสิทธัตถะก็แสดงถึงความสดชื่นของผิวกายที่เปลงปลั่ง ผุดผอง งดงาม ไมแหงกราน

นอกจากดอกบัวหลวงหรือปทุมชาติแลวยังมีดอกบัวประเภทอุบลชาติที่นํามาใชเปนแบบ
เปรียบดวยเชนกัน ดังตอนที่พระพุทธเจาเสด็จไปแสดงธรรมโปรดปญจวัคคียและพบกับอุปกาชีวก เมื่อ
อุปกาชีวกไดเห็นรูปอันสงางามของพระองคก็กลาวสรรเสริญวา

ดูดวงพักตรผองใสสุกสด เสมอดวงดอกโกมุทบริสุทธิ์วิลาส

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๒๒๐)

ดอกโกมุทเปนดอกบัวชนิดหนึ่งที่มีสีแดง ผูนิพนธเปรียบพระพักตรกับดอกบัวนี้เพื่อแสดงให
ความผุดผอง สดใส และสะอาดบริสุทธิ์ของผิวหนา

นอกจากนัน้ ยังมีการเปรียบกลิ่นพระโอษฐของเจาชายสิทธัตถะในตอนที่ประสูตวิ า มีกลิน่ หอม


เหมือนกับดอกบัว ดังนี้

กลิ่นพระโอษฐหอมดุจกลิ่นอุบล

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๘๐)

ดอกบัวสายนัน้ จะมีกลิ่นหอมเล็กนอย การนํามาเปรียบกับกลิ่นปากนัน้ แสดงใหเห็นวา กลิ่น


พระโอษฐของเจาชายสิทธัตถะนัน้ มีกลิน่ หอม สดชื่น
๘๑

นอกจากนัน้ การเปรียบเทียบพระเกศากับกลิ่นของดอกบัว ดังขอความตอไปนี้

พระเกศากลิ่นหอมดุจกลิ่นโกมลบุปผชาติ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๐๕)

ผูนิพนธไดเปรียบเทียบกลิน่ พระเกศาของเจาชายสิทธัตถะวามีกลิน่ หอมเหมือนดอกบัวสาย


คือมี
กลิ่นหอมจางๆ ไมหอมและไมฉุนจนเกินไป

นอกจากนั้นผูนิพนธเปรียบเทียบพระคุยหฐานของเจาชายสิทธัตถะวามีลักษณะมีสิ่งกําบัง
หรือซอนอยูในฝกเหมือนฝกดอกบัวทอง ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารนี้มีพระคุยหะลับอยูในฝกประดุจฝกบัวทองกําบังไวเหมือนดวยคุยหะที่ลับแหงโค
แลกุญชรชาติเปนอาทิ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๗๐)

การเปรียบเที ยบพระคุ ยหฐานของเจาชายสิท ธัตถะวา มี ลักษณะเหมือนอยูใ นฝก นั้ น เปน


ลักษณะของมหาบุรุษอยางหนึ่ง ลักษณะเชนนี้พระอรรถกถาจารยใหคําอรรถาธิบายไวในหนังสือพระ
สูตรและอรรถกถาแปลวารูปอวัยวะนั้นเรนอยูในฝกดุจอวัยวะของโคและชางเปนตน คือ อวัยวะเพศ
ยอมมีหนังหุมอวัยวะเพศปกปดอยู ลึงคยอมออกนอกหนังหุมอวัยวะเพศจําเพาะเวลาสังวาสเทานัน้ แต
พระสัมมายอมมีอวัยวะอันไมปรากฏออกนอกหนังหุมแลวเพราะพนจากตัณหา ไมเสพสังวาสอีกตอไป

จะเห็นวา ลักษณะตาง ๆ ของตนไม และดอกไมที่ผูนพิ นธนาํ มาเปรียบ โดยมากจะใชตนไมมา


เปรียบเพื่อใหเห็นลักษณะทางกายของตัวละคร เชน เจาชายสิทธัตถะมีลําพระเพลากลมงามเหมือนกับ
ลําตนกลวยทอง และมีพระพาหาเหมือนตนไทร , เปนตน หรือใชคุณลักษณะของตนไมที่แผ
กิ่งกานสาขาใหความรมเย็นกันแดดกันฝนเชน การปลูกตนมะมวงมาเปรียบเทียบกับประโยชนของการ
บําเพ็ญสมดึงสบารมีของพระโพธิสัตวที่ชว ยใหมนุษยพน ทุกข เปนทีพ่ งึ่ พิงทางจิตใจ สวนแบบเปรียบที่
เปนดอกไมนนั้ ลักษณะที่นาํ มาเปรียบสวนใหญจะนําสีและกลิ่นของดอกไมชนิดตางๆ มาเปนแบบ
เปรียบเพื่อแสดงความงดงามและมีกลิน่ กายหอม
๘๒

๔. แบบเปรียบเกี่ยวกับแรธาตุ
วรรณคดีเรื่องพระปฐมสมโพธิกถานี้มีการใชแรธาตุเชน ทอง แกว มาเปนแบบเปรียบหลาย
สํานวน ดังตอไปนี้

ทอง
ทอง หมายถึง เปนโลหะมีคา มีเนื้อแนนมาก และมีสีเหลืองสุกปลั่ง สํานวนเปรียบที่กลาวถึง
ความงามของเจาชายสิทธัตถะ ไดเปรียบเทียบผิวพรรณของพระองคกับทอง ดังนี้

พระราชกุมารนี้มีพระฉวีวรรณอันเหลืองงาม ดังสีทองทั่วทั้งพระกาย ครุวนาดุจรูปทองทั้งแทง

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๑)

การเปรียบเทียบพระฉวีของเจาชายสิทธัตถะกับทองนี้แสดงวาพระองคมีพระฉวีสีเหลืองเปลง
ปลั่ง สดใสงดงาม

อี ก สํ า นวนหนึ่ ง ที่ ก ล า วเปรี ย บเที ย บผิ ว พรรณของเจ า ชายสิ ท ธั ต ถะหลั ง จากตรั ส รู เ ป น
พระพุทธเจาแลว ดังขอความตอไปนี้

สมเด็จพระผูมีพระภาคเจามีพระฉวีวรรณอันงาม ดุจสุวรรณนิกขสิงคิชาติ กอปรดวยพระคุณานุ


ภาพประเสริฐยิ่งนัก

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๒๘๔)

ผูนิพนธไดเปรียบเทียบผิวพรรณของพระพุทธเจากับสุวรรณนิกขสิงคิชาติ คือแทงทองเนื้อดี
ทองบริสทุ ธิ์แสดงถึงความสวยงามของผิวพรรณ

นอกจากนัน้ ในตอนที่อุปกาชีวกไดพบพระพุทธเจาแลวพรรณนาถึงความงามของพระพุทธเจา
วา

องคพระผูทรงสวัสดิโสภาคยเสด็จจรมา รุงเรืองดวยพระสิริฉัพพิธมหาทวัตติงสบุรุษลักษณะ
และพระพยามประภาโอภาสเบื้องบน พระอุตตมังคสิริโรตมก็ชวงโชติดวยพระเกตุมาลาครุวนาดุจทองทั้ง
แทงประดับดวยฉัพพรรณรังสีแสงไพโรจนจํารัส

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๒๓๑)


๘๓

พระพุทธเจาทรงเปนผูที่มีความงามและความดีพรอม คือมีลักษณะของมหาบุรุษ ผูนิพนธได


เปรียบเทียบเพื่อใหเห็นลักษณะความงามที่โดดเดนแตกตางจากมนุษยทั่วไป และใหเห็นความดีงาม
ของพระองคโดยกําหนดใหพระพุทธเจามีรัศมีเปลงออกมา สวางไสวเหนือพระเศียรประมาณ ๑ วา
และเปรี ยบเที ย บรั ง สีนั้นวา มี สีท อง ซึ่ง มีคา และมีแสงสวา งแวววาวด ว ยฉัพพรรณรั ง สี หรือรั ศมี ๖
ประการ จะเห็นวา พระพุทธเจานั้นเปนผูที่บุญบารมีมาก จึงมีลักษณะพิเศษเหนือกวาบุคคลธรรมดา

นอกจากนั้นมีสํานวนเปรียบที่กลาวถึงเจาชายสิทธัตถะขณะที่อยูในพระครรภพระนางสิริมหา
มายาวามีลักษณะเหมือนกับรูปปนทอง ดังขอความตอไปนี้

พระมารดาก็ไมไดบังเกิดเหน็ดเหนื่อยหนักพระอุรา พระกายเบาเหมือนเมื่อปรกติเปนสุขอยูแลว
ก็เล็งเห็นพระโพธิสัตวอยูในครรภ เหมือนดุจดายเหลืองอันรอยเขาในแกวมณีอันผองใส เมื่อปรารถนาจะ
ทอดพระเนตรในขณะใดก็เห็นพระโอรสอันนั่งเปนบัลลังกสมาธิผันพระพักตรมาขางพื้นพระอุทรแหงพระ
มารดาดุจสุวรรณปฏิมาอันสถิตอยูบนฝกออนในหองแหงกลีบดอกปทุมชาติ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๕๒)

พระนางสิริมหามายาขณะที่ทรงพระครรภเจาชายสิทธัตถะอยูนั้น ไมไดรูสึกลําบากหรืออึดอัด
พระกาย แต ก ลั บ รู สึ ก พระกายเบาเป น ปกติ ทั้ ง พระครรภ ก็ มิ ไ ด นู น โตราวกั บ ไม ไ ด ท รงพระครรภ
นอกจากนั้น ยังสามารถทอดพระเนตรเห็นเจาชายสิทธัตถะประทับขัดสมาธิอยางงดงามในพระครรภ
ของพระองคอีกดวย ซึ่งทารกทั่วไปที่อยูในครรภมารดาสวนหัวจะทิ่มลงสูเบื้องลาง ในที่นี้ผูนิพนธ
เปรียบเทียบเจาชายสิทธัตถะขณะอยูในพระครรภวางดงามเหมือนกับรูปปนทองที่อยูในฝกดอกบัวแดง
การเปรียบเจาชายสิทธัตถะกับรูปปนทอง แสดงวาเจาชายสิทธัตถะตอนอยูในพระครรภนั้นมีความงาม
แลประทับนิ่งนั่งผินพระพักตรมาทางพระอุทรของพระนางสิริมหามายา

นอกจากนั้นยังมีสํานวนที่มีการเปรียบเทียบเจาชายสิทธัตถะกับรูปปนทอง ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารนี้มีอัฐิขอพระบาทตั้งลอยอยูบนหลังพระบาท แลอัฐิขอจะไดติดกับหลังเทาดุจชน
ทั้งปวงก็หามิได ขณะเมื่อยกยางพระบาทก็กลอกกลับผันแปรไปโดยคลอง แลพระกายทอนเบื้องบนตั้งแต
พระนาภีขึ้นไป ก็มิไดหวั่นไหวเปนปกติอยู ประดุจสุวรรณปฏิมาอันตั้งอยูในเรือทองไหวอยู

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๖๙)


๘๔

จากขอความนี้แสดงใหเห็นถึงทาทรงพระดําเนินของเจาชายสิทธัตถะวา เวลาพระองคทรง
พระดําเนินนั้น รางกายทอนบนจะนิ่ง แลดูสงา เหมือนกับรูปปนทองคําทีว่ างอยูบนเรือ เรือหมายถึงพืน้
หรือทางเดินทีแ่ มวาพื้นนั้นจะเปนหลุมเปนบอหรือขรุขระมากเพียงใด ทาพระดําเนินของพระองคก็ยัง
นิ่ง แลดูสงบ และสงางามอยู เนื่องจากขอพระบาทของพระองคไมติดอยูกับหลังพระบาท

หรดาล
หรดาลเปนสารชนิดหนึ่ง สีแดงอมเหลือง หรือสีเหลือง รสขมปรา ใชเขียนลายรดน้ําและสมุด
ดํา ใชผสมยากวาดคอเด็ก ชาวอินเดียใชผงหรดาลผสมปูนทาขน ผม และหนวดเคราใหหลุดลวง แต
เปนอันตราย (อุทัย สินธุสาร. ๒๕๑๖ : ๔๕๑๒) ผูนิพนธไดนําแบบเปรียบเปนหรดาลมาใชในสํานวน
ตอไปนี้

พระราชกุมารนี้มีนิ้วพระบาทแลนิ้วพระหัตถทั้งหลายยาวเรียว… ขางตนใหญแลวเร็วลงไปจน
ปลายนิ้ ว กลมงามดุ จ แท ง หรดาล อั น ขยํ า ด ว ยน้ํ า มั น ยางแล ว ป น เป น อั น ดี อั น นี้ จั ด เป น พระมหาบุ รุ ษ
ลักษณะคํารบ ๔

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๖๘)

ขอความนี้เปนขอความตอนที่อธิบายถึงลักษณะนิ้วพระหัตถและนิ้วพระบาทของเจาชาย
สิทธัตถะวามีลักษณะเรียวยาวกลมกลึงงดงามเหมือนกับปนอยางประณีต

แวนแกว
แว น แก ว คื อ แผ น แก ว หรื อ แผ น กระจกใช ส อ งขยายเพื่ อ ให ส ามารถมองเห็ น ได ชั ด เจนขึ้ น
สํานวนเปรียบที่ใชแบบเปรียบเปนแกว มีดังตอไปนี้

บัดนี้ก็ทรงพระเจริญรุนดรุณวัยได ๑๖ พรรษา พระพักตรผองโสภาพรรณพิลาสเลหประดุจแวน


แกว

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ :๑๙)

ขอความนี้บรรยายพระพักตรอันผุดผองงดงามของพระนางสิริมหามายาเมื่อพระชนมายุได
๑๖ พรรษา วามีความสดใสงดงามเหมือนกับแกว แสดงใหเห็นถึงผิวพระพักตรที่ผองใสบริสุทธิ์ของ
พระนางสิ ริ ม หามายา นอกจากนั้ น แก ว ยั ง มี นั ย ความหมายแสดงถึ ง สิ่ ง ที่ สู ง ค า มี คุ ณ ค า ตาม
พจนานุกรมไดกลาวไววา “...โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่เคารพยิ่ง ในคําวา แกวทั้ง ๓ อันหมายถึงพระ
๘๕

รัตนตรัย หรือใชประกอบคํานามใหหมายความวาสิ่งนั้นมีคามาก เปนที่รักหรือดีเยี่ยม เชนนางแกว”


(ราชบัณฑิตยสถาน. ๒๕๔๖ : ๑๕๒) ดังนั้นสํานวนเปรียบนี้จึงแสดงใหเห็นวาพระนางสิริมหามายา
เปนบุคคลที่มีคา เปนที่รักและชื่นชมของประชาชนทั่วไป

แกวผลึก แกวไพฑูรย
แกวเปนธาตุที่มีลักษณะวาวแสง เมื่อแกวที่ไดเจียระไนมาอยางดีกระทบกับแสงจะมีลักษณะ
แวววาว เปนประกายงดงาม สํานวนเปรียบที่ใชแกวเปนแบบเปรียบมีดังตอไปนี้

พระรัศมีประภัสสรประภาครุวนาดุจสีแกวผลึกและแกวไพฑูรยเลื่อมประพราย ออกจากพระวร
กายแลวแลนไปในทศทิศวิจิตรรุจีโอฬาร

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๙๑)

ขอความนี้เปนตอนที่ผนู ิพนธอธิบายถึงความงดงามของรัศมีที่เปลงออกมาจากพระกาย
พระพุทธเจาขณะทรงพระดําเนินอยูในปา เรียกรัศมีที่เปลงออกมาจากพระกายนัน้ วา พระ
ฉัพพรรณรังสี มีทงั้ หมด ๖ สี และพระรัศมีประการหนึ่งคือ รัศมีประภัสสร ซึ่งมีลกั ษณะสีเหมือนแกว
ผลึกและแกวไพฑูรย แสดงถึงรัศมีที่มีสีขาวใสแวววาวเหมือนแกวผลึก และมีสีเหลืองแกมเขียวหรือ
น้ําตาลเทาเปนแกวสีลาย มีน้ําเปนสายรุง กลอกไปมางดงามเหมือนแกวไพฑูรย

แกววิเชียร
แกววิเชียรหรือเพชร เปนแกวที่มีความแข็งที่สุด และมีนา้ํ แวววาว ผูน ิพนธใชลักษณะความแข็ง
และความใสแวววาวของเพชรมาใชเปรียบเทียบกับพระทนตของเจาชายสิทธัตถะ ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารนี้มีระเบียบพระทนตมิไดหางสนิทกันเปนอันดี ดุจระเบียบแหงแกววิเชียรอันตั้ง
เรียบเรียงระดับไวบนแผนกระดานทอง

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๕)

ผูนิพนธทรงบรรยายลักษณะพระทนตของเจาชายสิทธัตถะวามีความงดงามเหมือนกับเพชรที่
มีรัศมีรุงโรจนตั้งเรียงอยางเปนระเบียบสวยงามบนแผนกระดานทองคือไรพระทนต จากการ
เปรียบเทียบพระทนตวาเหมือนกับเพชร นอกจากจะแสดงถึงความงดงามแวววาวแลวยังแสดงถึง
สุขภาพพระทนตที่แข็งแรงอีกดวย
๘๖

แกวมณีโชติรส
โชติรส หมายถึงแกววิเศษชนิดหนึ่งมีรัศมีรุงโรจน ผูนิพนธไดเปรียบเทียบแกวมณีโชติรสกับ
พระนางสิริมหามายา ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารีอันทรงสถิตบนรัตนขจิตบัลลังก ในทามกลางสภังคมณฑลที่สนามเลน มีพระสิริ


วิลาสเลิศเลห…ดุจดวงแกวมณีโชติรส อันประดิษฐานในทามกลางอเนกมณีทั้งปวง

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ :๑๖)

ขณะที่พระนางสิริมหามายาประทับอยูกลางสนามที่แวดลอมไปดวยเหลาบริวารนางกํานัล
มากมายที่มาคอยรับใชนั้น พระนางมีความสงางามโดดเดนราวกับแกวมณีโชติรส โดยเปรียบเทียบ
พระนางสิริมหามายาวาเปนแกวมณีโชติรสที่สองแสงสวางรุงโรจนอยูทามกลางแกวมณีหลากหลาย
ชนิดซึ่งก็คือนางกํานัลทั้งหลายนั่นเอง

นอกจากนั้น ยังมีอีกสํานวนที่ใชแบบเปรียบเปนแกวมณีโชติรส คือตอนที่เจาชายสิทธัตถะ


ประสูติออกจากครรภพระมารดา ดังขอความตอไปนี้

แลพระกายก็มิไดระคนดวยเสมหรุธิรคัพภมลทินอันใดอันหนึ่ง แลบริสุทธิ์ผองใสสะอาด ครุวนา


ดุจดวงแกวมณีโชติรสอันนําออกมาวางไวบนกองผากาสาวพัสตร

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๕๕)

โดยปกติเด็กแรกเกิดเมื่อคลอดออกมาจากครรภมารดารางกายจะตองเปอนไปดวยน้ําคร่ํา น้ํา
เมือก หรือเลือดเคลือบตัวออกมา แตเจาชายสิทธัตถะนั้นไมมีน้ําคร่ํา เลือด หรือสิ่งสกปรกใดๆ ติดพระ
กายออกมาเลย พระกายของพระองคกลับสะอาด สดใส เหมือนแกวมณีโชติรส แสดงใหเห็นวาเจาชาย
สิทธัตถะที่เพิ่งประสูติจากครรภพระมารดานั้นเปนบุคคลที่พิเศษกวาเด็กทั่วไป คือเปนผูสะอาดบริสุทธิ์
ทั้งกายและใจ และการที่เปรียบเทียบเจาชายสิทธัตถะตอนประสูติวาเหมือนกับแกวมณีโชติรสที่นํา
ออกมาวางบนกองผากาสาวพัตรหรือผาเหลืองของพระ

จะเห็นไดวาสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงนําแรธาตุทมี่ รี าคาสูงคา


คือ ทอง เพชร แกวมาเปนแบบเปรียบ เพื่อเปรียบเทียบใหผูอานเห็นคุณคาของบุคคลที่ผูนพิ นธยกยอง
คือพระพุทธเจา พระนางสิริมหามายาเปนตน จากการเปรียบเทียบเปนการนําแรธาตุที่สูงคา และมี
๘๗

ความงามมาเปรียบเทียบกับบุคคลที่มีสถานภาพสูงสง เปนชนชั้นสูง และเปนผูท ี่ใหคุณแกมนุษยโลก


และเปนผูที่สงู สงทางดานคุณธรรมในจิตใจซึ่งเปนสิ่งที่มคี ามากจนไมสามารถประเมินราคาออกมาได

๕. แบบเปรียบเกี่ยวกับสิ่งของ เครื่องใช
สิ่งของ เครื่องใชที่นํามาเปนแบบเปรียบมีหลายชนิดดวยกัน เชน ภาชนะ สําลี บาตรพระ
หวง เกวียน เปนตน

ภาชนะ
ภาชนะเปนเครื่องใชสําหรับใสสิ่งของ ผูนิพนธใชภาชนะเปนแบบเปรียบในขอความตอนที่นาง
สุชาดาบนบานตอเทวดาที่สถิตอยูในตนไทรวาถานางไดแตงงานกับชายที่มีฐานะดี มีชาติตระกูลดี
และไดบุตรคนแรกเปนชาย จะมาแกบน ซึ่งมีการใชสํานวนเปรียบโดยใชภาชนะเปนแบบเปรียบดัง
ขอความตอไปนี้

ขาแตพระเปนเจา ขาพเจาถวายปายาสกับทั้งภาชนะทองอันรองใส พระองคจงรับ แลวนําไปโดย


ควรแกพระหฤทัยปรารถนา แลวถวายวันทาการประณตทูลวา ความมโนรถของขาสําเร็จดุจใด สิ่งซึ่ง
พระทัยประสงคจงสําเร็จดุจนั้น แลวนางมิไดเอื้อเฟออาลัยในสุวรรณภาชนะอันควรคาโดยราคาถึงแสน
กหาปณะสูเสียสละเลหประหนึ่งวา ภาชนะดินเกากมเกลาลงกราบถวายบังคมลา

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๔๓)

ตอนที่นางสุชาดามาแกบนก็ไดพบพระโพธิสัตว จึงนําถาดทองใสขาวมธุปายาสไปถวายพระ
โพธิสัตวทั้งถาดซึ่งทําจากทองคําแท โดยที่นางไมไดนึกเสียดายถาดทองคําราวกับวาภาชนะนั้นเปน
เพียงภาชนะดินเกา จากขอความนี้เปนการเปรียบเทียบความแตกตางของสิ่งที่มีคามีราคามากคือ
ทองคํา กับภาชนะดินหรือภาชนะดินเผาเกามีคานอยจนไมอาจเทียบคาไดกับทองคําเลย เพื่อแสดงให
เห็นวาพระนางนั้นมีความเลื่อมใสศรัทธาในลักษณะมหาบุรุษและพระจริยวัตรของพระโพธิสัตว จึงไม
อาลัยในถาดทองคําที่เปนสิ่งของมีคา

ภาชนะทอง
ผูนิพนธเปรียบเทียบพระนางพิมพา กับภาชนะทอง ดังขอความตอไปนี้

พระราหุลมารดานี้มีคุณแกตถาคตเปนอันมาก ผิวานางจะจับบาทตถาคตลูบคลําสัมผัส แลโสกา


ดูรพิลาปดวยกําลังเสนหา ทานทั้งสองก็อยาไดหามปรามตามอัธยาศัยจะพิไรรําพันปริเทวนากวาจะสิ้น
๘๘

โศก ผิวา หา มนางก็จ ะมว ยมุดมรณาสัน มิไ ดทัน เปน สุพรรณภาชนะทองรองรับ สดับพระธรรมเทศนา
ตถาคตยังประกอบดวยหนี้แหงพิมพาบมิไดเปลื้อง จะไดทดแทนใชหนี้แกพิมพาในกาลบัดนี้

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๓๑๗)

ขอความนี้เปนตอนที่พระพุทธเจาเสด็จกลับไปกรุงกบิลพัสดุ แลวจะเสด็จไปแสดงธรรมที่
ตําหนักพระนางพิมพา จึงตรัสกับอัครสาวกทั้งสองวา หากไปถึงตําหนักแลวนางพิมพาจะเขามาลูบ
พระบาทพระองคก็อยาไดหาม เพราะนางพิมพานั้นมีคุณแกพระองคมากตั้งแตอดีตชาติ หากหาม
ปรามพระนางก็จะรองไหรําพันจนถึงแกชีวิตได จะไมมีโอกาสไดฟงเทศนาโปรด ถาพระนางพิมพาไดฟง
เทศนาของพระพุทธเจาก็เทากับวาพระองคจะไดตอบแทนแทนบุญคุณของพระนางดวย ผูนิพนธ
เปรียบเทียบการไดมีโอกาสสดับพระธรรมของพระนางพิมพากับภาชนะทอง แสดงใหเห็นวาพระนางมี
ความสามารถที่จะรองรับสิ่งที่เปนมงคลคือพระธรรมอยูแลว

เตาน้ํา ภาชนะ ผา


เตาน้ํา ภาชนะ ผา เปนสิ่งของเครื่องใชที่ผูนิพนธนํามาใชเปรียบเทียบกับจิตใจมนุษยที่เต็มไป
ดวยกิเลส และยากที่จะเขาใจหลักธรรมอันละเอียดออนได โดยสํานวนเปรียบเทียบนี้มีการเปรียบเทียบ
กับแบบเปรียบที่เปนสิ่งของเครื่องใช ๓ ชนิด คือ เตาน้ําอันเต็มไปดวยน้ํา ภาชนะอันเต็มไปดวยเปรียง
เนา และผาเกาชุมไปดวยน้ํามัน ดังขอความตอไปนี้

เหตุธรรมอันนี้คัมภีรภาพยากที่จะตรัสรูแจงประจักษ สัตวทั้งหลายยอมมีสันดานหนวงหนัก
อากูลเต็มไปดวยกองกิเลสดุจเตาน้ําอันเต็มไปดวยน้ํา และภาชนะอันเต็มไปดวยเปรียงเนาและทอนผาเกา
ชุมไปดวยน้ํามัน ... ยอมเศราหมองอยูดวยราคาภิรัติขัดแคนอยูดวยโทสะประทุษราย และมุงหมายมัว
หมองอยูดวยโมหะ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๒๐๓)

เมื่อพระพุทธเจาตรัสรูแลว เห็นวาหลักธรรมที่พระองคตรัสรูนั้นเปนเรื่องที่ละเอียดออนและ
ซับซอนยากที่บุคคลธรรมดาจะเขาใจได เพราะทุกคนนั้นตางก็มีกิเลสอยูในจิตใจ ทําใหจิตใจหมอง
เศรา ดังแบบเปรียบตางๆ ที่ผูนิพนธนํามาเปรียบเทียบดังตอไปนี้
“เตาน้ําอันเต็มไปดวยน้ํา” ผูนิพนธเปรียบเทียบใหเตาน้ํา กับจิตใจ และน้ํากับกิเลส เตาน้ําที่
ใสน้ําอยูเต็มนั้น เหมือนกับจิตใจที่ถูกกิเลสครอบงําทําใหจิตใจเสื่อมลงไปแลว จะนําหลักธรรมใดใดมา
ชวยกลอมเกลาก็ยาก
๘๙

“ภาชนะอันเต็มไปดวยเปรียงเนา” เปรียงคือน้ํามัน โดยเฉพาะน ำมันไขขอของวัว (


ราชบัณฑิตยสถาน. ๒๕๔๖ : ๗๑๐ ) ดังนั้นภาชนะที่เต็มไปดวยน้ํามันเนาเสียสงกลิ่นเหม็นก็
เหมือนกับ จิตใจมนุษยที่เต็มไปดวยกิเลส เพราะกิเลสเปนความชั่วที่อยูในความรูสึกนึกคิดของมนุษย
และเปนสิ่งที่ทําใหจิตใจขุนมัว เศราหมอง
“ผาเกาชุมไปดวยน้ํามัน” เปนผาเกา สกปรก แลวยังเปยกน้ํามันจนชุม ไมสามารถนําไปใช
ประโยชนใดใดไดอีก จะนําไปทําความสะอาดก็ยาก เหมือนกับจิตใจมนุษยที่มีกิเลสครอบงํา ซึ่งเปนสิ่ง
ที่ทําใหจิตใจเศราหมอง ยากที่จะกําจัดออกไปได
จะเห็นไดวาแบบเปรียบทั้ง ๓ ชนิดนี้ลวนเปนสิ่งสกปรก และไรประโยชน สามารถสื่อความ
หมายถึงจิตใจมนุษยที่หนาไปดวยกิเลส ยากที่จะซอมแซมหรือทําความสะอาดใหดีและใชประโยชน
ดังเดิมได จึงทําใหพระพุทธเจาหนักพระทัยที่จะเผยแพรธรรมะเพื่อใหคนทั่วไปเขาใจได
ขอความนี้ผูนิพนธใชสํานวนเปรียบตอกัน ๓ สํานวน คือมีสิ่งที่ตองการเปรียบเทียบหนึ่งสิ่ง แต
มีสิ่งที่เปนแบบเปรียบ ๓ สิ่ง เพื่อใหผูอานเกิดจินตภาพและเนนความหมายใหผูอานเขาใจความหมาย
ของสํานวนเปรียบนั้นยิ่งขึ้นตามประสบการณที่ผูอานแตละบุคคลมี ผูนิพนธไดใชแบบเปรียบหลาย
แบบ เพื่อทําหนาที่สรางประสบการณรวมใหแกผูอาน ทําใหผูอานเกิดจินตภาพมองเห็นสิ่งที่ผูนิพนธ
พรรณนาหรือบรรยายไวในสํานวนเปรียบนั้นๆ ผูอานบางคนอาจมีประสบการณรวมกับแบบเปรียบ
เพียงแบบเปรียบเดียวจากหลายแบบเปรียบที่ผูนิพนธใช และผูอานบางคนอาจมีประสบการณรวมกับ
แบบเปรียบทุกแบบเปรียบที่ผูนิพนธใชก็ได ซึ่งยิ่งจะทําใหผูอานเกิดจินตภาพไดดียิ่งขึ้น นอกจากนั้นยัง
ทําใหเห็นความสามารถของผูนิพนธที่สามารถ นําสิ่งที่ตองการเปรียบมาเปรียบเทียบกับแบบเปรียบ
หลากหลายแบบไดอยางเหมาะสม และทําใหเกิดจินตภาพมากขึ้นดวย

สําลี
สําลีเปนปุยฝายสีขาวออนนุม จากคุณสมบัติของสําลีนี้ ผูนิพนธไดนํามาเปรียบเทียบกับฝา
พระหัตถและฝาพระบาทของเจาชายสิทธัตถะ ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารนี้มีพื้นฝาพระหัตถแลฝาพระบาทอันออนนุม ครุวนาดุจปุยสําลีอันประชีได ๑๐๐


