You are on page 1of 90

คํานํา

สิ ท ธิ กํ า ลั ง พลเป น เรื่ อ งที่ มี ค วามสํ า คั ญ และเป น ส ว นหนึ่ ง ในการเพิ่ ม ขวั ญ กํ า ลั ง ใจ


ในการปฏิบัติงานของขาราชการ หนวยราชการใดใหและดูแลสิทธิกําลังพลของหนวยงานมาก
มักสงผลใหการปฏิบัติงานในหนวยงานสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี ดวยเหตุนี้จึงเปนบทบาทหนาที่
สําคัญของนายทหารกําลังพล ที่ตองมีความรูความเขาใจอยางลึกซึ้งในขอบังคับ ระเบียบ คําสั่ง
กฎเกณฑตาง ๆ ในเรื่องสิทธิกําลังพล เพื่อสามารถใหขอมูล คําแนะนําแกขาราชการในหนวยงาน
ไดอยางถูกตอง
คณะทํางานการจัดการความรู (KM) กรมกําลังพลทหาร กองบัญชาการกองทัพไทยจึงไดทํา
การรวบรวม สิทธิกําลังพลตาง ๆ เบื้องตนที่กําลังพลของกองบัญชาการกองทัพไทยควรรับทราบ
และจั ด ทํ า เป น คู มื อ สิ ท ธิ กํ า ลั ง พลกองบั ญ ชาการกองทั พ ไทยฉบั บ นี้ ขึ้ น ประกอบด ว ยสิ ท ธิ
ขณะรับราชการ สิทธิที่ไดรับเมื่อเกษียณอายุราชการ และสิทธิเมื่อเสียชีวิต โดยมีวัตถุประสงค
เพื่อใหนายทหารกําลังพลในทุกสวนราชการ รวมทั้งกําลังพลของกองบัญชาการกองทัพไทยมีคูมือ
ในการศึ กษาค นควา และทํ าความเข าใจสิ ทธิ เบื้ องตน ของกํ า ลังพลกองบั ญชาการกองทั พ ไทย
สามารถใหคําแนะนําขาราชการรวมทั้งดูแลสิทธิกําลังพลของขาราชการกองบัญชาการกองทัพไทย
ไดอยางถูกตองเหมาะสมตอไป

คณะทํางานการจัดการความรู (KM)
กรมกําลังพลทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย
ตุลาคม ๒๕๕๒
สารบัญ
หนา

สิทธิกําลังพล บก.ทท.
สิทธิขณะรับราชการ
๑. สิทธิการปรับอัตราเงินเดือนขาราชการทหาร ๕
๒. สิทธิการปรับอัตราเงินเดือนของขาราชการทหาร ตามคุณวุฒิ ๑๑
๓. สิทธิเงินเพิ่มพิเศษผูบังคับอากาศยาน ๑๕
๔. สิทธิเงินเพิ่มพิเศษสําหรับแพทย ทันตแพทย และเภสัชกร พ.ศ.๒๕๓๘ ๑๖
๕. สิทธิการไดรับการพิจารณาเลื่อนขัน้ เงินเดือนครึ่งขั้น ในแตละครึ่งป ๑๙
๖. สิทธิในการลดระยะเวลาการครองยศของขาราชการทหาร ๒๓
๗. สิทธิในการขอเครือ่ งแตงกายและเครื่องประกอบการแตงกาย ๒๔
๘. การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ ๒๗
๙. สิทธิการเบิกคาเชาบานขาราชการ ๓๓
๑๐. สิทธิคาเชาทีพ่ ักในการเดินทางไปราชการใหเปนไปตามระเบียบ ๓๕
ที่กระทรวงการคลังกําหนด
๑๑. สิทธิการเบิกคาเบีย้ เลี้ยงเดินทาง ๓๖
๑๒. สิทธิการลาประเภทตางๆ ๓๘
๑๓. สิทธิในการลาเขารับการศึกษา ณ ตางประเทศ ๔๑
๑๔. สิทธิในการเขารับการศึกษาหลักสูตรนอก กห. ภายในประเทศ ๔๔
๑๕. สิทธิไดรับคะแนนเพิ่ม ๕๐
๑๖. สิทธิการมีสวนรวมทางการเมือง ๕๓
๑๗. สิทธิการเขาสมาคม ๕๕
๑๘. สิทธิของทหารเมือ่ ตกเปนผูตองหาในคดีอาญา ๕๖
๑๙. สิทธิในการรองทุกข ๕๗
๒๐. สิทธิกําลังพลของผูปฏิบัติงานใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต ๖๐
และ ๔ อําเภอในจังหวัดสงขลา สิทธิเจาหนาทีข่ อง กอ.รมน.
และผูปฏิบัติในสายงาน กอ.รมน.
หนา

สิทธิเมื่อเกษียณอายุราชการ
๒๑. สิทธิกําลังพล กอ.รมน. ๖๑
๒๒. สิทธิที่เขาราชการทหารจะไดรับเมื่อออกจากราชการ ๖๗
๒๓. สิทธิการไดรับบําเหน็จพิเศษในเวลาปกติ ๗๕
๒๔. สิทธิการไดรับบําเหน็จพิเศษในเวลาเหตุฉุกเฉิน ๗๗
๒๕. สิทธิไดรับการสงเคราะห ๗๙
๒๖. สิทธิผูที่ลาออกจากราชการหรือเกษียณอายุ ๘๐
๒๗. สิทธิที่จะไดรับจากหนวยงานอื่น ๆ ๘๑
สิทธิเมื่อเสียชีวิต
๒๘. สิทธิเมื่อเสียชีวิต ๘๓
๒๙. สิทธิที่ไดรับกรณีเสียชีวิตดวยอุบัติเหตุ ๘๔
๓๐. สิทธิในการขอพระราชทานน้ําหลวงอาบศพ ๘๕
๓๑. สิทธิในการขอพระราชทานเพลิงศพ ๘๖
สิทธิกําลังพล บก.ทท.
สิทธิกําลังพล คือ ผลที่ขาราชการทหารและลูกจางไดรับจากทางราชการ อันเนื่องมาจากการ
ปฏิบัติหนาที่ราชการในเวลาปกติและการปฏิบัติหนาที่ราชการในเวลาฉุกเฉิน เพื่อใหทุกคนไดตระหนักถึง
ภาระหนาที่ ความรับผิดชอบและเกียรติยศ เมื่อไดตั้งใจประพฤติปฏิบัติหนาที่ราชการประกอบคุณงาม
ความดีแลว ยอมไดรับผลตอบแทน ทั้งในขณะปฏิบัติหนาที่ ลาออก ทุพพลภาพ เกษียณอายุ หรือ
เสียชีวิต ซึ่งผลจะบังเกิดแกตนเอง ครอบครัวและทายาท

สิทธิการปรับอัตราเงินเดือนของขาราชการทหาร

๑. พ.ร.ฎ. การปรับอัตราเงินเดือนของขาราชการทหาร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๕๐

ƒ นายทหารสัญญาบัตร รับเงินเดือนระดับ น.๑ - น.๙


ƒ นายทหารประทวน รับเงินเดือนระดับ ป.๑ - ป.๓
ƒ พลอาสาสมัคร รับเงินเดือนระดับ พ.๒
ƒ ทหารกองประจําการ รับเงินเดือนระดับ พ.๑
ƒ นักเรียนทหาร รับเงินเดือนระดับ พ.๑

๒. คําสั่ง กห. ที่ ๙๐๘/๒๕๔๗ เรื่อง กําหนดอัตราเงินเดือนของทหารกองประจําการ

ƒ ทหารกองประจําการปที่ ๑ รับเงินเดือนระดับ พ.๑ ชั้น ๓


ƒ ทหารกองประจําการปที่ ๑ ผานหลักสูตรการฝกทหารใหม รับเงินเดือนระดับ พ.๑ ชั้น ๑๖
ƒ ทหารกองประจําการปที่ ๑ ระหวางการฝกครูทหารใหมหรือฝก ส.ต. รับเงินเดือนระดับ
พ.๑ ชั้น ๑๗
ƒ ทหารกองประจําการปที่ ๒ รับเงินเดือนระดับ พ.๑ ชั้น ๑๘
ƒ ทหารกองประจําการทําหนาที่ครูทหารใหม รับเงินเดือนระดับ พ.๑ ชั้น ๑๙
ƒ ส.ต. กองประจําการ รับเงินเดือนระดับ พ.๑ ชั้น ๒๐

๓. คําสั่ง กห. ที่ ๓๙๕/๒๕๔๘ เรื่อง กําหนดอัตราเงินเดือนของนักเรียนในสังกัดกระทรวงกลาโหม

ƒ นักเรียนเตรียมทหารชั้นปที่ ๑ รับเงินเดือนระดับ พ.๑ ชั้น ๑๐


ƒ นักเรียนเตรียมทหารชั้นปที่ ๒ รับเงินเดือนระดับ พ.๑ ชั้น ๑๑
ƒ นักเรียนเตรียมทหารชั้นปที่ ๓ รับเงินเดือนระดับ พ.๑ ชั้น ๑๒
ƒ นักเรียนนายสิบเหลา ผท. ชั้นปที่ ๑ รับเงินเดือนระดับ พ.๑ ชั้น ๑๓
ƒ นักเรียนนายสิบเหลา ผท. ชั้นปที่ ๒ รับเงินเดือนระดับ พ.๑ ชั้น ๑๔

บัญชีอัตราเงินเดือนทหาร ทหารกองประจําการ และนักเรียนในสังกัด กระทรวงกลาโหม


ตามผนวกประกอบ พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการ (ฉบับที่ ๗)

ชั้น บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท


19.5 4,510 9,790 10,440 14,560 21,170 15,160 27,070
19.0 4,400 9,590 10,240 14,340 20,830 14,860 26,620
18.5 4,290 9,430 10,030 14,100 20,470 14,560 26,180
18.0 4,190 9,240 9,790 13,860 20,130 14,280 25,740
17.5 4,060 9,060 9,590 13,630 19,780 13,980 25,310
17.0 3,960 8,540 9,430 13,390 19,420 13,690 24,870
16.5 3,710 8,710 9,240 13,160 19,080 13,400 24,430
16.0 3,490 8,580 9,060 12,920 18,190 13,110 23,990
15.5 3,380 8,380 8,880 12,670 17,890 12,820 23,550
15.0 3,300 8,180 8,710 12,440 17,600 12,530 23,110
14.5 3,200 8,020 8,540 12,200 17,320 12,220 22,680
14.0 3,110 7,860 8,380 11,960 17,020 11,930 22,250
13.5 3,000 7,710 8,200 11,740 16,730 11,650 21,820
13.0 2,920 7,570 8,040 11,510 16,440 11,350 21,410
12.5 2,820 7,410 7,890 11,290 16,150 11,060 20,990
12.0 2,750 7,270 7,730 11,070 15,850 10,770 20,590
11.5 2,690 7,120 7,580 10,850 15,560 10,470 20,180
11.0 2,600 6,980 7,420 10,640 15,260 10,190 19,790
10.5 2,540 6,860 7,260 10,440 14,970 9,940 19,390
10.0 2,480 6,710 7,100 10,240 14,700 9,700 19,010
9.5 2,410 6,590 6,940 10,030 14,410 9,480 18,640
9.0 2,340 6,460 6,800 9,850 14,140 9,230 18,280
8.5 2,280 6,330 6,630 9,660 13,870 8,990 17,910
8.0 2,210 6,210 6,470 9,470 13,620 8,770 17,560
7.5 2,140 6,090 6,310 9,270 13,360 8,450 17,200
7.0 2,070 5,970 6,160 9,080 13,100 8,320 16,840
6.5 2,010 5,860 6,000 8,890 12,850 8,130 16,480
6.0 1,940 5,760 5,840 8,700 12,600 7,940 16,110
5.5 1,870 5,630 5,680 8,500 12,350 7,740 15,780
5.0 1,800 5,530 5,530 8,320 12,120 7,560 15,410
4.5 1,730 5,410 5,410 8,130 11,870 7,360 15,040
4.0 1,670 5,310 5,310 7,940 11,630 7,170 14,690
3.5 1,610 5,180 5,180 7,740 11,390 6,970 14,330
3.0 1,550 5,080 5,080 7,560 11,140 6,800 13,960
2.5 1,470 4,970 4,970 7,360 10,900 6,630 13,610
2.0 1,420 4,850 4,850 7,170 10,660 6,470 13,240
1.5 1,360 4,740 4,740 6,970 10,420 6,310 12,880
1.0 1,290 4,630 4,630 6,800 9,850 6,160 12,530
พ.1 พ.2 ป.1 ป.2 ป.3 น.1 น.2

บัญชีอัตราเงินเดือนทหาร ทหารกองประจําการ และนักเรียนในสังกัด กระทรวงกลาโหม


ตามผนวกประกอบ พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการ (ฉบับที่ ๗)

บาท บาท บาท ชั้น


33,020 40,590 49,770 บาท 19.5
32,480 39,930 49,000 59,770 19.0
31,960 39,280 48,220 58,850 18.5
31,420 38,620 47,450 57,930 18.0
30,900 37,980 46,670 57,010 17.5
30,360 37,320 45,900 56,080 17.0
29,840 36,660 45,120 55,170 บาท 16.5
29,320 36,020 44,340 54,240 64,340 16.0
28,780 35,360 43,570 53,330 63,270 15.5
28,260 34,710 42,790 52,390 62,200 15.0
27,720 34,050 42,020 51,470 61,140 บาท 14.5
27,200 33,410 41,240 50,560 60,060 64,340 14.0
26,690 32,790 40,460 49,630 59,000 63,270 13.5
26,170 32,160 39,680 48,700 57,940 62,200 13.0
25,690 31,560 38,940 47,780 56,860 61,140 12.5
25,200 30,960 38,190 46,870 55,800 60,060 12.0
24,730 30,380 37,480 45,990 54,740 59,000 11.5
24,250 29,800 36,780 45,130 53,690 57,940 11.0
23,780 29,220 36,070 44,250 52,630 56,860 10.5
23,320 28,660 35,350 43,380 51,590 55,800 บาท 10.0
22,860 28,100 34,670 42,550 50,530 54,740 67,550 9.5
22,420 27,550 33,990 41,720 49,480 53,690 66,480 9.0
21,980 27,000 33,310 40,900 48,440 52,630 65,410 8.5
21,540 26,470 32,630 40,060 47,390 51,590 64,340 8.0
21,110 25,930 31,950 39,220 46,350 50,530 63,270 7.5
20,670 25,390 31,280 38,390 45,310 49,480 62,200 7.0
20,220 24,850 30,580 37,560 44,280 48,440 61,140 6.5
19,800 24,310 29,900 36,730 43,240 47,390 60,060 6.0
19,350 23,770 29,230 35,900 42,220 46,350 59,000 5.5
18,910 23,230 28,550 35,060 41,190 45,310 57,940 5.0
18,480 22,690 27,880 34,230 40,180 44,280 56,860 4.5
18,040 22,160 27,200 33,410 39,180 43,240 55,800 4.0
17,590 21,610 26,520 32,590 38,180 42,220 54,740 3.5
17,150 21,080 25,860 31,770 37,220 41,190 53,690 3.0
16,320 20,520 25,200 30,960 36,240 40,180 52,630 2.5
16,280 19,990 24,540 30,140 35,290 39,180 51,590 2.0
15,840 19,440 23,880 29,350 34,350 38,180 50,530 1.5
15,410 18,910 23,230 28,550 33,410 37,220 49,480 1.0
น.3 น.4 น.5 น.6 น.7 น.8 น.9

บัญชีอัตราเงินเดือนทหาร ทหารกองประจําการ และนักเรียนในสังกัด กระทรวงกลาโหม


ตามผนวกประกอบ พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการ (ฉบับที่ ๗)

ชั้น บาท
37.0 18,590
36.5 18,340
36.0 18,110
35.5 17,870 บาท
35.0 17,640 25,700
34.5 17,400 25,360
34.0 17,160 25,010
33.5 16,940 24,650
33.0 16,700 24,310
32.5 16,460 บาท 23,960
32.0 16,230 22,280 23,610
31.5 15,990 21,990 23,270
31.0 15,750 21,700 22,920
30.5 บาท 15,510 21,410 22,570
30.0 14,560 15,270 21,120 22,220
29.5 14,340 15,040 20,830 21,880
29.0 14,100 14,800 20,520 21,520
28.5 13,860 14,560 20,230 21,170
28.0 13,630 14,340 19,950 20,830
27.5 13,390 14,100 19,650 20,470
27.0 13,160 13,860 19,360 20,130
26.5 12,920 13,630 19,070 บาท 19,780
26.0 12,670 13,390 18,780 25,700 19,420
25.5 บาท 12,440 13,160 18,490 25,360 19,080
25.0 5,760 12,200 12,920 18,190 25,010 18,720
24.5 5,630 11,960 12,670 17,890 24,650 18,380
24.0 5,530 11,740 12,440 17,600 24,310 18,040
23.5 5,410 11,510 12,200 17,320 23,960 17,700
23.0 5,310 11,290 11,960 17,020 23,610 17,360
22.5 5,180 11,070 11,740 16,730 23,270 17,030
22.0 5,080 10,850 11,510 16,440 22,920 16,710
21.5 4,970 10,640 11,290 16,150 22,570 16,380
21.0 4,850 10,440 11,070 15,850 22,220 16,070
20.5 4,740 10,240 10,850 15,560 21,880 15,760 บาท
20.0 4,630 10,030 10,640 14,800 21,520 15,460 27,500
พ.1 พ.2 ป.1 ป.2 ป.3 น.1 น.2

บัญชีอัตราเงินเดือนทหาร ทหารกองประจําการ และนักเรียนในสังกัด กระทรวงกลาโหม


ตามผนวกประกอบ พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการ (ฉบับที่ ๗)