ครั้ง อันนี้จัดเปนพระมหาบุรุษลักษณะคํารบ ๕

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๖๙)


๙๐

ขอความนี้ไดเปรียบเทียบฝาพระหัตถและฝาพระบาทของเจาชายสิทธัตถะวามีลักษณะนิ่ม
และออนนุม เหมือนกับสําลีที่ถูกดีดใหเปนปุยฝายถึง ๑๐๐ ครั้ง การดีดสําลีใหเปนปุยนุนยิ่งดีดจํานวน
มากครั้งเทาใดก็จะยิ่งทําใหสําลีนั้นเปนปุยฟู นิ่มมากขึ้นเทานั้น

บาตรพระ
บาตรพระเปนภาชนะซึ่งมีลักษณะโคงมน ใชสําหรับใสอาหารบิณฑบาตของพระภิกษุสงฆ
ผูนิพนธไดนํามาเปรียบเทียบกับพระครรภพระนางสิริมหามายา ขณะที่ทรงพระครรภเจาชายสิทธัตถะ
ดังขอความตอไปนี้

พระสิริมหามายาทรงครรภพระโพธิสัตวอยูถวนทศมาส ครุวนาดุจบาตรอันรองไวซึ่งน้ํามันมิไดมี
พระกายลําบาก

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๕๒)

ตอนที่ เจ า ชายสิท ธัตถะอยูในพระครรภพระมารดาเปนเวลา ๑๐ เดือนนั้ น มิ ได ทําใหพ ระ


มารดารูสึกอึดอัดหรือเจ็บปวดเลย ซึ่งตางจากมารดาทั่วไปที่ตั้งครรภมักจะรูสึกอึดอัดเพราะทองใหญ
ขึ้น น้ําหนักตัวเพิ่มขึ้นจากเดิมมากเพราะมีทารกอยูในครรภดวยอีกคนหนึ่ง ดังนั้นการเคลื่อนไหว
เปลี่ยนอิริยาบถจึงทําไดยากลําบาก และเมื่อทารกโตขึ้นทารกก็จะดิ้นอยูในครรภนั้นทําใหมารดารูสึก
เจ็บไดอีกดวย ผูนิพนธไดเปรียบเทียบพระครรภของพระนางสิริมหามายาวาเหมือนกับบาตรพระที่รอง
น้ํามันไว บาตรพระนั้นมีลักษณะโคงมนขนาดพอดีกับพระกายของเจาชายสิทธัตถะที่อยูในพระครรภ

ฉัตร
ฉัตรหรือรม เปนเครื่องสูงทําเปนชั้นๆ ใชสําหรับปกเปนเกียรติยศ เปนเครื่องกั้น ไทยลานชาง
เรียกวารมขาว ทําเปนชั้นๆ ซอนกัน ตั้งแต ๓ ถึง ๙ ชั้น เทาที่ปรากฏจํานวนของฉัตรมักเปนเลขคี่เสมอ
(สมบัติ จําปาเงิน. ๒๕๑๕ : ๒๓๖) ผูนิพนธไดนําฉัตรมาใชเปนแบบเปรียบ ดังขอความตอไปนี้

พระเศียรสัณฐานงามเหมือนฉัตรแกว

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๘๐)

ผูนิพนธเปรียบเทียบพระเศียรของเจาชายสิทธัตถะกับฉัตรแสดงใหเห็นวาพระองคมีพระเศียรที่
สวนฐานใหญและเล็กเรียวไปตามลําดับ
๙๑

นอกจากนั้ น ในข อ ความตอนที่ พ ระพุ ท ธเจ า เสด็ จ พระราชดํ า เนิ น จากกรุ ง ราชคฤห ไ ปกรุ ง
กบิลพัสดุเพื่อไปโปรดพระราชบิดา มีการใชฉัตรเปนแบบเปรียบเทียบกับตนไมสองขางทางที่ชวยกัน
แสงแดดใหแกพระพุทธเจา ดังขอความตอไปนี้

อนึ่งนั้นพนสัณฑวิจิตรไปดวยกุสุมเรณูอันตกตอง หมูภมรผึ้งภูแลหมูแมลงทับทองลงดื่นดาษคลึง
เคลาเอารสเรณูบุปผชาตินานา มีทั้งดอกออแฝกคาสองขางทางทุรพนัส รมแสงสุริยครุวนาดุจกางกั้นดวย
ฉัตรไปตลอดหนทาง

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๒๙๕)

ผูนิพนธไดบรรยายถึงความรมรื่นระหวางเสนทางวา เสนทางที่พระพุทธเจาเสด็จผานไปนั้น
เปนทางทุรพนัสคือทางเดินในปาทึบ เปนทางเดินที่ยากลําบาก ทางเทารกเรื้อไปดวยตนออ ตนแฝก
และตนคาขึ้นอยูสองขางทาง แตก็ยังเปนทางที่ “รมแสงสุริยะ” คือแสงแดดไมสามารถสองกระทบพื้น
ได ผูนิพนธเปรียบวาปาที่พระพุทธเจาเสด็จผานนั้นมีตนไมขึ้นทึบมากจนกันแสงแดดไดหมดดุจกางกั้น
ไปดวยฉัตร ใหความรมรื่น

คันธนู
ธนูเปนอาวุธชนิดหนึ่ง มีคันธนูสําหรับยิงลูกที่มีปลายแหลม คันธนูทําจากไม ใชเชือกผูกปลาย
ทั้งขางของไม ใหไมโคงเปนครึ่งวงกลมและเชือกตึงกําลังดี สํานวนเปรียบที่มีการใชธนูเปนแบบเปรียบ
มีขอความดังตอไปนี้

พระขนงมีสัณฐานอันงามดุจคันธนูโกงไว

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๘๐)

ผูนิพนธไดเปรียบเทียบพระขนงของเจาชายสิทธัตถะวามีลักษณะรูปทรงโคงงดงามราวกับ
คันธนู

ราชรถ
ราชรถ คือ รถทรงของกษัตริยซึ่งตกแตงประดับประดาอยางปราณีต มีความสงางาม เชน มี
การแกะสลักลายไม หุมเงิน - ทอง ลงรักหรือลงยาอยางสวยงาม ประดับดวยธงชัยและฉัตรกางกัน้ เพือ่
แสดงถึงพระเกียรติยศ พระราชอํานาจของพระมหากษัตริย และเปนเครื่องหมายที่แสดงวากองทัพนั้น
เปนของใคร ขอความที่ใชราชรถเปนแบบเปรียบมีดังตอไปนี้
๙๒

อันธรรมดาวาเปนหมายแลวก็ไดแตความยากอันอัปยศ สิ้นยศสิ้นสงา หาอํานาจมิได ไมมีใครยํา


เกรง ยอมหมิ่นประมาท ครุวนาดุจราชรถอันมีงอนปราศจากธงชัย

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๑๓)

พระนางยโสธราพิมพาแสดงความนอยพระทัยในพระองคเองวา การเปนหมายนั้นยอมเปนที่
ถูกดูหมิ่นดูแคลน ไรสงาราศี ไมมีผูยําเกรง นั่นคือพระนางซึ่งเปนถึงพระมเหสีของเจาชายสิทธัตถะ
กษัตริยผูครองกรุงกบิลพัสดุ แตกลับถูกพระสวามีทอดทิ้งไปเมื่อพระราชโอรสราหุลประสูติไดเพียงวัน
เดียว ทําใหพระนางขาดผูนําในการดําเนินชีวิต สิ้นพระเกียรติยศ หมดสงาราศี เปรียบไดกับราชรถอันมี
งอนสวยงามแตปราศจากธงชัยประจําพระองคพระมหากษัตริยประดับแสดงพระเกียรติยศ ไมมีผู
ครอบครอง แมจะเปนราชรถที่สวยงามแตก็เปนเพียงพาหนะสามัญที่ปราศจากราชอํานาจ หมดสงา
ราศี และไรความนาเกรงขาม

ตะเกียง
ตะเกียงที่ใชสําหรับจุดไฟใหแสงสวาง ในที่นี้ใชคําวา “ชวาลา” ผูนิพนธไดนําประโยชนของ
ตะเกียงมาใชในการเปรียบเทียบ ซึ่งสํานวนที่ใชตะเกียงเปนแบบเปรียบมีดังนี้

แลบัดนี้ความปรารถนาแหงขาพระบาทก็สําเร็จพรอมทั้ง ๕ ประการ มีพระกมลสันดานยินดีโดย


ยิ่งหาสิ่งเสมอมิไดในพระสัทธรรมเทศนา... ดุจแสงประทีปชวาลาอันตามดวยน้ํามันในที่อันธการ ยัง
บุคคลอันบริบูรณดวยจักษุประสาทใหเห็นซึ่งพัสดุสารรูปารมณ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๒๖๗)

เมื่อครั้งที่พระพุทธเจาเสด็จไปยังกรุงราชคฤหเพื่อแสดงธรรมแกพระเจาพิมพิสาร ในกาลนั้น
พระเจาพิมพิสารไดบรรลุมรรคผลเปนพระโสดาบัน จึงไดกราบทูลตอพระมหาสัตวดวยความยินดีวา
พระสัทธรรมอันพระพุทธองคทรงประกาศนั้น เปนธรรมอันประเสริฐยิ่งที่สองหนทางสวางแกบรรดา
สัตวโลกที่จมอยูในความมืดมนของวังวนแหงกิเลสตัณหา เปรียบไดดังแสงสวางจากตะเกียงไฟอันหลอ
ดวยน้ํามันเชื้อเพลิงอยางพอเพียง เมื่อถูกจุดขึ้นในสถานที่อันมืดมิดหาแสงสวางมิไดเมื่อใด เปลวแหง
ตะเกียงนั้นยอมสองสวางเบิกดวงตาใหแกผูที่จมอยูในความมืดมิดใหไดเห็นสรรพสิ่งในโลกตามความ
จริงแทเมื่อนั้น
๙๓

ตาขาย
ผูนิพนธเปรียบเทียบลายพระหัตถและลายพระบาทของเจาชายสิทธัตถะกับลวดลายตาขาย
ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารมีฝาพระหัตถแลฝาพระบาท อันประดับดวยลายตาขาย ดุจตาขายอันชางผูฉลาด


ถักไวในชองแหงบัญชร

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๖๙)

ผูนิพนธเปรียบเทียบลายฝาพระหัตถและลายฝาพระบาทของเจาชายสิทธัตถะวามีความ
แตกตางจากบุคคลทั่วไป คือมีลักษณะโยงใยเปนชองตารางแผกระจายอยางเหมาะเจาะสวยงาม ดัง
ลวดลายของตาขายประดับพระบัญชรตอนรับแขกเมือง ที่ถูกถักทออยางประณีตงดงามโดยนายชางผู
ชํานาญงาน ซึ่งลักษณะลายฝาพระหัตถและฝาพระบาทดังนี้ ถือไดวาเปนลักษณะแหงมหาบุรุษนั่นเอง

นอกจากนั้น ผูนิพนธไดนําลักษณะของขายมาเปรียบเทียบกับตัณหา ดังขอความตอไปนี้

อันวาขายคือตัณหาอันรอยกรองไวซึ่งสัตว ใหสัตวทั้งหลายบริโภคอาหารอันประกอบดวยพิษ
คือเบญจกามคุณที่ ๕

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๙๓)

ตาขายเปนเครื่องดักสัตวชนิดหนึ่ง หากสัตวใดตกตองไปอยูในตาขายแลวก็ยากที่จะดิ้นรนหา
อิสรภาพใดๆ ได บางคราวยิ่งดิ้นก็เหมือนจะยิ่งรัดรึงใหอึดอัดขัดของยิ่งขึ้นไปอีก เชนเดียวกับตัณหาทั้ง
๓ ประเภทอันไดแก ๑. กามตัณหา คือ ความอยากได อยากเปน อยากมี ๒. ภวตัณหา คือ ความไม
อยากได ไมอยากเปน ไมอยากมี และ ๓. วิภวตัณหา คือ ความอยากใหสิ่งที่มีนั้นไมเสื่อมสลายไปจาก
เรา เหลานี้ลวนเปนสิ่งที่ลอลวงใหมนุษยลุมหลงเขาใจวาสิ่งตางๆ ที่มีคือความสุขจนยากที่จะดึงตนเอง
ใหหลุดพนจากกองทุกขนั้นๆ ได

ทอนไมขีดลงในน้ํา
ผูนิพนธนําลักษณะอาการของทอนไมที่ขีดลงไปบนผืนน้ํามาใชเปนแบบเปรียบ ดังขอความ
ตอไปนี้
๙๔

ประการหนึ่ง กาลเมื่อสัตวลดนอยถอยลงไปกวา ๑๐๐ ป ก็ใชกาลที่พระสัพพัญูจะบังเกิดใน


โลก เหตุฤๅ ? เหตุวาสัตวทั้งหลายในกาลนั้นมีสันดานหนาไปดวยกิเลส จะมิไดตั้งอยูในพุทธศาสนกถา
ครุวนาดุจเอาทอนไมขีดลงในน้ําพลันก็จะอันตรธานมิไดปรากฏ เหตุดังนั้นใชกาลที่พระสุคตจะบังเกิดใน
โลก แลกาลเมื่ออายุสัตวตั้งอยูจําเดิมแตแสนปลงมาตราบเทากําหนด ๑๐๐ ป จะมีสันดานสดับรับรสพระ
สัทธรรมควรแกกาลที่พระสัพพัญูจะบังเกิด

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๔๔)

ขอความนี้เปนตอนที่พระโพธิสัตวทรงบําเพ็ญพระบารมีในชาติที่เปนพระเวสสันดร แลว
ไดจุติเปนสันดุสิตเทวราช เสวยทิพยสมบัติอยูบนดุสิตเทวโลก เมื่อนับเปนปในชั้นดุสิตได ๔,๐๐๐
ปทิพย เหลาเทพเจาจึงทูลเชิญใหจุติลงมาเกิดบนโลกมนุษย เพื่อเปนพระพุทธเจาโปรดสัตวโลกให
พนทุกข เมื่อพระพุทธองคทรงพิจารณาปญจมหาวิโลกนะทั้ง ๕ คือ กาล ทวีป ประเทศ ตระกูล
และมารดาแลว เห็นวาในกาลที่มนุษยมีอายุขัยนอยกวา ๑๐๐ ป นั้นเปนชวงเวลาที่สรรพสัตวมี
กิเลสหนามากเกินไป สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาจึงไมอุบัติขึ้นในชวงที่มนุษยมีอายุเพียงเทานี้
เนื่องเพราะแมวาจะแสดงธรรมเทาไร สัตวนั้นก็จะไมสามารถเขาใจธรรมได สอนเมื่อใดก็ขอธรรมก็
จะถูกลืมไปเมื่อนั้น จึงใชความเปรียบวาเหมือนเอาทอนไมมาขีดรอยไวในน้ํา เมื่อขีดลงไปรอยที่
ขีดก็หายไปในทันที ซึ่งหากพระพุทธเจาทรงอุบัติขึ้นก็จะเปนการเสียเวลา เพราะฉะนั้นเวลาที่
เหมาะควรแกกาลที่พระพุทธเจาจะมาบังเกิดนั้น สัตวทั้งหลายจะตองมีอายุไมต่ํากวารอยป และ
ไมมากเกินกวาแสนป จึงจะอยูในขายเขาใจธรรมะของพระสัมมาสัมพุทธเจาจนถึงขั้นเขานิพพาน
ได

ผารัตกัมพล
ผารัตกัมพล คือผาสานแดง หรือผาขนสัตวที่มีสีแดง ผูนิพนธเปรียบสนพระบาทของเจาชาย
สิทธัตถะกับผารัตกัมพล ดังขอความตอไปนี้

แลสนพระบาทนั้นมีสีแดงงามดุจผารัตกัมพลอันมวนเขามาแลตั้งไว

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๖๘)

การเปรียบเทียบผารัตกัมพลกับสนพระบาท ผารัตกัมพลนั้นเปนผาขนสัตว มีเนื้อดี สีแดงสด


และละเอี ย ดอ อ นนุ ม แสดงว า ส น พระบาทของพระพุ ท ธองค นั้ น มี สี แ ดงงาม นุ ม นวล และมี สี เ ข ม
๙๕

เหมือนกับเนื้อผารัตกัมพลสีแดงนุมที่ถูกมวนเขาหากันจนเปนวงกนหอย ซึ่งลักษณะนี้เปนลักษณะของ
ผูที่มีบุญญาบารมีมากนั่นเอง

กลอนประตู
กลอนคือไมขัด หรือเครื่องสลักประตูหนาตาง ตอนที่พระโพธิสัตวบําเพ็ญทุกรกิริยา ทําให
พระวรกายผายผอมลงมาก ผูนิพนธเปรียบเทียบพระอัฐิบริเวณสีขางที่สามารถมองเห็นไดชัดเจนนัน้ กับ
กลอนประตู ดังขอความตอไปนี้

แลสีขางก็เห็นคดคอมวิการปรากฏดุจระเบียบแหงกลอนเรือนอันเรียบเรียงไว เบื้องวายก
พระหัตถปรามาสบนพระเศียรก็ประสบแตแถวพระเสนแลพระอัฐิควรจะสังเวชเพทนา

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๓๒)

ผูนิพนธกลาวถึงพระโพธิสัตววารางกายผายผอมมากจนพระตจะติดพระอัฐิ สามารถมองเห็น
เสนพระโลหิต และพระอัฐินูนเปนรอยขึ้นมาเมื่อยกพระหัตถขึ้นบนพระเศียร เห็นรอยพระปรัศวเรียงเปน
แถวเหมือนกับไมกลอนประตูที่จัดไวเปนแถวเรียวตอกัน

ดายเหลืองอันรอยเขาในแกวมณี
ผูนิพนธเปรียบเจาชายสิทธัตถะกับดายเหลืองที่รอยอยูในแกวมณี แกวมณีคือพระครรภพระ
นางสิริมหามายา ดังขอความตอไปนี้

พระโพธิสัตวอยูในครรภ เหมือนดุจดายเหลืองอันรอยเขาในแกวมณีอันผองใส

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๕๒)

ผูนิพนธเปรียบเจาชายสิทธัตถที่สถิตอยูในพระครรภของพระมารดาเหมือนกับดายสีเหลือง
รอยเขาไปในแกวมณี แสดงใหวาสามารถมองเห็นเจาชายสิทธัตถะในพระครรภไดชัดเจน แลพระครรภ
ของพระนางสิริมหามายาก็เปนสิ่งปกปองหอหุมเจาชายสิทธัตถะเอาไว

อุณหิสปฏ
อุณหิสปฏ หมายถึงมงกุฎ ผูน ิพนธกลาวถึงพระนลาฏของพระพุทธองค โดยใชความเปรียบดัง
ขอความตอไปนี้
๙๖

พื้นพระมังสะนูนขึ้นตั้งแตหมวกพระกรรณเบื้องขวาปกขอบพระนลาฏมาถึงหมวกพระกรรณ
เบื้องซายงามเหมือนอุณหิสปฏคือกระบังหนา

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๗)

ผูนิพนธกลาวถึงบริเวณไรพระเกศาของพระพุทธองควา มีลักษณะนูนขึ้น ตั้งแตบริเวณเหนือ


พระกรรณเบื้องขวา เรื่อยขึ้นไปตามพระนลาฏ จนจรดบริเวณเหนือพระกรรณเบื้องซาย มองดูเปน
กรอบงดงามราวกับเครื่องประดับพระพักตรชิ้นหนึ่ง ทัง้ ๆ ที่เปนลักษณะธรรมชาติของพระองคเอง

ลวดทองแดง หลาว
ผูนิพนธใชสาํ นวนเปรียบในการบรรยายลักษณะของตัวมาร ดังขอความตอไปนี้

ตัวมารโยธาแตละคนๆ พื้นพิกลนานา ตาเหลือกเหลืองแลเขี้ยวโงงออกนอกปาก หนาผากเถลิก


คิ้วขมวดคอมคด หนวดปรากฏดุจลวดทองแดงแข็งกระดาง รูปรางดุรายกาจหยาบชาหนาแสยะ ผมหยิก
สยองมวนทบดุจกอนหอยเปนกลุมกลม เล็บทั้งใหญทั้งคมทั้งแหลมเลหหลาวยาวโงงทุกๆ คน แตละคนๆ
ลวนมีมือสรรพศาสตราวุธหลากหลายมีกายสูงคาพยุตหนึ่งหนึ่งบาง ๓ คาพยุตบางกึ่งโยชนบาง โยชนหนึ่ง
บาง ๒ โยชนบาง ๓ โยชนก็มีบาง

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๕๕)

ผูนิพนธบรรยายลักษณะอันอัปลักษณของตัวมารวา ตัวมารแตละตนนั้นมีลักษณะแปลก
ประหลาดแตกตางกันออกไป เชน ตาเหลือกเหลือง เขี้ยวยาวโงงโผลออกมานอกปาก หนาผากเถิก คิ้ว
ขมวด หนวดแข็ง หนาแสยะ ผมหยิก เล็บใหญ คม ยาว โดยผูนิพนธเปรียบเทียบหนวดของมารวาแข็ง
กระดางเหมือนกับลวดทองแดง ซึ่งเปนเสนโลหะ แสดงถึงหนวดหรือขนที่ขึ้นบริเวณริมฝปากวาเปนเสน
สีแดงที่มีลักษณะแข็งกระดาง ขึ้นไมเปนระเบียบ ดูนากลัว นอกจากนั้นผูนิพนธยังเปรียบเทียบเล็บของ
มารเหมือนกับหลาว ซึ่งเปนอาวุธที่มีปลายแหลมสําหรับแทง แสดงถึงเล็บที่ใหญยาว และแหลมคม
พรอมที่จะทําลายสิ่งที่มากีดขวาง จะเห็นวาแบบเปรียบทั้งลวดทองแดงและเหล็กหลาวลวนเปนแรธาตุ
ที่มีคาต่ําเมื่อเทียบกับแรธาตุชนิดอื่นๆ และสามารถนํามาเปนอาวุธใชทํารายผูอื่นได มารผูมีจิตใจต่าํ ชา
นั้นก็เหมือนกับกิเลสซึ่งเปนอาวุธที่มาทํารายกัดกินจิตใจมนุษยใหลุมหลงตกอยูภายใตอํานาจฝายต่ํา
คือความชั่วรายทําใหไมมีความสุข
๙๗

พระขรรคแกว
พระขรรคเปนอาวุธคลายดาบสั้น ผูนิพนธเปรียบเทียบพระขรรคกับปญญาของพระพุทธเจาที่
สามารถใชความรูความสามารถอันฉลาดเฉียบแหลมเอาชนะความถือตัวของปญจวัคคียทั้ง ๕ ได ดัง
ขอความตอไปนี้

สมเด็จพระผูมีพระภาคเจาอันยิ่งดวยคุณคือพระมหากรุณา เมื่อพระองคจะทรงประหารเสียซึ่ง
ภูเขาอันใหญ กลาวคือมานะแหงปญจวัคคีย ดวยพระขรรคแกว วชิราวุธกลาวคือปญญาในคราวนั้น

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๒๓๗)

ผูนิพนธเปรียบเทียบสติปญญาอันหลักแหลม มีความเกงกลาสามารถปราบมารไดราวกับพระ
ขรรคแกว แสดงใหเห็นวาพระองคทรงมีปญญาฉลาด เฉียบคม เฉียบแหลม เหมือนพระขรรคแกวซึ่ง
เปนอาวุธที่มีคมสามารถปราบขาศึกศัตรูทําใหเกิดแผลและบาดเจ็บถึงกับเสียชีวิตได ขาศึกศัตรูในที่นี้
คือความถือตัว ความมีทิฐิของปญจวัคคียทั้ง ๕ ครั้งที่ดูถูกพระพุทธเจาเมื่อเห็นวาพระพุทธเจาทรงเลิก
บําเพ็ญทุกรกิริยา เพราะเชื่อวาพระองคทรงลมเลิกที่จะแสวงหาโพธิญาณแลว

ผูนิพนธ ใช สิ่ง ของ เครื่องใช เ ปนแบบเปรี ยบโดยใช ความสั ม พัน ธ ของสิ่ง ของนั้น กับสิ่งที่ ถูก
เปรียบ เพื่อแสดงใหเห็นสิ่งที่ผูนิพนธตองการสื่อไดชัดเจนยิ่งขึ้น เชนเปรียบพระขนงเจาชายสิทธัตถะวา
โกงเหมือนกับคันธนู ลักษณะที่มีความสัมพันธกันคือ มีลักษณะโกงโคงงดงาม หรือเปรียบตะเกียงกับ
หลักธรรมคําสอน ลักษณะที่สัมพันธกันคือ ใหความสวางไสว ตะเกียงใหความสวางในลักษณะที่เปน
รูปธรรมทําใหมองเห็นในที่มืดได สวนหลักธรรมนั้นใหความสวางทางดานจิตใจ หมายถึงการนําคําสอน
มาใชในการดําเนินชีวิตใหลวงเขาสูความหลุดพน เปนตน

๖.แบบเปรียบเกี่ยวกับสถานที่
สถานที่หลายแหงผูนิพนธนํามาใชเปรียบเพื่อใหผูอานไดเกิดจินตภาพ สามารถเขาใจเนื้อหาที่
ผูนิพนธตองการสื่อออกมา สถานที่ที่นํามาเปนแบบเปรียบมีดังนี้

เทวนคร
เทวนคร คือเมืองของเทวดา ซึ่งก็คือสวรรค เกื้อพันธุ นาคบุปผา (๒๕๔๐ : ๘๑) กลาวถึง
สวรรควา สวรรคซึ่งเปนที่พํานักของเทวดาเดิมนั้นหมายถึงชั้นฟาของพระอินทรแหงเดียวเทานั้น ดวย
เหตุนี้พระอินทรจึงไดสมญาวา เปนเจาแหงสวรรค คือสวรรคบดี และ มาลัย ไดกลาวถึงสวรรคอีกวา
๙๘

สวรรคคื อที่ อ ยู อั น แสนสบายของบรรดาเทวดานางฟ า ทั้ง หลาย เต็ม ไปด ว ยสิ่ ง ของล้ํ า ค า สวยงาม
(มาลัย. ม.ป.ป.: ๕๑)
สํานวนเปรียบที่มีแบบเปรียบเปนสวรรคคือตอนที่กลาวถึง วันพระราชพิธีแรกนาขวัญ พระเจา
สิริสุทโธทนะก็ไดตกแตงกรุงกบิลพัสดุอยางงดงามดังขอความตอไปนี้

อยูมา ณ วันหนึ่งถึงวันวัปปมงคลการแรกนาขวัญ สมเด็จบรมกษัตริยใหตกแตงประดับพระนคร


กบิลพัสดุทั่วทั้งปวงเหมือนดุจเทวนคร

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๘๕)

เชื่อกันวาสวรรคคือดินแดนอันกวางใหญหาที่สุดมิได ณ ที่นนั้ จะเต็มไปดวยเหลาเทพยดาและ


นางฟาผูมีรูปโฉมงดงาม ทุกสิ่งบนสวรรคลวนแลวแตตองเปนของอันวิจติ ร สวยงาม ดังนัน้ เมื่อพระเจา
สิริสุทโธทนะแหงกรุงกบิลพัสดุมีพระราชประสงคใหจัดพิธีแรกนาขวัญซึ่งเปนพระราชพิธที ี่สาํ คัญขึ้น จึง
มีพระราชโองการโปรดเกลาฯ ใหดาํ เนินการจัดตกแตงประดับประดาสถานที่ใหงดงามและยิง่ ใหญ
ประหนึง่ วาจะเนรมิตเมืองทัง้ เมืองใหเปนดังสรวงสวรรคนั่นเอง

นอกจากนัน้ ยังมีอีกขอความที่ใชแบบเปรียบเปนสวรรค คือตอนที่พระเจาสิริสุทโธทนะทรงมี


รับสั่งเหลาอํามาตยใหไปทูลอาราธนาสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาใหเสด็จมาโปรดพระองค ณ กรุง
กบิลพัสดุ แตเมื่อบรรดาอํามาตยที่สง ไปไดฟงพระธรรมเทศนาจากพระพุทธองค ตางก็บรรลุมรรคผล
เปนพระอรหันตทูลขออุปสมบทกันทัง้ สิ้น จนถึงคราวของอํามาตยกาฬุทายีก็เชนเดียวกัน ภายหลังจาก
ที่ไดอุปสมบทเปนพระภิกษุสงฆในพระพุทธศาสนาแลว เมื่อเวลาลวงไปจนถึงเดือน ๔ เสนทางจากกรุง
ราชคฤหไปกรุงกบิลพัสดุก ําลังรมรื่น ตนไมกําลังออกดอกสวยงาม กาฬุทายีจึงกลาวพรรณนาความ
งามของกรุงกบิลพัสดุ เพือ่ กราบทูลอาราธนาพระพุทธเจาใหเสด็จไปยังกรุงกบิลพัสดุ ดังขอความ
ตอไปนี้

อันวาราชธานีอันมีนามบัญญัติคือกบิลพัสดุมหานครอลังกรณดวยอเนกนานาปริโภคภิรมณ
สําราญปานประดุจเทพธานี มิฉะนั้นเปรียบประดุจบุรีในอุตรกุรุทวีป วิจิตรดวยเชิงเทินและปราการซุม
ทวารปอมคาย

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๒๙๖)

ขอความนี้กลาวเปรียบเทียบความงามของกรุงกบิลพัสดุกับเทพธานี หรือสวรรคชั้นฟาซึ่งเปนที่
อยูของเหลาเทพทั้งหลาย และเปรียบกรุงกบิลพัสดุกับอุตรกุรุทวีป ซึ่งเปนทวีปหนึ่งบนสวรรค อยูทาง
๙๙

เหนือของเขาพระสุเมรุ มีพื้นที่เปนสี่เหลี่ยม เนื้อที่กวาง ๘,๐๐๐ โยชน ดังที่ พระยาธรรมปรีชา (แกว) ได


กลาวถึงความงดงามของ “อุตตรกุรุทวีป” ไวในไตรภูมิโลกวินิจฉยกถา ดังขอความตอไปนี้

ภูมิภาคปฐพีในอุตตรกุรุทวีปนั้น ราบรื่นเสมอดังหนากลอง ปราศจากหลักตอเสี้ยนหนาม ดาษไป


ดวยติณชาติ เขียวขจี สัมผัสออนดังสําลีงามเหมือนสีสรอยคอนกยูงสูง ๔ องคุลีเสมอกัน โดยรอบทวีปนั้น
ประกอบดวยภูเขาทองแวดลอม สองแสงสวางอยูเรืองโรจน ไมกัปปพฤกษประจําทวีปนั้น สูงได ๑๐๐
โยชนเปนกําหนด ฝูงสัตวจตุบททวิบทที่จะเบียดเบียนมนุษยแลเบียดเบียนซึ่งกันและกันนั้น บมิไดมีเลย
เปนอันขาด ฝูงชนชาวอุตตรกุรุทวีปบมิไดรูวิวาท บมิไดรูอาฆาตจองเวรแกกันและกัน อันหนึ่ง กลิ่นที่ชั่วที่
เหม็นนั้น บมิไดมีในอุตตรกุรุทวีป มีแตกลิ่นที่ประณีตที่หอมนั้นฟุงอยูทั่วทิศานุทิศ เปนที่ปรีดิ์เปรมเกษม
จิต ทุกราตรีทิวาวัน… อันหนึ่งสระน้ําทั้งหลายในอุตตรกุรุทวีปนั้น ลวนดาดาษไปดวยเบญจปทุมชาติ
ขาว เขียว เหลือง แดง หงสบาท … บานอยูเปนนิจละเวงกลิ่น หอมฟุงอยูโดยรอบมิรูวาย ทั้งอุบลชาติ
แลกุมุทชาติทั้งหลาย ลวนงาม ๆ ประหลาดหลากหลาย บานอยูทุกเมื่อ หอมระรื่นอยูทุกเพลา…กิริยาที่
จะลําบากดวยอากาศหนาวแลรอนนั้น บมิไดมีแกชาวอุตตรกุรุทวีป ชาวอุตตรกุรุทวีปนั้นสบายกายอยู
เปนนิจ บมิไดลําบากดวยรอนแลหนาว … อันหนึ่งตนไมในอุตตรกุรุทวีปแตบรรดาที่ทรงผลนั้น ก็มีมาก
บมิไดนอย … ผลไมทั้งหลายนั้นแตละลูก ๆ ใหญประมาณเทา ๆ หมอ มีรสอันหวานเอมโอช กินแตละ
มื้อนั้น บรรเทาความอยากไปไดถึง ๗ วันก็มี … แลมหานทีกุนนที แมน้ํานอยใหญในอุตตรกุรุทวีปนั้น
ลวนมีน้ําอันใสบริสุทธิ์สะอานสะอาด ปราศจากเปอกแลตม … มีทาอันระรื่นนาชื่นชม นาอาบนา
กิน … หาดทรายตามลําเนากระแสสินธุ สองฟากฝงนทีธารทั้งปวงนั้นไมรอนนัก ไมเย็นนัก มีสัมผัสเปน
สุข ดาษไปดวยดอกไมน้ําทั้งหลายหอมฟุงขจรตลบจับใจ …

(พระยาธรรมปรีชา (แกว). ๒๕๒๐ ข : ๗๔ -๘๓)

จากข อ ความข า งต น ได บ รรยายลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศ ความสมบู ร ณ และความงามแห ง


ธรรมชาติของอุตตรกุรุทวีป ทําใหจินตนาการถึงกรุงกบิลพัสดุวาเปนดินแดนแหงความสุข มีความ
งดงาม อุดมสมบูรณ พรอมพรั่งดวยสิ่งที่ทําใหเกิดความสุขความสําราญครบถวนไมตางจากบนสวรรค
เลย

วิมานแกว
ผูนิพนธนําลักษณะที่อยูของพระพรหมมาใชเปนแบบเปรียบในตอนที่กลาวถึงความรูส ึกของ
เจาชายสิทธัตถะเมื่ออยูในครรภ ดังสํานวนเปรียบวา
๑๐๐

กาลเมื่อพระมหาสัตวอยูในครรภพระมารดา บมิไดเปนที่สัมพาธฐานคับแคบเหมือนดังสัตวทั้ง
ปวง อันเสวยลําบากอยูในครรภ … ดุจมหาพรหมอันสถิตอยูในวิมานแกว

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๕๑)

จันทรศิริ แทนมณี ไดกลาวถึงที่อยูของพระพรหมวา ที่อยูของพระพรหมคือเขาพระสุเมรุซึ่งอยู


สูงกวาดวงอาทิตย มีแสงสวางในตัวเอง เปนที่อยูของเทวดาทั้งหลาย กลาววาเปนภูเขาซึ่งเปนโพรง
ภายในมีน้ําและมีทะเลศักดิ์สิทธิ์ลอมรอบ ยอดเขาพระสุเมรุมีเมืองของพระพรหม เมืองของพระพรหม
นั้นกวาง ๑ หมื่น ๔ พันโยชน ซึ่งจัดวาเปนขอบเขตของสวรรค นารทะ ฤษีตนหนึ่งซึ่งทําหนาที่เปน
ผูประกาศเทวดาและเปนโอรสของพระพรหมดวยประกาศวา ตนเองไมสามารถจะพรรณนาความงาม
ของวิ ม านของพระพรหมได แม จะใชเ วลา ๒๐๐ ปก็ไ ม ส ามารถที่ จ ะพรรณนาความดีง ามไดห มด
(จันทรศิริ แทนมณี. ๒๕๒๒ : ๒๘-๒๙) ผูนิพนธไดใชวิมานแกวซึ่งเปนที่สถิตของพระพรหมมาเปน
สัญลักษณของความสะดวกสบาย ความใหญโตอลังการ และความดีงามทั้งหลาย เพื่อเปรียบเทียบให
เห็นวาเมื่อครั้งที่เจาชายสิทธัตถะผูทรงอุบัติมาเพื่อตรัสรูเปนสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจานั้น เปนผูที่มี
บุญญาบารมีมาก แมขณะยังทรงอยูในพระครรภของพระมารดา พระองคก็ยังมีความสุขสบายเปน
อยางยิ่ง มิไดมีความรูสึกอึดอัดคับของใดๆ แมเพียงสักนอย ซึ่งในความเปนจริงนั้น ในครรภมารดาของ
มนุษยทั่วไปจะเปนสถานที่ที่พอดีตัวกับทารก มีความอึดอัด และขยับเขยื้อนตัวไดลําบากมาก

ดาวดึงส
ดาวดึงสเปนสวรรคชั้นที่ ๒ ในฉกามาพจรภูมิ เปนที่อยูของพระอินทร ในสวรรคชั้นนี้จะมี
เทวดาชั้นผูใหญอยูทั้งสิ้น ๓๓ องค รวมทั้งพระอินทรดวย เดิมสวรรคชั้นนี้มีเมืองหลวงอยูตรงกลาง
เรียกวาเมืองสุทัศนอมตวดี ตอมาเปลี่ยนชื่อเปนดาวดึงส นอกจากนั้น พระยาธรรมปรีชา (แกว) ได
กลาวถึงความงามของสวรรคชั้นดาวดึงสไวในหนังสือ “ไตรภูมิโลกวินิจฉยกถา” ไวดังตอไปนี้

ดาวดึงสพิภพนั้น มีกําหนดโดยยาวแลกวางได ๑๐,๐๐๐ โยชน ตั้งอยูเหนือยอดเขาแหงเขา


สิเนรุราช เมืองดาวดึงสนั้นประกอบดวยทวารคณนาไดพันหนึ่ง ประดับดวยสวนสวรรคแลสระโบกขรณี แต
ละแหง ๆ นั้นเปนที่รื่นเริงบันเทิงจิตแหงเทวบุตรแลเทวธิดาทิพพิมานอันเปนนิวาสนฐานแหงสมเด็จอมรินท
ราธิราชนั้น ตั้งอยูในทามกลางแหงเมืองดาวดึงสมีนามบัญญัติชื่อวาไพชยนตพิมาน พิมานนั้นแลวดวย
แกว ๗ ประการ สูงได ๗๐๐ โยชนประดับดวยธงชัยสูง ๓๐๐ โยชน ถาวัดแตพื้นขึ้นไปตลอดถึงปลายธงนั้น
มีกําหนดได ๑,๐๐๐ โยชน ธงทั้งหลายที่ประดับไพชยนตพิมานนั้น ถาธงแกวมีคันแลวดวยทอง ถาธงชัยก็
มีครรภแลวดวยแกว ถาธงแกวมุกดาก็แลวดวยแกวประพาฬ ถาธงแกวประพาฬคันก็แลวดวยแกวมุกดา
ถาธงแกว ๗ ประการคันก็แลวดวยแกว ๗ ประการ… ไพชยนตพิมานนั้น กอปรดวยเชิงชั้นชาลาลอม
๑๐๑

คณนาได ๑๐๐ ชาลาเปนกําหนด… ชาลาแตละอันนั้นกอปรพิมานยอด คณนาได ๗๐๐ ๆ… ในพิมาน


ยอดแตละอั น ๆ นั้น มี เทพอัปสรสวรรคที่เปนบาทบริ จาริ กาแหงสมเด็จอมริ นทราธิราชนั้น สิงสถิต อยู
คณนาได ๗ องค ๆ นางแตละองคนั้น มีบริวารบําเรออยูคณนาได ๗ นาง ๆ เสมอกัน ตกวาชาลาแตละอัน
ๆ นั้น มีพิมานยอด ๗๐๐ มีนางฟาที่เปนบาทบริจาริกาแหงพระอินทร ๔,๙๐๐ มีนางพํานักใชสอยอยู
๓๔,๓๐๐ นาง สิริทั้งสิ้ง ๑๐๐ ชาลานั้น นับพิมานยอดได ๗ หมื่น นับนางฟาที่เปนบาทบริจาริกาแหงพระ
อินทร ๔๙๐,๐๐๐ องค นับนางบริวารได ๓๔ แสน ๓ หมื่นนาง (๓,๔๓๐,๐๐๐) ประสมสิ้นดวยกันจึงเปน
นางฟาบาทบริจาริกาแหงพระอินทร ๒ โกฏิกึ่ง (๒๕,๐๐๐,๐๐๐)

(พระยาธรรมปรีชา (แกว) . ๒๕๒๐ ข : ๑๑๕–๑๑๖)

ผูนิพนธไดเปรียบเทียบดาวดึงสกับปราสาทที่พระเจาชนาธิปราชสั่งใหสราง ณ กรุงเทวทหะ
เพื่อตอนรับพระเจาสีหนุราชที่เสด็จมาสูขอพระนางสิริมหามายาใหกับพระเจาสิริสุทโธทนะในวันเพ็ญ
เดือน ๔ ดังขอความตอไปนี้นี้

แลการปราสาททั้ง ๓ สําเร็จในเดือนหนึ่งบริบูรณ ครั้นถึงผคุณมาสพระเจาชนาธิปราช จึงให


ตกแตงพระนครงามดุจดาวดึงสเทวโลก

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๒๘)

จากหนังสือกําเนิดเทวดาไดบรรยายถึงสวรรคชั้นดาวดึงสไววา ดาวดึงสเปนสถานที่งดงาม
นารื่นรมย เทวดาและนางฟาที่เกิด ณ ที่นี้ ลวนแตอยูในวัยหนุมสาวตลอดกาล โดยเทวดาวัยประมาณ
๒๐ และนางฟ า จะอยู ใ นวั ย ราวๆ ๑๖ ที่ พิ เ ศษคื อ ไม มี แ ก เ ฒ า และไม เ จ็ บ ไข อาหารก็ พิ เ ศษชนิ ด
ละเอียดออนที่เรียกกันวา “สุธาโภชน” ซึ่งไมมีกากใหตองขับถาย (มาลัย . ม.ป.ป. : ๑๘๑)
สํ า นวนเปรี ย บนี้ แ สดงให เ ห็ น ความงามของปราสาททั้ ง ๓ องค ว า มี ค วามงดงามและ
สะดวกสบายราวกับอยูบนสวรรคชั้นดาวดึงส ผูที่จะมีวาสนาไดมาอาศัยจะตองเปนผูมีบุญบารมี
ทัดเทียมกับบรรดาเทพยดาบนสรวงสวรรค ซึ่งก็หมายถึงเหลาวงศกษัตริยนั่นเอง

สวนนันทวัน
สวนนันทวันเปนสวนปาบนสวรรคชั้นดาวดึงสซึ่งเปนเมืองของพระอินทร นอกจากสวนนันทวัน
ยังมีสวนสําคัญอื่นๆ อีก คือ จิตรลดาวัน มิสกวัน และปารุสกวัน สวนนันทวันอยูทางทิศตะวันออก หรือ
เรียกวา นันทวนุทยาน หรือ นันทอุทยาน แปลวาสวนอันเปนที่ยินดี เพราะมีตนไมลูกไมดอกอยางวิเศษ
และอุดม เปนที่เลนสนุกสุขสําราญแหงเทพยดาทั้งหลาย (เสฐียรโกเศศ. ๒๕๔๒ : ๙๙) นอกจากนั้น
ในหนังสือไตรภูมิโลกวินิจฉยกถาก็ไดกลาวถึงสวนนันทวันไวเชนกัน ดังขอความวา “นันทนะวันอุทยาน
๑๐๒

ประกอบดวยทิพยปทุมาทิสาสาร และพฤกษทรงดอกแลผล ตนแลลํา กิ่งแลกาน ลวนมีพรรณสัณฐาน


งาม ๆ พิเศษ เปนที่โลมจิตแหงเทพยนิกรเทเวศร ใหระงับดับโศกแสนโสกาลัย” (พระยาธรรมปรีชา
(แกว) . ๒๕๒๐ : ๑๒๑) ผูนิพนธเปรียบเทียบความงามของปารายทางกับสวนนันทวัน ในตอนที่พระ
กาฬุทายีกลาวพรรณนาความงามของกรุงกบิลพัสดุเพื่ออาราธนาพระพุทธเจาเสด็จเยี่ยมพระประยูร
ญาติดังขอความตอไปนี้

ทั้งสถลแถวทางก็ราบรื่นดุจแสรงสรางประดิษฐตกแตงเสมอเปนอันดีในบริเวณวนาลีก็แสนสุข
สนุกสําราญ ดุจทิพยนันทวันอุทยานสวนสวรรคอันวิจิตรนานาทุมาชาติลวนทรงกุสุมภเสาวคนธสะอาด
ควรจะอภิรมย

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๒๙๔)

กาฬุทายีไดรับพระบัญชาจากพระเจาสิริสุทโธทนะใหไปเชิญพระพุทธเจาเสด็จกลับมาเยี่ยม
กรุงกบิลพัสดุ แตเมื่อกาฬุทายีไดเขาเฝาและไดฟงธรรมจากสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาก็ไดสําเร็จเปน
พระอรหันต ครั้นเมื่อถึงวันเพ็ญขึ้น ๔ ค่ํา หนทางจากกรุงราชคฤหไปกรุงกบิลพัสดุเขาสูฤดูอันรมรื่น
ทิวทัศนตนไมนานาพันธุระหวางทางกําลังงดงาม กาฬุทายีจึงอาราธนาพระพุทธองคเสด็จเยี่ยมพระ
พุทธบิดา โดยเปรียบเทียบความงดงามของหนทางวาเหมือนกับสวนนันทวันบนดาวดึงสเทวโลกที่มี
ทางเดินเรียบรื่นเสมอกันตลอดสาย มีปาไมตนไมรมรื่นเขียวขจี ทั้งยังอุดมไปดวยดอกไมนานาพันธุที่
ขึ้นอยางงดงามใหไดชื่นชมอยางเพลินตาเพลินใจอีกดวย

สวนจิตรลดา
สวนจิตรลดาเปนสวนสวรรคของพระอินทรแหงหนึง่ ในสวรรคชั้นดาวดึงส อยูทางทิศตะวันตก
ผูนิพนธเปรียบเทียบอุทยานในกรุงกบิลพัสดุวามีความงามเหมือนสวนจิตรลดา ดังขอความตอไปนี้

แลสมเด็จพระมหาสัตวเสด็จเที่ยวประพาสทั่วอุทยานบริเวณอันเปนที่รมณียฐาน ปานประหนึ่ง
วาทิพยจิตรลดาในชั้นดาวดึงสเทวพิภพเดียรดาษดวยดรุณรุกขชาติทั้งหลายตางๆ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๙๙)

เจาชายสิทธัตถะเสด็จประพาสพระราชอุทยานที่มีความรมรื่น กอปรดวยดอกไมหลากสีสัน
งดงามในกรุง กบิลพั สดุ พัน ธุ ไมน านาชนิดออกดอกออกผลอุ ดมสมบู รณ สวยงามเหมือนกั บ สวน
๑๐๓

จิตรลดาบนสวรรคชั้นดาวดึงส ตนไมดอกไมอุดมสมบูรณ มีสีสดสวย ตามที่ หนังสือ “ไตรภูมิโลก


วินิจฉยกถา” ไดกลาวถึงความงามของสวนจิตรลดาไว ดังนี้

สวนสวรรคอันชื่อจิตรลดาวันนั้น ประกอบดวยพฤกษาลดาชาติ อันโอภาสไปดวยรัศมีรุงเรืองอยู


เปนนิจนิรันดร … แตบรรดาอมรเทพทั้งหลายอันเขาไปในสวนพระอุทยานนั้น ครั้งตองรัศมีแหงพฤษชาติ
แลลดาชาติ ก็มีสีกายอันแปลกประหลาดงามพิจิตรบรรจงขึ้นกวาปกติแตกอน สุดแทแตไดเขาไปในสวน
นั้น ในขณะใดก็มีสกี ายอันผองใสบริสุทธิ์สะอาด งามประหลาดขึ้นในขณะนั้น เหตุฉะนี้ สวนสวรรคอันมีใน
ทิศขางปุริมทิศแหงสุทัสสนะมหานครนั้น จึงไดนามบัญญัติชื่อวาจิตรลดาวันอุทยาน นัยหนึ่งวา เครือลดา
ในสวนสวรรคนั้น พิจิตรดวยสิ่งตางๆ ที่ควรจะเขียวก็เขียวขจี ที่ควรจะขาวก็ขาวดีบริสุทธิ์ ที่ควรจะเหลือก็
เหลืออรามงามวิเศษสุด ที่ควรจะแดงก็แดงบริสุทธิ์สะอาด ที่ควรจะเปนหงสบาทก็เปนหงสบาท สีนั้นงาม ๆ
ประหลาด ๆ ดั่งแกลงยอม อาศัยที่มีเครือลดาอันไพจิตรดวยสีตาง ๆ ฉะนี้ สวนสวรรคนั้นจึงไดนามบัญญัติ
ชื่อวาจิตรลดาวันอุทยาน นัยหนึ่งวา สวนนั้นมีเครือลดาพิเศษชื่อวาอาสาวดี เปนที่ชอบเนื้อจําเริญใจแหง
เทวบุตรแลเทวธิดาทั้งปวง ถึงเทศกาลดอกอาสาวดีลดาเบิกบานนั้น ฝูงเทพทั้งหลายมาสโมสรประชุมกัน
เลนอาสาวดีลดานั้นเหมือนเลนดอกปาริชาติ อาศัยเหตุที่สวนสวรรคนั้นมีเครือลดาพิเศษแปลกประหลาด
ดังนี้ จึงไดนามบัญญัติชื่อวาจิตรลดาวันอุทยาน

(พระยาธรรมปรีชา (แกว) . ๒๕๒๐ ค : ๑๒๔)

กุฏิ
กุฏิ คือที่อยูสาํ หรับพระภิกษุสามเณร ผูน ิพนธไดนํากุฏิมาใชเปรียบในสํานวน ดังขอความ
ตอไปนี้

อนึ่งพระครรถอันเปนที่สถิตแหงพระมหาบุรุษเหมือนกุฎิอันใสไวซึ่งพระเจดีย บมิควรที่สัตวอื่นจะ
มาบังเกิดรวมในที่นั้นสืบไป

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๕๒)

ผูนิพนธไดเปรียบเทียบพระครรภของพระนางสิริมหามายาวาเหมือนกุฏิคือเปนสถานที่อยู
อาศัยของพระภิกษุสามเณร เปนผูที่กระทําแตความดี และเปรียบพระเจดียเปนเจาชายสิทธัตถะเพราะ
เจดียคือบุคคลอันเปนที่เคารพนับถือของบุคคลทั่วไป สํานวนนี้แสดงถึงความเหมาะสมของพระนางสิริ
มหามายากับเจาชายสิทธัตถะ คือพระครรภที่ดีก็เหมาะสมกับทารกที่ดีเชนกัน
๑๐๔

มณฑป
มณฑปคื อ อาคารมี ย อดแหลม มี ผั ง พื้ น เป น รู ป สี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส โครงสร า งเป น รู ป สี่ เ หลี่ ย ม
ลูกบาศก ซึ่งอาจจะเรียบๆ หรือมีแถวเสารอบก็ได โครงสรางดานบนเปนแทนตัดรูปกรวยเหลี่ยมซึ่ง
ประกอบดวยหลังคารูปทรงกลมซอนกันเปนชั้นปลายแหลมเปนยอดสุดหลังคาแตละชั้นจะประดับ
ประดาดวยเครื่องตกแตงที่ใชทั่วไปเรียกวา ทรงบานเถลิง มณฑปอาจใชเปนที่ประดิษฐานสิ่งศักดิ์หรือ
หอสมุด (อุทัย สินธุสาร. ๒๕๑๖ : ๓๓๒๓) จากรูปรางของมณฑปที่คลายๆ กับตนไม ผูนิพนธจึง
นํามาเปรียบเทียบกับความงามของตนไม ดังขอความตอไปนี้

อนึ่งรุกขชาติทั้งหลายวิจิตรไปดวยยอดอันแดงออกใหมมีพรรณอันแดงประดับไปดวยใบ
ระบัดออนทุกกิ่งกาน ปานประหนึ่งวารัตนมณฑปอันปกปอง ณ เบื้องบนสถลมารค ทั้งสองขางอรัญวิถีก็
มีพฤกษชาติทั้งหลายหลาก ลวนทรงกุสุมชาติอันเบงบานหอมระรื่นรส สุคันธาควรเจริญใจ บางก็ทรงผล
ดิบหามสุกไสวอเนกประการ ลวนผลาหารอันกอปรดวยโอชารสควรบริโภคบรรเทาเสียซึ่งความอยากรํางับ
กระวนกระวาย

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๒๙๓)

ขอความนี้เปนขอความตอนที่พระกาฬุทายีพรรณนาความงามของเสนทางไปกรุงกบิลพัสดุ
เพื่ออาราธนาใหพระพุทธเจาเสด็จกลับไปเยี่ยมกรุง เปนการพรรณนาถึงความงามและความอุดม
สมบูรณของตนไมทั้งสองขางทาง โดยเปรียบเทียบตนไมวามีรูปทรงเหมือนกับมณฑป ใหความรมรื่น
แกผูพักอาศัย ปกคลุมทางเดิน กันแดดกันฝนระหวางทางไดอยางดี

สุสาน
สุ ส านหรื อปา ชา เปน สถานที่ที่ ผูนิ พ นธนํา มาใชเ ปนแบบเปรี ย บในตอนที่เ จา ชายสิท ธัตถะ
ตัดสินใจออกผนวช ในคืนนั้นพระองคทอดพระเนตรเห็นปราสาทของพระองคที่มีนางกํานัลนอนใน
ทาทาง นาเกลียดกลาดเกลื่อนไปหมด ดังขอความตอไปนี้

ในราตรีวันนั้นเทพยดาบันดาลใหปรากฏดุจสุสานประเทศที่ปาชาผีดิบอันเรื่อยรายไปดวย
นานาอศุภกเลวระทั่วทั้งสิ้น

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๐๗)

ผูนิพนธเปรียบเทียบนางกํานัลที่อยูในปราสาทวาเหมือนกับซากศพมากมายกลาดเกลื่อนใน
สุสานหรือปาชา ทําใหพระองคทรงตัดสินพระทัยออกแสวงมหาภิเนษกรมณในคืนนั้น การที่ผนู ิพนธ
๑๐๕

เปรียบเทียบคนกับซากศพในสุสานเพื่อแสดงใหเห็นวาปราสาทนัน้ แมจะใหญโตกวางขวาง
สะดวกสบายแตก็เปนสถานทีท่ ี่ไมนา อยู ไมสวยงาม นากลัวเหมือนกับปาชาที่มีแตซากศพ เปนแหลง
รวมของศพไมมีประโยชนใดใด

เรือนแกว
ตอนที่พระพุทธเจาตรัสรูแลว พระพุทธองคไดประทับอยูในสถานที่ ๗ แหง เรียกวา สัตตมหา
สถาน ประทั บ อยู แ ห ง ละ ๑ สั ป ดาห และในสั ป ดาห ที่ ๔ พระพุ ท ธองค พ ระราชดํ า เนิ น จงกรมบน
เรือนแกว (รัตนฆระ) ซึ่งเปนสถานที่ที่พระองคทรงเนรมิตขึ้นทางทิศพายัพแหงตนมหาโพธิ ดังขอความ
ตอไปนี้

จึงเสด็จนิสีทนาการสถิตในรัตนฆระเรือนแกว อันประดิษฐานในทิศพายัพแหงพระศรีมหาโพธิ
และรัตนฆระนั้นมีพื้นภูมิภาค คือ พระสติปฏฐานทั้ง ๔ ปกลงซึ่งเสา กลาวคือ พระจตุอิทธิบาท ๔ และ
ยกขึ้น ซึ่งฝา กลาวคือ วินัยปฎ กตั้งเหนือ พรึง กลาวคือ สัมมั ปปธานทั้ง ๔ ประดิษฐานบนรอดและพื้น
กลาวคือ พระอัฏฐสมาบัติทั้ง ๘ และเรียบเรียงซึ่งระเบียบแหงกลอนในเบื้องบน กลาวคือ พระสุตตันตปฏก
และมุงซึ่งหลังคา กลาวคือ พระอภิธรรมปฏก และเรือนแกวของพระนราสภสุคต ลวนดวยพระสัทธรรม
ทั้งสิ้น

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๑๘๙)

ขอความนี้เปรียบเทียบหลักธรรมหลายขอกับเรือนแกว (รัตนฆระ) และสวนประกอบตางๆ


ของเรือนแกว คือ
๑. เปรียบเทียบพื้นดิน กับ มหาสติปฏฐาน ๔
๒. เปรียบเทียบเสา กับ อิทธิบาท ๔
๓. เปรียบเทียบฝา กับ พระวินัยปฎก
๔. เปรียบเทียบพรึงกับ พระสัมมัปปธาน ๔ หรือปธาน ๔
๕. เปรียบเทียบรอดและพื้น กับ สมาบัติ ๘
๖. เปรียบเทียบกลอน กับ พระสุตตันตปฏก
๗. เปรียบเทียบหลังคา กับ พระอภิธรรมปฎก
เปรียบมหาสติปฏฐานสี่เปนดุจพื้นดิน คือ ใชมหาสติปฏฐานสี่เปนกรรมฐานรองรับการเจริญ
วิปสสนากรรมฐาน ซึ่งชวยขัดเกลากิเลสใหหมดไป เชน กายในกาย เวทนาในเวทนา ฯลฯ
เปรียบเสาดุจอิทธิบาทสี่ คือ ใชอิทธิบาทสี่เปนเครื่องค้ํายันใหเกิดความสําเร็จ
๑๐๖

เปรียบพระวินัยปฎกเปนฝาเรือน คือ ใชวินัยเปนเครื่องปองกันไมใหดําเนินออกนอกลูนอกทาง


อันควรประพฤติ
เปรียปธานสี่ เปนพรึง ปธาน คือ ความเพียร, ความเพียรที่ชอบเปนสัมมาวายามะ มี ๔ อยาง
คือ ๑.สังวรปธาน เพียรระวังบาปอกุศลที่ยังไมเกิด มิใหเกิดขึ้น ๒.ปหานปธาน เพียรละบาปอกุศลที่
เกิดขึ้นแลว ๓.ภาวนาปธาน เพียรเจริญทํากุศลธรรมที่ยังไมเกิดใหเกิดขึ้น ๔.อนุรักขนาปธาน เพียร
รักษากุศลธรรมที่เกิดขึ้นแลว ไมใหเสื่อมไปและใหเพิ่มไพบูลย ( พระธรรมปฏก . ๒๕๔๓ : ๑๔๘)
เปรียบรอดและพื้น กับ สมาบัติ ๘ คือ สมาบัติ๘ เปนคุณสมบัติพิเศษที่เหนือยิ่งกวาอภิญญา
ทั้ง ๖ ประการ มีเฉพาะในพระอรหันตเปลาปฏิสัมภิทาญาณและพระสัมมาสัมพุทธเจาเทานั้น
เปรียบพระสุตตันตปฎกเปนกลอน คือ ใชลั่นดาลไมใหพระธรรมวินัยฟนเฝอ
เปรียบอภิธรรมปฎกเปนหลังคา คือ ธรรมอันยิ่งที่ปองกันไมใหจิตใจถูกกลั้วระคนดวยกิเลส
จากการเปรียบเทียบนี้แสดงถึงพระสัทธรรมหรือหลักธรรมคําสอนของพระพุทธเจาทั้ง ๗ ขอ
ขางตนนั้นมีความสัมพันธกัน เมื่อนํามาประกอบกันก็จะเปนหลักธรรมที่สมบูรณแบบที่สุด เชนเดียวกับ
บานเรือนเมื่อประกอบดวยสวนตางๆ ของบานก็จะไดเรือนแกวที่สมบูรณงดงาม หากขาดสวนใดสวน
หนึ่งของบานไป ก็อาจจะทําใหบานนั้นชํารุดและพังลงมาได นอกจากนั้นการเปรียบเทียบพระสัทธรรม
กับบานนั้นยังแสดงถึงพระธรรมนั้นเปนที่พึ่งพิงของมนุษยใหหลุดพนจากความทุกข เหมือนกับบานที่
เปนที่พักพิง เปนที่อยูอาศัยหลบแดด หลบฝนได

จะเห็นวาเมื่อผูนิพนธตองการแสดงถึงความงดงาม ความใหญโตมโหฬารของพระราชวัง และ


ความสะดวกสบายของผูท อี่ ยูอาศัยสถานทีน่ ั้น ผูนพิ นธมักจะนํามาเปรียบกับสวรรค หรือสถานที่ตางๆ
บนสวรรค เชน วิมานแกว ดาวดึงส สวนจิตรลดา ซึ่งเปนสถานที่ในอุดมคติ คนทัว่ ไปเชื่อวาเปนสถานที่
วิเศษที่สุด สะดวกสบายที่สดุ งดงามที่สุด และตางก็ปรารถนาที่จะขึ้นสวรรคกันทุกคน เพื่อใหผูอา นเกิด
จินตภาพ และสามารถจินตนาการไปตามผูนิพนธได นอกจากนัน้ ลักษณะเฉพาะของแตละสถานที่
ผูนิพนธก็สามารถนํามาใชเปนแบบเปรียบไดอยางประณีต เหมาะสม เชน ใชสุสานแสดงถึงความนา
กลัว ไมสวยงาม ไมนาอยูเชนเปรียบเทียบสภาพของนางกํานัลในวันที่เจาชายสิทธัตถะตัดสินพระทัย
เสด็จออกมหาภิเนษกรมณ เปนตน สรุปไดวาผูนิพนธมักใชสถานทีห่ นึง่ เปรียบกับอีกสถานทีห่ นึง่ ที่
สามารถทําให ผูอานเขาใจสภาพของสถานที่ที่ผนู พิ นธตองการกลาวไดชัดเจนขึ้น