ชั้น
37.0
36.5
36.0
35.5
35.0
34.5
34.0
33.5
33.0
32.5
32.0
31.5
31.0
30.5
30.0
29.5
29.0
28.5
28.0
27.5
27.0
26.5
26.0
25.5
25.0
บาท 24.5
47,450 24.0
46,670 23.5
45,900 23.0
45,120 22.5
44,340 22.0
43,570 21.5
42,790 21.0
บาท 42,020 บาท 20.5
33,540 41,230 50,550 20.0
น.3 น.4 น.5 น.6 น.7 น.8 น.9
๑๐

๔. กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการบรรจุบุคคลเขารับราชการทหารและการใหไดรับ
เงินเดือน พ.ศ.๒๕๔๙

ƒ สําเร็จการศึกษา ม.๓ หรือ ม.๖ รับเงินเดือนระดับ ป.๑ ชั้น ๓


ƒ สําเร็จการศึกษาระดับ ปวช. และ นนส. (เหลา สส.) รับเงินเดือนระดับ ป.๑ ชั้น ๖
ƒ สําเร็จการศึกษา นจอ. และ นรจ.
- รับ ม.๓ เมื่อสําเร็จการศึกษา รับเงินเดือนระดับ ป.๑ ชั้น ๘
- รับ ม.๖ เมื่อสําเร็จการศึกษา รับเงินเดือนระดับ ป.๑ ชั้น ๑๐
- รับ ปวช. เมื่อสําเร็จการศึกษา รับเงินเดือนระดับ ป.๑ ชั้น ๑๐
ƒ สําเร็จการศึกษา ปวส. และ นนส. (เหลา ผท.) รับเงินเดือนระดับ ป.๑ ชั้น ๑๐
ƒ สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี และ นนร. รับเงินเดือนระดับ น.๑ ชั้น ๖
ƒ สําเร็จการศึกษาแพทยศาสตร สัตวแพทยศาสตร และทันตแพทยศาสตร รับเงินเดือน
ระดับ น.๑ ชั้น ๑๐
(มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม วิชาชีพการสัตวแพทย วิชาชีพทันตกรรม รับเงินเดือน
ระดับ น.๑ ชั้น ๑๑)

๕. คําสั่งคําสั่ง กห. (เฉพาะ) ที่ ๒๔๐/๔๙ เรื่อง กําหนดอัตราเงินเดือนในการบรรจุผูสําเร็จการศึกษา


จากโรงเรียนทหารหรือวิทยาลัยการทหารในตางประเทศเขารับราชการเปนนายทหารสัญญาบัตร

ƒ หลักสูตรการศึกษา ๕ ป ขึ้นไป รับเงินเดือนระดับ น.๑ ชั้น ๘


ƒ หลักสูตรการศึกษา ๔ ป แตไมถึง ๕ ป รับเงินเดือนระดับ น.๑ ชั้น ๗
ƒ หลักสูตรการศึกษา ๔ ป รับเงินเดือนระดับ น.๑ ชั้น ๖
ƒ หลักสูตรการศึกษา ๓ ป แตไมถึง ๔ ป รับเงินเดือนระดับ น.๑ ชั้น ๕
ƒ หลักสูตรการศึกษา ๒ ป แตไมถึง ๓ ป รับเงินเดือนระดับ น.๑ ชั้น ๔
ƒ หลักสูตรการศึกษาไมเกิน ๒ ป รับเงินเดือนระดับ น.๑ ชั้น ๓
ƒ หากจําเปนตองเขารับการศึกษาใด ๆ กอน ใหนับระยะเวลาการศึกษากอนหลักสูตรหลักดวย
๑๑

สิทธิการปรับอัตราเงินเดือนของขาราชการทหาร ตามคุณวุฒิ

- ขอบังคับ กห. วาดวยการเลื่อนชั้นเงินเดือนขาราชการทหารตามคุณวุฒิ พ.ศ.๒๕๒๒


- หนังสือ สม.(ฉบับ กห เลขรับ ๕๐๕๐/๓๙) ลง ๒๑ มิ.ย.๓๙ (มติ กขท. ครั้งที่ ๖/๓๙)

สิทธิในการปรับขั้นเงินเดือนตามคุณวุฒิ เมื่อขาราชการไดรับอนุมัติใหลาไปศึกษา (ทั้งในเวลา


ราชการหรือนอกเวลาราชการ) และสําเร็จการศึกษามีคุณวุฒิสูงขึ้น ซึ่งคุณวุฒิที่สําเร็จมาตรงตาม
ตําแหนงหนาที่หลักที่ตองใชวิชาชีพนั้น สามารถเลื่อนชั้นเงินเดือนใหตรงตามคุณวุฒิได

คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
๑. ขาราชการที่มีคําสั่งใหเขารับการศึกษา/ ใหไปศึกษา ถาการศึกษานั้นมีโอกาสจะไดรับเงินเดือน
สูงขึ้นตามอัตราเงินเดือนตามคุณวุฒิ
หมายเหตุ กรณีคุณวุฒิที่จะบรรจุในอัตรา มิไดบงชัดหรือไมตรงตามคําชี้แจงคุณวุฒิทาย
อัตรา ขาราชการที่สําเร็จการศึกษาวิชาชีพ แตมิไดดํารงตําแหนงหนาที่หลักที่ตองใชวิชาชีพนั้น
และไดรับเงินเดือนต่ํากวาจํานวนเงินตามอัตราเงินเดือนตามคุณวุฒิ เมื่อไดดํารงตําแหนง
หนาที่หลักตองใชวิชาชีพนั้น ใหไดรับจํานวนเงินเดือนตามอัตราเงินเดือนตามคุณวุฒินั้น
ตั้งแตวันที่ดํารงตําแหนงหนาที่หลัก
๒. ขาราชการซึ่งสําเร็จการศึกษาวิชาชีพที่มีคุณวุฒิสูงขึ้นหรือเพิ่มขึ้น โดยทางราชการสงไปหรือ
ไดรับอนุญาตพิจารณาวิชาที่ศึกษาในหลักสูตรที่สําเร็จการศึกษาวาสามารถนํามาใชประโยชน
ในการปฏิบัติงาน จํานวนตั้งแต ๓๐ หนวยกิต ขึ้นไปสําหรับปริญญาตรี และ ๑๕ หนวยกิต
ขึ้นไปในระดับปริญญาโท
๑๒
ขั้นตอนการขอรับสิทธิกําลังพลและหลักฐานประกอบการพิจารณา
๑. ให กพ.ทหาร ดํ า เนิ น การเป น ส ว นรวมป ล ะ ๑ ครั้ ง โดยแจ ง ให ส ว นราชการใน บก.ทท.
เสนอรายชื่อพรอมหลักฐานดานคุณวุฒิมายัง กพ.ทหาร เพื่อพิจารณา
๒. กพ.ทหาร เสนอของบประมาณผาน กคง.สนผพ.กพ.ทหาร เพื่อเสนอ สปช.ทหาร ดําเนินการ
ในสวนที่เกี่ยวของ
๓. เมื่อไดรับการสนับสนุนงบประมาณจาก สปช.ทหาร แลว กพ.ทหาร จะนําเรียน ผบ.ทสส.
เพื่ออนุมัติการใชงบประมาณ
๔. สําหรับนายทหารสัญญาบัตรจะสงให สม. เพื่อขออนุมัติ รมว.กห. สําหรับนายทหารประทวน
เสนอใหหนวยตนสังกัดออกคําสั่งเลื่อนชั้นเงินเดือนตอไป
๑๕

สิทธิเงินเพิ่มพิเศษผูบังคับอากาศยาน

- ระเบียบ กค. วาดวยเงินเพิ่มพิเศษผูบังคับอากาศยาน พ.ศ.๒๕๓๗


- ระเบียบ กค. วาดวยเงินเพิ่มพิเศษผูบังคับอากาศยาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๙
- ระเบียบ กค. วาดวยเงินเพิ่มพิเศษผูบังคับอากาศยาน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๕๒
- ข อ บั ง คั บ กห. ว า ด ว ยเงิ น เพิ่ ม พิ เ ศษรายเดื อ น (ฉบั บ ที่ ๒๗) พ.ศ.๒๕๔๙
- หนังสือ กพ.ทหาร ที่ กห ๐๓๐๒/๒๐๖๒ ลง ๑๓ ก.ค.๕๐ เรื่อง ขออนุมัติระเบียบ บก.ทหารสูงสุด
วาดวยเงินเพิ่มพิเศษรายเดือน

คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิเงินเพิ่มพิเศษ
๑. ผู มี สิ ท ธิ ไ ด รั บ เงิ น เพิ่ ม ผู บั ง คั บ อากาศยาน ได แ ก นั ก บิ น ประจํ า กองพร อ มรบตามที่
กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ กําหนด
๒. เงินเพิ่มพิเศษผูบังคับอากาศยาน หมายความวา เงินเพิ่มพิเศษที่กระทรวงกลาโหมจายใหกับ
นั ก บิ น ประจํ า กองพร อ มรบตามที่ ก องบั ญ ชาการกองทั พ ไทย กองทั พ บก กองทั พ เรื อ
กองทัพอากาศ กําหนดเปนรายเดือน นอกเหนือจากเงินเดือนและเงินเพิ่มคาฝาอันตราย
ที่ไดรับอยูเดิม
๓. นักบินประจํากองพรอมรบ หมายความวา ผูที่สอบความรูความสามารถไดสําเร็จตามหลักสูตร
ศิษยการบินของ กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ หรือหลักสูตรการบิน ที่กองทัพบก
กองทัพเรือ กองทัพอากาศ พิจารณาเทียบเทา กับเปนขาราชการทหารประจําการที่ทําการบิน
ตามที่ ก องบั ญ ชาการกองทั พ ไทย กองทั พ บก กองทั พ เรื อ กองทั พ อากาศ กํ า หนดและ
ประจําการอยูในหนวยบินทุกนาย หรือประจําการอยูนอกหนวยบินทุกนาย
๔. เครื่องบินขับไลหรือเครื่องบินโจมตีสมรรถนะสูง หมายความวา อากาศยานที่มีความเร็วหนึ่งเทา
ของความเร็วเสียงขึ้นไป และโครงสรางอากาศยานนั้นสามารถรับภาระ ขณะทําการบินไดเจ็ดเทา
ของแรงดึงโนมถวงของโลกขึ้นไป ตามที่กําหนดในคูมือการบินของอากาศยานแบบนั้นๆ
๑๖
๕. ผู ทํ า การในอากาศตามที่ กองบั ญ ชาการกองทั พ ไทย กองทั พ บก กองทั พ เรื อ หรื อ
กองทัพอากาศ ไดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบเห็นวา มีความรูความสามารถแลว ใหไดรับเงิน
เพิ่มคาฝาอันตราย ดังนี้

ประเภทผูทําการในอากาศ รับเงินเดือนละ (บาท)


นักบินลองเครื่องกับเครื่องตนแบบ ๑๕,๐๐๐
ครูการบินหรือนักบินลองเครื่อง ๑๔,๖๐๐
นักบินประจํากอง ร.ต. - ร.อ. ๑๑,๐๐๐
นักบินประจํากอง พ.ต., น.ต. ขึ้นไป ๑๓,๒๐๐
นักบินสํารอง ๕,๕๐๐
ศิษยการบินมัธยม ๕,๕๐๐
ศิษยการบินประถม ๒,๘๐๐

สิทธิเงินเพิ่มพิเศษสําหรับแพทย ทันตแพทย และเภสัชกร


พ.ศ.๒๕๓๘
- ระเบี ย บ บก.ทหารสู ง สุ ด ว า ด ว ยเงิ น เพิ่ ม พิ เ ศษสํ า หรั บ แพทย ทั น ตแพทย และเภสั ช กร
พ.ศ.๒๕๓๘

ให แพทย ทันตแพทย และเภสัชกร ที่ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลโดยไมทําเวชปฏิบัตสิ วนตัว


และหรือไมปฏิบัติงานในโรงพยาบาลเอกชน ไดรับเงินเพิ่มพิเศษ ดังนี้
ƒ แพทย ทันตแพทย เดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท
ƒ เภสัชกร เดือนละ ๕,๐๐๐ บาท
๑๗
คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
๑. แพทย ทันตแพทย และเภสัชกร ที่มีสิทธิไดรับเงินเพิ่มพิเศษตาม กค. กําหนด ดังนี้
ƒ เปนผูปฏิบัติงานในสถานพยาบาลตามระเบียบนี้
ƒ เป น ผู ที่ อุ ทิ ศ เวลาให กั บ ทางราชการโดยไม ทํ า เวชปฏิ บั ติ แ ละ/หรื อ ปฏิ บั ติ ง านใน
สถานพยาบาลหรื อ โรงพยาบาลเอกชน ไม ว า จะเป น การตรวจรั ก ษา การรั บ ปรึ ก ษา
การแปรผล การตรวจวินิจฉัย การใหบริการทางทันตกรรมใด ๆ การจายยา การผลิตยา
หรือการใหบริการทางการแพทย และสาธารณสุขใด ๆ ซึ่งมีความหมายในทํานองเดียวกัน
ƒ เปนผูที่สามารถและพรอมที่จะปฏิบัติงานอื่นใดตามที่สถานพยาบาลจะกําหนดขึ้น เชน
การใหบริการตรวจรักษาผูปวยในคลินิกนอกเวลาราชการ การออกหนวยแพทยหรือหนวย
บริ ก ารสาธารณสุ ข เคลื่ อ นที่ เป น ต น (หรื อ ตามที่ สํ า นั ก งานแพทย ท หาร แต ง ตั้ ง
คณะกรรมการพิ จ ารณาการจ า ยเงิ น เพิ่ ม พิ เ ศษคณะหนึ่ ง ไม เ กิ น ๑๐ คน โดยมี
ผูอํานวยการสํานักงานแพทยทหาร เปนประธานกรรมการ) เพื่อใหแพทย ทันตแพทย และ
เภสัชกร จะไดสรางผลงานดานบริการและทางวิชาการดําเนินการพัฒนาระบบบริหารและ
บริการในอันที่จะปรับปรุงคุณภาพและประสิทธิภาพของการทํางาน
ƒ เปนผูที่เสียสละปฏิบัติงานดวยความวิริยะ อุตสาหะ มีผลการปฏิบัติงานราชการดีเดน
เป น ที่ ป ระจั ก ษ ใ นเชิ ง บริ ห าร บริ ก าร และ/หรื อ วิ ช าการ โดยผ า นการประเมิ น ของ
คณะกรรมการพิ จ ารณาการจ า ยเงิน เพิ่ม พิ เศษ หรื อคณะอนุ กรรมการผู ท รงคุ ณวุ ฒิ ที่
คณะกรรมการมอบหมาย
๒. สถานพยาบาล หมายความว า โรงพยาบาล หรื อ หน ว ยงานที่ มี ชื่ อ เรี ย กอย า งอื่ น ในสั ง กั ด
กองบัญชาการกองทัพไทย ซึ่งมีการจัดใหบริการทางการแพทยและสาธารณะสุข รวมทั้ง
สถานพยาบาล ตามระเบียบกระทรวงกลาโหม วาดวยเงินรายรับของสถานพยาบาล
๓. เงินเพิ่มพิเศษ คือ เงินที่ทางราชการอนุมัติใหจายแกแพทย ทันตแพทย และเภสัชกร ที่ปฏิบัติงาน
ในสถานพยาบาลโดยไมทําเวชปฏิบัติสวนตัว และหรือไมปฏิบัติงานในโรงพยาบาลเอกชน
๔. ระเบียบ กห. วาดวยเงินเพิ่มสําหรับตําแหนงที่มีเหตุพิเศษของผูปฏิบัติงานดานการสาธารณสุข
พ.ศ.๒๕๔๘ และ หนังสือ สปช.ทหาร ที่ตอ สปช.ทหาร เลขรับ ๘๙๒๗/๕๐ ลง ๑๓ พ.ย.๕๐
เรื่อง ประกาศกําหนดอัตราเงินเพิ่ม พ.ต.ส. ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๑ ใหกําหนดเงินเพิ่ม
พิเศษสําหรับตําแหนงที่มีเหตุพิเศษของผูปฏิบัติงานดานการสาธารณสุข ดังนี้
๑๘

ตําแหนง อัตรา พ.ส.ต. ไมเกิน (บาท/เดือน)


แพทย ๕,๐๐๐ - ๑๕,๐๐๐
ทันตแพทย ๕,๐๐๐ - ๑๐,๐๐๐
เภสัชกร ๑,๕๐๐ - ๓,๐๐๐
พยาบาลวิชาชีพ ๑,๐๐๐ - ๒,๐๐๐
นักเทคนิคการแพทย / นักรังสีการแพทย ๑,๐๐๐
นักกายภาพบําบัด / นักกิจกรรมบําบัด ๑,๐๐๐
นักแกไขความผิดปกติของการสื่อสารความหมาย ๑,๐๐๐
นักเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก ๑,๐๐๐
นักจิตวิทยาคลินิก ๑,๐๐๐

ขั้นตอนการขอรับสิทธิกําลังพลและหลักฐานประกอบการพิจารณา
๑. การขอรับเงินเพิ่มพิเศษ แพทย ทันตแพทย และเภสัชกร ที่มีสิทธิจะไดรับเงินเพิ่มพิเศษจะตองยื่น
คําขอตามแบบแนบทายระเบียบนี้ ลวงหนากอนวันกําหนดรับเงินอยางนอย ๑ เดือน โดยระบุถึง
งานที่ตั้งใจจะปฏิบัติหรือปฏิบัติมาแลว ซึ่งมีผลการปฏิบัติงานดีเดนเปนที่ประจักษอันแสดงถึง
ความเสียสละ การอุทิศงานและเวลาใหกับทางราชการ และพรอมที่จะไดรับการประเมินเสนอตอ
ผูบังคับบัญชาตามลําดับชั้นจนถึงสํานักงานแพทยทหารเพื่อใหสํานักงานแพทยทหาร แตงตั้ง
คณะกรรมการพิจารณาการจายเงินเพิ่มพิเศษคณะหนึ่งไมเกิน ๑๐ คน โดยมี ผูอํานวยการแพทย
ทหาร เปนประธานกรรมการพิจารณาและตรวจสอบคุณสมบัติ
๒. ใหหัวหนาสวนราชการตนสังกัดที่สถานพยาบาลนั้นตั้งอยูแตงตั้งผูตรวจสอบและติดตาม
การปฏิบัติตามสัญญาในการรับเงินเพิ่มพิเศษ
๓. แพทย ทันตแพทย และเภสัชกร ที่ไดผานการพิจารณาของคณะกรรมการใหมีสิทธิไดรับเงิน
เพิ่มพิเศษ ตองทําสัญญากับกองบัญชาการกองทัพไทย ตามแบบที่แนบทายระเบียบนี้โดย
สัญญาที่ทํากําหนดไวมีอายุ ๑ ป และใหผูอํานวยการสํานักงานแพทยทหาร เปนผูมีอํานาจ
ลงนามรับสัญญาแทนผูบัญชาการทหารสูงสุด
๔. สัญญาที่ผูมีอํานาจลงนามรับสัญญาแลวใหผูมีสิทธิรับเงินเพิ่มพิเศษไดรับเงินตั้งแต วันที่ ๑
ของเดือนถัดไป
๑๙

สิทธิการไดรับการพิจารณาเลื่อนชั้นเงินเดือนครึ่งขั้น ในแตละครึ่งป

- ระเบียบ บก.ทท. วาดวยการพิจารณาบําเหน็จประจําปของขาราชการ และลูกจางประจําสังกัด บก.ทท.