๗. แบบเปรียบอื่นๆ
๑๐๗

นอกจากแบบเปรียบเกี่ยวกับบุคคล ธรรมชาติ สัตว พืช สิ่งของ สสาร และสถานที่แลว ยังมี


สํานวนเปรียบอื่นๆ ที่ไมสามารถจัดประเภทได เชน เงา ธุลี เปนตน ดังนั้นจึงนําแบบเปรียบเหลานั้นมา
รวมไวในแบบเปรียบอื่นๆ ดังนี้

เงา
เงาที่นํามาใชเปนแบบเปรียบ เปนเงาของบุคคลที่จะปรากฏติดตามตัวบุคคลนั้นไปทุกหนทุก
แหง สํานวนเปรียบที่ใชเงาเปนแบบเปรียบ มีดังขอความตอไปนี้

ในขณะนั้นพระอานนทถวายอภิวันทพระบรมครูเจาทําสัตยอธิษฐานวา ขาพระบาทติดตาม
เสด็จมา เปรียบดังฉายาติดตามพระกายอินทรียขององคพระชินสีหอยูเปนนิตย อันนี้เปนความสัตยของ
ขา พระบาท แมน ข า พระบาทจะยกทักขิ ณ หัต ถขึ้น ปรามาสพระกรเบื้อ งขวาของพระบิตุ ลาบดี ขอจง
ทุกขเวทนาที่ปรากฏมีในพระพาหานั้นอันตรธาน

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๖๓)

สํ า นวนนี้ เ ป น เนื้ อ หาตอนที่พ ระพุ ท ธเจ า เสด็ จรั ก ษาอาการประชวรของพระราชบิ ด า พระ


อานนทซึ่งเปนผูติดตามพระพุทธเจามาตลอดดังเงาติดตามพระกายก็อธิษฐานขอใหพระพาหาของพระ
เจาสิริสุทโธทนะหายจากอาการประชวร
การเปรียบเทียบพระอานนทวาเหมือนกับเงาตามพระกายของพระพุทธเจา แสดงใหเห็นวา
พระอานนทนั้นคอยติดตามเสด็จพระราชดําเนินไปทุกๆ สถานที่ที่พระพุทธเจาเสด็จแทบไมไดหางกัน
เลย เพราะเงานั้นจะปรากฏตามตัวบุคคลนั้นเสมอ

ธุลี
ธุลีหรือฝุน เปนละอองเล็กๆ ที่อยูในอากาศ และลอยมาเกาะติดอยูกับสิ่งของตางๆ ทําใหสงิ่ นัน้
สกปรก สํานวนเปรียบที่ใชธุลีเปนแบบเปรียบมีดังตอไปนี้

สัตวทั้งหลายมีธุลี คืออวิชชาบางหนามีประมาณเทานั้นๆ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๒๑๔)

ขอความนี้เปนตอนที่พระพุทธเจาทรงพระดําริวาจะเสด็จไปแสดงธรรมที่พระองคตรัสรูแกผูใด
ก อ นดี พระองค ท รงเลื อ กที่จ ะไปเทศนาแกพ ระอาฬารดาบสและพระอุ ท กดาบสพระอาจารยข อง
๑๐๘

พระองคกอนเพราะเปนผูที่มีกิเลสเบาบาง จะไดเขาใจในพระธรรมที่พระองคแสดงไดงายกวา แตทั้ง


สองพระองคก็มรณภาพไปเสียกอน
สํ า นวนนี้ เ ปรี ย บเที ย บกิ เ ลสกั บ ธุ ลี เพราะกิ เ ลสนั้ น คอยครอบงํ า จิ ต ใจมนุ ษ ย ใ ห ขุ น มั ว
เชนเดียวกับธุลีที่เกาะสิ่งของเครื่องใชใดก็ทําใหสิ่งนั้นสกปรก เชนฝุนที่มาเกาะอยูกับแกวใสหรือกระจก
ก็จะทําใหแกวหรือกระจกนั้นมีสีขุน มองเห็นไมชัดเจน

พระเขฬะ
พระเขฬะ นอกจากจะชวยยอยอาหารในเบื้องตน ก็เปนสิ่งที่ไมมีประโยชนอื่นใด ดังนั้นผู
นิพนธไดนําลักษณะของน้ําลายนี้มาใชเปนแบบเปรียบในขอความดังตอไปนี้

สมเด็ จ พระผู มี พ ระภาค ทรงพระมหากรุณ าแก สั ตว โ ลกปรารถนาจะรื้ อ สัต ว ใ ห พ น จากห ว ง


มหรรณพสงสาร และละเสียซึ่งจักรพรรดิราชสมบัติอันจะมาถึงใน ๗ วัน มิไดทรงอาลัยดุจกอนเขฬะอัน
ของอยูในปลายพระชิวหา

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๕)

ขอความนี้ในตอนที่เจาชายสิทธัตถะยอมสละราชสมบัติที่พระองคกําลังจะไดครอบครองในอีก
๗ วันขางหนา เพราะพระองคตองการชวยเหลือมนุษยใหพนจากทุกขจึงมุงแสวงหาธรรมอยางจริงจัง
พระองคจึงตรัสสินพระทัยเสด็จหนีออกผนวช ผูนิพนธไดเปรียบเทียบราชสมบัติจํานวนมหาศาลที่
เจาชายสิทธัตถะจะไดครอบครองนั้นกับพระเขฬะที่พระองคทรงถมทิ้งไดอยางไมรูสึกเสียดาย เพราะ
เปนสิ่งที่มีประโยชนใดใด แสดงวาเจาชายสิทธัตถะนั้นไมไดเห็นประโยชนและสนพระทัยราชสมบัตินั้น
เลย แตมีความมุงมั่นที่จะชวยเหลือใหเพื่อนมนุษยพนทุกขมากกวา

นอกจากนั้นพระนางยโสธราพิมพากลาวนอยพระทัยเจาชายสิทธัตถะที่ทิ้งพระนางผูเปน พระ
ชายาไปโดยไมรูสึกอาลัยอาวรณเลย ดังขอความตอไปนี้

พระองคมิไดตรัสบอกใหทราบแสรงสละ ขาพระบาทไวไมมีพระอาลัย ดุจกอนเขฬะในปลายพระ


ชิวหาอันถมออกจากพระโอษฐมิไดโปรดปราน

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๑๙)


๑๐๙

พระนางยโสธราพิมพาเปรียบเทียบพระองคเองกับพระเขฬะที่ถมออกจากพระโอษฐวาเปนสิ่ง
ที่ไมมีใครตองการ เหมือนกับพระนางที่พระสวามีทอดทิ้งพระองคโดยมิไดใสใจราวกับวาพระองคเปน
สิ่งที่ไรคาดุจน้ําลายที่ถมออกจากปาก

ผูใหญ
ตอนที่เจาชายสิทธัตถะประสูติ รางกายยังเปนทารกอยู แตผูนิพนธเปรียบวาประชาชนทั่วไป
มองดูพระองคเหมือนกับผูใหญที่อายุ ๑๖ ป ดังสํานวนเปรียบดังตอไปนี้

พระกายก็ปรากฏเปนทารก เห็นเหมือนผูใหญประมาณอายุ ๑๖ ป

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๖๐)

ผูนิพนธเปรียบเทียบเจาชายสิทธัตถะในตอนที่ยงั เปนทารกอยูแตดูเหมือนผูใหญนนั้ แสดงวา


เจาชายสิทธัตถะจะเพิ่งประสูติออกมาจากครรภพระมารดา แตก็เหมือนเปนผูใหญ มีความรูความคิด
มากกวาทารกแรกเกิดทั่วไปที่เกิดมาก็สง เสียงรองออแอ ไมรูเรื่องรูราวใดใด

หลังคา
บานที่มงุ หลังคาอยางดี และบานที่มงุ หลังคาไมดี คือยังมีรอยรั่วทําใหแดดสองลงมา หรือน้าํ
รั่วลงมาได ผูนพิ นธไดนํามาใชเปนแบบเปรียบในตอนที่พระพุทธเจากลาวถึงพระนันทะตอนที่บวช
ใหมๆ และตอนที่สําเร็จพระอรหันตแลววา

ในวันกอนๆ นั้น อัตภาพแหงนันทภิกษุ ดุจเรือนอันมุงหลังคาบมิดี กาลบัดนี้อัตภาพแหงนันท


ภิกษุ ดุจเรือนอันมุงหลังคาดีแลวธรรมดาคฤหฐานอันมุงบมิดี อันวาวัสโสทกก็ตกรั่วลงได แลมีครุวนาฉัน
ใด เหมือนดวยจิตอันบุคคลมิไดเจริญพระสมาธิภาวนา อันวาราคากิเลสก็เขาย่ํายีบีฑาไดอุปไมยดังนั้น
หนึ่งธรรมดาวาคฤหฐานอันมุงหลังคาเปนอันดี อันวาวัสโสทกบมิอาจตกรั่วลงไดฉันใดก็ดี เหมือนดวย
บุคคลที่ไดเจริญซึ่งสมาธิภาวนา อันวาราคากิเลสทั้งหลายก็บมิอาจย่ํายีบีฑาไดมีอุปไมยดังนี้

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๒๗)

เนื่องจากตอนที่พระนันทะบวชนัน้ ไมไดบวชดวยความเต็มใจนัก ตองการลาสิกขา


พระพุทธเจาไดพาขึ้นไปบนสวรรคชั้นดาวดึงสไดพบนางฟา และตรัสวาการบําเพ็ญธรรมจะทําใหได
นางฟา เมื่อกลับมาพระองคอื่นๆ จึงเยาะเยยวา ที่พระนันทะบวชนัน้ เพราะตองการไดนางฟา ทําให
พระนันทะอุตสาหะเจริญกรรมฐานจนกระทั่งสําเร็จพระอรหันตได พระพุทธเจากลาวเปรียบพระนันทะ
๑๑๐

กอนทีจ่ ะสําเร็จพระอรหันตวา เหมือนกับบานที่ยงั มุงหลังคาไมดี ทําใหมีน้ํารัว่ หรือแดดสองเขาไปไดงาย


และอาจทําใหภายในบานเสียหายและผูอยูอาศัยไดรับอันตราย เชนเดียวกับพระนันทะที่ตอนแรกไม
เต็มใจบวชเพราะคิดถึงพระชายา เมื่อมีสิ่งยั่วยุหรือกิเลสมากระตุน เพียงเล็กนอยก็ทําใหจิตใจหวัน่ ไหว
แตเมื่อพระนันทะบรรลุพระอรหันตแลวก็เปรียบเหมือนกับบานที่มงุ หลังคาอยางดี แมจะมีสงิ่ ยั่วยุใดๆ ก็
ไมสามารถเขามาทําลายจิตใจอันแนวแนลงได เปนบานที่มนั่ คง แข็งแรง สมบูรณ เรื่องนี้เปนกลวิธีการ
สอนธรรมของพระพุทธเจาเพื่อใหพระนันทะสามารถบรรลุพระอรหันต และพระนันทะก็สามารถบรรลุ
พระอรหันตไดจริงไมใชเพราะตองการไดนางฟา แตเพราะพระนันทะสามารถละกิเลสได

สีหบัญชรแกว
สี ห บั ญ ชร หรื อ สิ ง หบั ญ ชรหมายถึ ง หน า ต า งที่ พ ระเจ า แผ น ดิ น ประทั บ รั บ แขกเมื อ ง
(ราชบัณฑิตยสถาน. ๒๕๔๖ : ๑๑๙๙ ) ผูนิพนธเปรียบเทียบกระบอกพระเนตรของเจาชายสิทธัตถะ
กับสีหบัญชรแกวในสุวรรณวิมาน ดังขอความตอไปนี้

กระบอกพระเนตรนั้นงามดุจสีหบัญชรแกวในสุวรรณวิมานอันเผยอออก

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๖)

ลักษณะของสีหบัญชรแกว หรือหนาตางแกวในวิมานทองชวยใหเกิดจินตภาพวากระบอกพระ
เนตรของเจาชายสิทธัตถะวาสวยงามรับกันดีกับใบหนาเหมือนหนาตางที่สรางรับกันอยางพอเหมาะพอ
เจาะกับวิมานทองคํา

เปอกตม
เปอกตมหรือเลนตม เปนสัญลักษณของความเศราหมอง กิเลสที่เขามาครอบงําจิตใจมนุษย
ดังขอความตอไปนี้

ธรรมบุทคลผูใดพิจารณาเห็นสังขารธรรมเปนอนิจจัง บุทคลผูนั้นก็อาจเห็นซึ่งทุกขลักษณะ และ


กระทําสักการะบูชาในปูชนียวัตถุ ยังเปอกตมในภพ คือราคะ โทสะ โมหะ ใหเหือดแหง แลบรรเทาเสียซึ่ง
โมหะใหเสื่อมสูญ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๒๓๘)


๑๑๑

เปอกตมเปนสิ่งที่สกปรก มีกลิ่นเหม็น เชนเดียวกับกิเลสซึ่งเปนความชั่วรายที่เขามาเกาะกิน


จิตใจมนุยใหเศราหมอง ดังนั้นผูนิพนธจึงนําเปอกตมมาเปรียบกับ ราคะ โทสะ และโมหะ ลวนเปน
ความชั่วรายที่แฝงเขามาอยูในจิตใจมนุษย เรียกวาอกุศลมูล ๓ ตามความหมายตอไปนี้
ราคะ หมายถึง ความยินดีในกาม , ความติดใจหรือความยอมใจติดอยูในอารมณ
โทสะ หมายถึง ความคิดประทุษราย
โมหะ หมายถึง ความหลง , ความไมรูตามเปนจริง , อวิชชา (พระธรรมปฎก. ๒๕๔๓ :
๒๔๙, ๑๐๔, ๒๓๙)
จะเห็นไดวากิเลสทั้งสามขอนี้ลวนเปนสิ่งชัว่ รายที่มนุษยไมอยากเขาใกลเชนเดียวกับเปอกตมที่
สงกลิ่นเหม็น และมีสีดําสกปรกมนุษยก็ไมตองการใหมาเปอนรางกายตนเองเชนกัน
หนาม
หนามคือสวนแหลมๆ ทีย่ ื่นออกมาจากกิง่ ไม ผูนพิ นธเปรียบหนามกับกิเลสกามคุณ ดัง
ขอความตอไปนี้

อันวาเปอกตมกลาวแลวคือกามคุณ บุคคลผูใดขามเสียได แลย่ํายีทําลายเสียซึ่งหนาม คือกิเลส


กามคุณนั่นแล บุคคลผูนั้นก็มิไดกระทํามโนอาวรณหวั่นไหวในสุขและทุกขทั้งปวง

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๓๒๗)

หนามเปนสิ่งที่แหลม หากมาทิ่มแทงหรือขูดเกี่ยวตามรางกายก็จะทําใหบาดเจ็บและเกิดแผล
ได ผูนิพนธนํามาเปรียบกับกามคุณ เปนกิเลสที่ทําใหอยากได เชน ราคะ โลภะ อิจฉา เปนตน กิเลสนั้น
จะทําใหจิตใจขุนมัวเศราหมอง ไมบริสุทธิ์ ผูที่มีกิเลสหนาก็จะไมมีความสุขในชีวิต จากการเปรียบเทียบ
หนามกับกามคุณนี้แสดงใหเห็นผลกระทบจากทั้งสองสิ่งซึ่งลวนทําใหเกิดความเจ็บปวด ตางกันตรงที่
ทําใหเกิดความเจ็บปวดทางดานรางกาย และดานจิตใจ

อมฤตรส
อมฤตรส หมายถึงน้ําทิพย , พระธรรมในพระพุทธศาสนา (ราชบัณฑิตยสถาน. ๒๕๔๖ :
๑๓๓๓) ขอความที่ใชแบบเปรียบเปนน้ําอมฤตมีดังตอไปนี้

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทานอยาเจรจาออกนามตถาคตดวยคําอาวุโสฉะนี้มิไดสมควร ตถาคตไดตรัส


เปนองคพระสัมมาสัมพุทธเจา อันประกอบดวยอรหาทิคุณเลิศโลก สิ้นสูญกองกิเลสแลว ทานจงตั้งโสต
ประสาทลงรองรับพระกระแสพระสัทธรรมเทศนา ตถาคตนี้หวังจะใหโอวาทนุศาสนใหบรรลุพระอมตมหา
นิพพาน ทานจงปฏิบัติตามคําสั่งสอนของตถาคต จะไดเสวยอมฤตรส คือพระอริยมรรคญาณ
๑๑๒

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๒๒๔)

เมื่อพระพุทธเจาตรัสรูแลวก็ไดเสด็จโปรดแสดงธรรมแกปญจวัคคียทงั้ ๕ ตรัสใหปญจวัคคีย
ตั้งใจฟงธรรมเทศนา เพราะพระสัทธรรมที่พระองคจะเทศนานัน้ เปนสิ่งดีเลิศ จะทําใหพน ทุกขตามที่
ปญจวัคคียปรารถนา คืออริยมรรค หรือญาณอันใหสําเร็จความเปนพระอริยะ การไดฟงธรรมนี้ก็
เหมือนกับไดดื่มน้ําอมฤตอันเปนน้าํ ทิพยชโลมใจ

ตอมน้ํา
ตอมน้ํา หมายถึงฟองอากาศที่ผุดขึ้นปุดๆ เหนือน้ํา (ราชบัณฑิตยสถาน. ๒๕๔๖ : ๔๓๗)
ผูนิพนธเปรียบเทียบรูปทรงพระเศียรของเจาชายสิทธัตถะกับรูปทรงของตอมน้ํา ดังขอความตอไปนี้

พระเศียรนั้นกลมงามบริบูรณมิไดบกพรอง แลนูนขึ้นเบื้องบนมีสัณฐานดังตอมแหงน้ํา

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๗)

ตอมน้ําหรือฟองอากาศที่ผดุ ขึ้นมาเหนือน้ํานั้นมีลักษณะรูปทรงทีก่ ลม โคงมนในสวนบนและ


คอยๆ แคบลง (คลายหยดน้ํากลับดานเอาสวนโคงมนขึ้นขางบน) ผูนิพนธเปรียบลักษณะของพระ
เศียรเจาชายสิทธัตถะกับตอมน้ําเพื่อแสดงใหเห็นพระเศียรที่โคงกลมใหญในสวนบนและเล็กลงซึง่ เปน
ลักษณะพระเศียรที่งดงามสมสวน

คนบา
คนบาคือผูที่มีอาการเสียสติ วิกลจริต สติฟนเฟอน หลงใหลหรือมัวเมาในสิ่งนั้นๆ จนผิดปรกติ
ไมสามารถควบคุมตนเองได ผูนิพนธนําอาการบานี้มาเปรียบเทียบพราหมณที่ไดพบแลวหลงใหลใน
ความงามของพระนางสิริมหามายา ดังขอความตอไปนี้

พราหมณทั้ง ๘ มิอาจดํารงสติอยูได ดวยไดเห็นพระสิริลักขณะวิลาสล้ําเอนกนิกรนารีก็ถึงมุฬห


สัญญีวิปลาสปราศจากสติสมปฤดี บมิรูสึกตนวานุงหมผาประดับกายาประการใดเจรจาพึงเพอหลงใหลมี
นานัปการดุจอาการอุมมัตกเพศ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๑๗)


๑๑๓

จากขอความนี้แสดงใหเห็นความงามของพระนางสิริมหามายาคือ แมวาจะเปนพราหมณผู
ทรงศีลแตเมื่อไดเห็นความงามของพระนางสิริมหามายาก็ถึงกับทําใหพราหมณมีความรูสึกหลงใหล
คลั่งไคล ไมสามารถควบคุมสติตนเองได มีอาการเหมือนคนเปนบา เพราะพระนางสิริมหามายามี
ความงามเลิศเหนือบุคคลธรรมดานั่นเอง

จากการศึ ก ษาการใช ภ าษาสร า งจิ น ตภาพของสํ า นวนเปรี ย บในวรรณคดี เ รื่ อ งพระปฐม


สมโพธิกถานี้ พบวาแบบเปรียบ ๗ ประเภทที่ผูนิพนธนํามาใชกลาวอางอิงในสํานวนเปรียบนั้น ทําให
ผูอานเกิดจินตภาพและเขาใจสํานวนเปรียบไดดียิ่งขึ้น ซึ่งแบบเปรียบที่ปรากฏนี้มีทั้งแบบเปรียบที่เปน
อุดมคติ เชน เทพ สวรรค และสัตวในวรรณคดี และแบบเปรียบที่สามารถพบไดในชีวิตประจําวัน เชน
แบบเปรียบเกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใช ธรรมชาติ เมื่อผูอานนําประสบการณที่มีตอแบบเปรียบตาง ๆ มา
เทียบเคียงกับสิ่งที่ถูกเปรียบ ทําใหเกิดจินตภาพตามที่ผูนิพนธตองการสื่อได
บทที่ ๓
แนวนิยมการใชสํานวนเปรียบ

การใชสํานวนเปรียบ เปนการใชภาษาเพื่อสรางจินตภาพโดยการกลาวเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งกับ
อีกสิ่งหนึ่ง เพื่อบอกเล าเรื่องราว หรือพรรณนาสิ่งๆ นั้น ใหชัดเจนและเขาใจไดงายขึ้น ดังที่ ฐิติภา
ลักษณพิสุทธิ์ ไดกลาวไวในวิทยานิพนธเรื่องการใชอุปมาโวหารในบทโฆษณาวา

อุปมาอุปไมยมิไดเปนเพียงเครื่องประดับทางภาษา หรือเปนสิ่งที่ใชกันแตเฉพาะกรณีตองการ
ความเพลิดเพลินหรือเพื่อความบันเทิง เกิดความซาบซึ้งเทานั้น แตในทางตรงกันขาม อุปมาอุปไมยยังเปน
ศูนยกลางระบบแนวความคิด (Conceptual System) โดยผานกระบวนการสรางสรรคอุปมาอุปไมย ในการยก
ประเด็นขอความจริงหรือสิ่งที่คนประจักษดีอยูแลวมาสรางความเขาใจใหกระจางชัด การใชอุปมาอุปไมย
จะทําใหสิ่งที่เราเห็นวาปกติเปนสิ่งทั่วๆ ไป มีความหมายโดดเดน นาสนใจ นาจดจํา และมีความเห็นคลอย
ตามไดดีกวาการใชขอความธรรมดาๆ

(ฐิติภา ลักษณพิสุทธิ์. ๒๕๔๐ : ๘๐)

จากการศึกษาพบวา สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส มีลีลาการสราง


สํานวนเปรียบในวรรณคดีเรื่องพระปฐมสมโพธิกถาที่มีลักษณะเดนอันทําใหบทนิพนธมีความหมาย
ชัดเจนและงดงามดวยศิลปะการใชภาษา และเปนสวนสําคัญที่นําไปสูการตีความสารและเขาใจใน
สาระสําคัญของเรื่องมากขึ้น และนอกจากนั้นผูนิพนธยังใชสํานวนเปรียบเพื่อตองการสรางจินตภาพ
ใหแกผูอาน
แนวนิยม หมายถึงการปรากฏซ้ําของสํานวนเปรียบที่เกิดขึ้น ผูวิจัยจะวิเคราะหสํานวนเปรียบ
ที่ผูนิพนธสรางขึ้น โดยพิจารณาจากการปรากฏซ้ําของสิ่งที่ถูกเปรียบอันแสดงถึงแนวนิยมของการใช
สํานวนเปรียบเพื่อนําไปสูความเขาใจในจุดมุงหมายและความคิดที่ผูนิพนธนําเสนอแกผูอาน
จากการศึกษาพบวาในวรรณคดีเรื่องพระปฐมสมโพธิกถานีม้ ีแนวนิยมในการใชสํานวนเปรียบ
สามารถจัดกลุม ได ๔ ลักษณะ คือ
๑. การใชสํานวนเปรียบแสดงบุคลิกลักษณะทางกายภาพของตัวละคร
๒. การใชสํานวนเปรียบแสดงอารมณและความรูสึก
๓. การใชสํานวนเปรียบแสดงฉาก และบรรยากาศ
๔. การใชสํานวนเปรียบแสดงคติธรรม
๑๑๕

๑. การใชสํานวนเปรียบแสดงบุคลิกลักษณะทางกายภาพของตัวละคร
การใชสํานวนเปรียบแสดงบุคลิกลักษณะทางกายภาพ เปนการใชสํานวนเปรียบกลาว
พรรณนาบุคลิกลักษณะจําเพาะตัวของตัวละคร ทั้งดานรูปกายและอาการเคลื่อนไหว
จากการศึกษาพบวา สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ใชสํานวนเปรียบ
เพื่อพรรณนาลักษณะตัวละครหลายตัวดวยกัน ซึ่งสวนใหญมักจะเปนตัวละครที่มีความสําคัญ และมี
บทบาทในเนื้อเรื่องมาก คือ พระพุทธเจา พระนางสิริมหามายา มาร ผูวิจัยจึงจัดหัวขอการใชสํานวน
เปรียบแสดงบุคลิกลักษณะทางกายภาพโดยกลาวถึงตัวละครทีละตัว ดังตอไปนี้

๑.๑ บุคลิกลักษณะทางกายภาพของพระพุทธเจา บุคลิกลักษณะทางกายภาพที่


ผูนิพนธพรรณนาถึงพระพุทธเจานั้น มีทั้งพระรูปกาย พระองคาพยพ และพระอิริยาบถของพระพุทธเจา
ดวย ดังหัวขอตอไปนี้

๑.๑.๑ พระรูปกายของพระพุทธเจา ผูนิพนธกลาวพรรณนาพระรูปกายของ


พระพุทธเจา ตั้งแตตอนที่พระพุทธเจาประสูติ ออกแสวงหาโมกขธรรม ตรัสรู จนกระทั่งปรินิพพาน
ผูนิพนธพรรณนาพระรูปกายพระพุทธเจาทั้งพระรูปกายโดยรวม และพรรณนาถึงพระองคาพยพของ
พระพุทธเจา ดังนั้นผูวิจัยจึงแยกหัวขอออก ดังนี้

๑.๑.๑.๑ พระรูปกายโดยรวมของพระพุทธเจา
ผูนิพนธเปรียบเทียบพระรูปกายโดยรวมของพระพุทธเจากับ
แบบเปรียบ ดังตัวอยางตอไปนี้

เปรียบพระพุทธเจากับพระพรหม ดังตัวอยางตอไปนี้

พระราชกุมารนี้มีทอนพระกายอันตั้งตรงดุจกายทาวมหาพรหม จะไดนอมไปในเบื้องหนาแล
เบื้องหลัง เหมือนกายชนทั้งหลายอื่นก็หามิไดในบุเรชาติพระองคไมไดเบียดเบียนฆาเสียซึ่งสัตวอื่น จึง
ไดพระมหาบุรุษลักษณะนี้

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๑๐๐)


๑๑๖

เปรียบพระพุทธเจากับพระอินทร ดังตัวอยางตอไปนี้

กาลเมื่อทิวากรอันใกลจะอัสดงคตก็เสด็จบทจรขึ้นจากสระมงคลสระ นิสีทนาการนั่งเหนือ
ปาสาณมงคลอาสนกอปรดวยพระสิริวิลาสอุฬาร ปานประหนึ่งองคสมเด็จวัชรินทรเทพสถิต ณ เบื้องบน
บัณฑุกัมพลศิลาอาสน ณ ภายใตปาริฉัตกตรุราชในสุราลัยโลก

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๙๙ -๑๐๐)

เปรียบพระพุทธเจากับเทวดา ดังตัวอยางตอไปนี้

ครั้นเจริญกาลมาพระโพธิสัตวเจริญพระชนมพรรษาได ๗ ขวบสมเด็จบรมกษัตริยตรัสถามหมู
อมาตยวา ธรรมดาทารกมี ๗ ขวบนั้นชอบใจเลนสิ่งอันใด อมาตยทั้งหลายกราบทูลวา พอใจเลนน้ํา จึง
ดํารัสใหหาบรรดาชางมีอยูในพระนครมาพรอมกัน แลวตรัสสั่งใหไปทําการขุดสระโบกขรณีในที่โพน
สําหรับจะใหพระราชบุตรแหงเราลงเลนน้ํา นายชางทั้งหลายก็ไปกระทําการรับสั่ง… จําเดิมแตนั้นมา พระ
มหาสัตวเปรียบประดุจเทวกุมารเสด็จลงสรงสนานเลนอุทกวารีในทิพยโบกขรณีเปนนิตยกาล

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๘๖-๘๗)

เปรียบพระพุทธเจากับดวงอาทิตย ดังขอความตอไปนี้

องคพระชินสีหเสด็จมาจากอัญญามรรคาสถลสถาน ดุจดวงทิพากรอันออกจากหองแหงเมฆ
พลาหกดูเพริศแพรวพรรณรายดวยกระแสสายชาลประภาไพโรจนจํารัสทั่วจังหวัด วนัศไพสณฑสกล

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๒๒๓)

เปรียบพระพุทธเจากับดวงจันทร ดังตัวอยางตอไปนี้

ครั้นลวงเขาถึงวันเปนคํารบ ๘ ก็เสด็จจากปาไมมวงตําบลนั้น บทจรดําเนินไปในพณสณฑวิถี


พระสิ ริวิล าสอัน รุง เรือ ง งามด ว ยพยายามประภาพรรโณภา ดุจ พระรัชนิ กรเทวราชอั น บริบูร ณ ดว ย
พระรั ศมี มีพรรณไพโรจนทิฆัมพรจํารัสปางเมื่อสรทกาลสมัย เสด็จดําเนิน ไปแตพระองคเดียวดูดุจ
แวดลอมดวยอเนกนิกรบรรษัท

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๑๒๔)


๑๑๗

เปรียบพระพุทธเจากับพระยาฉัททันตคชสาร ดังตอไปนี้

องคพระชินสีหเสด็จมาจากอรัญญามรรคาสถลสถานปานประหนึ่งวาพระยาฉัททันตคชสาร
อันโคจรออกจากหองแหงเกาะแกวมณี

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๒๒๓)

เปรียบพระพุทธเจากับทาวธตรัฏฐราชมหาหงส ดังตอไปนี้

ทานทั้งปวงจงไปทัศนาซึ่งพระพุทธบิดาดวยตถาคต เปนปจฉิมทัศนาในวาระครั้งนี้ พระสงฆ ๕


รอยที่เปนบริวารกระทําอิทธานุภาพปาฏิหาริยเหาะขึ้นสูอนิลบท ครุวนาดุจทาวธตรัฏฐราชมหาหงส อัน
แวดลอมไปดวยหมูหงส ๙ หมื่นเปนบริวาร

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๖๒)

เปรียบพระพุทธเจากับรูปปนทอง ดังตัวอยางตอไปนี้

พระมารดาก็ไมไดบังเกิดเหน็ดเหนื่อยหนักพระอุรา พระกายเบาเหมือนเมื่อปรกติเปนสุขอยูแลว
ก็เล็งเห็นพระโพธิสัตวอยูในครรภ เหมือนดุจดายเหลืองอันรอยเขาในแกวมณีอันผองใส เมื่อปรารถนาจะ
ทอดพระเนตรในขณะใดก็เห็นพระโอรสอันนั่งเปนบัลลังกสมาธิผันพระพักตรมาขางพื้นพระอุทรแหง
พระมารดาดุจสุวรรณปฏิมาอันสถิตอยูบนฝกออนในหองแหงกลีบดอกปทุมชาติ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๕๒)

เปรียบพระพุทธเจากับแกวมณีโชติรส ดังตัวอยางตอไปนี้

แลพระกายก็มิไดระคนดวยเสมหรุธิรคัพภมลทินอันใดอันหนึ่ง แลบริสุทธิ์ผองใสสะอาด ครุวนา


ดุจดวงแกวมณีโชติรสอันนําออกมาวางไวบนกองผากาสาวพัสตร

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๕๕)


๑๑๘

เนื่องจากพระพุทธเจาเปนมหาบุรุษที่ยิ่งใหญเหนือมนุษยทวั่ ไป
ดังนั้นผูนิพนธจึงพรรณนาพระรูปกายของพระพุทธเจาโดยเปรียบกับ พระพรหม พระอินทร เทวดา เพื่อ
แสดงใหเห็นความงามเดนเหนือบุคคลธรรมดา และมีความพรั่งพรอมดวยทรัพยสมบัติ พระองคประสูติ
ในวรรณะกษัตริย ซึ่งเปนชนชั้นสูง เทพที่ผูนิพนธนํามาเปรียบก็เปนเทพผูยิ่งใหญ มีกายทิพย มีความสุข
จากทิพยสมบัติ ดังที่ ผูนิพนธเปรียบพระพุทธเจากับพระพรหม เพื่อแสดงพระวรกายอันตั้งตรงสงางาม
พระฉวีเปลงปลั่ง , เปรียบพระพุทธเจากับพระอินทร เพื่อแสดงใหเห็นบุคลิกอันสงางามยิง่ ใหญกวาคน
สามัญ มีบุญญาบารมี และความสุขจากทรัพยสมบัติอันมโหฬาร , เปรียบพระพุทธเจากับเทวดาเพื่อ
แสดงใหเห็นบุญญาบารมี ความมีอํานาจ และพระวรกายที่งดงามไมมีที่ติ ไมอาจพบเห็นลักษณะเชนนี้
กับมนุษยทั่วไป จากการที่ผูนิพนธนําแบบเปรียบที่เปนเทพมาเปรียบเทียบกับพระพุทธเจาก็เพื่อแสดง
วาพระพุทธเจาเปนผูสูงสงเทียบไดกับเทพ ซึ่งเทพนั้นมีความงามตามแบบอุดมคติ คนมีความเชื่อวา
เทพมีความสงางาม มีผิวกายเหลืองสุกปลั่งดั่งทอง มีรังสีเปลงออกจากพระกายสวางไสวงดงาม
นอกจากนั้นยังเปรียบพระพุทธเจากับดวงอาทิตยเพื่อแสดงให
เห็นถึงความสูงสง มีพระรัศมีเจิดจา อรามเรือง ยิ่งใหญเหนือสิ่งใดใดในโลก รวมทั้งมีชื่อเสียงเปนที่
เลื่องลือไกล และเปรียบเทียบพระพุทธเจากับดวงจันทร เพื่อแสดงใหเห็นความงามของพระพุทธเจาที่
ทําใหเกิดความรูสึกนุมนวลออนโยนแกผูพบเห็น , เปรียบพระพุทธเจากับชางฉัททันตเพื่อใหเห็นวาเปน
ผู ยิ่ ง ใหญ เ หมื อนกั บ พระยาช า งฉั ท ทั น ต ที่ยิ่ ง ใหญ ที่ สุด ในป า เหนื อ สรรพสั ต วทั้ ง ปวง เช น เดี ย วกั บ
พระพุทธเจาที่เปนเลิศเหนือมนุษยทั้งปวง , เปรียบพระพุทธเจากับทาวธตรัฏฐมหาหงส เพื่อเปรียบการ
เหาะที่พระพุทธเจาแสดงปาฏิหาริยวาสงางามเหมือนกับทาวธตรัฏฐมหาหงส ที่แวดลอมไปดวยบริวาร
หงส , เปรียบเทียบพระพุทธเจากับรูปปนทองคําที่สวยงาม เนื่องจากทองคําเปนสิ่งที่มีคา มีราคามาก
ดังนั้นจึงใชความประณีตเปนพิเศษในการปน เมื่อเปรียบเทียบกับพระพุทธเจาจึงแสดงใหเห็นรูปกายที่
งดงามสมสวน และพระฉวีเปลงปลั่ง
ขอสังเกตอยางหนึ่งถึงแนวนิยมในการเปรีย บ ผูนิพนธจะใช
แบบเปรียบเทพกับการพูดถึงบุคลิกลักษณะที่สงางาม เปรียบเทียบพระอาทิตยกับพระจันทรในความ
ยิ่งใหญและนุมนวลออนโยน เปรียบเทียบกับพญาชางและพญาหงสกับการปรากฏกายในลักษณะที่
โดดเดนที่สุดในขณะนั้น และเปรียบเทียบกับรูปปนทองคําในความมีคาและงดงามในลักษณะสงบนิ่ง

๑.๑.๑.๒ พระรูปกายเฉพาะสวนของพระพุทธเจา
ผูนพิ นธไดใชสํานวนเปรียบพรรณนาความงามในพระ
องคาพยพของพระพุทธเจา ตามลักษณะมหาบุรุษ ๓๒ ประการ ดังในพระไตรปฎกไดบรรยายลักษณะ
มหาบุรุษของพระพุทธเจาไวดังตอไปนี้
๑๑๙

วาดวยมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ
๑. ขอเดชะ ก็ พระราชกุมารนี้มีพระบาทประดิษฐานเปนอันดี (เรียบเสมอ)ขาแตสมมติเทพ การที่
พระราชกุมารนี้มีพระบาทประดิษฐานเปนอันดี นี้เปนมหาปุริสลักษณะของมหาบุรุษนั้น ฯ
๒. ณ พื้นภายใตฝาพระบาททั้ง ๒ ของพระราชกุมารนี้ มีจักรเกิดขึ้น มีซี่กําขางละพันมีกง มีดุม
บริบูรณดวยอาการทั้งปวง ขาแตสมมติเทพ แมการที่พื้นภายใตฝาพระบาททั้ง ๒ ของพระราชกุมารนี้มีจักร
เกิดขึ้น มีซี่กําขางละพัน มีกง มีดุม บริบูรณดวยอาการทั้งปวง นี้ก็เปนมหาปุริสลักษณะของมหาบุรุษนั้น ฯ
๓. มีสนพระบาทยาว ฯ
๔. มีพระองคุลียาว ฯ
๕. มีฝาพระหัตถและฝาพระบาทออนนุม ฯ
๖. มีฝาพระหัตถและฝาพระบาทมีลายดุจตาขาย ฯ
๗. มีพระบาทเหมือนสังขคว่ํา ฯ
๘. มีพระชงฆรีเรียวดุจแขงเนื้อทราย ฯ
๙. เสด็จสถิตยืนอยูมิไดนอมลง เอาฝาพระหัตถทั้งสองลูบคลําไดถึงพระชาณุทั้งสอง
๑๐. มีพระคุยหะเรนอยูในฝก ฯ
๑๑. มีพระฉวีวรรณดุจวรรณแหงทองคํา คือ มีพระตจะประดุจหุมดวยทอง ฯ
๑๒. มีพระฉวีละเอียด เพราะพระฉวีละเอียด ธุลีละอองจึงมิติดอยูในพระกายได ฯ
๑๓. มีพระโลมชาติเสนหนึ่งๆ เกิดในขุมละเสนๆ ฯ
๑๔. มีพระโลมชาติที่มีปลายชอยขึ้นขางบน มีสีเขียว มีสีเหมือนดอกอัญชันขดเปนกุณฑล
ทักษิณาวัฏ ฯ
๑๕. มีพระกายตรงเหมือนกายพรหม ฯ
๑๖. มีพระมังสะเต็มในที่ ๗ สถาน ฯ
๑๗. มีกึ่งพระกายทอนบนเหมือนกึ่งกายทอนหนาของสีหะ ฯ
๑๘. มีระหวางพระอังสะเต็ม ฯ
๑๙. มีปริมณฑลดุจไมนิโครธ วาของพระองคเทากับพระกายของพระองค พระกายของพระองค
เทากับวาของพระองค ฯ
๒๐. มีลําพระศอกลมเทากัน ฯ
๒๑. มีปลายเสนประสาทสําหรับนํารสอาหารอันดี ฯ
๒๒. มีพระหนุดุจคางราชสีห ฯ
๒๓. มีพระทนต ๔๐ ซี่ ฯ
๒๔. มีพระทนตเรียบเสมอกัน ฯ
๒๕. มีพระทนตไมหาง ฯ
๒๖. มีพระทาฐะขาวงาม ฯ
๒๗. มีพระชิวหาใหญ ฯ
๒๘. มีพระสุรเสียงดุจเสียงแหงพรหม ตรัสมีสําเนียงดังนกการวิก ฯ
๒๙. มีพระเนตรดําสนิท (ดําคม) ฯ
๑๒๐

๓๐. มีดวงพระเนตรดุจตาแหงโค ฯ
๓๑. มีพระอุณณาโลมบังเกิด ณ ระหวางแหงขนง มีสีขาวออนควรเปรียบดวยนุน ฯ
๓๒. . มีพระเศียรดุจประดับดวยกรอบพระพักตร ขาแตสมมติเทพ แมการที่พระราชกุมารนี้ มีพระ
เศียรดุจประดับดวยกรอบพระพักตรนี้ ก็เปนมหาปุริสลักษณะของมหาบุรุษนั้น ฯ

(พระสุตตันตปฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค เลม ๑๐ หนา ๑๔ . ๒๕๔๕ : ซีดีรอม)

จะเห็นไดวาในพระไตรปฎก ลักษณะมหาบุรุษบางประการก็
ไดมีการกลาวเปรียบเทียบไวแลว เชน มีพระชงฆรีเรียวดุจแขงเนื้อทราย , มีพระฉวีวรรณดุจวรรณแหง
ทองคําคือมีพระตจะประดุจหุมดวยทอง , มีปริมณฑลดุจไมนิโครธ วาของพระองคเทากับพระกายของ
พระองค พระกายของพระองคเทากับวาของพระองค , มีพระสุรเสียงดุจเสียงแหงพรหม ตรัสมีสําเนียง
ดังนกการวิก , มีพระหนุดุจคางราชสีห เปนตน สวนในวรรณคดีเรื่องพระปฐมสมโพธิกถานี้ไดพรรณนา
เปรียบเทียบพระวรกายสวนอื่นๆ ของพระพุทธเจานอกเหนือจากนั้นดวย เชน ฝาพระบาทและฝาพระ
หัตถดุจตาขายอันชางผูชํานาญถักไวในชองแหงบัญชร , มีพระคุยหะอยูในฝกประดุจฝกบัวทองกําบัง
ไวเหมือนดวยคุยหะที่ลับแหงโคแลกุญชรชาติ , พระหัตถแลฝาพระบาทอันออนนุม ครุวนาดุจปุยสําลี
อันประชีได ๑๐๐ ครั้ง ทั้งนี้เพื่อใหผูอานเกิดจินตนาการถึงความงามของพระพุทธเจาไดชัดเจนขึ้น ดัง
ขอความที่กลาวบรรยายลักษณะมหาบุรุษ ดังสํานวนเปรียบตอไปนี้

สนพระบาท - เปรียบสนพระบาทกับผารัตกัมพล ดังนี้

พระราชกุมารนี้มีสนพระบาทอันยาว... แลสนพระบาทนั้นมีสีแดงงามดุจผารัตกัมพลอันมวน
เขามาแลตั้งไว
(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๖๘ )

นิ้ว – เปรียบนิ้วพระบาทและนิ้วพระหัตถกับนิว้ วานร


หรือแทงหรดาล ดังตอไปนี้

พระราชกุมารนี้มีนิ้วพระบาทแลนิ้วพระหัตถทั้งหลายยาวเรียวดุจนิ้ววานรขางตนใหญแลวเร็วลง
ไปจนปลายนิ้วกลมงามดุจแทงหรดาล อันขยําดวยน้ํามันยางแลวปนเปนอันดี อันนี้จัดเปนพระมหาบุรุษ
ลักษณะคํารบ ๔

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๖๘)


๑๒๑

ฝาพระหัตถและฝาพระบาท – เปรียบกับปุยสําลี และตา


ขาย ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารนี้มีพื้นฝาพระหัตถแลฝาพระบาทอันออนนุม ครุวนาดุจปุยสําลีอันประชีได ๑๐๐


ครั้ง อันนี้จัดเปนพระมหาบุรุษลักษณะคํารบ ๕ …พระราชกุมารมีฝาพระหัตถแลฝาพระบาท อันประดับ
ดวยลายตาขาย ดุจตาขายอันชางผูฉลาดถักไวในชองแหงบัญชร

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๖๙)

ฝาพระบาท – เปรียบกับชาง ดังขอความตอไปนี้

แต พ ระกายท อ นเบื้ อ งต่ํ า ชนทั้ ง ปวงแลเห็ น ฝ า พระบาทอั น ยกย า งไปมาทั้ ง เบื้ อ งหน า
แลเบื้องหลังปรากฏดุจฝาเทาแหงกุญชรชาติ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๖๙)

พระชงค – เปรียบกับเนื้อทราย ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารนี้มีลําพระชงฆอันเรียวดุจเกลียวแหงแขงเนื้อทราย

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๗๐)

พระคุยหะ - เปรียบกับบัว ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารนี้มีพระคุยหะลับอยูในฝกประดุจฝกบัวทองกําบังไวเหมือนดวยคุยหะที่ลับแหงโค
แลกุญชรชาติเปนอาทิ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๗๐)

พระฉวี – เปรียบกับรูปปนทอง ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารนี้มีพระฉวีวรรณอันเหลืองงาม ดังสีทองทั่วทั้งพระกาย ครุวนาดุจรูปทองทั้งแทง

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๑)


๑๒๒

พระโลมา – เปรียบกับดอกอัญชัน ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารนี้มีพระโลมาเกิดขึ้นเฉพาะขุมละเสน จะไดเกิดขึ้นเฉพาะขุมละสองสามเสนดุจชน
ทั้งปวงก็หามิได... อนึ่งพระราชกุมารนี้มีเสนพระโลมาดําสนิทดุจสีดอกอัญชันทั่วทั้งพระสรีรกาย แล
เวียนเปนทักษิณาวัฏได ๓ รอบ แลวมีปลายกลับขึ้นเบื้องบนทั้งสิ้น

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๑)

พระกร – เปรียบกับไทร ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารนี้มีปริมณฑลพระกายบริบูรณพรอมดุจปริมณฑลแหงตนไมไทร อธิบายวา พระกร


ทั้งสองขางเหยียดออกโดยกวาง คือวาของพระองคมีประมาณยาวเทาใดก็วัดไดเทากันกับพระกายซึ่งสูงมี
ประมาณเทานั้น มิไดสั้นยาวกวาดุจสามัญสัตวทั้งหลายอื่นๆ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๓)

พระหนุ – เปรียบกับจันทร ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารนี้มีพระหนุ... เสมือนดวยสัณฐานแหงวงพระจันทรในวันทวาทสีศุกรปกษ
ขึ้น ๑๒ ค่ํา

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กระพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๒๗๖)

พระทนต – เปรียบกับแกววิเชียร ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุ ม ารนี้ มี ร ะเบี ย บพระทนต มิ ไ ด ห า งสนิ ท กั น เป น อั น ดี ดุ จ ระเบี ย บแห ง แก ว วิ เ ชี ย ร


อันตั้งเรียบเรียงระดับไวบนแผนกระดานทอง

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๕)


๑๒๓

พระเนตร – เปรียบกับตาโค ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารนี้มีดวงเนตรทั้ง สองอัน ผองใสงามดุจดวงจักษุแ หง ลูกโคอันคลอดไดป ระมาณ


มุหุตหนึ่ง

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๖)

สีพระเนตร – เปรียบกับดอกสามหาว ดอกกรรณิการ ดอกเซง


ดอกชบา ดาวประกายพรึก และผลประคําดีควาย ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารนี้มีดวงพระเนตรอันดํายิ่งนัก อธิบายวา ในดวงเนตรใชวาจะดําทั้งสิ้นก็หามิได ใน


ที่อันควรจะเขียวก็เขียวบริสุทธิ์ดุจสีดอกสามหาว ที่ควรจะเหลืองก็เหลืองดังสีดอกกรรณิการ ที่ควรจะแดง
ก็ แ ดงดั ง สี ด อกเซ ง แลดอกชบา ที่ ค วรจะขาวก็ ข าวดั ง ดาวประกายพรึ ก ที่ ค วรจะดํ า ก็ ดํ า ดั ง สี ผ ล
ประคําดีควาย

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๗๖)

กระบอกพระเนตร – เปรียบกับสีหบัญชรแกว ดังตอไปนี้

กระบอกพระเนตรนั้นงามดุจสีหบัญชรแกวในสุวรรณวิมานอันเผยอออก

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๖)

ไรพระเกศา – เปรียบกับอุณหิสปฏ ดังขอความตอไปนี้

พื้นพระมังสะนูนขึ้นตั้งแตหมวกพระกรรณเบื้องขวาปกขอบพระนลาฏมาถึงหมวกพระกรรณ
เบื้องซายงามเหมือนอุณหิสปฏคือกระบังหนา

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๗)

พระเศียร – เปรียบกับตอมน้ํา ดังขอความตอไปนี้


๑๒๔

พระเศียรนั้นกลมงามบริบูรณมิไดบกพรอง แลนูนขึ้นเบื้องบนมีสัณฐานดังตอมแหงน้ํา

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๗)

จากการพรรณนาลักษณะมหาบุรุษของพระพุทธเจานี้ แบบ
เปรียบที่นํามาเปรียบบางแบบเหนือจริง เชน สีพระเนตรมีหลากสีดังสีดอกสามหาว ดอกกรรณิการ
ดอกเซง ดอกชบา ดาวประกายพรึก และผลประคําดีควาย , กระบอกพระเนตรดุจสีหบัญชรแกวใน
สุวรรณคูหา , พระการมีความยาวสมดุลกับพระกายราวกับตนไทร เปนตน การเปรียบเทียบที่ดูเกิน
ความจริง ไมสามารถเกิดขึ้นไดก็จริง แตก็เปนความพิเศษที่เพิ่มศรัทธาปสาทะตอลักษณะพิเศษในควร
แกการเคารพนับถือในความยิ่งใหญอันเปนเอกลักษณของพระพุทธองค
ผู นิ พ นธ ใ ช สํ า นวนเปรี ย บพรรณนาถึ ง ความงามของ
พระพุทธเจาเพื่อใหเห็นวาผูที่บําเพ็ญบารมีมาอยางเปยมลนยอมเหนือกวาบุคคลทั่วไปในทุกดาน
รวมทั้งดานความงามดวย นอกจากนั้นพระพุทธเจายังมีลักษณะพิเศษสูงสุด จนไมอาจจะเทียบแบบ
เปรี ย บสามั ญ กั บ ความพิ เ ศษของพระพุ ท ธองค ไ ด คุ ณ ลั ก ษณะอี ก ประการหนึ่ ง พระพุ ท ธเจ า คื อ มี
พระฉัพพรรณรังสีเปลงออกจากพระกาย และมีพระเกตุมาลามีรัศมีเปลงปลั่งอยูเหนือพระเศียรของ
พระพุทธเจา โดยผูนิพนธพรรณนาใหเห็นความงดงามของพระฉัพพรรณรังสีดังขอความตอไปนี้

ในลําดับนั้นพระฉัพพรรณรังสีก็โอภาสแผออกจากพระสรีรกายา อันวานิลประภาก็เขียวสด
เสมอดวยสีแหงดอกอัญชันมิฉะนั้นดุจพื้นแหงเมฆดลและดอกนิลุบลแลปกแหงแมลงภู ผุดออกจากพระ
อังคาพยพในที่อันเขียวแลนไปจับเอาราวปา แลพระรัศมีที่เหลืองนั้น มีครุวนาดุจสีหรดารทองแลดอก
กรรณิการแลกาญจนปฏอันแผไว พระรัศมีออกจากพระสรีรประเทศในที่อันเหลืองแลวแลนไปสูทิศานุทิศ
ตางๆ พระรัศมีที่แดงก็แดงอยางพาลทิพากร แลแกวประพาฬแลกมุทประทุมกุสุมชาติ โอภาสออกจาก
พระสรีรอินทรียในที่อันแดง แลวแลนฉวัดเฉวียนไปในประเทศที่ทั้งปวง พระรัศมีที่ขาวก็ขาวดุจดวงรัช
นิกร แลแกวมณีแลสีสังขแลแผนเงินแลดวงผกาพรึกพุงออกจากพระสรีรประเทศในที่อันขาวแลวแลนไป
ในทิศโดยรอบ พระรัศมีหงสบาทก็พิลาสเลหประดุจสีดอกเซง แลดอกชบา แลดอกหงอนไกออกจากพระ
กรัชกายรุงเรืองจํารัส พระรัศมีประภัสสรประภาครุวนาดุจสีแกวผลึกแลแกวไพฑูรยเลื่อมประพราย ออก
จากพระวรกายแลวแลนไปในทศทิศวิจิตรรุจีโอฬาร และพระฉัพพรรณรังสีทั้ง ๖ ประการ แผไพศาล
แวดลอมไปโดยรอบพระสกลกายินทรียกําหนดที่ ๑๒ ศอกโดยประมาณ อันวาศศิสุริยประภาแลดาราก็
วิกลวิการอับแสงเศราสีดุจหิ่งหอยเหือดสิ้นสูญ มิไดจํารูญไพโรจนโชติชัชวาล

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๙๑)


๑๒๕

เปรี ย บพระเกตุ ม าลาของพระพุ ท ธเจ า กั บ ทอง ดั ง


ขอความตอไปนี้

องคพระผูทรงสวัสดิโสภาคยเสด็จจรมา รุงเรืองดวยพระสิริฉัพพิธมหาทวัตติงสบุรุษลักษณะ
และพระพยามประภาโอภาสเบื้องบน พระอุตตมังคสิริโรตมก็ชวงโชติดวยพระเกตุมาลาครุวนาดุจทองทั้ง
แทงประดับดวยฉัพพรรณรังสีแสงไพโรจนจํารัส

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๒๓๑)

จากการเปรี ย บพระพุท ธเจา กับ เทพผู ยิ่ง ใหญ สง า งามและ


เปรียบกับสิ่งมีคา เชนแกว ทอง พรอมทั้งใหพระพุทธเจามีลักษณะพิเศษตางๆ มากมายนั้น สามารถ
ชวยโนมนาวใหผูอานศรัทธา เลื่อมใสในพระพุทธศาสนามากขึ้น เพราะคุณสมบัติพิเศษที่รวมอยูใน
บุคคลเดียวนั้นไมอาจเกิดขึ้นกับมนุษยทั่วไปได

นอกจากนั้ น การพรรณนาถึ ง พระกายของพระพุ ท ธเจ า ยั ง


ขึ้นอยูกับสถานการณของเรื่องดวย ในตอนที่พระนางยโสธราพิมพามีพระหทัยปวดราวเพราะถูกพระ
สวามีทอดทิ้ง ความรูสึกทุกขพระทัย ระคนกับความอับอายที่ตองเปนหญิงหมาย ทําใหพระนางเห็น
พระพุทธเจาในภาพนักบวชที่แตกตางไปจากภาพของกษัตริยนักรบที่สมบูรณดวยโภคทรัพย พระนาง
จึงทรงเห็นวาพระพุทธองคนั้นไมมีสงาราศีเหมือนเดิม พระเศียรโลน หมผายอมฝาด ถือบาตรขออาหาร
แลดูเสียยศและศักดิ์ศรี และปราศจากเครื่องทรงซึ่งบงบอกถึงยศศักดิ์ตามความคุนชินของพระนางยโส
ธราพิมพาที่ไดเห็นพระองคในฐานะเจาชายสิทธัตถะเทานั้น ดังขอความตอไปนี้

พระลูกเจาสถิตอยูในพระนครนี้ จะเสด็จไปแหงใดก็เคยทรงกุญชรชาติพาชีสีวิกาญจนยานราช
รถ อันปรากฏดวยอดิเรกราชานุภาพมหิมา บัดนี้มาปลงพระโลมัสสุเกศา ทรงนุงหมผายอมฝาด พระหัตถ
ทรงบาตรเสื่อมสูญพระยศศักดาเดช ดุจเพศคนจัณฑาลเที่ยวภิกขาจารทรมานพระองค ไมมีพระภูษา
อาภรณทรงหรือไฉน พระสรีระวิลาสจะแปลกประหลาดเปนประการใดในคราวนี้แท

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๓๐๕)

นอกจากนัน้ เปรียบพระฉวีของพระพุทธองคที่ซูบซีด ดังตอไปนี้


๑๒๖

พระกรัชกายก็ซูบเศราหมองมีครุวนาดุจจันทรเลขาในกาฬปกษจาตุททสีราตรีกาล มิฉะนั้น
เปรียบปานประหนึ่งวาศศิรังษีในฤดูฝนระคนไปดวย ราตรีแหงเมฆพลาหก มิฉะนั้นดุจใบไมอันเหลืองตก
ลงจากขั้ว มิฉะนั้นดุจอุทกวารีอันใสไหลลงในราศีกองถานเพลิงอันรอนก็แหงเหือด พระฉวีวรรณที่ผุดผองก็
เศราหมองวิปริตผิดเผือดเหี่ยวแหง

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๑๑-๓๑๒)

จะเห็นไดวาการพรรณนาพระรูปกายของพระพุทธเจาโดยผาน
ทางความรูสึกอันปวดราวของพระนางยโสธราพิมพาจึงเปนภาพที่ไมงดงามเหมือนกับที่คนทั่วไปมอง
เนื่องจากพระนางยโสธราพิมพายังมียังคงยึดมั่นในอุปทานและยังคงยึดติดอยูกับภาพของเจาชาย
สิทธัตถะ แตเมื่อไดฟงธรรมเทศนาก็เกิดความเขาใจ เกิดปติ มีพระทัยเบิกบาน ความทุกขโศกเศราที่
รุมเรามาถึง ๘ ปนั้นก็หายหมดสิ้นไป

๑.๑.๒ พระอิริยาบถของพระพุทธเจา
ผูนพิ นธใชสํานวนเปรียบในการกลาวถึงพระอิริยาบถของพระพุทธเจา ดัง
ตัวอยางสํานวนเปรียบตอไปนี้

เปรียบทาพระดําเนินกับราชสีห หงส ชาง โค ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารนี้ ประกอบดวยพระอสีตยานุพยัญชนะพระลักษณะนอยอีก ๘๐ ทัศ... พระดําเนิน


งามดุจอาการดําเนินแหงกุญชร พระดําเนินดุจสีหราช พระดําเนินงามดุจดําเนินแหงหงส พระดําเนินงาม
ดุจอุสุภราชดําเนิน

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๗๘)

เปรียบทาพระดําเนินกับเทวดา ดังขอความตอไปนี้

บัดนี้พระราชบุตรแหงพระองคมาเสด็จโคจรบิณฑบาตโดยวิถีในพระนครนี้ดวย เทวลีลาศอันงาม
ดุจดังเทพยดา

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส . ๒๕๓๗ : ๓๐๘ )


๑๒๗

เปรียบทาประทับยืนกับพระยาสีหราช ดังขอความตอไปนี้

เสด็จยืนอยูมีพระอาการองอาจดุจพระยาสีหราชอันอยูบนยอดบรรพตขณะนั้น ทั้งหมื่นโลกธาตุก็
หวาดไหวเกิดโอภาสสวางไปทั่วโลกทั้งปวง บรรดาแกวประดับวิมานแหงภุมเทวยดาแลอาการเทพยดา
ทั้งหลายก็เปลงแสงโอภาสรุงเรืองยิ่งนักทั่วทุกๆ ทิพยวิมาน อันวาพิณ แลเภรีสรรพดุริยดนตรีตางๆ มิไดมี
ผูใดกระทบกระทั่งก็บันลือศัพทสําเนียงออกเอง รัศมีพระจันทรก็โอภาสสวางยิ่งนัก รัศมีพระอาทิตยก็ออน
มิไดรอนเย็นสบาย มหาเมฆก็ตั้งขึ้นในทิศทั้ง ๔ ยังวัสโสทกใหตกลงในที่โดยรอบ ทิศานุทิศทั้งหลายก็
โอภาสสวางยิ่ง นัก แลสรรพบุพ นิมิตปาฏิหาริยมหัศจรรยตางๆ ก็ปรากฏมี ดุจกาลเมื่ อลงสูปฏิสนธิใ น
มาตุครรภนั้น

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๕๖-๕๗)

ผูนิพนธมีการหลากแบบเปรียบเพื่อใหผูอานเกิดจินตภาพที่หลากหลาย
คือ เปรียบทาพระดําเนินและทาประทับยืนกับราชสีห เพื่อแสดงถึงทาพระดําเนินที่องอาจ ผึ่งผาย
เปรียบทาพระดําเนินกับหงส เพื่อแสดงถึงความนุมนวล สงางาม ระเหิดระหง เปรียบทาพระดําเนินกับ
ชา ง เพื่อแสดงถึ ง ความหนัก แนน เนิบ นาบ เปรียบทาพระดํ า เนิน กับโคอุสุภราชซึ่งเปนโคทรงของ
พระอิศวรที่ยางเทาอยางสงางาม และเปรียบทาพระดําเนินของพระพุทธเจากับเทวดา เพื่อแสดงทา
พระดําเนินที่เบาเหมือนลองลอยไป จินตภาพที่เกิดขึ้นเพื่อประมวลอิริยาบถที่องอาจ สงางาม สงบ
นุมนวล และมั่นคงรวมอยูในบุคคลเดียวกัน

๑.๒ บุคลิกลักษณะทางกายภาพของพระนางสิริมหามายา
พระนางสิริมหามายาพระมารดาของพระพุทธเจานับวาเปนตัวละครสําคัญที่ผูนพิ นธมักจะใช
สํานวนเปรียบเมื่อกลาวถึงลักษณะตางๆ ของพระนาง ทั้งพระรูปกาย และพระองคาพยพ ดังหัวขอ
ตอไปนี้

๑.๒.๑ พระรูปกายโดยรวมของพระนางสิริมหามายา
ผูนพิ นธกลาวพรรณนาพระรูปกายโดยรวมของพระนางสิริมหามายา ดัง
ตัวอยางตอไปนี้