พ.ศ.๒๕๕๒

คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
๑. ปฏิบัติตามหนาที่ของตนดวยความสามารถและดวยความอุตสาหะจนเกิดผลดีหรือความกาวหนา
แกทางราชการ ซึ่งผูบังคับบัญชาไดพิจารณาประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงาน
ของขาราชการ เห็นวาอยูในเกณฑที่สมควรจะไดเลื่อนชั้นเงินเดือนครึ่งขั้น
๒. ตองไมถูกสั่งลงทัณฑ ขัง หรือจําขัง หรือไมถูกศาลพิพากษาในคดีอาญาใหลงโทษในความผิด
ที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ราชการหรือความผิดที่ทําใหเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ของตําแหนง
หนาที่ราชการของตน ซึ่งมิใชความผิดที่ไดกระทําโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ ในกรณี
ที่ข าราชการทหารผู ใดอยู ในหลักเกณฑ ที่ สมควรได เลื่ อนชั้นเงินเดื อน และไดถู กงดเลื่ อนชั้ น
เงินเดือน เพราะถูกลงทัณฑทางวินัย หรือถูกศาลพิพากษาในคดีอาญา ใหลงโทษในกรณีนั้น
มาแลว ใหผูบังคับบัญชาเลื่อนชั้นเงินเดือนประจําปครึ่งปตอไปใหผูนั้น ตั้งแตวันที่ ๑ เมษายน
หรือวันที่ ๑ ตุลาคม ของครั้งที่จะเลื่อนได เปนตนไป
๓. ไมถูกสั่งพักราชการเกินกวาสองเดือน
๔. ไมขาดราชการ โดยไมมีเหตุผลอันสมควร
๕. ไดรับการบรรจุเขารับราชการมาแลวเปนเวลาไมนอยกวาสี่เดือน การนับเวลาราชการใหนับ
เปนเดือน
๖. ไมลากิจ หรือมาทํางานสายเกิน ๘ ครั้ง โดยไมมีเหตุผลอันสมควร ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับดุลยพินิจ
ของหัวหนาสวนราชการนั้น
๗. มีเวลาปฏิบัติราชการหกเดือน โดยมีวันลาไมเกินยี่สิบสามวัน แตไมรวมถึงวันลาตามขอบังคับ
กระทรวงกลาโหม วาดวยการลา ดังตอไปนี้
ƒ ลาอุปสมบท หรือลาไปประกอบพิธีฮัจย ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย เฉพาะวันลา
ที่มีสิทธิไดรับเงินเดือน ระหวางลาตามกฎหมายวาดวยการจายเงินเดือน
ƒ ลาคลอดบุตรไมเกินเกาสิบวัน
๒๐
ƒ ลาปวย ซึ่งจําเปนตองรักษาตัวเปนเวลานาน ไมวาคราวเดียว หรือหลายคราว รวมกันไมเกินหก
สิบวันทําการ
ƒ ลาปวยเพราะประสบอันตรายในขณะปฏิบัติหนาที่ราชการตามหนาที่ หรือในขณะเดินทางไป
หรือกลับจากปฏิบัติราชการตามหนาที่
ƒ ลาพักผอน
ƒ ลาไปปฏิบัติงานในองคการระหวางประเทศ การนับจํานวนวันลาไมเกินยี่สิบสามวัน สําหรับวัน
ลากิจ และวันลาปวย ที่ไมใชวันลาปวยใหนับเฉพาะวันทําการ
๘. การเลื่อนชั้นเงินเดือนหนึ่งขั้นในแตละครั้ง ตองเปนผูอยูในหลักเกณฑที่จะไดรับการพิจารณา
เลื่ อนชั้ นเงิ นเดื อนครึ่ งขั้ น และอยู ในหลั กเกณฑ ประการใดประการหนึ่ งหรื อหลายประการ
ดังตอไปนี้
ƒ ปฏิบัติงานตามหนาที่ไดผลดีเดน มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอันกอใหเกิดประโยชนและ
ผลดียิ่งตอทางราชการ และสังคม จนถือเปนตัวอยางที่ดีได
ƒ ปฏิบัติงานโดยมีความคิดริเริ่มในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือไดคนควา หรือประดิษฐสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ซึ่งเปนประโยชนตอทางราชการเปนพิเศษ และทางราชการไดดําเนินการตามความคิดริเริ่ม หรือ
ไดรับรองใหใชการคนควา หรือสิ่งประดิษฐนั้น
ƒ ปฏิบัติงานตามหนาที่ที่มีสถานการณตรากตรํา เสี่ยงอันตรายมาก หรือมีการตอสูที่เสี่ยงตอ
ความปลอดภัยของชีวิตเปนกรณีพิเศษ
ƒ ปฏิบัติงานที่มีภาระหนาที่หนักเกินกวาระดับ ตําแหนง จนเกิดประโยชนตอทางราชการเปน
พิเศษ และปฏิบัติงานในตําแหนงของตนเปนผลดีดวย
ƒ ปฏิบัติงานตามตําแหนงหนาที่ดวยความตรากตรํา เหน็ดเหนื่อย ยากลําบากเปนพิเศษและ
งานนั้นไดผลดียิ่ง เปนประโยชนตอทางราชการและสังคม
ƒ ปฏิ บั ติ งานที่ ได รั บมอบหมายให กระทํ ากิ จกรรมอย างใดอย างหนึ่ งจนสํ าเร็ จ เป นผลดี ยิ่ ง
แกประเทศชาติ
๒๗

การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ

- ระเบียบ นร. วาดวยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนที่เชิดชูยิ่งชางเผือก


และเครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ.๒๕๓๖
- แกไขเพิ่มเติม (ประกาศ คปค. อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ฉบับที่ ๓๓)

การดําเนินการขอ ๒ กรณี
๑. เกณฑปกติ ในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ชั้นสายสะพาย ต่ํากวาชั้นสายสะพาย
๒. กรณีพเิ ศษ พระราชทานนอกเกณฑปกติ คือในคราวแหงความชอบ

คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
ขาราชการทหารสัญญาบัตรที่มีสิทธิไดรับการพิจารณาขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ
จะตองประกอบดวย
๑. เปนผูปฏิบัติงานราชการดวยความอุตสาหะ ซื่อสัตย สุจริต และเอาใจใสตอหนาที่เปนอยางดี
๒. เปนผูมีความสามารถปฏิบัติราชการเจริญกาวหนา
๓. เปนผูประพฤติและปฏิบัติตนตามกฎหมาย
๔. เปนผูกระทําความดีความชอบเปนประโยชนแกประเทศชาติและประชาชน
๕. ไมเปนผูถูกงดบําเหน็จเพราะบกพรองในรอบป อยูในระหวางคดี หรือ ถูกสั่งใหพักราชการ
๒๘
บัญชี ๘
การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณใหแกขาราชการทหาร
เครื่องราชอิสริยาภรณ เงื่อนไข
ลําดับ ยศ ที่ขอพระราชทาน และระยะเวลา
เริ่มตนขอ เลื่อนไดถึง การเลื่อนชั้นตรา
๑. สิบตรี จาตรี จาอากาศตรี ร.ง.ม. - - ขอพระราชทานไดเฉพาะ
กรณีพิเศษเทานั้น
๒. สิบโท จาโท จาอากาศโท ร.ง.ช. -

๓. สิบเอก จาเอก จาอากาศเอก ร.ท.ม. -

๔. จาสิบตรี พันจาตรี ร.ท.ช. บ.ม. ๑. เริ่มขอพระราชทาน ร.ท.ช.


พันจาอากาศตรี ๒. ได ร.ท.ช. มาแลวไมนอยกวา
จาสิบโท พันจาโท ๕ ปบริบูรณ ขอ บ.ม.
พันจาอากาศโท
จาสิบเอก พันจาเอก
พันจาอากาศเอก
๕. จาสิบเอก พันจาเอก ร.ท.ช. จ.ม. ๑. เริ่มขอพระราชทาน ร.ท.ช.
พันจาอากาศเอก อัตราเงินเดือน ๒. ได ร.ท.ช. มาแลวไมนอยกวา
จาสิบเอกพิเศษ ๕ ปบริบูรณ ขอ บ.ม.
พันจาเอกพิเศษ ๓. ได บ.ม. มาแลวไมนอยกวา
พันจาอากาศเอกพิเศษ ๕ ปบริบูรณ ขอ บ.ช.
๔. ได บ.ช. มาแลวไมนอยกวา
๕ ปบริบูรณ ขอ จ.ม.
๖. รอยตรี เรือตรี เรืออากาศตรี บ.ม. จ.ม. ๑. เริ่มขอพระราชทาน บ.ม.
๒. ดํารงตําแหนง รอยตรี
เรือตรี เรืออากาศตรี
มาแลวไมนอยกวา ๕ ป
บริบูรณ ขอ บ.ช.
๓. ได บ.ช. มาแลวไมนอยกวา
๕ ป บริบูรณ ขอ จ.ม.
๒๙
เครื่องราชอิสริยาภรณ เงื่อนไข
ลําดับ ยศ ที่ขอพระราชทาน และระยะเวลา
เริ่มตนขอ เลื่อนไดถึง การเลื่อนชั้นตรา
๗. รอยโท เรือโท เรืออากาศโท จ.ม. -

๘. รอยเอก เรือเอก เรืออากาศเอก จ.ช. -

๙. พันตรี นาวาตรี นาวาอากาศตรี ต.ม. -

๑๐. พันโท นาวาโท นาวาอากาศโท ต.ช. -

๑๑. พันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก ท.ม. -

๑๒. พันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก ท.ช. -


อัตราเงินเดือน พันเอกพิเศษ
นาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศเอกพิเศษ

๑๓. พันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก ท.ช. ป.ม. ๑. ดํารงตําแหนงบังคับบัญชา


อัตราเงินเดือน พันเอกพิเศษ ๒. ได ท.ช. มาแลวไมนอยกวา
นาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศเอกพิเศษ ๕ ปบริบูรณ ขอ ป.ม.
๓. ใหขอไดในปกอนปที่เกษียณ
อายุราชการหรือในปที่
เกษียณอายุราชการเทานั้น
๑๔. พันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก ท.ช. ป.ม. ๑. เริ่มขอพระราชทาน ท.ช.
อัตราเงินเดือน พันเอกพิเศษ ๒. ได ท.ช. มาแลวไมนอยกวา
นาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศเอกพิเศษ ๓ ปบริบูรณ ขอ ป.ม.
- เงินเดือนขั้นตนของพลตรี ๓. ไดรับเงินเดือนขั้นตนของ
พลเรือตรี พลอากาศตรี พลตรี พลเรือตรี
พลอากาศตรี มาแลว
ไมนอยกวา ๕ ป
๓๐
เครื่องราชอิสริยาภรณ เงื่อนไข
ลําดับ ยศ ที่ขอพระราชทาน และระยะเวลา
เริ่มตนขอ เลื่อนไดถึง การเลื่อนชั้นตรา
๑๕. พันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก ท.ช. ป.ม. ๑. เริ่มขอพระราชทหาร ท.ช.
อัตราเงินเดือน พันเอกพิเศษ ๒. ได ท.ช. มาแลวไมนอย
นาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศเอกพิเศษ กวา ๓ ปบริบูรณ ขอ ป.ม.
- เงินเดือนขั้นตนของพลตรี
พลเรือตรี พลอากาศตรี
- ดํารงตําแหนงรอง, เสนาธิการ,
รองเสนาธิการ ของหนวยงานที่มี
ผูบังคับบัญชาตั้งแตชั้นยศ พลตรี
พลเรือตรี พลอากาศตรี ขึ้นไป
หรือ
- ดํารงตําแหนงผูบังคับการกรม
ผูบังคับการจังหวัดทหารบก,
ผูบังคับหมวดเรือ, ผูบังคับ
กองบิน, ราชองครักษประจํา,
ผูชวยทูตฝายทหาร, ผูชวยทูต
ฝายทหารบก, ผูชวยทูตฝาย
ทหารเรือ, ผูชวยทูตฝายทหาร
อากาศ, ตุลาการพระธรรมนูญ
ประจําสํานักตุลาการทหาร, ตุลาการ
พระธรรมนูญฝายศาลทหารสูงสุด,
ตุลาการพระธรรมนูญหัวหนาคณะ
ฝายศาลทหารกลาง, ตุลาการ
พระธรรมนูญ รองหัวหนาศาล
ทหารกรุงเทพ, อัยการศาลทหาร
กรุงเทพ, อัยการฝายอุทธรณและ
ฎีกา หรือ
- ดํารงตําแหนงผูอํานวยการกอง,
นายทหารฝายเสนาธิการ หรือ
ตําแหนงที่เรียกชื่ออยางอื่น
ซึ่งเทียบเทาตําแหนงดังกลาว
๓๑
เครื่องราชอิสริยาภรณ เงื่อนไข
ลําดับ ยศ ที่ขอพระราชทาน และระยะเวลา
เริ่มตนขอ เลื่อนไดถึง การเลื่อนชั้นตรา
๑๖. พลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี - ม.ว.ม. ๑. ได ท.ช. มาแลวไมนอยกวา
๓ ปบริบูรณ ขอ ป.ม.
๒. ได ป.ม. มาแลวไมนอยกวา
๓ ปบริบูรณ ขอ ป.ช.
๓. ได ป.ช. มาแลวไมนอยกวา
๕ ปบริบูรณ ขอ ม.ว.ม.
๔. ในปที่เกษียณอายุราชการ
ใหขอสูงขึ้นอีก ๑ ชั้นตรา
และไมเกิน ป.ช. เวนกรณี
ลาออก

๑๗. พลโท พลเรือโท พลอากาศโท - ม.ป.ช. ๑. ได ป.ม. มาแลวไมนอยกวา


๓ ปบริบูรณ ขอ ป.ช.
๒. ได ป.ช. มาแลวไมนอยกวา
๓ ปบริบูรณ ขอ ม.ว.ม.
๓. ได ม.ว.ม. มาแลวไมนอยกวา
๕ ปบริบูรณ ขอ ม.ป.ช.
๔. ในปที่เกษียณอายุราชการ
ใหขอสูงขึ้นอีก ๑ ชั้นตรา
แตไมเกิน ม.ว.ม.
เวนกรณีลาออก

๑๘. พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก - ม.ป.ช. ๑. ได ป.ม. มาแลวไมนอยกวา


๓ ปบริบูรณ ขอ ป.ช.
๒. ได ป.ช. มาแลวไมนอยกวา
๓ ปบริบูรณ ขอ ม.ว.ม.
๓. ได ม.ว.ม. มาแลวไมนอยกวา
๓ ปบริบูรณ ขอ ม.ป.ช.
๔. ในปที่เกษียณอายุราชการ
ใหขอสูงขึ้นอีก ๑ ชั้นตรา
๓๒
หมายเหตุ
๑. ต อ งมี ร ะยะเวลารั บ ราชการติ ด ต อ กั น มาแล ว ไม น อ ยกว า ๕ ป บ ริ บู ร ณ นั บ ตั้ ง แต วั น เริ่ ม
เขารับราชการ จนถึงวันกอนวันพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาของปที่จะขอพระราชทาน
ไมนอยกวา ๖๐ วัน
๒. ผู สํ า เร็ จ การศึ ก ษาจากโรงเรี ย นทหาร ให นั บ เวลาราชการตั้ ง แต วั น ขึ้ น ทะเบี ย นทหาร
กองประจําการในระหวางที่กําลังศึกษาอยูในโรงเรียน
๓. เกณฑการขอพระราชทานที่กําหนดไวตามชั้นยศใหรวมถึงวาที่ยศนั้นๆ ดวย
๔. ลําดับ ๖ ซึ่งกําหนดระยะเวลาเลื่อนชั้นตรา ๕ ป หมายถึงตองดํารงชั้นยศนั้นๆ รวมเปนเวลา
ไมนอยกวา ๕ ปบริบูรณ กอนวันพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาของปที่จะขอพระราชทาน
ไมนอยกวา ๖๐ วัน
๕. ลําดับ ๑๖ - ๑๘ การขอกรณีปที่เกษียณอายุราชการ ตามขอ ๔ ใหขอปติดตอกันได
๓๓

สิทธิการเบิกคาเชาบานขาราชการ

- พ.ร.ฎ. คาเชาบานขาราชการ พ.ศ. ๒๕๕๐

คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
ขาราชการผูใดไดรับคําสั่งใหเดินทางไปประจําสํานักงานในตางทองที่มีสิทธิไดรับคาเชาบาน
ขาราชการเทาที่ตองจายจริงตามที่สมควรแกสภาพแหงบาน แตอยาสูงไมเกินจํานวนเงินที่กําหนด
ไวตามบัญชีอัตราคาเชาบานขาราชการทายพระราชกฤษฎีกานี้ ทั้งนี้ เวนแตผูนั้น
๑. ทางราชการไดจัดที่พักอาศัยใหอยูแลว
๒. มีเคหสถานอันเปนกรรมสิทธิ์ของตนเองหรือคูสมรสในทองที่ที่ไปประจําสํานักงานใหมโดยไม
มีหนี้คางชําระกับสถาบันการเงิน
๓. ไดรับคําสั่งใหเดินทางไปประจําสํานักงานใหมในตางทองที่ตามคํารองขอของตนเอง
ความในวรรคหนึ่ง ใหใชบังคับแกขาราชการผูไดรับคําสั่งใหเดินทางไปประจําสํานักงานใน
ตางทองที่ที่เปนทองที่ที่เริ่มรับราชการครั้งแรกหรือทองที่ที่กลับเขารับราชการใหมดวย
ขาราชการผูใด ไดรับเงินเดือนไมตรงกับที่กําหนดในบัญชีอัตราคาเชาบานขาราชการทาย
พระราชกฤษฎีกานี้ ใหไดรับคาเชาบานขาราชการตามสวนของเงินเดือน โดยคํานวณตามวิธีการที่
กระทรวงการคลังกําหนด

ระดับ ไมเกินเดือนละ (บาท)


พ.๒ ๘๐๐ - ๑,๒๕๐
ป.๑ ๘๐๐ - ๑,๕๐๐
ป.๒ ๑,๒๕๐ - ๑,๙๕๐
ป.๓ ๑,๖๐๐ - ๒,๔๐๐
น.๑ ๑,๒๕๐ - ๒,๔๐๐
น.๒ ๑,๙๕๐ - ๓,๐๐๐
น.๓ ๒,๔๐๐ - ๓,๐๐๐
น.๔ ๓,๐๐๐ - ๓,๕๐๐
น.๕ ๓,๕๐๐ - ๔,๐๐๐
น.๖ ๔,๐๐๐
ขั้นตอน เปนไปตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวย การเบิกจายเงินคาเชาบาน พ.ศ.๒๕๓๐
๓๔
ขั้นตอนการขอรับสิทธิกําลังพลและหลักฐานประกอบการพิจารณา
๑. ผู มี สิ ท ธิ ไ ด รั บ ค า เช า บ า นยื่ น แบบขอรั บ เงิ น ค า เช า บ า นและเอกสารต า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งต อ
ผูบังคับบัญชาเพื่อตรวจสอบความถูกตองและเสนอผูมีอํานาจอนุมัติและเมื่อไดรับอนุมัติ
แลวยื่นแบบขอเบิกเงินคาเชาบาน วาไดเชาบานผูอื่นและพักอาศัยอยูจริงหรือไม ตั้งแตเมื่อใด
และตรวจสอบอัตราราคาคาเชาบานวาเหมาะสมกับสภาพแหงบานหรือไมในกรณีเชาซื้อบาน
หรือผอนชําระเงินกูเพื่อชําระราคาบาน
๒. การเบิกเงินเพื่อจายเปนคาเชาบานขาราชการที่ไดรับอนุมัติแลวใหสวนราชการจัดทําฎีกา
เบิกเงินตางหากจากการเบิกเงินงบประมาณประเภทอื่น ยื่นตอกรมบัญชีกลางและใหผูเบิก
รับรองดานหลังฎีกาไวเปนหลักฐาน
๓๕

สิทธิคาเชาที่พกั ในการเดินทางไปราชการใหเปนไปตามระเบียบ
ที่กระทรวงการคลังกําหนด

ในประเทศ
ประเภท ก. ประเภท ข.
ขาราชการ
(บาท) (บาท)
พล.ฯ - จ.ส.อ., พ.จ.อ., พ.อ.อ. ๑๒๐ ๗๒
จ.ส.อ., พ.จ.อ., พ.อ.อ. - พ.อ., น.อ. ๑๘๐ ๑๐๘
พ.อ.(พ), น.อ.(พ) ขึ้นไป ๒๔๐ ๑๔๔

ตางประเทศ
ประเภท ก. ประเภท ข.
ขาราชการ
(บาท) (บาท)
พ.อ., น.อ. ลงมา ไมเกิน ๔,๕๐๐ ๒,๑๐๐
พ.อ.(พ), น.อ.(พ) ขึ้นไป ไมเกิน ๔,๕๐๐ ๓,๑๐๐
๓๖

สิทธิการเบิกเบี้ยเลี้ยงเดินทาง

คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
การเดินทางไปราชการชั่วคราว ไดแก
๑. การไปปฏิบัติราชการชั่วคราวนอกที่ตั้งสํานักงานซึ่งปฏิบัติราชการปกติตามคําสั่งผูบังคับบัญชา
หรือตามหนาที่ที่ปฏิบัติราชการ โดยปกติ
๒. ยกเลิก
๓. การไปสอบคัดเลือก หรือรับการคัดเลือกตามที่ไดรับอนุมัติจากผูบังคับบัญชา
๔. การไปชวยราชการ ไปรักษาการในตําแหนงหรือไปรักษาราชการแทน
๕. การเดินทางไปราชการเฉพาะระหวางเวลาที่อยูในราชอาณาจักรของผูซึ่งรับราชการประจํา
ในตางประเทศ
๖. การเดิ นทางข ามแดนชั่ วคราว เพื่อไปปฏิบั ติราชการในดินแดนตางประเทศตามข อตกลง
ระหวางประเทศ
คาใชจายในการเดินทางไปราชการชั่วคราว ไดแก
๑. เบี้ยเลี้ยงเดินทาง
๒. คาเชาที่พัก
๓. ค า พาหนะ รวมถึ ง ค า เช า ยานพาหนะ ค า เชื้ อ เพลิ ง หรื อ พลั ง งานสํ า หรั บ ยานพาหนะ
คาระวางบรรทุก คาจางคนหาบหาม และอื่นๆ ทํานองเดียวกัน
๔. คาใชจายอื่นที่จําเปนตองจายเนื่องจากในการเดินทางไปราชการ
คาเชาที่พัก
๑. คาเชาหองพักคนเดียว หมายความวา คาใชจายในการเชาหองพักหนึ่งหอง ที่โรงแรมเรียกเก็บ
กรณีที่ผูเชาเขาพักเพียงคนเดียว
๒. คาเชาหองพักคู หมายความวา คาใชจายในการเชาหองพักหนึ่งหอง ที่โรงแรมเรียกเก็บกรณีที่
ผูเชาเขาพักรวมกันตั้งแต ๒ คนขึ้นไป
๓๗
การเดินทางไปราชการในประเทศ ใหเบิกจายคาเชาที่พักในลักษณะ เหมาจาย อัตราไมเกิน
บาท/คน/วัน ดังนี้

คาเชาหองพักคนเดียว คาเชาหองพักคู
ชั้นยศ
(บาท) (บาท)
พ.อ., น.อ., ลงมา ๑,๐๐๐ ๖๐๐
พ.อ.(พ), น.อ.(พ) ๑,๓๐๐ -
พล.ต., พล.ร.ต., พล.อ.ต. ขึ้นไป ไมเกิน ๑,๕๐๐ บาท/คน/วัน

กรณีการเดินทางไปราชการในประเทศเพื่อปฏิบัติภารกิจตอเนื่องที่มีระยะเวลาเกิน ๓๐ วัน
ใหเบิกจายเหมาจาย ในอัตรา ๑๐๐.- บาท/คน/วัน

การเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราว ใหเบิกจายคาเชาที่พักเทาที่จายจริง อัตราไมเกิน


บาท/คน/วัน ดังนี้

ประเภท ก ประเภท ข ประเภท ค


ชั้นยศ
(บาท) (บาท) (บาท)
พ.อ., น.อ., ลงมา
- คาเชาหองพักเดียว ๕,๒๕๐ ๓,๕๐๐ ๒,๑๗๐
- คาเชาหองพักคู ๓,๖๗๕ ๒,๔๕๐ ๑,๕๑๙
พ.อ.(พ), น.อ.(พ) ขึ้นไป
- คาเชาหองพักเดียว ๗,๐๐๐ ๔,๙๐๐ ๓,๑๕๐

การเบิกจายคาพาหนะรับจาง ดังนี้
๑. กรณี การเดินทางภายในเขตกรุงเทพฯ ใหเบิกเทาที่จายจริง ภายในวงเงิน เที่ยวละไมเกิน
๓๐๐ บาท
๒. กรณี การเดินทางขามเขตจังหวัดระหวางกรุงเทพฯ กับเขตจังหวัดที่มีอาณาเขตติดตอกับ
กรุงเทพฯ หรือ การเดินทางขามเขตจังหวัด ที่ผานเขตกรุงเทพฯ ใหเบิกเทาที่จายจริงภายใน
วงเงิน เที่ยวละไมเกิน ๔๐๐ บาท
๓. กรณี การเดินทาง ขามเขตจังหวัดอื่น ๆ ใหเบิกเทาที่จายจริง ภายในวงเงินเที่ยวละไมเกิน
๒๐๐ บาท
๓๘

สิทธิการลาประเภทตางๆ

- ตามขอบังคับ กห. วาดวยการลา พ.ศ.๒๕๓๙

๑. ขาราชการทหารในปหนึ่งจะลาปวยไดไมเกิน ๙๐ วัน (เหตุปกติ)


ƒ ลาปวยไมเกิน ๒๔ ชม. สามารถลาดวยวาจาได
ƒ ผูปวยจะใหผูอื่นทําใบลาเสนอแทนตนก็ได หากมีความเห็นหรือคําแนะนําของแพทยให
แนบมากับใบลาดวย
๒. ขาราชการทหาร ลาคลอดบุตรได ๙๐ วัน โดยไดรับเงินเดือน หากประสงคจะลากิจเพื่อเลี้ยงดู
บุตรมีสิทธิลาตอเนื่องจากการลาคลอดบุตรไดไมเกิน ๑๕๐ วันทําการโดยไมมีสิทธิไดรับ
เงินเดือนระหวางลา
๓. ขาราชการทหารมีสิทธิลากิจโดยไดรับเงินเดือนปละไมเกิน ๔๕ วันทําการ
๔. ขาราชการทหารมีสิทธิลาพักผอนประจําปในปหนึ่งได ๑๐ วันทําการ
๕. ขาราชการทหารจะลาอุปสมบทไดไมเกิน ๑๒๐ วัน ผูที่เคยลาอุปสมบทมาแลวจะลาอุปสมบท
อีกไมได
๖. ขาราชการทหารผูนับถือศาสนาอิสลามจะลาไปประกอบพิธีฮัจย ณ เมืองเมกกะ ประเทศ
ซาอุดิอาระเบีย ไดไมเกิน ๑๒๐ วัน ผูที่เคยไปประกอบพิธีฮัจย ณ เมืองเมกกะ ประเทศ
ซาอุดิอาระเบีย จะลาไปประกอบพิธีฮัจยอีกไมได
๗. ขาราชการทหารลาติดตามคูส มรสซึ่ งไปปฏิบั ติหนา ที่ราชการตางประเทศ ไดไม เกิน ๒ ป
โดยไมไดรับเงินเดือน
๘. ขาราชการทหารลาไปปฏิบัติงานในองคการระหวางประเทศในการปฏิบัติงานประเภท ที่ ๑
ไมเกิน ๔ ป สําหรับการปฏิบัติงานประเภทที่ ๒ ไมเกิน ๑ ป
๙. อํานาจใหลาและแบบรายงานตามที่กําหนดไวทายขอบังคับฯ
๒๓

สิทธิในการลดระยะเวลาการครองยศของขาราชการทหาร

- ระเบียบ กห. วาดวยการแตงตั้งชั้นยศและการเลื่อนยศของขาราชการทหาร พ.ศ. ๒๕๔๑

วิธีดําเนินการ มี ๒ กรณีดังนี้
๑. กรณีที่เงินเดือนต่ํากวาเงินเดือนตามคุณวุฒิใหดําเนินตามขั้นตอนการเลื่อนชั้นเงินเดือนตาม
คุ ณ วุ ฒิ เมื่ อ ดํ า เนิ น การเรี ย บร อ ยแล ว ให นํ า คํ า สั่ ง การเลื่ อ นชั้ น เงิ น เดื อ นตามคุ ณ วุ ฒิ ไ ป
ดําเนินการขอเลื่อนยศ ตามระเบียบวาดวยการแตงตั้งยศและเลื่อนยศของขาราชการทหาร
พ.ศ.๒๕๔๑ โดยหนวยตน สังกั ดจะดําเนิ นการ โดยเสนอเรื่องไปยังกรมสารบรรณทหาร
เพื่อดําเนินการ
๒. กรณีที่มีเงินเดือนสูงกวาเงินตามคุณวุฒิ ใหหนวยตนสังกัดดําเนินการเสนอเรื่องขอเลื่อนยศ
ไดโดยตองพิจารณาใหเปนไปตามระเบียบ กห. ฯ ในขอ ๑๕ กําหนดใหการใชสิทธิในการนับ
จํานวนปที่รับราชการของผูที่ศึกษาเพิ่มเติมและไดรับปริญญาสูงขึ้น จะเริ่มนับตั้งแตวันที่
หนวยตนสังกัดลงทะเบียนรับผลการศึกษาไว และตองเปนการบรรจุในตําแหนงหนาที่หลักที่
ตองใชวิชาชีพนั้น โดยเสนอเรื่องไปยัง กรมสารบรรณทหาร เพื่อดําเนินการตอไป
๒๔

สิทธิในการขอเครื่องแตงกายและเครื่องประกอบการแตงกาย

- ระเบียบ กห. วาดวยอัตราการจายเครื่องแตงกาย และเครื่องประกอบการแตงกาย สําหรับ


นายทหารสัญญาบัตร พ.ศ.๒๕๐๙
- ระเบียบ กห. วาดวยอัตราการจายเครื่องแตงกาย และเครื่องประกอบการแตงกาย สําหรับ
นายทหารประทวน พ.ศ.๒๕๒๑

คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
ขาราชการประจําการ

ขั้นตอนการขอรับสิทธิกําลังพล
๑. รวบรวมหลักฐานทั้งหมด เสนอ ยบ.ทหาร ขอใชสิทธิตามระเบียบ จากนั้นเปนการดําเนินการ
ของ ยบ.ทหาร
๒. รอรับเครื่องแตงกาย และเครื่องประกอบการแตงกายจาก ยบ.ทหาร เพื่อนํามาแจกจายให
กําลังพลตอไป

หลักฐานประกอบการพิจารณา
๑. คําสั่งบรรจุ
๒. คําสั่งเลื่อนยศครั้งสุดทาย
๓. คําสั่งการแตงตั้งเปนราชองครักษ
๒๗

การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ

- ระเบียบ นร. วาดวยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนที่เชิดชูยิ่งชางเผือก


และเครื่องราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ.๒๕๓๖
- แกไขเพิ่มเติม (ประกาศ คปค. อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ฉบับที่ ๓๓)

การดําเนินการขอ ๒ กรณี
๑. เกณฑปกติ ในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ชั้นสายสะพาย ต่ํากวาชั้นสายสะพาย
๒. กรณีพเิ ศษ พระราชทานนอกเกณฑปกติ คือในคราวแหงความชอบ

คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
ขาราชการทหารสัญญาบัตรที่มีสิทธิไดรับการพิจารณาขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ
จะตองประกอบดวย
๑. เปนผูปฏิบัติงานราชการดวยความอุตสาหะ ซื่อสัตย สุจริต และเอาใจใสตอหนาที่เปนอยางดี
๒. เปนผูมีความสามารถปฏิบัติราชการเจริญกาวหนา
๓. เปนผูประพฤติและปฏิบัติตนตามกฎหมาย
๔. เปนผูกระทําความดีความชอบเปนประโยชนแกประเทศชาติและประชาชน
๕. ไมเปนผูถูกงดบําเหน็จเพราะบกพรองในรอบป อยูในระหวางคดี หรือ ถูกสั่งใหพักราชการ
๒๘
บัญชี ๘
การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณใหแกขาราชการทหาร
เครื่องราชอิสริยาภรณ เงื่อนไข
ลําดับ ยศ ที่ขอพระราชทาน และระยะเวลา
เริ่มตนขอ เลื่อนไดถึง การเลื่อนชั้นตรา
๑. สิบตรี จาตรี จาอากาศตรี ร.ง.ม. - - ขอพระราชทานไดเฉพาะ
กรณีพิเศษเทานั้น
๒. สิบโท จาโท จาอากาศโท ร.ง.ช. -

๓. สิบเอก จาเอก จาอากาศเอก ร.ท.ม. -

๔. จาสิบตรี พันจาตรี ร.ท.ช. บ.ม. ๑. เริ่มขอพระราชทาน ร.ท.ช.