เปรียบพระนางสิริมหามายากับเทวราชธิดา ดังขอความตอไปนี้
๑๒๘

พระราชกุมารี อันทรงสถิตบนรัตนขจิตบัลลังก ในทามกลางสภัคมณฑลที่สนามเลน มีพระสิริ


วิลาสเลิศเลหประหนึ่งวาเทวราชธิดาอันแวดลอมดวยอเนกนิกรเทพอัปสรกัญญาในดุสิตเทวพิภพ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๖)

เปรียบพระนางสิริมหามายากับแกวมณีโชติรส ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุ ม ารี อั น ทรงสถิ ต บนรั ต นขจิ ต บั ล ลั ง ก ในท า มกลางสภั ค มณฑลที่ ส นามเล น มี


พระสิริวิลาสเลิศเลห... ดุจดวงแกวมณีโชติรส อันประดิษฐานในทามกลางอเนกมณีทั้งปวง

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๖)

เปรียบพระนางสิริมหามายากับดอกโกกนุท ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุ ม ารี อั น ทรงสถิ ต บนรั ต นขจิ ต บั ล ลั ง ก ในท า มกลางสภั ค มณฑลที่ ส นามเล น มี


พระสิริวิลาสเลิศเลห... ดุจดวงดอกโกกนุทมาลาอันโสภาปรากฏในทามกลางอเนก บุปผชาติทั้งหลาย ใน
คิมหฤดูกาล
(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๖)

เปรียบพระนางสิริมหามายากับจักรพรรดิ ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุ ม ารี อั น ทรงสถิ ต บนรั ต นขจิ ต บั ล ลั ง ก ในท า มกลางสภั ค มณฑลที่ ส นามเล น มี


พระสิ ริ วิ ล าสเลิ ศ เล ห . .. ปานประหนึ่ ง ว า องค บ รมจั ก รพั ต ราธิ ร าช อั น ทรงสถิ ต ในระหว า งแห ง
ขัตติยสามนตทั้ง ๑๐๑ พระองค
(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๖)

เปรียบพระนางสิริมหามายากับหงส ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุ ม ารี อั น ทรงสถิ ต บนรั ต นขจิ ต บั ล ลั ง ก ในท า มกลางสภั ค มณฑลที่ ส นามเล น มี


พระสิริวิลาสเลิศเลห... เหมือนดวยพระยาสุวรรณราชริหงสอันปรากฏในทามกลางแหงหงสอเนกคณาแล
บินรอนราอนิลบถประเทศฐาน

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๖)


๑๒๙

เปรียบพระนางสิริมหามายากับเรือทอง ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารี อันทรงสถิตบนรัตนขจิตบัลลังก ในทามกลางสภัคมณฑลที่สนามเลน มี


พระสิริวิลาสเลิศเลห... ดุจกาญจนนาวาอันลอยอยู ยังทามกลางมหรรณพสาครสมุทร

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๖)

เปรียบพระนางสิริมหามายากับพระอินทร ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารี อันทรงสถิตบนรัตนขจิตบัลลังก ในทามกลางสภัคมณฑลที่สนามเลน มี


พระสิริวิลาสเลิศเลห... ประดุจทาวเทพยวชรินทรอันเสด็จนิสิทนาการ เบื้องบนบัณฑุกัมพลศิลาอาสน
ณ ภายใตตรุราชปาริกฉัตรพฤกษในดาวดึงสเทวโลก แลแวดลอมดวยทวยเทพยคณานิกรบรรษัทเปน
บริวาร

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๖)

เปรียบพระนางสิริมหามายากับดวงจันทร ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารี อันทรงสถิตบนรัตนขจิตบัลลังก ในทามกลางสภัคมณฑลที่สนามเลน มี


พระสิริวิลาสเลิศเลห... เปรียบปานบุรณจันทรอันอเนกนักขัตตดาราแวดลอมเปนบริวาร ในระหวาง
คัคนาดลวิถีทิศทิฆัมพร

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๖)

เปรียบพระนางสิริมหามายากับดวงอาทิตย ดังขอความตอไปนี้

พระราชกุมารี อันทรงสถิตบนรัตนขจิตบัลลังก ในทามกลางสภัคมณฑลที่สนามเลน มี


พระสิริวิลาสเลิศเลห... ดุจดวงประภากรอันมีรัศมีไดเกาแสนสองไพโรจนจํารัส

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๖)

เปรียบพระนางสิริมหามายากับราชสีห ดังขอความตอไปนี้
๑๓๐

พระราชกุ ม ารี อั น ทรงสถิ ต บนรั ต นขจิ ต บั ล ลั ง ก ในท า มกลางสภั ค มณฑลที่ ส นามเล น มี


พระสิริวิลาสเลิศเลห... เทียบทัดพญาไกรสรมฤคินทรราช อันลีลาศออกจากสุวรรณคูหาสถาน

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๖)

เปรียบพระนางสิริมหามายากับเทพอัปสร ดังขอความตอไปนี้

สมเด็จพระบรมนรินทรราชชนกดํารัสใหขาพระพุทธเจาทั้งหลายนี้มาสืบแสวงหานางอันทรง
เบญจกัลยาณี แลอิตถีลักษณะ ๖๔ ประการจะอภิเษกเปนอัครมเหสีพระราชกุมารดนัยปโยรส
ขาพระบาททั้ง ๘ เที่ยวบทจรแสวงหาพิจารณาในอุตตมวงศแลหินพงศทั้งหลายทั่วทั้งแปดหมื่นสี่พัน
พระนครก็บมิพบพาน มาจนถึงนครสถานที่นี้ไดเห็นพระแมเจาผูทรงศรีสุนทรลักษณลวงเสียซึ่งสตรี
ในนุษยโลกหามิเสมอได ดุจเทพอัปสรกัญญา ทั้งรุงเรืองดวยพระบวรวงศาประเสริฐกวาสรรพอเนกนารี

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๑๙)

จะเห็นไดวา แบบเปรียบที่นาํ มาเปรียบเทียบกับพระนางสิริมหามายานัน้ ลวน


แตเปนสิ่งที่สูงสง และมีคา มาก แบบเปรียบที่เปนบุคคล เชน เทวราชธิดา พระอินทร เทพอัปสร ซึง่
บุคคลเหลานีล้ วนเปนผูยงิ่ ใหญบนสรวงสวรรค หรือแบบเปรียบที่เปนสิ่งมีคา เชน กาญจนนาวา ,
แกวมณีโชติรส เปนตน เนื่องจากพระนางสิรมิ หามายามีลักษณะที่สมกับพระเจาสิริสุทโธทนะ ดังนัน้
ผูนิพนธจงึ เปรียบเทียบความงามของพระนางกับเทพผูส ูงศักดิ์ เพื่อแสดงความงามอันโดดเดนเหนือ
สตรีทั้งปวง มีทาเดินที่สงางามอยางหงส สัตวที่เกิดในตระกูลสูง มีเสียงอันไพเราะเหมือนพระพรหม
เทพผูย ิ่งใหญ จากการใชสํานวนเปรียบนีท้ ําใหผูอานเกิดจินตภาพของพระนางสิริมหามายาวามีความ
งดงาม มีความดีพรอมทัง้ รูปสมบัติและคุณสมบัติเหมาะสมที่จะเปนมเหสีของพระเจาสิริสุทโธทนะและ
เปนพระมารดาของพระพุทธเจาผูเปนศาสดาเอกของโลก

๑.๒.๒ พระรูปกายเฉพาะสวนของพระนางสิริมหามายา
สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรสทรงพรรณนาความงามของ
พระองคาพยพ ของพระนางสิริมหามายาโดยเปรียบเทียบกับแบบเปรียบ ดังตอไปนี้
๑๓๑

เปรียบพระพักตร กับ แวนแกว ดังขอความตอไปนี้

บัดนี้ก็ทรงพระเจริญรุนดรุณวัยได ๑๖ พรรษา พระพักตรผองโสภาพรรณพิลาสเลหประดุจแวน


แกว

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ :๑๙)

เปรียบพระโอษฐ กับ ผลมะพลับทอง ดังขอความตอไปนี้

พระบวรโอษฐแหงพระสิริมหามายาราชบุตรี มีพรรณอันแดงดุจสีผลมะพลับทองอันสุกสด

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๘)

เปรียบพระทนต กับ แกววิเชียร ดังขอความตอไปนี้

แลพระทนตก็งามปรากฏกลระเบียบวิเชียรรัตนประภัสโอภาส

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๘)

เปรียบพระรัศมี กับ น้าํ ทอง ดังขอความตอไปนี้

พระรัศมีก็โอภาสออกจากพระกายทั่วทุกขุมพระโลมา ปรากฏเหมือนดุจรดไปดวย สุวัณโณทก


ธาราไพโรจนจํารัส แลบริบูรณดวยอิริยาบถอันสํารวมเปนอันดี แลรุงเรืองดวยพระสิริขันธพรรณโสภาคย

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๑๗)

เปรียบพระสุรเสียง กับ พระพรหม ดังตัวอยางตอไปนี้

พระสุ ร ศั พ ท สํ า นวนมธุ ร สารเสนาะ ดุ จ สํ า เนี ย งแห ง ท า วมหาพรหมอั น เพราะพร อ มไปด ว ย


องค ๘ ประการ มิดังนั้น กรวิโก วิย เปรียบปานประดุจเสียงสกุณการเวก แลเสียงขับแหงสกุณกินรี

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๘)


๑๓๒

เปรียบพระครรภ กับ กุฏิ และบาตร ดังขอความตอไปนี้

อนึ่งพระครรถอันเปนที่สถิตแหงพระมหาบุรุษเหมือนกุฎิอันใสไวซึ่งพระเจดีย บมิควรที่สัตวอื่น
จะมาบังเกิดรวมในที่นั้นสืบไป อนึ่ง พระพุทธมารดาก็ไมควรจะตั้งอยูในที่ อัครมเหสีอันรวมรสสังสาร
กับบุรุษสืบไป เหตุดังนั้นจึงทิวงคตและพระสิริมหามายาทรงครรภพระโพธิสัตวอยูถวนทศมาส ครุวนาดุจ
บาตรอันรองไวซึ่งน้ํามันมิไดมีพระกายลําบาก

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๕๒)

พระองคาพยพที่ผนู ิพนธทรงพรรณนาโดยใชสาํ นวนเปรียบคือ พระพักตร


พระโอษฐ พระทนต และพระรัศมี แบบเปรียบที่ใชสามารถสื่อใหเห็นถึงความงดงามของพระนางไดเปน
อยางดี คือ น้าํ ทอง มะพลับทอง แกววิเชียร และแวนแกว รวมทัง้ ยังสือ่ ถึงความสูงสงของพระนางอีก
ดวย นอกจากนั้นการเปรียบเทียบพระสุรเสียงของพระนางสิริมหามายากับพระพรหม ยังแสดงถึง
พระสุรเสียงอันไพเราะพรอมไปดวยองค ๘ ประการ
นอกจากนัน้ ผูนพิ นธไดเปรียบเทียบพระครรภของพระนางสิริมหามายาวา
เหมือนกุฏิที่สรางเพื่อบรรจุพระเจดีย และบาตรพระซึง่ เปนภาชนะมีลักษณะโคงมน ใชสาํ หรับใสอาหาร
บิณฑบาตของพระภิกษุสงฆที่รองไวดวยน้ํามัน ทําใหพระนางสิริมหามายาเวลาทีเ่ คลื่อนไหวไมรสู ึก
หนัก หรืออุยอาย เมื่อบุตรในครรภเติบใหญขึ้นเหมือนหญิงมีครรภทั่วไป นอกจากนัน้ เมื่อพระนาง
สิริมหามายาประสูติพระพุทธเจาได ๗ วัน พระนางก็สนิ้ พระชนม และไดบังเกิดในสวรรคชั้นดุสิต
จะเห็นไดวา ไมวาพระนางสิริมหามายาจะอยูในสถานภาพใด ทั้งเปนพระราช
ธิดาของพระชนาธิปราชแหงกรุงเทวทหะ เปนอัครมเหสีพระเจาสิริสทุ โธทนะ และเปนพระมารดาของ
พระพุทธเจามีคุณลักษณะอันประเสริฐ พรอมดวยบารมี ความงาม ความมีสงาราศีจงึ เหมาะสมอยาง
ยิ่งที่จะเปนพุทธมารดา

๑.๓ บุคลิกลักษณะทางกายภาพของมาร
ผูนิพนธใชสํานวนเปรียบพรรณนารูปกายและอาการและการเคลื่อนไหวของมาร ตาม
หัวขอตอไปนี้

๑.๓.๑ รูปกายของมาร
ผูนพิ นธทรงบรรยายความอัปลักษณของมารเพื่อใหผูอา นเห็นความนาเกลียด
นากลัว นาขยะแขยงของเหลาตัวมารที่จะมาขัดขวางการบําเพ็ญเพียรของพระโพธิสตั ว ดังขอความตอไปนี้
๑๓๓

ตัวมารโยธาแตละคนๆพื้นพิกลนานา ตาเหลือกเหลืองแลเขี้ยวโงงออกนอกปาก หนาผากเถิกคิ้ว


ขมวดคอมคด หนวดปรากฏดุจลวดทองแดงแข็งกระดาง รูปรางดุรายกาจหยาบชาหนาแสยะ ผมหยิก
สยองมวนทบดุจกอนหอยเปนกลุมกลม เล็บทั้งใหญทั้งคมทั้งแหลมเลหหลาวยาวโงงทุกๆ คน แตละคนๆ
ลวนมีมือสรรพศาสตราวุธหลากหลายมีกายสูงคาพยุตหนึ่งหนึ่งบาง ๓ คาพยุตบางกึ่งโยชนบาง โยชนหนึ่ง
บาง ๒ โยชนบาง ๓ โยชนก็มีบาง

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗:๑๕๕ - ๑๕๖)

ผูนพิ นธบรรยายลักษณะอันอัปลักษณของตัวมารวา มารแตละตนนั้นมี


ลักษณะแปลกประหลาดแตกตางกันออกไป เชน ตาเหลือกเหลือง เขี้ยวยาวโงงโผลออกมานอกปาก
หนาผากเถิก คิ้วขมวด หนวดแข็ง หนาแสยะ ผมหยิก เล็บใหญ คม ยาว โดยผูน ิพนธเปรียบเทียบ
หนวดของมารวาแข็งกระดางเหมือนกับลวดทองแดง แสดงถึงหนวดวาเปนเสนสีแดงที่มีลักษณะแข็ง
กระดาง ไมเปนระเบียบ ดูนา กลัว นอกจากนัน้ ยังเปรียบเทียบเล็บเหมือนกับหลาว แสดงถึงเล็บที่ใหญ
ยาว และแหลมคม พรอมทีจ่ ะทําลายสิง่ ทีม่ ากีดขวาง จะเห็นวาแบบเปรียบทั้งลวดทองแดงและเหล็ก
หลาวลวนเปนแรธาตุที่มีคาต่ําเมื่อเทียบกับแรธาตุชนิดอื่นๆ
นอกจากนัน้ ขอความตอนที่เปรียบกําลังของพระยามารทีไ่ มอาจจะ
เทียบเคียงกับกําลังแหงบุญบารมีของพระพุทธเจาจนกองทัพของพระยามารดูราวกับเปนเพียงขาทาส
ของพระพุทธองคเทานัน้ ดังขอความตอไปนี้

ดูกอนพระยามาราธิราชตัวทานมิไดรูซึ่งตนวา มีกําลังนอยดุจเปนทาสชวงใชแหงอาตมา แล
อาตมานี้ถึงซึ่งบารมีธรรมแตผูเดียวเปนอนัญญสาธารณ มิไดทั่วไปแกบุคคลผูอื่น

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๖๔)

จะเห็นไดวา พระพุทธเจาผูบาํ เพ็ญบารมีธรรมอยางลึกซึ้ง สามารถละกิเลส


ไดหมดทุกอยางแลว ยอมชนะมารผูลุมหลงมัวเมาอยูในกิเลส อิจฉาริษยา หรืออีกนัยหนึง่ มารนัน้ ก็คือ
กิเลสที่ยงั มีอยูใ นจิตใจมนุษยยากที่จะขจัดออกไปได ดังนัน้ พระยามารแมจะมีอํานาจยิ่งใหญเพียงใด
เมื่อเปรียบเทียบกับกําลังแหงบุญบารมีของพระพุทธองคแลว อํานาจนั้นดูเล็กนอยไมอาจจะเอาชนะ
พระพุทธองคไดเลย เมื่อพระพุทธเจาสามารถปราบมารไดก็คือประหารเสียซึ่งกิเลสทัง้ ปวง พระพุทธเจา
จึงไดตรัสรูและหลุดพนจากความทุกขทงั้ ปวงอันไดแก การเกิด แก เจ็บ ตาย พระพุทธเจาจึงเปนผูที่
ยิ่งใหญกวาเทพใดใด
๑๓๔

๑.๓.๒ อาการและการเคลื่อนไหวของมาร
ผูน ิพนธใชสํานวนเปรียบในการกลาวถึงอาการการเคลื่อนไหวอันนารังเกียจ
ของมาร ผูน ิพนธยงั เปรียบเทียบอาการเขาทํารายของพระยามารและกองทัพกับอาการกรูเขาไปตอม
อาหารของแมลงวัน ซึง่ เปนสัตวที่สกปรก มีเชื้อโรคมากมาย ดังขอความตอไปนี้

สวนพระยามารผูใจบาป ยกพลเสนามารก็มิอาจเขาไปใกลโพธิมณฑลไดก็ยับยั้งอยูแตที่อัน
ไกล เมื่อ พระยามารมาไดทั ศ นาการโยธาแหง ตนย น ยอ อยูดัง นั้น ก็รอ งประกาศสํา ทั บ ขับ มารโยธา
ทั้งหลาย ใหเขาแวดลอมโพธิมณฑลสถานปานประหนึ่งวา หมูแมลงวันอันจะบินเขาตอมกอนเหล็กแดง
อันรุงโรจน รอนดวยเปลวเพลิงมิอาจสามารถเขาไปใกลได

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๑๕๗)

ผูนิพนธใชแบบเปรียบที่เปนสิ่งสกปรก นากลัว คือ แมลงวัน เพื่อแสดงใหเห็น


วามารนัน้ เปนบุคคลที่นารังเกียจ นาขยะแขยง เปนบุคคลมีกิริยาเลวทราม เทียบไดกบั ผูที่มีกิเลสหนา
ยังลุมหลงมัวเมาอยูกับรัก โลภ โกรธ หลง ตองการความเปนใหญ จึงมากอกวนพระโพธิสัตวไมให
บําเพ็ญเพียรและตรัสรูได
สังเกตไดวา ตัวละครทั้งสามที่ผูนพิ นธมักพรรณนาดวยสํานวนเปรียบนี้
สามารถแยกออกไดเปนสองฝาย คือ ตัวละครฝายดี และตัวละครฝายไมดี ตัวละครฝายดี คือ
พระพุทธเจา และพระนางสิริมหามายา สวนตัวละครฝายไมดีคือ มาร โดยผูนพิ นธพรรณนาตัวละคร
ฝายดีสื่อความคิดใหผูอานเห็นวาทั้งสองพระองคเปนผูท ี่ถงึ พรอมดวยบุญบารมีอันเปนลักษณะพิเศษ
มีความดีเลิศประเสริฐ มีทงั้ เปรียบกับสิ่งทีเ่ หนือจริง และเปรียบกับสิ่งทีส่ ามารถเกิดขึ้นไดจริง ทําให
ผูอานเกิดจินตภาพตามไปดวย
สวนตัวละครฝายไมดี ผูน ิพนธพรรณนาใหเห็นถึงความนาเกลียด นากลัว
นาขยะแขยง เพื่อใหเกิดความรังเกียจ ชังชิงและกําลังรุนแรงของความชั่วที่มนุษยจะตองตอสูเอาชนะ
ใหได การมีตวั ละครมารขึ้นมาเปนภาพเทียบใหพระพุทธเจาซึ่งเปนฝายดีมีความพิเศษเหนือมนุษย
มีลักษณะที่หาที่เปรียบไดอกี แลว

๒. การใชสํานวนเปรียบแสดงอารมณ ความรูสึก
อารมณความรูสึกเปนสิ่งที่เปนนามธรรม เชน อารมณรัก อารมณโกรธ ความรูสึกยินดี ดีใจ
เปนตน ผูอานที่จินตนาการตามอารมณความรูสึกของตัวละครในเรื่องจะเขาใจความเปรียบนั้นได
๑๓๕

ชัดเจนขึ้น ดังจะเห็นไดวา ผูนิพนธมักจะนําอารมณความรูสึกที่ตองการสื่อนั้นมาเปรียบเทียบกับสิ่งที่


เปนรูปธรรม เพื่อใหผูอานเขาใจความรูสึกนั้นๆ ไดดียิ่งขึ้น ดังตัวอยางตอไปนี้

เปรียบความรูสึกยินดี มีความสุขของนางปชาบดีโคตมีเมื่อไดฟงธรรม เหมือนกับ การได


อาบน้ํา สระผม และทาดวยเครื่องหอมนานา ดังขอความตอไปนี้

พระมหาประชาบดีก็รับพุทโธวาทมี พระทัยประสาทเลื่อมใสโสมนัส ตรัสแกพระอานนทวา ขาแต


พระผูเปนเจามีความยินดี ดุจบุรุษอันไดอาบน้ําชําระเกลาแลวไดซึ่งคันธบุปผชาติ คือดอกอุบลแลดอก
มะลิก็ดี

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๗๓)

การอาบน้ํา สระผม กอใหเกิดความรูสึกเบาสบายตัวที่ไดลางสิ่งสกปรกออกจากรางกาย


ไมวาจะเปนเหงื่อไคล หรือฝุนละอองที่หมักหมมอยูตามรางกาย ผูนิพนธใชความรูสึกสบายตัว สดชื่น
เปรียบเทียบกับนางปชาบดีที่ไดฟงธรรมชําระลางจิตใจใหสะอาด จนสามารถตัดกิเลสออกจากจิตใจ
และเกิดความรูสึกยินดีตอผลจากการฟงธรรมนั้นอยางยิ่ง ผูนิพนธใชความสะอาดทางรางกาย เปนสื่อ
เปรียบเทียบกับความรูสึกยินดีและมีจิตใจสะอาด

เปรียบความรูสึกเสียพระทัยของพระนางยโสธราพิมพาที่ไดยินเรื่องราวที่เสียดแทงพระทัย
เหมือนกับ มีผูนําเอาเหล็กหลาวมาแทงพระกรรณ ดังขอความวา

พระสรีรกายนั้นเหี่ยวแหง... บัดนี้ทําลายพระชนมชีพลมลงอยูในที่สุดแหงที่จงกรม เมื่อขา


พระองคไดสดับดุจมีผูนําเอาหลาวเหล็กมาแทงในชองโสตทั้งสอง

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๑๐)

ผูนิพนธไดเลือกนํากิริยาถูกเหล็กหลาวแทงหูมาเปนแบบเปรียบเพื่อใหผูอานเกิดความรูส กึ
เจ็บปวดเสียดแทงพระทัยที่ไดยินเรื่องราวที่ไมพึงปรารถนา เปนเนื้อความตอนที่พระนางยโสธราพิมพา
ไดสดับวาพระพุทธเจาเสด็จมาบิณฑบาต มีพระกายซูบผอมลงมาก ผูนิพนธเปรียบเทียบความรูสึก
เจ็บปวดทางกายกับความทุกขความปวดราวทางจิตใจ ทําใหผูอานเขาใจความรูสึกของพระนางยโส
ธราพิมพาไดลึกซึ้งขึ้น
๑๓๖

เปรียบความรักที่แมมีตอลูกอันเปนบุคคลสําคัญ เหมือนกับแกวตาดวงใจ ดังขอความวา

แมรักเจาเสมือนนัยเนตรแลดวงหฤทัย

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๓๓๐)

ผูนิพนธนําแกวตา และดวงใจอันเปนอวัยวะสําคัญ มาเปรียบเทียบกับลูกอันเปนบุคคล


สําคัญในชีวิตแมเพื่อใหเห็นความรัก ความผูกพันของแมที่มีตอลูกที่ไมสามารถตัดขาดจากกันไดเลย

เปรียบความรูสึกพะอืดพะอมของพระโพธิสัตวที่ตองเสวยอาหารคาวหวานที่ใสรวม ๆ กัน
มา เหมือนกับลําไสจะกลับออกทางพระโอษฐ ดังขอความวา

ทรงพิ จ ารณาภั ต ตาหารในบาตรด ว ยปฏิ กู ล สั ญ ญา ในขณะนั้ น ก็ บั ง เกิ ด ปฏิ กู ล ยิ่ ง นั้ น ปาน
ประหนึ่งวาลําไสใหญจะกลับออกทางพระโอษฐเหตุพระองคเคยเสวยประณีตโภชนาหาร... มิไดเคยทรง
โภชนาการซึ่งมิสกาหารดังนั้น จึงบังเกิดปฏิกูลเปนอันมาก

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗: ๑๒๗)

ผูนิพนธใชอาการลําไสจะกลับออกมาจาพระโอษฐของพระพุทธเจาเพื่อสื่อถึงพระพุทธเจา
วาทรงรูสึกพะอืดพะอมอยากอาเจียนเพียงใด ทําใหผูอานเขาใจความรูสึกของพระพุทธเจาขณะนั้นได
ชัดเจนขึ้น

เปรียบความรูสึกสูญเสียบุคคลผูทรงคุณอันยิ่งใหญ กับ ไฟที่มีกําลังขนาดสองแสงใหแก


โลกทั้งโลกสวาง ไดกําลังจะดับลง ดังขอความวา

พระสุคตจักปรินิพพานในกาลอันพลัน อันวาประทีปแกวสองโลก จะพลันดับสูญอันตรธาน

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๔๘๘)

ผูนิพนธใชความมืดจากไฟที่จะดับลงสื่อถึงความรูสึกเศราอันเนื่องมาจากการสูญเสีย
อยางใหญหลวงเมื่อพระพุทธเจาเสด็จดับขันธปรินิพพาน เพราะความมืด เปนสิ่งที่สื่อถึงบรรยากาศที่
เศราหมอง
๑๓๗

เปรียบอารมณโกรธของพระยามาร กับ ไฟ ดังขอความวา

สวนพระยามารธิราช เมื่อไดทัศนาการพระมหาบุรุษทรงสถิตโดยปกติอาการ มิไดหวั่นไหวแตภัย


พิลึก เห็นปานดังนั้น ก็ยังมีความพิโรธเปนกําลัง พระเนตรแดงดังอัคนีกาฬ จึงรองประกาศแกหมูมารโยธา
หาญดวยผรุสคําสํารากรายวา ทานทั้งหลายจงเริ่มเขาไปดวนๆ ชวนกันกลุมรุมฟนแทง ทุบตีเขนฆาพระ
สิทธัตถะราชกุมารกาลบัดนี้

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗:๑๘๖)

ผูนิพนธเปรียบเทียบความโกรธจัดจนตาแดงเหมือนกับไฟทีม่ ีอํานาจสูง มีประสิทธิภาพ


เผาผลาญทําลายทุกอยาง

จะเห็นไดวา ผูนิพนธใชแบบเปรียบเปนรูปธรรมที่สามารถสื่อถึงความรูสึกและอารมณได
อยางลึกซึ้ง แบบเปรียบที่ผูนิพนธนํามาใชเปนแบบเปรียบที่รูจักกันดี ทําใหผูอานเกิดจินตภาพ เกิด
อารมณสะเทือนใจมากขึ้นเมื่อมีการใชสํานวนเปรียบแสดงอารมณความรูสึก

๓. การใชสํานวนเปรียบแสดงฉาก และบรรยากาศ
การใชสํานวนเปรียบแสดงฉาก เชน ธรรมชาติ เมือง ปราสาทราชวัง เพื่อใหผูอา น
จินตนาการเห็นภาพของฉากนัน้ ไดชัดเจนขึ้น ดังตัวอยางตอไปนี้

เปรียบกรุงกบิลพัสดุกับเทวนคร ดังขอความตอไปนี้

อยูมา ณ วันหนึ่งถึงวันวัปปมงคลการแรกนาขวัญ สมเด็จบรมกษัตริยใหตกแตงประดับพระนคร


กบิลพัสดุทั่วทั้งปวงเหมือนดุจเทวนคร

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๘๕)

เปรียบกรุงกบิลพัสดุ กับ เมืองเทวดา และเมืองในอุตรกุรุทวีป ดังขอความตอไปนี้

อันวาราชธานีอันมีนามบัญญัติคือกบิลพัสดุมหานครอลังกรณดวยอเนกนานาปริโภคภิรมณ
สําราญปานประดุจเทพธานี มิฉะนั้นเปรียบประดุจบุรีในอุตรกุรุทวีป วิจิตรดวยเชิงเทินและปราการซุม
ทวารปอมคาย
๑๓๘

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๒๙๖)

เปรียบพระราชอุทยานในกรุงกบิลพัสดุ กับ สวนทิพยจิตรลดาบนสวรรคชั้นดาวดึงส


ดังขอความตอไปนี้

แลสมเด็จพระมหาสัตวเสด็จเที่ยวประพาสทั่วอุทยานบริเวณอันเปนที่รมณียฐาน ปานประหนึ่ง
วาทิพยจิตรลดาในชั้นดาวดึงสเทวพิภพเดียรดาษดวยดรุณรุกขชาติทั้งหลายตางๆ

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๙๙)

เปรียบเสนทางไปกรุงกบิลพัสดุ กับ สวนทิพยนันทวันอุทยานบนสวรรคชั้นดาวดึงส


ดังขอความตอไปนี้

อนึ่งรุกขชาติทั้งหลายวิจิตรไปดวยยอดอันแดงออกใหมมีพรรณอันแดงประดับไปดวยใบระบัด
ออนทุกกิ่งกาน ปานประหนึ่งวารัตนมณฑปอันปกปอง ณ เบื้องบนสถลมารค ทั้งสองขางอรัญวิถีก็มีพฤกษ
ชาติทั้งหลายหลาก ลวนทรงกุสุมชาติอันเบงบานหอมระรื่นรสสุคันธาควรเจริญใจ บางก็ทรงผลดิบหามสุก
ไสวอเนกประการ ลวนผลาหารอันกอปรดวยโอชารสควรบริโภคบรรเทาเสียซึ่งความอยากรํางับกระวน
กระวาย... ทั้งสถลแถวทางก็ราบรื่นดุจแสรงสรางประดิษฐตกแตงเสมอเปนอันดีในบริเวณวนาลีก็แสนสุข
สนุกสําราญ ดุจทิพยนันทวันอุทยานสวนสวรรคอันวิจิตรนานาทุมาชาติลวนทรงกุสุมภเสาวคนธสะอาด
ควรจะอภิรมย

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๒๙๓ - ๒๙๔)