พันจาอากาศตรี ๒. ได ร.ท.ช. มาแลวไมนอยกวา
จาสิบโท พันจาโท ๕ ปบริบูรณ ขอ บ.ม.
พันจาอากาศโท
จาสิบเอก พันจาเอก
พันจาอากาศเอก
๕. จาสิบเอก พันจาเอก ร.ท.ช. จ.ม. ๑. เริ่มขอพระราชทาน ร.ท.ช.
พันจาอากาศเอก อัตราเงินเดือน ๒. ได ร.ท.ช. มาแลวไมนอยกวา
จาสิบเอกพิเศษ ๕ ปบริบูรณ ขอ บ.ม.
พันจาเอกพิเศษ ๓. ได บ.ม. มาแลวไมนอยกวา
พันจาอากาศเอกพิเศษ ๕ ปบริบูรณ ขอ บ.ช.
๔. ได บ.ช. มาแลวไมนอยกวา
๕ ปบริบูรณ ขอ จ.ม.
๖. รอยตรี เรือตรี เรืออากาศตรี บ.ม. จ.ม. ๑. เริ่มขอพระราชทาน บ.ม.
๒. ดํารงตําแหนง รอยตรี
เรือตรี เรืออากาศตรี
มาแลวไมนอยกวา ๕ ป
บริบูรณ ขอ บ.ช.
๓. ได บ.ช. มาแลวไมนอยกวา
๕ ป บริบูรณ ขอ จ.ม.
๒๙
เครื่องราชอิสริยาภรณ เงื่อนไข
ลําดับ ยศ ที่ขอพระราชทาน และระยะเวลา
เริ่มตนขอ เลื่อนไดถึง การเลื่อนชั้นตรา
๗. รอยโท เรือโท เรืออากาศโท จ.ม. -

๘. รอยเอก เรือเอก เรืออากาศเอก จ.ช. -

๙. พันตรี นาวาตรี นาวาอากาศตรี ต.ม. -

๑๐. พันโท นาวาโท นาวาอากาศโท ต.ช. -

๑๑. พันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก ท.ม. -

๑๒. พันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก ท.ช. -


อัตราเงินเดือน พันเอกพิเศษ
นาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศเอกพิเศษ

๑๓. พันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก ท.ช. ป.ม. ๑. ดํารงตําแหนงบังคับบัญชา


อัตราเงินเดือน พันเอกพิเศษ ๒. ได ท.ช. มาแลวไมนอยกวา
นาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศเอกพิเศษ ๕ ปบริบูรณ ขอ ป.ม.
๓. ใหขอไดในปกอนปที่เกษียณ
อายุราชการหรือในปที่
เกษียณอายุราชการเทานั้น
๑๔. พันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก ท.ช. ป.ม. ๑. เริ่มขอพระราชทาน ท.ช.
อัตราเงินเดือน พันเอกพิเศษ ๒. ได ท.ช. มาแลวไมนอยกวา
นาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศเอกพิเศษ ๓ ปบริบูรณ ขอ ป.ม.
- เงินเดือนขั้นตนของพลตรี ๓. ไดรับเงินเดือนขั้นตนของ
พลเรือตรี พลอากาศตรี พลตรี พลเรือตรี
พลอากาศตรี มาแลว
ไมนอยกวา ๕ ป
๓๐
เครื่องราชอิสริยาภรณ เงื่อนไข
ลําดับ ยศ ที่ขอพระราชทาน และระยะเวลา
เริ่มตนขอ เลื่อนไดถึง การเลื่อนชั้นตรา
๑๕. พันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก ท.ช. ป.ม. ๑. เริ่มขอพระราชทหาร ท.ช.
อัตราเงินเดือน พันเอกพิเศษ ๒. ได ท.ช. มาแลวไมนอย
นาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศเอกพิเศษ กวา ๓ ปบริบูรณ ขอ ป.ม.
- เงินเดือนขั้นตนของพลตรี
พลเรือตรี พลอากาศตรี
- ดํารงตําแหนงรอง, เสนาธิการ,
รองเสนาธิการ ของหนวยงานที่มี
ผูบังคับบัญชาตั้งแตชั้นยศ พลตรี
พลเรือตรี พลอากาศตรี ขึ้นไป
หรือ
- ดํารงตําแหนงผูบังคับการกรม
ผูบังคับการจังหวัดทหารบก,
ผูบังคับหมวดเรือ, ผูบังคับ
กองบิน, ราชองครักษประจํา,
ผูชวยทูตฝายทหาร, ผูชวยทูต
ฝายทหารบก, ผูชวยทูตฝาย
ทหารเรือ, ผูชวยทูตฝายทหาร
อากาศ, ตุลาการพระธรรมนูญ
ประจําสํานักตุลาการทหาร, ตุลาการ
พระธรรมนูญฝายศาลทหารสูงสุด,
ตุลาการพระธรรมนูญหัวหนาคณะ
ฝายศาลทหารกลาง, ตุลาการ
พระธรรมนูญ รองหัวหนาศาล
ทหารกรุงเทพ, อัยการศาลทหาร
กรุงเทพ, อัยการฝายอุทธรณและ
ฎีกา หรือ
- ดํารงตําแหนงผูอํานวยการกอง,
นายทหารฝายเสนาธิการ หรือ
ตําแหนงที่เรียกชื่ออยางอื่น
ซึ่งเทียบเทาตําแหนงดังกลาว
๓๑
เครื่องราชอิสริยาภรณ เงื่อนไข
ลําดับ ยศ ที่ขอพระราชทาน และระยะเวลา
เริ่มตนขอ เลื่อนไดถึง การเลื่อนชั้นตรา
๑๖. พลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี - ม.ว.ม. ๑. ได ท.ช. มาแลวไมนอยกวา
๓ ปบริบูรณ ขอ ป.ม.
๒. ได ป.ม. มาแลวไมนอยกวา
๓ ปบริบูรณ ขอ ป.ช.
๓. ได ป.ช. มาแลวไมนอยกวา
๕ ปบริบูรณ ขอ ม.ว.ม.
๔. ในปที่เกษียณอายุราชการ
ใหขอสูงขึ้นอีก ๑ ชั้นตรา
และไมเกิน ป.ช. เวนกรณี
ลาออก

๑๗. พลโท พลเรือโท พลอากาศโท - ม.ป.ช. ๑. ได ป.ม. มาแลวไมนอยกวา


๓ ปบริบูรณ ขอ ป.ช.
๒. ได ป.ช. มาแลวไมนอยกวา
๓ ปบริบูรณ ขอ ม.ว.ม.
๓. ได ม.ว.ม. มาแลวไมนอยกวา
๕ ปบริบูรณ ขอ ม.ป.ช.
๔. ในปที่เกษียณอายุราชการ
ใหขอสูงขึ้นอีก ๑ ชั้นตรา
แตไมเกิน ม.ว.ม.
เวนกรณีลาออก

๑๘. พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก - ม.ป.ช. ๑. ได ป.ม. มาแลวไมนอยกวา


๓ ปบริบูรณ ขอ ป.ช.
๒. ได ป.ช. มาแลวไมนอยกวา
๓ ปบริบูรณ ขอ ม.ว.ม.
๓. ได ม.ว.ม. มาแลวไมนอยกวา
๓ ปบริบูรณ ขอ ม.ป.ช.
๔. ในปที่เกษียณอายุราชการ
ใหขอสูงขึ้นอีก ๑ ชั้นตรา
๓๒
หมายเหตุ
๑. ต อ งมี ร ะยะเวลารั บ ราชการติ ด ต อ กั น มาแล ว ไม น อ ยกว า ๕ ป บ ริ บู ร ณ นั บ ตั้ ง แต วั น เริ่ ม
เขารับราชการ จนถึงวันกอนวันพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาของปที่จะขอพระราชทาน
ไมนอยกวา ๖๐ วัน
๒. ผู สํ า เร็ จ การศึ ก ษาจากโรงเรี ย นทหาร ให นั บ เวลาราชการตั้ ง แต วั น ขึ้ น ทะเบี ย นทหาร
กองประจําการในระหวางที่กําลังศึกษาอยูในโรงเรียน
๓. เกณฑการขอพระราชทานที่กําหนดไวตามชั้นยศใหรวมถึงวาที่ยศนั้นๆ ดวย
๔. ลําดับ ๖ ซึ่งกําหนดระยะเวลาเลื่อนชั้นตรา ๕ ป หมายถึงตองดํารงชั้นยศนั้นๆ รวมเปนเวลา
ไมนอยกวา ๕ ปบริบูรณ กอนวันพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาของปที่จะขอพระราชทาน
ไมนอยกวา ๖๐ วัน
๕. ลําดับ ๑๖ - ๑๘ การขอกรณีปที่เกษียณอายุราชการ ตามขอ ๔ ใหขอปติดตอกันได
๓๓

สิทธิการเบิกคาเชาบานขาราชการ

- พ.ร.ฎ. คาเชาบานขาราชการ พ.ศ. ๒๕๕๐

คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
ขาราชการผูใดไดรับคําสั่งใหเดินทางไปประจําสํานักงานในตางทองที่มีสิทธิไดรับคาเชาบาน
ขาราชการเทาที่ตองจายจริงตามที่สมควรแกสภาพแหงบาน แตอยาสูงไมเกินจํานวนเงินที่กําหนด
ไวตามบัญชีอัตราคาเชาบานขาราชการทายพระราชกฤษฎีกานี้ ทั้งนี้ เวนแตผูนั้น
๑. ทางราชการไดจัดที่พักอาศัยใหอยูแลว
๒. มีเคหสถานอันเปนกรรมสิทธิ์ของตนเองหรือคูสมรสในทองที่ที่ไปประจําสํานักงานใหมโดยไม
มีหนี้คางชําระกับสถาบันการเงิน
๓. ไดรับคําสั่งใหเดินทางไปประจําสํานักงานใหมในตางทองที่ตามคํารองขอของตนเอง
ความในวรรคหนึ่ง ใหใชบังคับแกขาราชการผูไดรับคําสั่งใหเดินทางไปประจําสํานักงานใน
ตางทองที่ที่เปนทองที่ที่เริ่มรับราชการครั้งแรกหรือทองที่ที่กลับเขารับราชการใหมดวย
ขาราชการผูใด ไดรับเงินเดือนไมตรงกับที่กําหนดในบัญชีอัตราคาเชาบานขาราชการทาย
พระราชกฤษฎีกานี้ ใหไดรับคาเชาบานขาราชการตามสวนของเงินเดือน โดยคํานวณตามวิธีการที่
กระทรวงการคลังกําหนด

ระดับ ไมเกินเดือนละ (บาท)


พ.๒ ๘๐๐ - ๑,๒๕๐
ป.๑ ๘๐๐ - ๑,๕๐๐
ป.๒ ๑,๒๕๐ - ๑,๙๕๐
ป.๓ ๑,๖๐๐ - ๒,๔๐๐
น.๑ ๑,๒๕๐ - ๒,๔๐๐
น.๒ ๑,๙๕๐ - ๓,๐๐๐
น.๓ ๒,๔๐๐ - ๓,๐๐๐
น.๔ ๓,๐๐๐ - ๓,๕๐๐
น.๕ ๓,๕๐๐ - ๔,๐๐๐
น.๖ ๔,๐๐๐
ขั้นตอน เปนไปตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวย การเบิกจายเงินคาเชาบาน พ.ศ.๒๕๓๐
๓๔
ขั้นตอนการขอรับสิทธิกําลังพลและหลักฐานประกอบการพิจารณา
๑. ผู มี สิ ท ธิ ไ ด รั บ ค า เช า บ า นยื่ น แบบขอรั บ เงิ น ค า เช า บ า นและเอกสารต า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งต อ
ผูบังคับบัญชาเพื่อตรวจสอบความถูกตองและเสนอผูมีอํานาจอนุมัติและเมื่อไดรับอนุมัติ
แลวยื่นแบบขอเบิกเงินคาเชาบาน วาไดเชาบานผูอื่นและพักอาศัยอยูจริงหรือไม ตั้งแตเมื่อใด
และตรวจสอบอัตราราคาคาเชาบานวาเหมาะสมกับสภาพแหงบานหรือไมในกรณีเชาซื้อบาน
หรือผอนชําระเงินกูเพื่อชําระราคาบาน
๒. การเบิกเงินเพื่อจายเปนคาเชาบานขาราชการที่ไดรับอนุมัติแลวใหสวนราชการจัดทําฎีกา
เบิกเงินตางหากจากการเบิกเงินงบประมาณประเภทอื่น ยื่นตอกรมบัญชีกลางและใหผูเบิก
รับรองดานหลังฎีกาไวเปนหลักฐาน
๓๕

สิทธิคาเชาที่พกั ในการเดินทางไปราชการใหเปนไปตามระเบียบ
ที่กระทรวงการคลังกําหนด

ในประเทศ
ประเภท ก. ประเภท ข.
ขาราชการ
(บาท) (บาท)
พล.ฯ - จ.ส.อ., พ.จ.อ., พ.อ.อ. ๑๒๐ ๗๒
จ.ส.อ., พ.จ.อ., พ.อ.อ. - พ.อ., น.อ. ๑๘๐ ๑๐๘
พ.อ.(พ), น.อ.(พ) ขึ้นไป ๒๔๐ ๑๔๔

ตางประเทศ
ประเภท ก. ประเภท ข.
ขาราชการ
(บาท) (บาท)
พ.อ., น.อ. ลงมา ไมเกิน ๔,๕๐๐ ๒,๑๐๐
พ.อ.(พ), น.อ.(พ) ขึ้นไป ไมเกิน ๔,๕๐๐ ๓,๑๐๐
๓๖

สิทธิการเบิกเบี้ยเลี้ยงเดินทาง

คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
การเดินทางไปราชการชั่วคราว ไดแก
๑. การไปปฏิบัติราชการชั่วคราวนอกที่ตั้งสํานักงานซึ่งปฏิบัติราชการปกติตามคําสั่งผูบังคับบัญชา
หรือตามหนาที่ที่ปฏิบัติราชการ โดยปกติ
๒. ยกเลิก
๓. การไปสอบคัดเลือก หรือรับการคัดเลือกตามที่ไดรับอนุมัติจากผูบังคับบัญชา
๔. การไปชวยราชการ ไปรักษาการในตําแหนงหรือไปรักษาราชการแทน
๕. การเดินทางไปราชการเฉพาะระหวางเวลาที่อยูในราชอาณาจักรของผูซึ่งรับราชการประจํา
ในตางประเทศ
๖. การเดิ นทางข ามแดนชั่ วคราว เพื่อไปปฏิบั ติราชการในดินแดนตางประเทศตามข อตกลง
ระหวางประเทศ
คาใชจายในการเดินทางไปราชการชั่วคราว ไดแก
๑. เบี้ยเลี้ยงเดินทาง
๒. คาเชาที่พัก
๓. ค า พาหนะ รวมถึ ง ค า เช า ยานพาหนะ ค า เชื้ อ เพลิ ง หรื อ พลั ง งานสํ า หรั บ ยานพาหนะ
คาระวางบรรทุก คาจางคนหาบหาม และอื่นๆ ทํานองเดียวกัน
๔. คาใชจายอื่นที่จําเปนตองจายเนื่องจากในการเดินทางไปราชการ
คาเชาที่พัก
๑. คาเชาหองพักคนเดียว หมายความวา คาใชจายในการเชาหองพักหนึ่งหอง ที่โรงแรมเรียกเก็บ
กรณีที่ผูเชาเขาพักเพียงคนเดียว
๒. คาเชาหองพักคู หมายความวา คาใชจายในการเชาหองพักหนึ่งหอง ที่โรงแรมเรียกเก็บกรณีที่
ผูเชาเขาพักรวมกันตั้งแต ๒ คนขึ้นไป
๓๗
การเดินทางไปราชการในประเทศ ใหเบิกจายคาเชาที่พักในลักษณะ เหมาจาย อัตราไมเกิน
บาท/คน/วัน ดังนี้

คาเชาหองพักคนเดียว คาเชาหองพักคู
ชั้นยศ
(บาท) (บาท)
พ.อ., น.อ., ลงมา ๑,๐๐๐ ๖๐๐
พ.อ.(พ), น.อ.(พ) ๑,๓๐๐ -
พล.ต., พล.ร.ต., พล.อ.ต. ขึ้นไป ไมเกิน ๑,๕๐๐ บาท/คน/วัน

กรณีการเดินทางไปราชการในประเทศเพื่อปฏิบัติภารกิจตอเนื่องที่มีระยะเวลาเกิน ๓๐ วัน
ใหเบิกจายเหมาจาย ในอัตรา ๑๐๐.- บาท/คน/วัน

การเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราว ใหเบิกจายคาเชาที่พักเทาที่จายจริง อัตราไมเกิน


บาท/คน/วัน ดังนี้

ประเภท ก ประเภท ข ประเภท ค


ชั้นยศ
(บาท) (บาท) (บาท)
พ.อ., น.อ., ลงมา
- คาเชาหองพักเดียว ๕,๒๕๐ ๓,๕๐๐ ๒,๑๗๐
- คาเชาหองพักคู ๓,๖๗๕ ๒,๔๕๐ ๑,๕๑๙
พ.อ.(พ), น.อ.(พ) ขึ้นไป
- คาเชาหองพักเดียว ๗,๐๐๐ ๔,๙๐๐ ๓,๑๕๐

การเบิกจายคาพาหนะรับจาง ดังนี้
๑. กรณี การเดินทางภายในเขตกรุงเทพฯ ใหเบิกเทาที่จายจริง ภายในวงเงิน เที่ยวละไมเกิน
๓๐๐ บาท
๒. กรณี การเดินทางขามเขตจังหวัดระหวางกรุงเทพฯ กับเขตจังหวัดที่มีอาณาเขตติดตอกับ
กรุงเทพฯ หรือ การเดินทางขามเขตจังหวัด ที่ผานเขตกรุงเทพฯ ใหเบิกเทาที่จายจริงภายใน
วงเงิน เที่ยวละไมเกิน ๔๐๐ บาท
๓. กรณี การเดินทาง ขามเขตจังหวัดอื่น ๆ ใหเบิกเทาที่จายจริง ภายในวงเงินเที่ยวละไมเกิน
๒๐๐ บาท
๓๘

สิทธิการลาประเภทตางๆ

- ตามขอบังคับ กห. วาดวยการลา พ.ศ.๒๕๓๙

๑. ขาราชการทหารในปหนึ่งจะลาปวยไดไมเกิน ๙๐ วัน (เหตุปกติ)


ƒ ลาปวยไมเกิน ๒๔ ชม. สามารถลาดวยวาจาได
ƒ ผูปวยจะใหผูอื่นทําใบลาเสนอแทนตนก็ได หากมีความเห็นหรือคําแนะนําของแพทยให
แนบมากับใบลาดวย
๒. ขาราชการทหาร ลาคลอดบุตรได ๙๐ วัน โดยไดรับเงินเดือน หากประสงคจะลากิจเพื่อเลี้ยงดู
บุตรมีสิทธิลาตอเนื่องจากการลาคลอดบุตรไดไมเกิน ๑๕๐ วันทําการโดยไมมีสิทธิไดรับ
เงินเดือนระหวางลา
๓. ขาราชการทหารมีสิทธิลากิจโดยไดรับเงินเดือนปละไมเกิน ๔๕ วันทําการ
๔. ขาราชการทหารมีสิทธิลาพักผอนประจําปในปหนึ่งได ๑๐ วันทําการ
๕. ขาราชการทหารจะลาอุปสมบทไดไมเกิน ๑๒๐ วัน ผูที่เคยลาอุปสมบทมาแลวจะลาอุปสมบท
อีกไมได
๖. ขาราชการทหารผูนับถือศาสนาอิสลามจะลาไปประกอบพิธีฮัจย ณ เมืองเมกกะ ประเทศ
ซาอุดิอาระเบีย ไดไมเกิน ๑๒๐ วัน ผูที่เคยไปประกอบพิธีฮัจย ณ เมืองเมกกะ ประเทศ
ซาอุดิอาระเบีย จะลาไปประกอบพิธีฮัจยอีกไมได
๗. ขาราชการทหารลาติดตามคูส มรสซึ่ งไปปฏิบั ติหนา ที่ราชการตางประเทศ ไดไม เกิน ๒ ป
โดยไมไดรับเงินเดือน
๘. ขาราชการทหารลาไปปฏิบัติงานในองคการระหวางประเทศในการปฏิบัติงานประเภท ที่ ๑
ไมเกิน ๔ ป สําหรับการปฏิบัติงานประเภทที่ ๒ ไมเกิน ๑ ป
๙. อํานาจใหลาและแบบรายงานตามที่กําหนดไวทายขอบังคับฯ
๔๑

สิทธิในการเขารับการศึกษา ณ ตางประเทศ

- ขอบังคับ กห. วาดวยการศึกษาในตางประเทศ พ.ศ. ๒๕๒๗ และแกไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๗ พ.ศ.


๒๕๕๑
- ระเบี ย บ บก.ทท. ว า ด ว ยการคั ด เลื อ กข า ราชการ บก.ทท. ไปศึ ก ษา ฝ ก งาน และหรื อ ดู ง าน
ณ ตางประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๒

ผูที่ทางราชการสงไปศึกษา
คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
๑. มีคุณสมบัติทั่วไปตามที่ทางราชการกําหนด
๒. เป น ขา ราชการทหารหรื อลู ก จ า งประจํ า กรณีข า ราชการทหาร ตอ งรั บ ราชการในตํ าแหน ง
ประจําการมาแลว ไมนอยกวา ๑ ป เวนแตผูสําเร็จการศึกษาจากโรงเรียนทหารตามขอบังคับ
กห. วาดวยโรงเรียนทหาร กรณีลูกจางประจํา ตองปฏิบัติงานในตําแหนงที่ไดรับคาจางประจํา
มาแลว ไมนอยกวา ๒ ป
๓. ถาเคยไปศึกษาในตางประเทศ ไมวาจะเปนทุนใด ๆ มากอน เมื่อจะไปศึกษาอีก จะตองอยู
ปฏิบัติงานตามระยะเวลาที่กําหนด ไดแก
ƒ ศึกษาตั้งแต ๓ เดือนขึ้นไป ตองกลับมาปฏิบัติงานแลว ไมนอยกวา ๒ ป
ƒ ศึกษานอยกวา ๓ เดือน ตองกลับมาปฏิบัติงานแลว ไมนอยกวา ๑ ป
๔. ผูที่ทางราชการสงไปศึกษา ซึ่งไมเปนนักเรียนในสังกัด กห. ตองมีอายุและผลการศึกษาอยูใน
เกณฑที่กําหนด ไดแก
ƒ ศึกษาระดับปริญญาตรี หรือเทียบเทา อายุไมเกิน ๒๕ ป ผลการศึกษาคะแนนเฉลี่ยสะสม
ไมนอยกวา ๒.๕ หรือเทียบเทา
ƒ ศึกษาระดับปริญญาโท หรือเทียบเทา อายุไมเกิน ๓๕ ป ผลการศึกษาระดับปริญญาตรี
คะแนนเฉลี่ยสะสมไมนอยกวา ๒.๘ หรือเทียบเทา
ƒ ศึกษาระดับปริญญาเอก หรือเทียบเทา อายุไมเกิน ๔๐ ป ผลการศึกษาระดับปริญญาโท
คะแนนเฉลี่ยสะสมไมนอยกวา ๓.๕ หรือเทียบเทา
๔๒
๕. การสงนักเรียนในสังกัด กห. ไปศึกษาใหเปนไปตามเกณฑที่สวนราชการขึ้นตรงตอ กห. ทบ.,
ทร. หรือ ทอ. กําหนด
๖. สาขาวิชาที่จะศึกษา ตองเปนสาขาวิชาที่ทางราชการทหารตองการ และสถานศึกษาที่จะไป
ศึกษา ตองไดรับความเห็นชอบจากทางราชการแลว
๗. ผูที่ทางราชการสงไปศึกษาโดยรับทุนของ กห. หรือทุนตามโครงการชวยเหลือทางทหารจาก
ตางประเทศ หรือทุนประเภทอื่น ตองอยูภายใตเงื่อนไขของทุนประเภทนั้น

ขั้นตอนการขอรับสิทธิกําลังพลและหลักฐานประกอบการพิจารณา
ขาราชการทหารหรือลูกจางประจํา ที่ทางราชการสงไปเขารับการศึกษาในตางประเทศ รายงาน
ขออนุมัติเขารับการศึกษา ดังนี้
๑. สวนราชการตนสังกัดเสนอรายงานพรอมหลักฐานและเอกสารตามระเบียบ ขอบังคับที่ทาง
ราชการกํ า หนดให ค รบถ ว น เพื่ อ ประกอบการพิ จ ารณาทางสายการบั ง คั บ บั ญ ชา
ถึงสวนราชการขึ้นตรงตอ กห. (ทบ., ทร. หรือ ทอ.)
๒. เมื่อ หน.สวนราชการขึ้นตรงตอ กห. (ผบ.ทบ., ผบ.ทร. หรือ ผบ.ทอ.) พิจารณาเห็นชอบดวย
แลว ใหเสนอตามสายการบังคับบัญชา เพื่อขอรับอนุมัติจาก รมว.กห. ตอไป
๓. ผูที่ทางราชการสงไปศึกษา จะเดินทางไปศึกษาไดตอเมื่อไดรับอนุมัติ จาก รมว.กห. หรือ กห.
ออกคําสั่งใหเดินทางไปศึกษาเรียบรอยแลว
๔. กรณีที่ทางราชการมีความจําเปนจะตองสงผูไปศึกษานอกเหนือจากที่กําหนดไว ใหอยูใน
อํานาจของ หน.สวนราชการขึ้นตรงตอ กห.. (ผบ.ทบ., ผบ.ทร. หรือ ผบ.ทอ.) เปนผูพิจารณา
เสนอรายงานเพื่อขออนุมัติ รมว.กห. ตอไป
๔๓

ผูที่ขออนุญาตลาไปศึกษา
คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
๑. มีคุณสมบัติทั่วไปตามที่ทางราชการกําหนด
๒. เปนขาราชการทหาร มีเวลารับราชการในตําแหนงประจําการมาแลว ไมนอยกวา ๒ ป กรณี
สําเร็จการศึกษาจากโรงเรียนทหาร ตามขอบังคับ กห. วาดวยโรงเรียนทหาร จะมีเวลารับ
ราชการในตําแหนงประจําการ นอยกวา ๒ ป ก็ได แตเมื่อนับเวลาการศึกษาในโรงเรียนทหาร
รวมกับเวลารับราชการในตําแหนงประจําการแลวตองไมนอยกวา ๒ ป
๓. สาขาวิชาที่จะศึกษา ตองเปนสาขาวิชาที่ทางราชการทหารตองการ และสถานศึกษาที่จะไป
ศึกษา ตองไดรับความเห็นชอบจากทางราชการแลว

ขั้นตอนการขอรับสิทธิกําลังพลและหลักฐานประกอบการพิจารณา
ขาราชการทหารหรือลูกจางประจํา ที่ขออนุญาตลาไปศึกษาในตางประเทศ รายงานขออนุมัติ
เขารับการศึกษา ดังนี้
๑. รายงานขออนุญาต และแสดงความประสงคตอผูบังคับบัญชาโดยตรง ซึ่งในรายงานตองระบุ
รายละเอียดประกอบการพิจารณา ตามระเบียบ ขอบังคับที่ทางราชการกําหนดใหครบถวน
ƒ คุณวุฒิของผูที่ขออนุญาตลาไปศึกษา พรอมดวยหลักฐาน
ƒ ระดับการศึกษา หลักสูตร/ วิชาที่ศึกษา สถานศึกษาและประเทศที่จะลาไปศึกษา
ƒ หนังสือรับรองของสถานศึกษาที่ตอบรับใหเขาศึกษาได และระยะเวลาการศึกษา
หมายเหตุ จะต อ งได ก ารรั บ รองจากสํ า นั ก งาน ก.พ. ตรวจสอบได ที่ เ ว็ บ ไซต
www.ocsc.go.th
๒. เมื่อผูบังคับบัญชาของผูที่ขออนุญาตลาไปศึกษา พิจารณาเห็นวาเหมาะสม ใหเสนอความเห็น
ขึ้นไปตามลําดับ ถึง หน.สวนราชการขึ้นตรงตอ กห. (ผบ.ทบ., ผบ.ทร. หรือ ผบ.ทอ.)
๓. หน.ส วนราชการขึ้นตรงตอ กห. (ผบ.ทบ., ผบ.ทร. หรือ ผบ.ทอ.) แตงตั้งคณะกรรมการ
ไมนอยกวา ๓ นาย พิจารณาความเหมาะสม หากจําเปนใหทดสอบความรูดานวิชาการ และ
ภาษาราชการของประเทศที่จะไปศึกษาดวย
สําหรับขาราชการสังกัด บก.ทท. พิจารณาโดยคณะกรรมการพิจารณาการลาไป
ศึกษา ณ ตางประเทศโดยทุนสวนตัว ของขาราชการสังกัด บก.ทท.
๔๔
๔. เมื่ อ หน.ส ว นราชการขึ้ น ตรงต อ กห. (ผบ.ทบ., ผบ.ทร. หรื อ ผบ.ทอ.)ได รั บ รายงาน
จากคณะกรรมการแลว พิจารณาเห็นชอบ ใหเสนอรายงานตามสายการบังคับบัญชาเพื่อขอ
อนุมัติจาก รมว.กห. ตอไป
๕. ผูที่ขออนุญาตลาไปศึกษา จะเดินทางไปศึกษาได ตอเมื่อไดรับอนุมัติจาก รมว.กห. หรือ กห.
ออกคําสั่งใหไปศึกษาได

สิทธิในการเขารับการศึกษาหลักสูตรนอก กห. ภายในประเทศ

- ระเบียบ บก.ทท. วาดวยการเขารับการศึกษาภายในประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๒

ผูที่ทางราชการสงไปศึกษา

หลักสูตรนอก กห. ภายในประเทศที่ทางราชการสงไปศึกษา


เปนหลักสูตรที่ทางราชการพิจารณาแลวเห็นวามีความจําเปนและเกิดประโยชนตอทางราชการ
จึงตองสงขาราชการที่มีความรู ความสามารถ เขารับการศึกษา โดยทางราชการจะรับผิดชอบ
คาใชจายทั้งหมดในการเขารับการศึกษา

คุณสมบัติของผูที่ทางราชการตองการสงไปศึกษา
๑. หากเปนขาราชการทหาร ตองรับราชการประจําการมาแลวไมนอยกวา ๑ ป เวนผูที่สําเร็จ
การศึกษาจากโรงเรียนทหาร
๒. หากเปนลูกจางประจํา ตองปฏิบัติงานในหนาที่ที่ไดรับคาจางประจํามาแลวไมนอยกวา ๒ ป
๓. ไมเปนผูที่กําลังศึกษาหลักสูตรอื่นที่มีระยะเวลาการศึกษาเกินกวา ๒ เดือน เวนหลักสูตรที่ใช
เวลานอกเวลาราชการไปศึกษา
๔. มีคุณสมบัติครบถวนตามที่สถานศึกษากําหนด
๔๕
๕. หากเป น ผู ที่ สํ า เร็ จ การศึ ก ษาภายในประเทศ โดยใช เ วลาราชการเต็ ม วั น ไปศึ ก ษามา และ
ตองการสงเขารับการศึกษาใหม จะตองกลับมาปฏิบัติงาน ณ ที่ตั้งปกติแลว ดังนี้
ระยะเวลาของหลักสูตร ตองกลับมาปฏิบัติงาน
ที่ไปศึกษามา ณ ที่ตั้งปกติแลว
๑ เดือน แตไมเกิน ๒ เดือน ไมนอยกวา ๓ เดือน
๒ เดือน แตไมเกิน ๑ ป ไมนอยกวา ๖ เดือน
เกินกวา ๑ ป ไมนอยกวา ๑ ป

๖. หากเป น ผู ที่ สํ า เร็ จ การศึ ก ษาโดยใช เ วลาราชการบางส ว นไปศึ ก ษามา ซึ่ ง เป น หลั ก สู ต รที่ มี
ระยะเวลาการศึกษาเกินกวา ๒ ป เมื่อจะสงขาราชการผูนั้นไปเขารับการศึกษาอีก จะตอง
กลับมาปฏิบัติงาน ณ ที่ตั้งปกติแลวไมนอยกวา ๑ ป
๗. หากเปนผูที่สําเร็จการศึกษาจากตางประเทศ เมื่อจะสงขาราชการผูนั้นไปเขารับการศึกษาอีก
จะตองกลับมาปฏิบัติงาน ณ ที่ตั้งปกติแลว ดังนี้

ระยะเวลาของหลักสูตร ตองกลับมาปฏิบัติงาน
ที่ไปศึกษามา ณ ที่ตั้งปกติแลว
ไมเกิน ๓ เดือน ไมนอยกวา ๖ เดือน
๓ เดือน แตไมเกิน ๑ ป ไมนอยกวา ๑ ป
เกินกวา ๑ ป ไมนอยกวา ๒ ป

ขั้นตอนการดําเนินการ
๑. สปท. แจงรายละเอียดเกี่ยวกับหลักสูตรตางๆ ที่ทางราชการตองการสงขาราชการ เขารับ
การศึกษาถึงสวนราชการ
๒. หน ว ยต น สั ง กั ด รวบรวมชื่ อ ข า ราชการผู ที่ มี ค วามประสงค เ ข า รั บ การศึ ก ษา พร อ มทั้ ง
รายละเอียดตางๆ และประวัติยอที่ครบถวนสมบูรณ สงถึง สปท.
๓. สปท. เสนอรายชื่อขาราชการ ใหคณะกรรมการฯ ซึ่งมี รอง ผบ.สปท. เปนประธานกรรมการ
พิจารณาความเหมาะสม
๔. รอง ผบ.สปท./ประธานกรรมการฯ จะมีหนังสือถึงคณะกรรมการฯ จากทุกหนวย (กําหนดไว
ในระเบียบวาดวยการศึกษาในประเทศ พ.ศ.๒๕๔๖) เพื่อรวมพิจารณา สําหรับ กพ.ทหาร มี
๔๖
รอง จก.กพ.ทหาร เปนกรรมการฯ โดยตําแหนง ซึ่ง รอง จก.กพ.ทหาร/กรรมการฯ จะมี
หนังสือตอบผลการพิจารณารายชื่อผูเขารับการศึกษา ถึง รอง ผบ.สปท./ ประธานกรรมการฯ
๕. สปท. สรุปผลการพิจารณา สงถึง กพ.ทหาร
๖. กพ.ทหาร นําเรียนขออนุมัติตัวบุคคลและออกคําสั่งฯ ใหเขารับการศึกษาตอไป
๗. การขอระงับการสงขาราชการเขารับการศึกษา ตองรายงานตามสายงานเพื่อขอระงับกอนวัน
เปดการศึกษาอยางนอย ๓ วันทําการ
๘. การขอขยายระยะเวลาการศึกษาครั้งที่ ๑ จะขอขยายไดไมเกินครึ่งหนึ่งของที่อนุมัติไวเดิม
สําหรับการขอระยะเวลาครั้งตอไป จะอนุมัติใหใชเวลานอกราชการและใชทุนสวนตัวในการเขา
รับการศึกษาซึ่งคณะกรรมการฯ จะพิจารณาเรื่องแลวเสนอ กพ.ทหาร เพื่อนําเรียนขออนุมัติ
และออกคําสั่งฯ ใหขยายระยะเวลา
ผูที่ขออนุญาตลาไปศึกษา
หลักสูตรนอก กห. ภายในประเทศ สําหรับผูที่ประสงคลาไปศึกษา
การลาไปศึกษาในสถาบันศึกษานอก กห. มี ๓ ประเภท ไดแก
การลาไปศึกษาโดยใชเวลาราชการเต็มวัน (ใชเวลาราชการทั้งวันเขาการศึกษา)
คุณสมบัติ
ƒ เปนขาราชการทหาร หรือลูกจางประจํา และรับราชการในกระทรวงกลาโหมมาแลวไมนอย
กวา ๒ ป เวนแตผูสําเร็จการศึกษาจากโรงเรียนทหาร จะมีเวลารับราชการในตําแหนง
ประจําการนอยกวา ๒ ป ก็ได แตเมื่อนับเวลาการศึกษาในโรงเรียนทหาร รวมกันแลว
จะตองไมนอยกวา ๒ ป
ƒ หากเคยลาโดยใช เ วลาราชการเต็ ม วั น ไปศึ ก ษามาแล ว จะลาเต็ ม วั น อี ก ต อ งกลั บ มา
ปฏิบัติงาน ณ ที่ตั้งปกติแลว