๑๓๙

จากตัวอยางขางตนนี้ เปนการเปรียบเทียบกรุงกบิลพัสดุกับ สถานที่บนสวรรคทั้งสิน้ คือ


ผูนิพนธใชแบบเปรียบวา เทวนคร , เทพธานี , อุตรกุรทุ วีป และ สวนจิตรลดาในสวรรคชั้นดาวดึงส ทัง้ นี้
เพราะตามความเชื่อของคนเชื่อวาสวรรคเปนดินแดนที่สวยงาม เปนดินแดนที่อุดมสมบูรณ ผูที่อยูบ น
สวรรคจะเปยมลนไปดวยความสุข จากการใชแบบเปรียบเปนสถานที่บนสวรรคนชี้ ว ยใหรายละเอียดใน
สถานทีท่ ี่ผูนพิ นธตองการสื่อไดละเอียดขึ้น ทําใหผูอานสรางภาพของฉากหรือสถานที่ที่ผนู ิพนธตองการ
สื่อไดชัดเจนมากขึ้น รวมทั้งรูสึกถึงบรรยากาศในสถานที่นนั้ ไดดียิ่งขึน้ อีกดวย นอกจากนั้นการ
พรรณนาธรรมชาติในเนื้อหาตอนทีพ่ ระพุทธเจาเสด็จผานเพื่อไปแสดงธรรม และเยีย่ มพระญาติ ณ กรุง
กบิลพัสดุ หนทางทีพ่ ระพุทธเจาเสด็จผานไปนัน้ ก็ลวนแตเปนสถานที่ทงี่ ดงามและรมรื่น ราวกับสวน
ทิพยนันทวันอุทยานบนสวรรคชั้นดาวดึงส
การใชสาํ นวนเปรียบแสดงฉากธรรมชาติ เมือง ปราสาทราชวัง ทําใหผูอานจินตนาการถึง
สถานทีท่ ี่ผูนพิ นธตองการสื่อไดชัดเจนขึ้น การใชแบบเปรียบของผูนพิ นธก็เปนสถานทีท่ ี่ผูอานสามารถ
จินตนาการตามได
นอกจากนั้นผูน ิพนธยังไดแทรกสํานวนเปรียบเขาไปในเนื้อเรื่องเพื่อแสดงบรรยากาศ ดังที่
สายทิพย นุกลู กิจ ไดใหความหมายของ “บรรยากาศ” ไววาหมายถึงทาทีหรือทัศนคติของผูอานที่มีตอ
สิ่งใดสิ่งหนึง่ ตามแตผูแตงจะชักพาไป เชน เศราหมอง ครื้นเครง กราดเกรี้ยว ขมขืน่ เยาะหยัน หรือ
ขบขัน เปนตน (สายทิพย นุกูลกิจ. ๒๕๓๙ : ๑๑๒) ตัวอยางขอความที่ผูนพิ นธแทรกสํานวนเปรียบไวใน
การบรรยายบรรยากาศมีดงั ตอไปนี้

ขอความตอนที่พระพุทธเจาประสูติ ดังขอความตอไปนี้

สมเด็จพระมหาสัตวทอดพระเนตรไปฝายปาจีนทิศ เห็นเทพยดาในพันจักรวาฬเปนอันมาก
มาสโมสรสันนิบาตในลานอันเดียว แลเทพามนุษยทั้งปวงกระทําการสักการบูชาดวยบุปผชาติตางๆ ตั้ง
บนเศียรเกลาแลวกลาววา ขาแตพระมหาบุรุษ บุคคลในโลกนี้ที่จะเสมอดวยพระองคมิไดมี จะมีผู
ประเสริฐกวาพระองคแตที่ใดเลา และเทพยดามนุษยในทิศทั้ง ๓ ก็กระทําสักการบูชาแลกลาววาจาดุจ
นั้นแลพระโพธิสัตวทอดพระเนตรไปทั้ง ๑๐ ทิศ มิไดเห็นผูใดผูหนึ่งซึ่งจะเสมอดวยพระองค จึงบาย
พระพักตรไปขางทิศอุดรแลวยางพระบาทไป ๗ กาว บนพื้นแผนทอง อันทาวจตุโลกบาลถือรองรับ แลว
หยุดยืนบนทิพยปทุมชาติมีกลีบได ๑๐๐ กลีบ จึงเปลงพระสุรเสียงอันไพเราะดุจเสียงมหาพรหม กอปร
ดวยองค ๘ ประการ ดํารัสอาภิสวาจาดวยพระคาถา... อธิบายความวา อาตมานี้ประเสริฐยิ่งใหญในโลก
หา ผูประเสริฐเสมอมิได แลชาตินี้เปนชาติสุดทายของอาตมา … เสด็จยืนอยูมีพระอาการองอาจดุจพระ
ยาสีหราชอันอยูบนยอดบรรพตขณะนั้น ทั้งหมื่นโลกธาตุก็หวาดไหวเกิดโอภาสสวางไปทั่วโลกทั้งปวง
บรรดาแกวประดับวิมานแหงภุมเทวยดาแลอาการเทพยดาทั้งหลายก็เปลงแสงโอภาสรุงเรืองยิ่งนัก
ทั่วทุกๆ ทิพยวิมาน อันวาพิณ แลเภรีสรรพดุริยดนตรีตางๆ มิไดมีผูใดกระทบกระทั่งก็บันลือศัพทสําเนียง
๑๔๐

ออกเอง รัศมีพระจันทรก็โอภาสสวางยิ่งนัก รัศมีพระอาทิตยก็ออนมิไดรอนเย็นสบาย มหาเมฆก็ตั้งขึ้น


ในทิศทั้ง ๔ ยังวัสโสทกใหตกลงในที่โดยรอบ ทิศานุทิศทั้งหลายก็โอภาสสวางยิ่งนัก แลสรรพบุพนิมิต
ปาฏิหาริยมหัศจรรยตางๆ ก็ปรากฏมีดุจกาลเมื่อลงสูปฏิสนธิในมาตุครรภนั้น

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๕๖-๕๗)

ตอนที่พระพุทธเจาประสูตินี้ไดเกิดสิ่งมหัศจรรยขึ้นหลายอยาง สิ่งมหัศจรรยทเี่ กิดขึน้ ในวัน


ประสูติของพระพุทธเจานั้น ทําใหเห็นภาพของความพิเศษ ความมีบุญญาบารมีของพระพุทธเจาโดย
ใชเหตุการณที่เทวดาในจักรวาฬมาสักการะบูชาเมื่อพระพุทธเจาประสูติ รวมทั้งแทรกสํานวนเปรียบ
เพื่อแสดงถึงพระอิริยาบถอันองอาจดุจราชสีห พรอมทั้งพระสุรเสียงที่ไพเราะดังเสียงพระพรหม การ
แทรกสํานวนเปรียบเขาไปนี้ทําใหผูอานรูสึกวาประสูติการของเจาชายสิทธัตถะนั้นมีความยิ่งใหญ
เหนือมนุษยธรรมดาทั่วไป เหนือกวาเทพใดใด แมเทวดายังตองมาสักการะบูชา
นอกจากนั้ น ข อ ความตอนที่ เ จ า ชายสิ ท ธั ต ถะอภิ เ ษกกั บ พระนางยโสธราพิ ม พา และ
ประทั บ อยู ณ มหาปราสาท ๓ องค ที่ พ ระเจ า สิ ริ สุ ท โธทนะรั บ สั่ ง ให ส ร า งขึ้ น เพื่ อ อํ า นวยความ
สะดวกสบายของเจาชายสิทธัตถะและพระนางยโสธราพิมพาใหสามารถประทับไดอยางสบายไมวาจะ
ฤดูกาลใด มหาปราสาท ๓ องค ประกอบไปดวย รมยปราสาท เปนปราสาทสําหรับฤดูหนาว มี ๙ ชั้น,
สุรมปราสาท เปนปราสาทสําหรับฤดูรอน มี ๕ ชั้น และสุขปราสาท เปนปราสาทสําหรับฤดูฝน มี ๗ ชั้น
พรอมทั้งมีนางกํานัลมากมายคอยรับใช ผูนิพนธไดบรรยายความยิ่งใหญและความสุขสบายของทั้ง
สองพระองคที่ไดครองราชสมบัติโดยเปรียบเทียบกับเทพผูยิ่งใหญบนสรวงสวรรค คือพระอินทร เทพ
สูงสุดบนสวรรคชั้นดาวดึงส ผูนิพนธไดแทรกสํานวนเปรียบในการบรรยายฉากพระราชพิธีอภิเษกสมรส
ดังขอความตอไปนี้

สมเด็จบรมกษัตริยก็ราชาภิเษกพระมหาบุรุษ ใหเสวยราชสมบัติตั้งพระพิมพาเทวีเปนองคพระ
อัครมเหสี และมหาสัตวแวดลอมดวยอเนกขัตติยราชนารีเปนบริวารปานประหนึ่งวาสมเด็จวัชรินทรเทวราช
อันมีนางเทพอัปสรกัญญาเปนบริวาร กาลเมื่อเหมันตฤดูก็แวดลอมดวยขัตติยคณานาง อันประโคมขาน
เบญจาสังคีตเวนจากบุรุษ เสด็จขึ้นสถิตเบื้องบนปราสาทมีพื้นได ๙ ชั้น นางพนักงานทั้งหลายก็ถวายซึ่ง
ปณีตโภชนาหารแลสุขุมวัตถาลังการตางๆ อันสมควรแกฤดูหนาว แลเสด็จในปราสาทนั้น ๔ เดือนสิ้นเห
มันตฤดูแลวลวงเขาสูฤดูคิมหันต ก็เสด็จไปสูปราสาทอันมีพื้นได ๕ ชั้น นางขัตติยกํานัลทั้งหลายก็ถวาย
นานัครสโภชนาแลพัสตราภรณอันสมควรแกฤดูรอน ในที่ใกลสีหบัญชรนั้น ชาวพนักงานทั้งหลายก็ตั้งไวซึ่ง
อางทองใหญๆ เต็มไปดวยสุคันโธทกลอยไวซึ่งเบญจปทุมชาติแลตั้งไวซึ่งหมอเงินหมอทองหมอแกวตางๆ
ลวนเต็มไปดวยน้ําหอมแลวางไวซึ่งอางทองใหญๆ เต็มไปดวยน้ําเปอกของหอมปลูกปทุมชาติมีพรรณ ๕
ประการ หมูแมลงผึ้งภูทั้งหลายตางๆ บินเขามาคลึงเคลาเอาชาติเกสรเรณูหอมตลบไปในปราสาทบริเวณ
๑๔๑

ทั้งสิ้น ... แลเสวยในปราสาทนั้นจนสิ้นฤดูคิมหันตถวน ๔ เดือน ครั้นเคลื่อนเขาสู วสันตฤดูก็เสด็จมาอยู


ปราสาทอันมีพื้นได ๗ ชั้น พระสนมนิกรกํานัลทั้งหลายก็ถวายวรโภชนภัตจัดแจงเจือระคนควรแกฤดูทั้งสอง
ดุจพรรณนามาแลวแลสมเด็จบรมโพธิสัตวเสวยสุขสมบัติในปราสาททั้ง ๓ ปานประหนึ่งสมเด็จเพชรปาณี
เทวราชอันเสวยทิพสมบัติในไพชยนตรัตนทิพยพิมารสวรรค ในชั้นดาวดึงสเทวโลก

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๙๔-๙๕)

จากขอความขางตน ผูนิพนธเปรียบเทียบเจาชายสิทธัตถะและพระนางยโสธราพิมพาเพื่อ
แสดงความยิ่ง ใหญ ความสง า งาม ความมีอํ า นาจเหนือ ผูใ ดทั้ ง ปวง โดยเปรี ย บเที ย บกับ เทพ คื อ
พระอิน ทร ซึ่ ง พระอิ น ทร นั้ น เป น เทพสูง สุ ด ปกครองสวรรคชั้ น ดาวดึ ง ส พรั่ง พร อ มด ว ยทิ พ ยสมบั ติ
มากมาย เชนมีวิมานไพชยนตแวดลอมดวยอุทยานและสระโบกขรณี ทั้ง ๔ ทิศ มีชางเอราวัณเปน
พาหนะ เป น ต น จากการเปรียบเทียบเจา ชายสิท ธัตถะและพระนางยโสธราพิม พายิ่ ง ทํา ใหผูอา น
จินตนาการถึงภาพปราสาทอันใหญโตมโหฬารทั้งสามหลังที่สรางขึ้นเพื่อใหสมพระเกียรติกับทั้งสอง
พระองค

นอกจากนั้น ขอความตอนที่พ ระพุท ธเจาเสด็ จดับขัน ธปรินิ พ พาน ผู นิพ นธบรรยายใหเ ห็น
ธรรมชาติแวดลอมที่โศกเศราเมื่อตองสูญเสียบุคคลที่ยิ่งใหญ ตรัสรูพระโพธิญาณอันทําใหหลุดพนจาก
ความเกิด แก เจ็บ ตาย ผูทรงคุณอันยิ่งใหญแกชาวโลก แมวาการนิพพานจะเปนจุดมุงหมายสูงสุดใน
พุทธศาสนา เปนการดับกิเลสและความทุกขทั้งปวงไดอยางหมดสิ้นก็ตาม ดังขอความตอไปนี้

พระบรมโลกนาทก็เอนองคลงบรรทมเหนือปาสาณบัลลังกอาสน สําเร็จซึ่งสีหไสยาสนโดยทักษิณ
ปรัศวเบื้องขวา พระบาทาฝายซายซอนทักษิณบาท ทรงไสยาสนดวยอนุฐานสัญญามนสิการประกอบดวย
พระสติสัมปชัญญะกําหนดวา ตถาคตบมิไดอุฏการอีกสืบไป ในสมัยนั้นอันวาสาลบุปผชาติท้ังหลาย ก็
ขยายแยมกลีบเกสรเบงบานตั้งแตลําตนตราบเทาถึงยอดแลตลอดสาลวันวิกสิตบุปผาเปนอกาลผกาปรากฏ
กุสุมเสาวคนธรสก็ปวันตนากาลหลนลงเรี่ยรายทั่วพระพุทธสริรกายาบูชาพระสัพพัู หมูภมรผึ้งภูบินมาเชย
ซาบอาบรสเกสรมาลาบัน ลือ ศัพ ทสํานวน ปานประหนึ่งวา สํ า เนียงยมกสาลพฤกษาปริ เทวนาการ แล
บุปผาชาติแหงนางรังหลนลงเปนนิรันดร ก็เปรียบปานประดุจอสุชลหลนไหลพิลาปโสกีสัมผัสกับพระฉัพพิธ
พรรณรังสีโสภณโอภาส เพียงจะครอบงําเสียซึ่งพรรณประภาแหงภาณุมาศใหเสื่อมแสงเศรามีครุวนาปาน
ฉะนั้น ฝายพระสุริยาก็สายัณหยอแสงอัสดงคต เหมือนดุจบมิอาจกลั้นดวยความโศกอันจะวิปโยคพลัด
พรากจากพระบรมโลกนาถ ฝายพระรัชนิกรก็ลินลาศเลื่อนลอยขึ้นมาเบื้องบุรพทิศาดล ดุจดับเสียซึ่งดวง
หฤทัยแหงเทพยดามนุษยนิกรชนอันอาดูรดวยความโศก ซึ่งจะวิปโยคจากพระภควันตมุนี ใหระงับดวย
หยาดรัศมีอันเย็นยิ่งอยางอมฤตธารา...แลกาลเมื่อพระสัพพัญูเขาสูสมาบัติฌานทั้งปวง โดยวาระเปนอัน
มากเมื่อออกจากจตุตถฌานในวาระเปนสุดทาย ก็ดับขันธเขาสูพระปรินิพพานในสมัยกาลระหวางนั้น ใน
๑๔๒

วันวิศาขบุญมีราตรี ปจจุสมัยไดอนุราชนักขัตฤกษ ขณะนั้นอันวาปฐพีกัมปนาการก็บังเกิดปรากฏพิลึก


พึงกลัวทั้วโลกธาตุทั้งปวง อีกทั้งหวงมหรรณพ ก็กําเริบตีฟองคนองคลื่นครืนครัน นฤนาถสนั่นในมหาสมุทร
ทั้งหมูมัจฉาชาติมังกรผุดดํากระทําใหศัพทสํานวนนฤโฆษ ครุวนาดุจเสียงปริเทวกถาแซซรองโสกาดูร ทั้ง
ขุน เขาพระสิเ นรุ ร าช บรรพตก็ นอ มยอดโอนออ นมีอ าการปานประหนึ่ ง ว า ยอดหวายอัน อั ค คีลน อเนก
มหัศจรรยก็บันดาลทั่วเมทนีดลสกลนภากาศ ปางเมื่อพระบรมโลกนาถเขาสูพระปรินิพพาน

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๔๖๒)

จากขอความนี้จะเห็นวาผูนิพนธบรรยายถึงสภาพแวดลอมและธรรมชาติที่เศราสลดเปนอยาง
ยิ่ง แตในความเศราเสียใจนั้น ผูอานก็ยังรูสึกถึงความยิ่งใหญ ความพิเศษเหนือบุคคลทั้งปวง ที่ไมมี
ผูใดมาเทียบเทาได ในขอความมีการแทรกสํานวนเปรียบในการบรรยายบรรยากาศอันโศกเศรานี้ดวย
คําบรรยายวาแมกระทั่งตนรังซึ่งเปนเพียงตนไมยังโศกเศรา กลีบดอกรังโปรยปรายลงมาบนพระวรกาย
ของพระพุทธองคราวกับจะนอมบูชาพระคุณ เสียงผึ้งที่บินมาตอมดอกรังก็คลายกับเสียงรองไห ดอกรัง
ที่หลนลงมาเรื่อย ๆ นั้นราวกับหยาดน้ําตาที่ไหลมาไมขาดสาย พระอาทิตย พระจันทรที่เคยสองแสง
สวางไสว มาบัดนี้ก็อับแสงเศราลง ราวกับอาลัยในการเสด็จดับขันธปรินิพพานแหงพระพุทธเจา ไมวา
จะเปนพื้นดิน พื้นน้ําตางก็มีเหตุอัศจรรยประดุจเสียงร่ําไห ทําใหผูอานจินตนาการภาพที่พระพุทธองค
เสด็จดับขันธปรินิพพานไดอยางชัดเจน

จะเห็นไดวาผูนิพนธไดแสดงฉากและบรรยากาศโดยสอดแทรกสํานวนเปรียบลงไปดวย ทั้งนี้
เพื่อใหผูอานเกิดจินตภาพที่ลึกซึ้งขึ้นกวาเดิม เพราะสํานวนเปรียบชวยใหผูอานนําประสบการณของตน
มาใชเปรียบเทียบกับความรูสึกตามที่ผูแตงตองการสื่อไดเปนอยางดี

๔. การใชสํานวนเปรียบแสดงคติธรรม
สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงนิพนธเรื่องพระปฐมสมโพธิกถานี้
มานอกจากจะใหความรูเกี่ยวกับพุทธประวัติ แลวยังแสดงคติธรรม และหลักธรรมคําสอนตางๆ ใน
พระพุทธศาสนาอีกดวย จากการศึกษาสํานวนเปรียบของวรรณคดีเรื่องนี้ก็พบวาผูนิพนธใชสํานวน
เปรี ยบในการแสดงคติธรรมตางๆ เพื่อใหผูอานเกิดความเลื่อมใสศรัท ธาในพระพุทธศาสนา และ
สามารถนําเอาคําสั่งสอน หรือคติธรรมนั้นมาใชปฏิบัติในการดําเนินชีวิตประจําวันเพื่อใหตนเองพน
จากความทุกข และหลุดพนจากสังสารวัฏไดอีกดวย ดังตัวอยางตอไปนี้
๑๔๓

คติธรรมเรื่องการเจริญอานาปานสติเพื่อระงับทุกขเวทนา ดังขอความตอไปนี้

ทรงอาพาธหนักครั้งหนึ่ง ทรงเยียวยาพระโรคของพระองคดวยโอสถคือ สมาบัติใหระงับ ...เปรียบ


ดังบุคคลอันเดินทางมาแตไกล เหน็ดเหนื่อยอิดโรยหอบหิว และไดบริโภคบวรสุทธาโภชนอันเปนทิพย จึงได
บรรเทาความลําบากเสียได
(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๔๑๙)

สมาบั ติ หมายถึ ง ภาวะสงบของจิต ใจ ซึ่ง วิ ธี ก ารสร า งภาวะสงบทางจิ ต ใจวิ ธี ห นึ่ ง คื อ การ


กําหนดลมหายใจเขาออก หรืออานาปานสติ พระมหาวีระ ถาวโร กลาวถึงอานาปานสติไวดังตอไปนี้

อานาปานสติกรรมฐานหรือการกําหนดลมหายใจเขาออกนี้เปนกรรมฐานที่ลดความฟุงซานของ
จิต อีกอยางหนึ่งเรียกวาเปนกรรมฐานที่ระงับกายสังขาร เวลาที่เราปวยไขไมสบายอาการมันมาก มีอาการ
เครียดจัดใหใชอานาปานสติกรรมฐานเขาระงับจับลมหายใจเขาออกจนอารมณจิตเปนฌาน หรืออุปจาร
สมาธิ อาการหรื อ ว า ทุก ขเวทนาจะบรรเทาลง ความจริง อาการมัน ไม ไ ดลดลง แต วา จิต เราไมยอมรั บ
ความรูสึกจากอาการทางกายก็ทําใหสบายใจได แลวประการที่สอง สําหรับอานาปานสตินี้เปนกรรมฐาน
ระงับโมหะจริตและวิตกจริต รวมความวาตัดความโงของจิต โมหะก็คือความโง ทําใหจิตฉลาดขึ้น

(พระมหาวีระ ถาวโร . ๒๕๒๒ : ๕๓)

สํานวนเปรียบนี้ใหคติธรรมเรื่องการใชอานาปานสติเพื่อระงับทุกขเวทนา คือการมีสติ มีจิตใจ


ที่สงบ สามารถระงับความทุกขไดทั้งความทุกขทางกายและความทุกขทางใจ เนื่องจากจิตไปจดจออยู
กับการกําหนดลมหายใจเขาออก จึงไมนึกกังวลอยูกับความทุกขนั้น ๆ

คติธรรมเรื่องการไมยึดมัน่ ถือมั่นในทรัพยสมบัติ ดังขอความตอไปนี้

สมเด็ จ พระผู มี พ ระภาค ทรงพระมหากรุณ าแก สั ตว โ ลกปรารถนาจะรื้ อ สัต ว ใ ห พ น จากห ว ง


มหรรณพสงสาร และละเสียซึ่งจักรพรรดิราชสมบัติอันจะมาถึงใน ๗ วัน มิไดทรงอาลัยดุจกอนเขฬะอัน
ของอยูในปลายพระชิวหา

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๕)


๑๔๔

สํ า นวนเปรีย บนี้ ส อนคติธ รรมเรื่ อ งความไม อ าลั ย ใยดี ไมยึ ดมั่ น ถือ มั่ น ในทรั พ ย ส มบั ติ ดั ง
หลักธรรมเรื่องไตรลักษณ คือ อนิจจัง หมายถึงความไมเที่ยง ทุกขัง หมายถึงความเปนทุกข และ
อนัตตา หมายถึง ความมิใชตัวตน (พระธรรมปฎก . ๒๕๔๓ : ๘๖ ) ทรัพยสมบัติก็ไมมีตัวตน เปนเพียง
สิ่งที่สมมติขึ้นมาเทานั้น ดังนั้นการยึดติดทรัพยสินอาจกอใหเกิดทุกข จริงอยูที่ทรัพยสินเปนปจจัย
สําคัญอยางหนึ่งในการดํารงชีวิต แตการยึดติดมากเกินไปกอใหเกิดทุกขแกผูครอบครองได

คติธรรมเรื่องปญญาสามารถขจัดมานะในจิตใจได ดังขอความตอไปนี้

สมเด็จพระผูมีพระภาคเจาอันยิ่งดวยคุณคือพระมหากรุณา เมื่อพระองคจะทรงประหารเสียซึ่ง
ภูเขาอันใหญ กลาวคือมานะแหงปญจวัคคีย ดวยพระขรรคแกว วชิราวุธ กลาวคือ ปญญาในคราวนั้น

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๕)

“ปญญา” หมายถึง ความรูทั่ว , ปรีชาหยั่งรูเหตุผล , ความรูเขาใจชัดเจน , ความรูความเขาใจ


หยั่งแยกไดในเหตุผล ดีชั่ว คุณโทษ ประโยชนมิใชประโยชน เปนตน และรูที่จะจัดแจง จัดสรร จัดการ ,
ความรอบรูในกองสังขารมองเห็นตามเปนจริง (พระธรรมปฎก . ๒๕๔๓ : ๑๖๔) สวน “มานะ” คือความ
ถือตัว ความสําคัญตัววาเปนนั่นเปนนี่ (พระธรรมปฎก . ๒๕๔๓ : ๒๓๑ ) สํานวนเปรียบนี้ใหคติธรรมวา
ความมานะถือตนเปนอุปสรรคในการเรียนรู ผูมีปญญรอบรูยอมสามารถคิดหาวิธีการขจัดความมานะ
ถือตนนั้นได

คติธรรมเรื่องสังขารเปนของไมเทีย่ ง ดังขอความตอไปนี้

ดูกรบรมบพิตร อันวาชีวิตแหงมนุษยทั้งหลายนี้นอยนักดํารงอยูโดยพลันบมิไดยั่งยืนอยู ครุวนา


ดุจสายฟาแลบอันปรากฏมิไดนาน อันวาวัยวัฒนาการยอมมีชราเปนที่สุด สภาวะหาโรคบมิได มีพยาธิ
ประทุษฐบีฑาเปนปริโยสาน อันวาชีวิตสังขารก็มีมรณะเปนธรรมดา สมบัติทั้งปวงก็ลวงละวิบัติยายี

(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ๒๕๓๗ : ๓๙๐)

สังขาร หมายถึง สิง่ ทีถ่ ูกปจจัยปรุงแตง , สิ่งที่เกิดจากเหตุปจจัย เปนรูปธรรม นามธรรมก็ตาม


ไดแกขันธ ๕ ไดแก รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (พระธรรมปฎก . ๒๕๔๓ : ๓๐๙ ) สํานวน
เปรียบนี้ใหคติธรรมวา ชีวิตมนุษยนนั้ สั้นนัก จากชวงการเกิด แก เจ็บ และตาย เปนเวลาอันนอยนิด
๑๔๕

เทากับแสงฟาแลบ ดังนัน้ ชวงเวลาของการดํารงชีวิตควรทําความดี ละเวนความชัว่ และทําจิตใจให


บริสุทธิ์ รวมทัง้ ใชชวงเวลาทีม่ ีใหเกิดประโยชนมากที่สุดทั้งตอตนเองและคนรอบขาง

จากการศึกษาเรื่องแนวนิยมการใชสํานวนเปรียบ พบวา สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระ


ปรมานุชิตชิโนรส ทรงใชสํานวนเปรียบในการกลาวถึงบุคลิกลักษณะทางกายภายของบุคคลมากที่สดุ
โดยเฉพาะพระพุทธเจาซึ่งเปนตัวละครสําคัญของเรื่อง รองลงมาคือพระนางสิริมหามายา และมาร
ตามลําดับ และนอกจากนั้นก็ยังใชสาํ นวนเปรียบในการกลาวบรรยายภาพธรรมชาติ เมือง ปราสาท
ราชวัง ซึ่งการใชสํานวนเปรียบในการบรรยายบุคลิกลักษณะทางกายภาพ และบรรยายธรรมชาติ เมือง
ปราสาทราชวังนัน้ ทําใหผูอา นเกิดจินตภาพ สามารถจินตนาการภาพตามที่ผนู ิพนธตองการสื่อได สวน
การใชสํานวนเปรียบในการบรรยายอารมณความรูสึกของตัวละคร ทําใหผูอานเกิดความเขาใจใน
อารมณที่ผนู ิพนธตองการสื่อไดลึกซึ้งขึ้น นอกจากนั้นการใชสํานวนเปรียบที่แทรกอยูต ามเนื้อเรื่องนั้น
ยังแฝงไวดว ยคติธรรมคําสั่งสอนตางๆ อันเปนประโยชนตอผูอานไปประยุกตใชในการดํารงชีวิตไดอีก
ดวย
บทที่ ๔
สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

สรุปผลการศึกษาคนควา
การศึ กษาเรื่อง “การใชภาษาสรางจิน ตภาพของสํ า นวนเปรี ยบในวรรณคดี เรื่ องพระปฐม
สมโพธิกถา” นี้ ผูวิจัยมุงศึกษาความหมายของสํานวนเปรียบที่ปรากฏในเรื่องพระปฐมสมโพธิกถา โดย
จัดหมวดหมูตามแบบเปรียบที่สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรสใชในสํานวนเปรียบ
และนอกจากนั้ น ยั ง ศึ ก ษาลี ล าการสรา งสํ า นวนเปรี ย บ และแนวนิ ย มในการใช สํา นวนเปรี ย บ ผล
การศึกษา ผูวิจัยไดขอสรุปดังนี้

การใชแบบเปรียบของสํานวนเปรียบ
สํานวนเปรียบในวรรณคดีเรื่องพระปฐมสมโพธิกถานี้มกี ารใชแบบเปรียบ ๗ ประเภท คือ
๑. แบบเปรียบเกีย่ วกับสรรพสัตว พบวาการใชแบบเปรียบเกี่ยวกับสรรพสัตว สามารถแบง
ออกตามภูมิของสัตวได ๒ ประเภทคือ
๑.๑ รูปภูมิ เชน ใชพระพรหมเปนแบบเปรียบ เพื่อแสดงถึงอํานาจ ความสงางาม ความมี
บุญบารมีของพระพุทธเจา
๑.๒ กามภูมิ สามารถแบงหัวขอไดดังนี้
๑.๒.๑ สุคติภูมิ แยกออกได ๒ หัวขอ คือ
๑.๒.๑.๑ ฉกามาพจรภูมิ เชน ใชพระอินทรเปนแบบเปรียบ เพื่อแสดงถึง
ความยิง่ ใหญ ความมีบุญบารมี ความสุขจากทรัพยสมบัติของเจาชายสิทธัตถะ, ใชเทวราชธิดาเปน
แบบเปรียบ เพื่อแสดงถึงความงดงามอันเปนทีเ่ ลื่องลือไกลของพระนางสิริมหามายา เปนตน
๑.๒.๑.๒ มนุสสภูมิ แบงออกได ๓ ลักษณะ คือ
ก. สถานภาพของมนุษย เชนใชจักรพรรดิเปนแบบเปรียบเพื่อ
แสดงพระบรมเดชานุภาพของพระนางสิริมหามายา ใชทาสเปนแบบเปรียบเพื่อแสดงถึงความความ
ตอยต่ํามีกําลังนอยและความหลงมัวเมาอยูในกิเลสของมาร เปนตน
ข. กิรยิ าอาการของมนุษย เชนใชอาการการอาบน้ําชําระเกลา
เปรียบกับการขจัดกิเลสออกจากจิตใจ ใชการกาวลงจากธรรมาสนของพระภิกษุหลังจากแสดงธรรม
เทศนาเพื่อแสดงภาพประสูติการของพระพุทธเจา เปนตน
ค. อวัยวะสวนตางๆ ของรางกายมนุษย เชนแกวตาดวงใจเพื่อ
แสดงความรักและการทะนุถนอมของแมทมี่ ีตอลูกผูเปนบุคคลสําคัญดังแกวตาดวงใจ เปนตน
๑๔๖