ระยะเวลาของหลักสูตร ตองกลับมาปฏิบัติงาน
ที่ไปศึกษามา ณ ที่ตั้งปกติแลว
เกิน ๑ เดือน แตไมเกิน ๒ เดือน ไมนอยกวา ๓ เดือน
เกิน ๒ เดือน แตไมเกิน ๑ ป ไมนอยกวา ๖ เดือน
เกินกวา ๑ ป ไมนอยกวา ๑ ป
๔๗
ƒ หากเคยลาโดยใชเวลาราชการบางสวนไปศึกษามาแลว ซึ่งเปนหลักสูตรที่มีระยะเวลา
การศึกษาเกินกวา ๒ ป และจะลาเต็มวันอีกตองกลับมาปฏิบัติงาน ณ ที่ตั้งปกติแลว ไม
นอยกวา ๑ ป
ƒ หากเปนผูที่สําเร็จการศึกษาจากตางประเทศ แลวจะลาไปศึกษาในประเทศ โดยใชเวลา
ราชการเต็มวันอีก จะตองมาปฏิบัติงาน ณ ที่ตั้งปกติแลว ดังนี้
ระยะเวลาของหลักสูตร ตองกลับมาปฏิบัติงาน
ที่ไปศึกษามา ณ ที่ตั้งปกติแลว
ไมเกิน ๓ เดือน ไมนอยกวา ๖ เดือน
เกิน ๓ เดือน แตไมเกิน ๑ ป ไมนอยกวา ๑ ป
เกินกวา ๑ ป ไมนอยกวา ๒ ป

ƒ การขอขยายระยะเวลาการศึกษาครั้งที่ ๑ จะขอขยายไดไมเกินครึ่งหนึ่งจากที่ขอ
อนุ มั ติ ไ ว เ ดิ ม สํ า หรั บ ครั้ ง ตอ ไปจะอนุ มั ติใ ห ใ ช เ วลานอกเวลาราชการ และต อ ง
รายงานผานความเห็นชอบของคณะกรรมการฯ
การลาไปศึกษาโดยใชเวลาราชการบางสวน (ใชเวลาราชการไมเกินครึ่งหนึ่งของวัน)
คุณสมบัติ
๑. เปนขาราชการทหาร หรือลูกจางประจํา และรับราชการในกระทรวงกลาโหมมาแลวไม
นอยกวา ๑ ป
๒. ถาเคยลาโดยใชเวลาราชการเต็มวัน หรือสําเร็จการศึกษาตางประเทศ ที่มีระยะเวลา
การศึ ก ษาเกิ น กว า ๑ ป หากจะลาโดยใช เ วลาราชการบางส ว นอี ก ต อ งกลั บ มา
ปฏิบัติงาน ณ ที่ตั้งปกติแลวไมนอยกวา ๑ ป จึงจะสามารถลาได
๓. ถาเคยลาโดยใชเวลาราชการบางสวน เขารับการศึกษาหลักสูตร ที่มีระยะเวลาการศึกษา
เกินกวา ๒ ป หากจะลาโดยใชเวลาราชการบางสวนอีก ตองกลับมาปฏิบัติงาน ณ ที่ตั้งปกติ
แลวไมนอยกวา ๑ ป จึงจะสามารถลาได
๔๘
ขั้นตอนการปฏิบัติ (ทั้งการโดยใชเวลาราชการเต็มวันและใชเวลาราชการบางสวน)
๑. ขาราชการที่ประสงคลาไปศึกษา เสนอรายงานขออนุมัติลาถึงผูบังคับบัญชาตามลําดับ
ชั้น โดยระบุรายละเอียดตางๆ และแนบเอกสารหลักสูตรที่ขอลาจากสถาบันศึกษา
พรอมแนบฟอรมการขออนุมัติลาฯ ใหครบถวน สงใหหนวยตนสังกัดรวบรวมเสนอ
สปท. ภายใน มี.ค. และ ก.ย. ของทุกป
๒. สปท. เสนอรายชื่อขาราชการ ใหคณะกรรมการฯ ซึ่งมี รอง ผบ.สปท. เปนประธาน
พิจารณาความเหมาะสม
๓. รอง ผบ.สปท./ ประธานกรรมการฯ จะมีหนังสือถึงคณะกรรมการฯ จากทุกหนวย
(กําหนดไวในระเบีย บวา ดวยการศึกษาในประเทศ พ.ศ.๒๕๔๖) เพื่อร วมพิจารณา
สําหรับ กพ.ทหาร มี รอง จก.กพ.ทหาร เปนกรรมการฯ โดยตําแหนง ซึ่ง รอง จก.กพ.ทหาร/
กรรมการฯ จะมีหนังสือตอบผลการพิจารณารายชื่อผูเขารับการศึกษา ถึง รอง ผบ.สปท./
ประธานกรรมการฯ
๔. สปท. สรุปผลการพิจารณา สงถึง กพ.ทหาร
๕. กพ.ทหาร นําเรียนเพื่อขออนุมัติตัวบุคคลและออกคําสั่งฯ ใหขาราชการไปศึกษา
การขอขยายระยะเวลาการศึกษาครั้งที่ ๑
จะขอขยายไดไมเกินหนึ่งเทาของที่อนุมัติไวเดิมสําหรับการขอขยายระยะเวลาครั้งตอไป
จะอนุมัติใหใชเวลานอกราชการ ซึ่งคณะกรรมการฯ จะพิจารณาเรื่องแลวเสนอ กพ.ทหาร เพื่อนํา
เรียนขออนุมัติและออกคําสั่งฯ ใหขยายระยะเวลา
การลาไปศึกษาโดยใชนอกเวลาราชการ (ไมใชเวลาราชการในการเขารับการศึกษา)
คุณสมบัติ
เปนขาราชการทหาร หรือลูกจางประจํา เมื่อบรรจุใหเขารับราชการสามารถขออนุญาต
ลาไดไมกําหนดเวลารับราชการ
ขั้นตอนการปฏิบัติ
๑. ขาราชการเสนอรายงานขอลาตอผูบังคับบัญชาตามลําดับชั้น ตามแบบฟอรมที่กําหนด
ซึ่งอํานาจการอนุมัติและออกคําสั่งฯ ใหขาราชการลาไปศึกษานอกราชการ อยูในอํานาจ
การอนุมัติของผูบังคับ บัญชาของหนวยตนสังกัด ระดับ พล.ต., พล.ร.ต., พล.อ.ต.
ขึ้นไป สําหรับ ตอน บก.บก.ทท. และ สธน.ทหาร อยูในอํานาจของ รอง เสธ.ทหาร
๒. หากไมสามารถเขารับการศึกษาได ตองรายงานหนวยตนสังกัดทราบภายใน ๑๕ วัน
หลังจากเปดการศึกษา
๔๙
๓. การขอเปลี่ยนสถานศึกษาหรือสาขาวิชาที่ศึกษา ตองรายงานขออนุมัติภายใน ๑๕ วัน
หลังจากเปดการศึกษา
๔. การขอขยายระยะเวลาศึกษาใหขยายไดไมเกินระยะเวลาที่สถานศึกษากําหนด
๕. หากสถานศึกษาแจงผลใหทราบหลังระยะเวลาที่ไดรับอนุมัติวาไมสําเร็จการศึกษาตอง
ศึกษาตอ ใหรายงานทันทีหลังจากทราบผลการศึกษาเพื่อขอขยายระยะเวลาการศึกษา
๖. ผู ที่ เ ข า รั บ การศึ ก ษาอยู ก อ นที่ จ ะบรรจุ เ ข า รั บ ราชการ ให ร ายงานให ผู บั ง คั บ บั ญ ชา
ตามลําดับชั้นทราบภายใน ๑๕ วัน นับตั้งแตวันที่รายงานตัวเขารับราชการ
หลักฐานประกอบ
ƒ ใบลงทะเบียนเรียน
ƒ บัตรประจําตัวนักศึกษา

ขั้นตอนการรายงานเพื่อบันทึกประวัติ
๑. ใหผูสําเร็จการศึกษา รายงานผลหนวยตนสังกัด หนวยตนสังกัดรายงานผลการศึกษาผูสําเร็จ
การศึกษาตามแบบฟอรมที่กําหนด ให สปท. เพื่อรวบรวมสงให กพ.ทหาร
หลักฐานการสําเร็จการศึกษา
ƒ ใบรายงานผลการศึกษา (Transcript)
ƒ ปริญญาบัตร หรือ ใบรับรองคุณวุฒิ
ƒ คําสั่งใหเขารับการศึกษา
๒. กพ.ทหาร นําเรียนเพื่อขออนุมัติใหดําเนินกรรมวิธีเกี่ยวกับการพิจารณาบําเหน็จ และเสนอ
เรื่องให สบ.ทหาร บันทึกประวัติเฉพาะนายทหารสัญญาบัตร ตอไป
๓. การเข า รั บการศึ กษาทุก ประเภท ที่ ใ ช เ วลาของทางราชการ หรื อ ใช ง บประมาณของทาง
ราชการ มากกวา ๒๐,๐๐๐ บาท/ คน จะตองทําสัญญาเขารับการศึกษา และสัญญาค้ําประกัน
ไวกับทางราชการทุกกรณี

หมายเหตุ ในกรณีไมมีคําสั่งใหเขารับการศึกษา เมื่อสําเร็จการศึกษาไมสามารถนํามาบันทึก


ประวัติได และคําสั่งใหเขารับการศึกษาตองครอบคลุมระยะเวลาเริ่มการศึกษา
จนถึงการประสาทปริญญาบัตร
๕๐

สิทธิไดรับคะแนนเพิ่ม

- ระเบียบ ทท. วาดวยโรงเรียนเตรียมทหาร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๕๑


- ระเบียบ บก.ทหารสูงสุด วาดวยการคัดเลือกบุคคลเขาเปนนักเรียน
ชางฝมือทหาร พ.ศ.๒๕๔๓

คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
๑. รร.ตท.สปท.
ƒ ผูที่เปนบุตรของทหาร ตํารวจ ขาราชการ เจาหนาที่ของรัฐ พนักงานราชการ หรือลูกจาง ซึง่ ได
ปฏิ บั ติ หน า ที่ ทางยุ ท ธการร ว มกั บ ทหาร ระหว างเวลาที่ มี การรบหรื อการสงครามหรื อ
มีการปราบจลาจล หรือในระหวางเวลาที่มีพระบรมราชโองการประกาศใชกฎอัยการศึก
หรื อมี การประกาศสถานการณ ฉุ กเฉิ น ตามกฎหมายว าด วยระเบี ยบบริ หารราชการใน
สถานการณฉุกเฉินหรือในระหวางเวลาที่สั่งใหเปนนักดําหรือประดาน้ํา หรือปฏิบัติหนาที่
สํ ารวจจั ดทํ าหลั กเขตแดนระหว า งประเทศ ซึ่ ง มี สิ ท ธิ นั บ เวลาราชการเป น ทวี คู ณ ตาม
กฎหมายวาดวยบําเหน็จขาราชการ เพิ่มใหรอยละ ๕ ของคะแนนเต็ม

๒. รร.ชท.สปท.
ƒ ผูที่เปนบุตรของทหาร ขาราชการ หรือลูกจาง ซึ่งไดกระทําหนาที่ในระหวางเวลาที่มีการรบ
หรือการสงคราม หรือปราบจลาจล หรือในระหวางประกาศสถานการณฉุกเฉิน ซึ่งมีสิทธิ
ไดนั บเวลาราชการเปนทวี คูณตามกฎหมายวาด วยบําเหน็จ บํานาญขาราชการ เพิ่ มให
รอยละ ๕ ของคะแนนรวมภาควิชาการ

ขั้นตอนการขอรับสิทธิกําลังพลและหลักฐานประกอบการพิจารณา
ยื่นใบสมัครพรอมแนบเอกสารที่เกี่ยวของตาม วัน เวลา และสถานที่ ที่สถานศึกษากําหนด
๕๓

สิทธิการมีสวนรวมทางการเมือง

- ขอบังคับ กห. วาดวยขาราชการกลาโหมกับการเมือง พ.ศ.๒๔๙๙

๑. ขาราชการกลาโหมผูใดไดสมัครเขาเปนสมาชิกในพรรคการเมืองใด ๆ ที่ตั้งโดยชอบดวย
กฎหมายให ร ายงานผู บั ง คั บ บั ญ ชาตามลํ า ดั บ ชั้ น จนถึ ง ผบ.ทบ., ผบ.ทร., ผบ.ทอ. หรื อ
สวนราชการขึ้นตรง กห. หรือ รมว.กห. เพื่อรับอนุญาตกอน
๒. ขาราชการกลาโหมจะเขารวมประชุมอันเปนการประชุมของพรรคการเมืองเปนการสวนตัวก็ได
แตทั้งนี้ตองมิใชในเวลาราชการ
๓. ขา ราชการกลาโหมจะตอ งปฏิ บัติ ร าชการในหนา ที่ หรือ เกี่ย วกับ ประชาชนด วยการวางตั ว
เปนกลาง โดยไมมุงหวังประโยชนของพรรคการเมืองใดโดยเฉพาะ แตทั้งนี้ตองปฏิบัติตาม
นโยบายของรัฐบาล และไมกระทําการใหเปนการฝาฝนกฎหมาย กฎ ขอบังคับ ระเบียบ คําสั่ง
และแบบธรรมเนียมของทหาร
๔. ขาราชการกลาโหมจะตองไมกระทําการอันเปนการฝาฝนขอหาม ดังตอไปนี้
ƒ ห า มมิ ใ ห ใ ช ห รื อ ยอมให ผู อื่ น ใช เ ขตสถานที่ ร าชการในกิ จ การทางการเมื อ ง ไม ว า ด ว ย
การกระทําหรือดวยวาจา ยกเวนสโมสรซึ่งมีระเบียบการใหใชในกิจการตาง ๆ ไดเปนครั้ง
คราวโดยเสียคาบริการ
ƒ ไมวิพากษวิจารณการกระทําของรัฐบาลใหปรากฎแกประชาชน
ƒ ไมแตงเครื่องแบบซึ่งทางราชการกําหนดไวรวมประชุมพรรคการเมืองหรือไปรวมประชุมใน
ที่สาธารณะใด ๆ อันเปนการประชุมที่มีลักษณะทางการเมือง
ƒ ไมประดับเครื่องหมายของพรรคการเมืองในสถานที่ราชการ หรือในเวลาราชการ หรือ
ในเวลาสวมเครื่องแบบซึ่งทางราชการกําหนดไว
ƒ ไมแตงเครื่องแบบของพรรคการเมืองเขาไปในสถานที่ราชการทุก ๆ แหง
ƒ ไม บั งคั บ ผู อยู ใ นบั งคั บ บั ญ ชาหรื อประชาชนทั้ งโดยตรงหรื อโดยปริ ย ายให เป นสมาชิ ก
ในพรรคการเมืองใด และไมกระทําการในทางใหคุณหรือโทษเฉพาะเหตุที่ผูอยูในบังคับ
บั ญ ชาหรื อ ประชาชนนิ ย มหรื อ เป น สมาชิ ก ในพรรคการเมื อ งใดที่ ตั้ ง ขึ้ น โดยชอบด ว ย
กฎหมาย
๕๔
ƒ ไม ทํ า การขอร อ งหรื อ บั ง คั บ ให บุ ค คลใดอุ ทิ ศ เงิ น หรื อ ทรั พ ย สิ น เพื่ อ ประโยชน
แกพรรคการเมือง
ƒ ไมเขียนจดหมาย หรือบทความไปลงหนังสือพิมพ หรือพิมพหนังสือหรือใบปลิว ซึ่งจะ
จําหนายแจกจายไปยังประชาชนอันมีขอความที่เปนลักษณะของการเมือง และไมโฆษณา
หาเสียงเพื่อประโยชนแกพรรคการเมืองหรือแสดงการสนับสนุนพรรคการเมืองใด ๆ ในที่ที่
ปรากฎแกประชาชน
ƒ ไมแทรกแซงในทางการเมืองหรือใชการเมืองเปนเครื่องมือเพื่อกระทํากิจการตาง ๆ อาทิ
เชน วิ่งเตนติดตอกับสมาชิกสภาผูแทนหรือสมาชิกวุฒิสภาหรือพรรคการเมืองเพื่อใหนําราง
พระราชบัญญัติ หรือญัตติเสนอผูแทนหรือวุฒิสภา หรือตั้งกระทูถามรัฐบาล เปนตน
ƒ ไมแสดงออกโดยตรงหรือโดยปริยายที่จะเปนการชวยเหลือสงเสริมสนับสนุนผูสมัครรับ
เลือกตั้งในระยะเวลาที่มีการสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทน เวนแตผูที่ดํารงตําแหนง
ใด ๆ ในพรรคการเมืองใหกระทําการดังกลาวเชนนั้นได และในทางกลับกัน ไมกีดกัน
ตําหนิ ติเตียนทับถม หรือใหรายผูสมัครรับเลือกตั้ง
ƒ ในระยะเวลาที่มีการสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ไมแสดงออกโดยตรงหรือ
โดยปริยายที่จะเปนการชวยเหลือสงเสริมสนับสนุนผูสมัครรับเลือกตั้ง และในทางกลับกัน
ไมกีดกัน ตําหนิติเตียน ทับถม หรือใหรายผูสมัครรับเลือกตั้ง
๕๕