๑.๒.๒. ทุคติภูมิ มีปรากฏเฉพาะติรัจฉานภูมิ ดังตัวอยางตอไปนี้


๑.๒.๒.๑ สัตวในวรรณคดี เชนเปรียบพระพุทธเจากับราชสีห และชาง
ฉัททันตเพื่อใหเห็นความสงางาม นาเกรงขาม และความยิ่งใหญของพระองค , เปรียบเสียงของพระ
นางสิริมหามายากับเสียงนกการเวก และนกกินนรีเพื่อแสดงถึงความไพเราะออนหวานชวนฟง เปนตน
๑.๒.๒.๒ สัตวทวั่ ไป เชนเปรียบอวัยวะสวนตางของพระพุทธเจาเพื่อ
แสดงใหเห็นความงดงามเชน พระทนตขาวดุจสีสังข , นิว้ พระบาทและนิ้วพระหัตถยาวเรียบดุจนิ้ววานร
, ลําพระชงฆเรียวดุจแขงเนือ้ ทราย เปนตน หรือเปรียบทาเดินอันสงา องอาจ และแข็งแรงมั่นคงของ
พระพุทธเจากับราชสีห หงส ชาง และโคอุสภุ ราช เปนตน
๒. แบบเปรียบเกี่ยวกับธรรมชาติ สามารถแบงหัวขอไดดังนี้
๒.๑ ธรรมชาติ เชน พระจันทรเปรียบกับความงามของพระนางสิริมหามายา , เปรียบ
แสงจันทรกับพระรัศมีที่เปลงออกจากพระกายของเจาชายสิทธัตถะเพือ่ ใหเห็นความงามพิเศษ
เหนือกวาบุคคลทั่วไป เปนตน
๒.๒ ปรากฏการณธรรมชาติ เชนเสียงฟารองที่ดังกึกกองเปรียบเทียบกับเสียงแซซอง
สรรเสริญของประชาชนทําใหเห็นภาพพลังศรัทธาของประชาชนที่มีตอ พระเจาสิริสทุ โธทนะและพระ
นางสิริมหามายาอยางมากมายในวันอภิเษกสมรสของทัง้ สองพระองค หรือเปรียบชวงชีวิตของคนกับ
แสงฟาแลบเพือ่ แสดงถึงชีวิตของคนนัน้ มีเวลาเพียงสัน้ ๆ เทานั้น เปนตน
๓. แบบเปรียบเกี่ยวกับพืช สามารถแบงหัวขอไดดังนี้
๓.๑ ตนไม เชน เปรียบลําพระเพลากลมงามเหมือนกับลําตนกลวยทอง เปรียบพระ
พาหายาวสมดุลเหมือนตนไทร , เปรียบพระโอษฐแดงดังผลมะพลับทองสุกสดหรือผลตําลึงสุก เปนตน
๓.๒ ดอกไม เชน เปรียบกลิน่ ดอกบัวกับกลิ่นพระโอษฐ และพระเกศาของเจาชาย
สิทธัตถะ , เปรียบเทียบพระกรรณที่มีรูปทรงยาวงามดุจกลีบดอกบัว เปนตน
๔. แบบเปรียบเกี่ยวกับแรธาตุ เชนเปรียบ ทอง เพชร แกวกับพระพุทธเจา พระนางสิรมิ หา
มายา เพื่อใหผูอานเห็นผูท ม่ี ีสถานภาพสูงสง และเปนผูท ี่ใหคุณแกมนุษยโลก และเปนผูที่สงู สง
ทางดานคุณธรรมในจิตใจ
๕. แบบเปรียบเกี่ยวกับสิ่งของ เครื่องใช เชนเปรียบพระขนงเจาชายสิทธัตถะวาโกงเหมือนกับ
คันธนู เปรียบตาขายกับตัณหาที่ดักจับมนุษยใหลุมหลงในกิเลส เปรียบราชรถอันมีงอนแตปราศจาก
ธงชัยกับพระนางพิมพาที่มตี ําแหนงยิง่ ใหญเปนพระมเหสีแตถูกพระสวามีทอดทิง้ เหมือนขาดผูน ํา
ครอบครัว เปนตน
๑๔๗

๖. แบบเปรียบเกีย่ วกับสถานที่ เปรียบปราสาทราชวัง หรือสวนในพระราชวังกับสวรรคและ


สวนตางๆ บนสวรรค เชนสวนจิตรลดา สวนนันทวัน เปนตน
๗. แบบเปรียบอื่นๆ เชน เปรียบพระเขฬะกับราชสมบัตทิ ี่เจาชายสิทธัตถะจะไดรับเพื่อแสดงวา
สมบัตินั้น ไมมีประโยชน ไมมีคาสําหรับพระองคเลย , เปรียบการไดฟงธรรมกับการไดดื่มน้ําอมฤตเพื่อ
แสดงถึงความวิเศษดีเลิศของพระธรรมที่ชว ยใหคนพนทุกข เปนตน

แนวนิยมการใชสํานวนเปรียบ
การศึกษาแนวนิยมการใชสํานวนเปรียบ พบวาผูนพิ นธมักใชสํานวนเปรียบในเนื้อหาดังนี้
๑. การใชสํานวนแสดงบุคลิกลักษณะทางกายภาพของตัวละคร พบวาผูน ิพนธใชสาํ นวน
เปรียบเพื่อใหเห็นภาพรวมของบุคคล ๓ บุคคลดวยกัน คือ พระพุทธเจา พระนางสิรมิ หามายา และมาร
ซึ่งทัง้ ๓ บุคคลนี้เปนตัวละครที่สําคัญของเรื่อง โดยการบรรยายลักษณะของพระพุทธเจา และพระนาง
สิริมหามายานั้นเปนการบรรยายความงามและพระอัจฉริยภาพของทั้งสองพระองค ผูนิพนธใชแบบ
เปรียบเปนสิง่ ที่มีคามากหรือสิ่งที่มนุษยเคารพนับถือ เชนเทพ สวรรค เปนตน เพื่อใหผูอานเกิดศรัทธา
เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา เนื่องจากทั้งสองพระองคนนั้ เปนผูทรงคุณอันยิ่งใหญใหแกมนุษยโลก สวน
การบรรยายลักษณะของมารนั้นผูน ิพนธบรรยายใหเกิดภาพทีน่ ากลัว นาขยะแขยง ตอภาพอัน
อัปลักษณของมารตนนั้น
๒. การใชสํานวนเปรียบแสดงอารมณความรูสึก ผูนิพนธใชสํานวนเปรียบเพื่อแสดงอารมณ
โกรธ ความรูสกึ ยินดี หรือความรูสึกเสียใจ เปนตน เพื่อใหผูอานเกิดจินตนาการตามที่ผูนพิ นธตองการ
สื่อดวย
๓. การใชสํานวนเปรียบแสดงฉากและบรรยากาศ ผูน ิพนธใชสํานวนเปรียบในการบรรยาย
สภาพเมือง พระราชอุทยาน และปาเพื่อใหผูอานสามารถเกิดจินตภาพไดชัดเจนขึ้น โดยเปรียบเทียบ
กับสถานที่บนสวรรค หรือสวนทิพยบนสวรรค เปนตน นอกจากนัน้ ยังแทรกสํานวนเปรียบในการ
บรรยายบรรยากาศเพื่อใหผอู านเกิดจินตภาพที่ลกึ ลึ้งขึน้
๔. การใชสํานวนเปรียบแสดงคติธรรม ผูนพิ นธใชสาํ นวนเปรียบที่แทรกคติธรรมเพื่อสอน
หลักธรรม และอธิบายหลักธรรมอันเปนประโยชนแกผูอา นนําไปใชในการดํารงชีวิต
๑๔๘

อภิปรายผล
วรรณคดีเรื่องพระปฐมสมโพธิกถามีลกั ษณะเดนในการใชสํานวนเปรียบ การนําเสนอเนื้อเรื่อง
ผูนิพนธมกั จะสอดแทรกสํานวนเปรียบไวเพื่อชวยเสริมสรางจินตภาพและความเขาใจใหแกผูอาน
ผูนิพนธมีลีลาเฉพาะตัวในการเสนอสํานวนเปรียบ คือการใชสํานวนเปรียบตอกันหลายสํานวน การใช
กลุมคําขนาดยาว และการใชแบบเปรียบที่เปนรูปธรรมเปรียบเทียบกับสิ่งที่เปนนามธรรม ซึ่งลีลาการ
ใชสํานวนเปรียบของผูนพิ นธนี้ลวนมีสว นชวยใหผอู า นเกิดจินตภาพตามไปดวยทั้งสิน้ นอกจากนั้น
การเลือกใชแบบเปรียบที่เหมาะสมกับเนือ้ หาก็ทาํ ใหเกิดสํานวนเปรียบที่สามารถสือ่ ความหมายไดแจม
ชัดขึ้น จากการศึกษาสามารถอภิปรายผลไดดังตอไปนี้
๑. จากการศึกษาเรื่องแบบเปรียบในสํานวนเปรียบซึง่ สามารถแบงออกไดเปน ๘ ประเภท คือ
แบบเปรียบเกีย่ วกับสรรพสัตว ธรรมชาติ พืช แรธาตุ สิ่งของเครื่องใช สถานที่ และอื่นๆ นัน้ หากมอง
ภาพรวมของแบบเปรียบแลวอาจสามารถแบงเปน ๓ หัวขอใหญๆ ได คือ
๑.๑ การใชสิ่งที่มีอยูในธรรมชาติเปนแบบเปรียบ ไดแกคน สัตว พืช สภาพภูมิประเทศ
แรธาตุ ปรากฏการณ เปนตน ผูน ิพนธนําเอาธรรมชาติรอบตัวมนุษยมาเปนแบบเปรียบเพื่อชวยสื่อให
ผูอานเกิดจินตภาพ เพราะธรรมชาติเปนสิง่ ใกลตัว เปนสิ่งที่มนุษยสามารถพบเปนไดเปนประจํา และ
มักจะอยูในความสนใจของมนุษยอยูเสมอ ดังนัน้ การนําธรรมชาติมาใชเปนแบบเปรียบก็ยอมจะทําให
ผูอานเกิดจินตภาพไดงาย และเขาใจในสํานวนเปรียบนัน้ ไดชัดเจนและลึกซึ้งขึน้ เชน เปรียบกลิ่นหอม
จากพระกายและพระเกศาพระพุทธเจากับกลิ่นหอมของดอกบัว , เปรียบพระฉวีอันเหลืองงามของ
พระพุทธเจาวามีความเปลงปลั่ง งดงามดั่งทอง . เปรียบพระทนตของพระพุทธเจาวาขาวดุจสีสงั ข ,
เปรียบพระรัศมีท่แี ผกระจายออกจากพระกายพระพุทธเจากับแสงจากดวงอาทิตย เปนตน
๑.๒ การใชอปุ กรณเปนแบบเปรียบ ไดแกสิ่งของเครื่องใชที่มนุษยสรางขึ้นเพื่ออํานวย
ความสะดวกในชีวิตประจําวัน เชน อาคารบานเรือน ภาชนะ ผา ตะเกียง เปนตน อุปกรณสิ่งของ
เครื่องใชเปนสิง่ ที่ผกู พันกับมนุษยในการดําเนินชีวิตประจําวัน ดังนัน้ ลักษณะรูปราง รูปทรง ลักษณะ
การใชงาน หรือคุณสมบัติของอุปกรณสิ่งของนั้นๆ มนุษยยอมรูจักคุน เคยเปนอยางดี ดังนั้นการ
นํามาใชเปนแบบเปรียบจึงสามารถสื่อความหมายแกผูอา นไดเปนอยางดี เชน เปรียบสติปญญาอัน
หลักแหลมกับพระขรรคแกวเพื่อแสดงปญญาที่เฉียบคม เฉียบแหลม , เปรียบผารัตกัมพลทีเ่ ปนขนสัตว
สีแดงกับสนพระบาทของพระพุทธเจาที่มีสแี ดงออนนุม เปนตน
๑.๓ การใชความเชื่อเรื่องเทพ และสวรรคโลกเปนแบบเปรียบ ไดแกเทพ สวรรค สัตว
ในวรรณคดี เปนตน มนุษยทั่วไปเชื่อวาเทพเปนผูท ี่มีบญ ุ บารมี มีรูปกายงดงาม มีอาหารบริบูรณ มี
อิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริยสามารถเนรมิตใหเกิดสิ่งใดก็ได มีทอี่ ยูอาศัยทีง่ ดงามและสะดวกสบาย หรือสัตวใน
วรรณคดีก็จะมีคณ ุ สมบัติพิเศษแตกตางจากสัตวทั่วไป เชน มีรา งกายที่ใหญโต มีพละกําลังมหาศาล
๑๔๙

ดังนัน้ การเปรียบเทียบเพื่อใหเห็นวาเปนสิง่ ที่ดที ี่สุด พิเศษกวาบุคคลทัว่ ไป จึงมักจะนํามาเปรียบกับเทพ


และสวรรค เชนเปรียบพระพุทธเจากับพระพรหม พระอินทร พระอาทิตย รวมทั้งสัตวในวรรณคดี เชน
ราชสีห ชางฉัททันต เพื่อความมีบุญญาบารมี ความสงางาม มีพระปรีชาสามารถ และเปนผูท รงคุณ
ความดี เปนตน เปรียบเมืองกบิลพัสดุวา มีความบริบูรณและงดงามเหมือนกับสวรรค , เปรียบความ
งามของพระราชอุทยานในพระราชวังกับสวนจิตรลดาซึง่ เปนสวนของพระอินทร , เปรียบความสุข
สบายของพระพุทธเจาขณะที่อยูในพระครรภวามีความสุขสบายเหมือนไดประทับในวิมานแกวที่อยู
ของพระพรหม เปนตน
๒. จากการศึกษาแบบเปรียบพบวาแบบเปรียบที่ผนู ิพนธสวนใหญมลี ักษณะเปนรูปธรรม
มากกวานามธรรม แบบเปรียบที่เปนรูปธรรมสามารถสัมผัสไดทางประสาทสัมผัสทั้ง ๕ คือ หู ตา จมูก
ลิ้น และกาย การใชสิ่งที่เปนรูปธรรมจึงสามารถอธิบายสํานวนเปรียบไดดีและชัดเจนกวาการใชแบบ
เปรียบที่เปนนามธรรม การใชแบบเปรียบที่เปนรูปธรรมมีทั้งใชกับสิ่งทีถ่ ูกเปรียบที่เปนรูปธรรม
เหมือนกัน และสิ่งทีถ่ ูกเปรียบที่เปนนามธรรมดวย การใชแบบเปรียบรูปธรรมกับสิ่งที่ถกู เปรียบเปน
รูปธรรมเหมือนกันนัน้ ก็ยิ่งทําใหผูอานเขาใจและเกิดจินตภาพที่ชัดเจนยิ่งขึ้นไปอีก สวนการใชแบบ
เปรียบรูปธรรมกับสิ่งที่ถกู เปรียบเปนนามธรรมนั้นทําใหผูอานสามารถเขาใจความหมายในทางทีเ่ ปน
รูปธรรมขึ้น และทําใหเกิดความเขาใจไดดียิ่งขึ้น แบบเปรียบที่เปนรูปธรรมนั้นรวมถึงแบบเปรียบในอุดม
คติดวย คือแบบเปรียบที่เปนเทพ สวรรค หรือสัตวในวรรณคดี แมวาจะเปนแบบเปรียบที่มนุษย
จินตนาการขึ้นมาเอง ไมมีจริงๆ ในโลกมนุษย แตเราก็สามารถพบเห็นภาพความงดงามของสิ่งเหลานี้
ไดจากภาพในหนังสือ ภาพบนฝาผนังในโบสถ จนกระทัง่ มนุษยสามารถสัมผัสไดถึงความงดงามของ
เมืองสวรรค และความงดงามของเทพแตละองค หรือรูปลักษณของสัตวในวรรณคดีแตละชนิดไดเปน
อยางดี
๓. แบบเปรียบที่ปรากฏในเรื่องพระปฐมสมโพธิกถานี้มที ั้งแบบเปรียบที่เปนขนบวรรณคดี เชน
เปรียบความสงางามของพระพุทธเจาเหมือนกับราชสีห , เปรียบเสียงอันไพเราะเหมือนกับเสียง
พระพรหมหรือนกการเวก , เปรียบความงามของพระขนง (คิ้ว) พระพุทธเจาวาโกงเหมือนคันธนู ,
เปรียบความงดงามของกรุงกบิลพัสดุเหมือนกับสวรรค เปนตน และนอกจากนั้นยังมีแบบเปรียบที่
นับวาเปนประดิฐการของผูนพิ นธคือเปนแบบเปรียบ ที่ผนู ิพนธคิดขึ้นมาใหม ไมเคยมีปรากฏวามีการใช
แบบเปรียบนีม้ ากอน เชน ตอนทีพ่ ระพุทธเจาประสูติจากพระครรภพระมารดาวามีสงางามเหมือนกับ
พระธรรมกถึกลงจากธรรมาสน , เปรียบพลกําลังอันมหาศาลของพระพุทธเจาที่สามารถยกคันธนูที่มี
น้ําหนักมากวาพระองคสามารถทําไดอยางงายดายเหมือนกับสตรียกไมกงดีดฝาย , เปรียบหมูมารผูมี
จิตใจสกปรกกับอาการที่แมลงวันกรูเขาตอมสิ่งปฏิกูล , เปรียบความสมดุลของพระกรพระพุทธเจากับ
ลักษณะของตนไทรที่รากหอยยอยลงมา , เปรียบความขาวของผมและบริเวณรอบปากมากัณฐกะวา
๑๕๐

ขาวเหมือนไสหญาปลอง , เปรียบนิ้วพระหัตถและนิว้ พระบาทของพระพุทธเจาวากลมงามเหมือนกับ


แทงหรดาลทีป่ นอยางประณีต เปนตน จะเห็นไดวาผูน พิ นธมีลีลาการใชแบบเปรียบที่แตกตางจากกวี
คนอื่นๆ จึงนับวาสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรสเปนผูหนึ่งที่ไดคิดประดิษฐการ
ดานการใชแบบเปรียบ เปนการสรางความแปลกใหมใหแกวงวรรณกรรมไทย

ขอเสนอแนะ
การศึกษา “การใชภาษาสรางจินตภาพของสํานวนเปรียบในวรรณคดีเรื่องพระปฐม
สมโพธิกถา” นี้ เปนการศึกษาการใชภาษาสรางจินตภาพโดยเนนในดานความหมายของสํานวนเปรียบ
ที่ปรากฏในเรื่องเทานัน้ ดังนั้นยังมีประเด็นอื่น ๆ ที่ผูสนใจอาจศึกษาคนควาในแงมมุ อื่นๆ เชน การใช
ภาษาสรางจินตภาพในพระราชนิพนธของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส เรื่อง
อื่นๆ โดยจะศึกษากลวิธกี ารใชภาษาสรางจินตภาพจากภาษาทั้งหมดของเรื่องหรือจะเจาะจงศึกษา
เฉพาะกับสํานวนเปรียบก็ได
บรรณานุกรม
บรรณานุกรม

เกื้อพันธุ นาคบุปผา. (๒๕๔๒). พื้นฐานการอานวรรณคดีไทย. กรุงเทพฯ : บริษัทเลิฟแอนด


ลิพเพรส จํากัด.
เกษม บุญศรี. (๒๕๑๘). คําบรรยายภาษาไทยขั้นสูง. กรุงเทพฯ : คุรุสภา ลาดพราว.
กุหลาบ มัลลิกะมาส. (๒๕๑๗).วรรณคดีไทย.กรุงเทพฯ:ภาควิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
คะวะบะตะ ยะชุนะริ. (๒๕๓๖). ลักษณะลีลาและการใชจินตภาพ. โครงการตําราคณะอักษร
ศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
จันทรศิริ แทนมณี. (๒๕๓๖). พระพรหมในวรรณคดีบาลีและสันสกฤต. วิทยานิพนธอักษรศาสตร
มหาบั ณ ฑิ ต (ภาควิ ช าภาษาตะวั น ออก). กรุ ง เทพฯ : บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย จุ ฬ าลงกรณ
มหาวิทยาลัย. ถายเอกสาร.
เจตนา นาควัชระ. (๒๕๑๔). วรรณคดีวิจารณวรรณคดีศึกษา วรรณไวทยากร (วรรณคดี).
พระนคร :โครงการตําราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร. สมาคมสังคมศาสตรแหง
ประเทศไทย.
ชวลิต ดาบแกว. (๒๕๔๒). พรรณไมในวรรณคดีไทยเลม ๑-๒. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร.
ชัตสุณี สินธุสิงห. (๒๕๓๒). วรรณคดีทัศนา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ญาดา อรุณเวช. (๒๕๒๖). ความเปรียบในบทละครในพระราชนิพนธในรัชกาลที่สอง. วิทยานิพนธ
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาไทย). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ถายเอกสาร.
ดลฤทัย ขาวดีเดช. (๒๕๔๐). ภาษาจินตภาพในเรื่องสั้นของอัศศิริ ธรรมโชติ. วิทยานิพนธ
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต(ภาษาไทย). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย. ถายเอกสาร.
ดวงมน จิตรจํานงค.(๒๕๔๐).คุณคาและลักษณะเดนของวรรณคดีไทยสมัยรัตนโกสินทรตอนตน.
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
ดําเนิร เลขะกุล ,พลโท. (๒๕๒๑). สัตวในเทพนิยาย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพบํารุงนุกูลกิจ.
ฐิติภา ลักษณพิสุทธิ์. (๒๕๔๐) การใชอุปมาโวหารในบทโฆษณา. วิทยานิพนธนิเทศศาสตร
มหาบัณฑิต (โฆษณา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ถายเอกสาร.
ดิเรกชัย มหัทธนะสิน. (๒๕๒๙). ถอยคําสํานวน: แนวคิดเชิงภาษาศาสตร. กรุงเทพฯ: สุกัญญา.
๑๕๓

ทวีศักดิ์ ญาณประทีป. (๒๕๓๑). การศึกษาเปรียบเทียบประเภทกระบวนจินตภาพในรอยกรอง


ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ. ภาษาวิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะ
มนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
ธรรมปรีชา (แกว), พระยา. (๒๕๒๐ ก). ไตรภูมิโลกวินิจฉยกถา เลม ๑. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.
.............(๒๕๒๐ ข).ไตรภูมิโลกวินิจฉยกถา เลม ๒. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.
.............(๒๕๒๐ ค).ไตรภูมิโลกวินิจฉยกถา เลม ๓. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.
นอมนิจ วงศสุทธิธรรม. (๒๕๓๐). วรรณกรรมกรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส. พิมพครั้งที่ ๓.
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
บังอร ฤทธาภรณ. (ม.ป.ป.).เอกสารประกอบการสอนวิชา ทย๓๑๑ การเขียน. ภาควิชาภาษาไทย
และภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
บุญชอบ เริงทรัพย. (๒๕๒๐). อุปมาอุปไมยในพระไตรปฎก. วิทยานิพนธอักษรศาสตร
มหาบัณฑิต (ภาษาตะวันออก). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย.ถายเอกสาร.
บุเรศรบํารุงการ, หลวง. (๒๕๑๘). ตนไมในวรรณคดี. ลพบุรี : โรงพิมพศูนยทหารปนใหญ
คายพหลโยธิน.
ปรมานุชิตชิโนรส, สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมสมเด็จพระ.(๒๕๔๐). ปฐมสมโพธิกถา. กรุงเทพฯ
: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตรกรมศิลปากร.
ประจักษ ประภาพิทยากร. (๒๕๒๕). รอยกรอง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา ลาดพราว.
ประสิทธิ์ ศรีสมุทร. (๒๕๔๔) . วรรณคดีเกี่ยวกับพุทธศาสนา. สงขลา : การผลิตเอกสารและตํารา
มหาวิทยาลัยทักษิณ ลําดับที่ ๑๐๒.
ปราณี กุลละวณิชย. (๒๕๓๗). ภาษาทัศนา. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ปรีชา ทิชินพงศ. (๒๕๒๔). วรรณคดีขนบประเพณีและศาสนา เอกสารการนิเทศการศึกษาฉบับ
ที่ ๒๓๗ ภาคพัฒนาตํารา และเอกสารวิชาการ หนวยศึกษานิเทศก กรมการฝกหัดครู.
เปลื้อง ณ นคร. (๒๔๙๙). ตําราเรียงความชั้นสูง. พิมพครั้งที่ ๕. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
พรทิพย ภัทรนาวิก. (๒๕๒๑). “การใชคํา”, การใชภาษาไทย. กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย.
พระญาลิไทย. (๒๕๑๕). ไตรภูมิพระรวง. พิมพครั้งที่ ๗. นนทบุรี : เจริญอักษรการพิมพ.
พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (๒๕๔๓). พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท. พิมพครั้งที่ ๙ .
กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระเผด็จ ทตฺตชีโว. (๒๕๓๐). ลักษณะมหาบุรุษ . ปทุมธานี : มูลนิธิธรรมกาย.
๑๕๔

พินิจ สุขสถิตย. (๒๕๓๗). การศึกษาเชิงวิเคราะหเรื่องเทวดาชั้นกามาพจรในพระไตรปฏก. วิทยา


นิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ภาควิชาภาษาตะวันออก) บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย. ถายเอกสาร.
มาลัย. (ม.ป.ป.). กําเนิดเทวดา. กรุงเทพฯ : บริษัทบวรสารการพิมพ จํากัด.
ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๓๙ก). พจนานุกรมศัพทวรรณกรรม : ภาพพจน โวหาร และกลการประพันธ.
กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.
---------. (๒๕๓๙ข). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕. พิมพครั้งที่ ๖ . กรุงเทพฯ :
บริษัทอักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด.
วงเดือน สุขบาง. (๒๕๒๔). การศึกษาพระปฐมสมโพธิกถาในแนวสุนทรียะ. ปริญญานิพนธการ
ศึกษามหาบัณฑิต (ภาษาไทย). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทร
วิโรฒประสานมิตร.ถายเอกสาร.
วันเนาว ยูเด็น. (๒๕๓๒). การศึกษาเรื่องกลอน. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน.
วิทย เที่ยงบูรณธรรม. (๒๕๓๑). พจนานุกรมสมุนไพรไทย. กรุงเทพฯ : โอ.เอ .พริ้นติ้งเฮาส.
ศักดิ์ศรี แยมนัดดา. (๒๕๓๓). ๒๐๐ ป สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. กรุงเทพฯ
: บริษัทอมรินทรพริ้นติ้ง กรุฟ จํากัด.
สมร วิเศษมณี. (๒๕๓๕) .“วิเคราะหความเปรียบในพระธรรมบท ตามแนวอรรถศาสตร,” รามคําแหง.
๑๕ (๑) : ๒๓-๒๔.
สราวุธ จันสีหา. (๒๕๔๒). การเปลี่ยนแปลงคํายืมภาษาบาลีและสันสกฤตที่ปรากฏในพระปฐมสมโพธิ
กถา. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต (ภาษาไทย).บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย
มหาสารคาม.ถายเอกสาร.
สวาง ไชยสงค. (๒๕๓๘). การศึกษาภาพพจนในวรรณคดีพระปฐมสมโพธิกถา โดยการตีความและ
ขยายความ.ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต (ภาษาไทย).บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม. ถายเอกสาร.
สายทิพย นุกูลกิจ. (๒๕๓๙). วรรณกรรมไทยปจจุบัน. พิมพครั้งที่ ๓ . กรุงเทพฯ : บริษัท เอส. อาร.
พริ้นติ้งแมสโปรดักส จํากัด.
สุธิวงศ พงศไพบูลย. (๒๕๒๕). อุปกรณวรรณคดีพุทธศาสนา คูมือพระปฐมสมโพธิกถา. พิมพครั้งที่ ๓
กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
สุภาพรรณ ณ บางชาง. (๒๕๓๓). ๒๐๐ปกวีแกว : กรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส. ศูนยภาษาและ
วรรณคดีไทยและภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
๑๕๕

สุวัฒนา วรรณรังษี. (๒๕๔๐). ภาษาในวรรณกรรมของสุวรรณี สุคนธา : ความสัมพันธระหวางแนวคิด


กับจินตภาพ. วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาไทย). บัณฑิตวิทยาลัย
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ถายเอกสาร.
เสมอ บุญมา. (๒๕๓๖). อัตถาธิบายและวิเคราะหศัพทในปฐมสมโพธิกถา. กรุงเทพฯ : หมวดวิชา
ตันติภาษา คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เสาวนิต วิงวอน. (๒๕๔๐). วิเคราะหพระนิพนธสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส.
กรุงเทพฯ : สหธรรมิก.
อนุมานราชธน, พระยา. (๒๕๑๘). การศึกษาวรรณคดีแงวรรณศิลป. กรุงเทพฯ : บรรณาคาร.
อุดม รุงเรืองศรี. (๒๕๒๓). เทวดาพุทธ (เทพเจาในพระไตรปฎกและไตรภูมิพระรวง). เชียงใหม :
ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
อัลภา เมืองศรี. (๒๕๔๓) ดอกบัวในวรรณคดีไทย. ใน นิตยสารไทย. ทรงศักดิ์ ปรางควัฒนากุล และ
สมพงศ วิท ยศั ก ดิ์ พั น ธุ . ๑๓๕-๑๓๙. เชีย งใหม . ภาควิ ช าภาษาไทย คณะมนุษ ยศาสตร
มหาวิทยาลัยเชียงใหม.
ประวัติผูวิจัย
ประวัติยอผูวิจัย

ชื่อ ชื่อสกุล นางสาวลักขณากร ธรรมเที่ยง


วันเดือนปเกิด ๑๘ มิถุนายน ๒๕๒๐
สถานที่เกิด อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร
สถานที่อยูปจ จุบัน ๑๕ หมู ๖ ต.หนองสองหอง อ.บานแพว
จ.สมุทรสาคร ๗๔๑๒๐
ประวัติการศึกษา

พ.ศ. ๒๕๔๗ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย


มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
พ.ศ. ๒๕๔๖ ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขารัฐศาสตร
มหาวิทยาลัยรามคําแหง
พ.ศ. ๒๕๔๒ การศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
พ.ศ. ๒๕๓๘ มัธยมศึกษาตอนปลาย สาขาคณิต – อังกฤษ
โรงเรียนสตรีวดั ระฆัง

You might also like