สิทธิการเขาสมาคม

- ตามขอบังคับ กห. วาดวยการเขาสมาคม เขาศึกษาหรือบอกความในราชการ พ.ศ. ๒๕๑๐

คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
๑. ข า ราชการกลาโหมประจํ า การ ลู ก จ า งและคนงานในสั ง กั ด กระทรวงกลาโหม นอกจาก
ขาราชการการเมือง จะเขาเปนสมาชิก รวมประชุม ฟงการบรรยาย เผยแพรกิจการหรือชวย
เกลี้ยกลอม โฆษณาวัตถุประสงคของสมาคม สโมสร องคการใด หรือไปบรรยายไปแสดง
ใหแกสมาคม สโมสร หรือองคการใด ที่มิใชเปนของทางราชการทหารใหรายงานผูบังคับบัญชา
ตามลําดับชั้นจนถึง ผบ.ทบ., ผบ.ทร., ผบ.ทอ. หรือหัวหนาสวนราชการขึ้นตรงตอ กห. หรือ
รมว.กห. แลวแตกรณี เพื่อรับอนุญาตกอน
๒. ขาราชการกลาโหมประจําการ ลูกจาง และคนงานในสังกัดกระทรวงกลาโหม นอกจาก
ขาราชการการเมืองที่มีความประสงคจะเขาศึกษาในสถานศึกษาของรัฐบาลหรือเอกชน โดยใช
เวลานอกราชการ หรืออาจใชเวลาในราชการเพียงบางสวนไปศึกษา ซึ่งมีผูเขาศึกษารวมกันอยู
หลายคนและการศึ ก ษานั้ น มิ ไ ด เ ป น เพราะได รั บ คํ า สั่ ง จากผู บั ง คั บ บั ญ ชา ให ร ายงาน
ผูบังคับบัญชา ตามลําดับชั้นจนถึง ผบ.ทบ., ผบ.ทร., ผบ.ทอ. หรือสวนราชการขึ้นตรง กห.
หรือ รมว.กห. เพื่อรับอนุญาตกอน
๕๖

สิทธิของทหารเมื่อตกเปนผูตองหาในคดีอาญา

- ระเบียบ นร. วาดวยการประสานงานกรณีถูกวากระทําผิดอาญา พ.ศ.๒๕๔๔

๑. มีสิทธิขอประกันตัวชั่วคราว
๒. มีสิทธิที่จะพบและปรึกษาทนายความเปนการสวนตัว
๓. มีสิทธิที่จะไดรับการเยี่ยมตามสมควร
๔. มีสิทธิที่จะไดรับการสอบสวน ดวยความรวดเร็ว ตอเนื่องและเปนธรรม
๕. มีสิทธิจะใหทนายความหรือผูซึ่งตนไววางใจ เชน นธน. หรือนายทหารสัญญาบัตรรับฟ ง
การสอบปากคําตน
๖. มีสิทธิที่จะตรวจหรือคัดสําเนาคําใหการของตนและเอกสารประกอบคําใหการของตนในชั้น
สอบสวนเมื่อพนักงานอัยการไดยื่นฟองคดีตอศาลแลว
๗. มีสิทธิที่จะไดรับความชวยเหลือจากรัฐดวยการจัดหาทนายความให
๘. มีสิทธิที่จะไมใหถอยคําเปนปฎิปกษตอตนเองอันจะทําใหตนถูกฟองคดีอาญา
๙. มีสิทธิที่จะไดรับการเตือนวาถอยคําซึ่งเกิดจากการจูงใจมีคํามั่นสัญญา หรือกระทําโดยมิชอบ
ดวยประการใด ๆ ไมอาจรับฟงเปนพยานหลักฐานได
๕๗

สิทธิในการรองทุกข

- ตาม พ.ร.บ. วาดวยวินัยทหาร พ.ศ. ๒๔๗๖ โดยสังเขป

๑. ทหารจะรองทุกขไดแตสําหรับตนเองเทานั้น หามมิใหรองทุกขแทนผูอื่นเปนอันขาด และหามมิให


ลงชื่ อร วมกั น หรื อเข ามาร องทุ กข พร อมกั นหลายคน และห ามมิ ให ประชุ มกั นเพื่ อหารื อเรื่ อง
จะรองทุกข
๒. หามมิใหรองทุกขในเวลาที่ตอนกําลังเขาแถว หรือในขณะที่กําลังทําหนาที่ราชการอยางใดอยางหนึ่ง
เชนเวลาเปนยาม เปนเวร และหามมิใหรองทุกขกอนเวลาลวงไปแลวยี่สิบสี่ชั่วโมง นับตั้งแตมีเหตุ
จะตองรองทุกขเกิดขึ้น
๓. หามมิใหรองทุกขวา ผูบังคับบัญชาลงทัณฑแรงเกินไป ถาหากวาผูบังคับบัญชานั้นมิได ลงทัณฑ
เกินอํานาจที่จะทําใหไดตามความในหมวด ๓ แหงพระราชบัญญัติวาดวยวินัยทหาร
๔. ถ า จะกล า วโทษผู ใ ดให ร อ งทุ ก ข ต อ ผู บั ง คั บ บั ญ ชาโดยตรงของผู นั้ น จะร อ งทุ ก ข ด ว ยวาจา
หรื อ จะเขี ย นเป น หนั ง สื อ ก็ ไ ด ถ า ผู ร อ งทุ ก ข ม าร อ งทุ ก ข ด ว ยวาจา ให ผู รั บ การร อ งทุ ก ข
จดข อ ความสํ า คั ญ ของเรื่ อ งที่ ร อ งทุ ก ข นั้ น ให ผู ร อ งทุ ก ข ล งลายมื อ ชื่ อ ไว เ ป น หลั ก ฐานด ว ย
ถาหากวาผูรองทุกขไมทราบชัดวา ตนไดรับความเดือดรอนเพราะผูใดแน ก็ใหรองทุกขตอ
ผูบังคับบัญชาโดยตรงของตน เพื่อเสนอไปตามลําดับชั้นจนถึงที่สุด คือผูที่จะสั่งการไตสวน
และแกความเดือดรอนนั้นได
๕. เมื่ อผู ใดไดรองทุกข ตอผูบั งคั บบัญชาตามระเบี ยบที่ วามานี้แล ว และเวลาลวงพ นไปสิบหาวั น
ยังไมไดรับความชี้แจงประการใดทั้งความเดือดรอนก็ยังไมปลดเปลื้องไป ใหรองทุกขใหมตอ
ผูบังคับบัญชาชั้นที่สูงถัดขึ้นไปเปนลําดับอีก และในการรองทุกขครั้งนี้ใหชี้แจงดวยวา ไดรองทุกข
ตอผูบังคับบัญชาชั้นใดมาแลวแตเมื่อใด
๖๐

สิทธิกําลังพลของผูปฏิบัติงานใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต
และ ๔ อําเภอ ในจังหวัดสงขลาสิทธิเจาหนาที่ของ กอ.รมน.
และผูปฏิบัติในสายงาน กอ.รมน.

- คําสั่ง นร. ที่ ๒๐๕/๔๙ ลง ๓๐ ต.ค.๔๙ เรื่อง การจัดตั้ง กอ.รมน.

๑. ให ถือวาการปฏิบั ติงานใน กอ.รมน. เปนการทํ าหนาที่ตามที่ กห. กําหนด ให ไปทําในระหว าง
ที่ มี ก ารรบ หรื อ สงคราม หรื อ มี ก ารปราบการจราจล หรื อ ในระหว า งเวลาที่ มี ป ระกาศ
สถานการณ ฉุ ก เฉิ น ให ไ ด นั บ เวลาปฏิ บั ติ ร าชการตามคํ า สั่ ง เป น ทวี คู ณ ตาม พ.ร.บ.
บําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ.๒๔๙๔ มาตรา ๒๔
๒. มีสิทธิขอพระราชทานเหรียญราชการชายแดนตามคําสั่งที่ทางราชการกําหนด
๓. ให ได รั บการพิ จารณาบํ าเหน็ จความชอบประจํ าป กรณี พิ เศษ ๒ ชั้ น (นอกเหนื อโควตาปกติ )
ในอัตรารอยละ ๑๕ ของจํานวนผูที่มาปฏิบัติงานใน กอ.รมน.
๔. ได รั บ การพิ จ ารณาสิ ท ธิ ต ามระเบี ย บ นร. ว า ด ว ยบํ า เหน็ จ ความชอบ ค า ตอบแทน และ
การช วยเหลือเจ าหน าที่และประชาชนผู ปฏิ บั ติ หน าที่ ราชการหรื อช วยเหลื อราชการ เนื่ องใน
การปองกันอธิปไตยและรักษาความสงบเรียบรอยของประเทศ พ.ศ.๒๕๒๑ (ระเบียบ บ.ท.ช.)
๕. กรณีถึงแกความตาย หรือไดรับบาดเจ็บเพราะเหตุปฏิบัติราชการที่ไมเขาขายตามระเบียบ
บ.ท.ช. ให หนวยต นสั งกั ดปกติสามารถขอรั บสิทธิ ตามระเบี ยบ นร. ว าด วยการใหบํ าเหน็ จ
ความชอบเปนกรณีพิเศษ พ.ศ.๒๕๒๑ แทน
๖. เงินตอบแทนพิเศษใหแกขาราชการและลูกจาง ซึ่งเปนผูปฏิบัติงานตามแผนรักษาความมั่นคง
ภายในประจําป ใหมีสิทธิไดรับเงินตอบแทนพิเศษรายเดือนในอัตราที่เหมาะสม ทั้งนี้ เปนไปตาม
มติ ครม. (มติ ครม. เมื่อ ๑๑ พ.ย.๕๑ ใหไดรับเงินตอบแทนพิเศษรายเดือน ๒,๕๐๐ บาท/คน
ตั้งแต ๑ ต.ค.๕๑ เปนตนไป)
หมายเหตุ ปจจุบันผูที่ไปปฏิบัติงานใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต และ ๔ อําเภอในจังหวัดสงขลา
จะตองมีคําสั่ง กอ.รมน. ใหไปปฏิบัติหนาที่ และไดรับสิทธิขางตน
๖๑

สิทธิกําลังพลของ กอ.รมน.

๑. เงินคาตอบแทนพิเศษกําลังพลในสนาม

ชั้นยศ บาท / คน / วัน


พ.อ.(พ) ขึ้นไป ๒๔๐
จ.ส.อ.(พ.) - พ.อ. ๒๑๐
ส.ต. - จ.ส.อ. ๑๘๐

หมายเหตุ หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๐๙.๗/๒๗๑๙๕ ลง ๑๙ ต.ค.๕๐


๒. เงินคาตอบแทนการปฏิบัติราชการ

ชั้นยศ บาท / คน / เดือน


พ.อ.(พ) ขึ้นไป ๒,๐๐๐
จ.ส.อ.(พ.) - พ.อ. ๑,๕๐๐
ส.ต. - จ.ส.อ. ๑,๐๐๐

หมายเหตุ หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๐๙.๗/๒๒๗๓๖ ลง ๑๒ ก.ย.๕๐


๓. เงินตอบแทนพิเศษรายเดือน ๒,๕๐๐ บาท/คน/เดือน
หมายเหตุ หนังสือ สลค. ดวนที่สุด ที่ นร ๐๕๐๖/๑๖๙๕๒ ลง ๒๐ พ.ย.๕๑ (มติ ครม.
เมื่อ ๑๑ พ.ย.๕๑)
๔. เงินเพิ่มพิเศษสําหรับการสูรบ (พ.ส.ร.) หรือเงินรางวัลสําหรับการสูรบในพื้นที่ยานอันตราย
ตามระยะเวลาไมนอยกวา ๖ เดือน ไดรับ พ.ส.ร. คนละ ๑ ขั้น กรณีบาดเจ็บ/ ทุพพลภาพ
การพิจารณาของคณะกรรมการ ก.บ.ท.ช.
หมายเหตุ ระเบียบ บ.ท.ช. พ.ศ.๒๕๒๑
๕. นับเวลาราชการเปนทวีคูณ
หมายเหตุ คําสั่ง นร. ที่ ๒๐๕/๒๕๔๙ ลง ๓๐ ต.ค.๔๙ และ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคง
ภายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑
๖๒
๖. การขอพระราชทานเหรียญชายแดน
หมายเหตุ ระเบียบ วาดวยการขอพระราชทานเหรียญราชการชายแดน พ.ศ.๒๕๑๑ (อําเภอ
ชายแดน และ จชต. ตามที่ มท. กําหนด)
๗. บําเหน็จความชอบประจําป รอยละ ๑๕ ของจํานวนผูปฏิบัติงานใน กอ.รมน.
๘. บําเหน็จความชอบประจําปกรณีพิเศษ นอกเหนือจากโควตาปกติ ของจํานวนกําลังพลที่มา
ปฏิบัติงานใน ๓ จชต. และ ๔ อําเภอของ จว.ส.ข.
หมายเหตุ ตามมติ ครม. ที่ขออนุมัติเปนป ๆ (ภายใตการกํากับดูแลของ กอ.รมน.ภาค ๔)
๙. บําเหน็จความชอบโควตายาเสพติด (ศอ.ปส.) รอยละ ๑ ของจํานวนกําลังพลที่ปฏิบัติงานจริง
ใน กอ.รมน.
หมายเหตุ ตามมติ ครม. ที่ขออนุมัติเปนป ๆ
๑๐. ไดรับการสงเคราะหดานสวัสดิการตาง ๆ จาก อผศ.
ƒ ประสบภัยพิบัติ ไมเกิน ๕,๐๐๐ บาท
ƒ คาคลอดบุตร คราวละ ๗๐๐ บาท
ƒ คารักษาพยาบาลผูปวยนอก ครอบครัวละไมเกิน ๒,๐๐๐ บาท
หมายเหตุ พ.ร.บ. องคการสงเคราะหทหารผานศึก พ.ศ.๒๕๑๐
๑๑. การปูนบําเหน็จพิเศษ ฯ
กรณีเสียชีวิต ไดเลื่อนเงินเดือนกรณีพิเศษไมเกิน ๙ ขั้น
กรณีบาดเจ็บ/ ทุพพลภาพ เหมือนเสียชีวิต
หมายเหตุ ระเบียบ บ.ท.ช. พ.ศ.๒๕๒๑ ขอบังคับ กห. วาดวยการพิจารณาบําเหน็จพิเศษใน
เวลาเหตุฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๒๙
๑๒. เงินคาทดแทน
กรณีเสียชีวิต ไดรับ ๒๕ เทาของเงินเดือน
กรณีบาดเจ็บ/ ทุพพลภาพ ไดปลดพิการ ๓๐ เทาของเงินเดือน
หมายเหตุ ระเบียบ บ.ท.ช. พ.ศ.๒๕๒๑
๑๓. เงินคาชดเชยการเจ็บปวย
กรณีบาดเจ็บ/ ทุพพลภาพ ไดรับรายวัน ๑/๓๐ ของเงินเดือน (นอน รพ.)
รายวัน ๑/๖๐ ของเงินเดือน (พักฟนตามคําสั่งแพทย)
หมายเหตุ ระเบียบ บ.ท.ช. พ.ศ.๒๕๒๑
๖๓
๑๔. เงินชวยเหลือคารักษาพยาบาล
กรณีบาดเจ็บ/ ทุพพลภาพ หรือไดรับอันตรายจากการปฏิบัติหนาที่ราชการในการปองกันอธิปไตย
และรักษาความสงบเรียบรอยของประเทศ เปนผูปวยนอก หรือผูปวยใน ในสถานพยาบาลของรัฐ
และเอกชน โดยมีสิทธิไดรับเต็มจํานวนที่จายจริง
หมายเหตุ ระเบียบ บ.ท.ช. พ.ศ.๒๕๒๑
๑๕. เงินชวยเหลือเยียวยาผูไดรับผลกระทบสืบเนื่องจากสถานการณความไมสงบใน จชต.

กรณี รายละ (บาท)


เสียชีวิต ๕๐๐,๐๐๐
ทุพพลภาพ ๕๐๐,๐๐๐
สาหัส ๕๐,๐๐๐
บาดเจ็บ ๓๐,๐๐๐
บาดเจ็บเล็กนอย ๑๐,๐๐๐

๑๖. คาจัดการศพขั้นตน
กรณีเสียชีวิต ๒๐,๐๐๐ บาท
หมายเหตุ ระเบียบ บ.ท.ช. พ.ศ.๒๕๒๑
๑๗. เงินชวยเหลือจากมูลนิธิสายใจไทย

กรณี รายละ (บาท)


กรณีเสียชีวิต ๓๐,๐๐๐
กรณีบาดเจ็บ/ ๒,๐๐๐
ทุพพลภาพ เบื้องตน
อุบัติเหตุ ๑,๐๐๐

ทุ พ พลภาพได รั บ ความช ว ยเหลื อ รายเดื อ น ตามความเห็ น ของกรรมการฝ า ยแพทย


ของมูลนิธิฯ
หมายเหตุ ระเบียบการพิจารณาใหความชวยเหลือแกผูประสบภัยจากการตอสูปองกัน
ประเทศ ตามมูลนิธิสายใจไทยฯ ที่ ๐๐๑/๒๕๔๙ ลง ๓๑ ม.ค.๔๙
๖๔
๑๘. เงินชวยเหลือคาจัดการศพ (อผศ.)
กรณีเสียชีวิต ไดรับ ๗,๐๐๐ บาท
หมายเหตุ คําสั่ง อผศ. ที่ ๒๔/๒๕๔๔ ลง ๖ มี.ค.๔๔
๑๙. เงินเดือนคางจาย
กรณีเสียชีวิต ไดรับเงินเดือนปจจุบันรวมเงินเพิ่มพิเศษดวย ถึงวันที่เสียชีวิต
๒๐. เงินชวยเหลือพิเศษ
กรณีเสียชีวิต ไดรับ ๓ เทาของเงินเดือน
หมายเหตุ พ.ร.ฎ. การจายเงินเดือน เงินป บําเหน็จ บํานาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน
พ.ศ.๒๕๓๕
๒๑. บําเหน็จพิเศษ
ไดรับ ๔๐/๕๐ ของเงินเดือนสุดทาย
กรณีเสียชีวิต
ที่ปูนบําเหน็จฯ แลว (จายเปนรายเดือน)
กรณีบาดเจ็บ / ไดรับ ๓๐ - ๓๕/๕๐ ของเงินเดือนสุดทาย
ทุพพลภาพ ที่ปูนบําเหน็จฯ แลว

หมายเหตุ พ.ร.บ.บําเหน็จ บํานาญขาราชการ พ.ศ.๒๔๙๔


๒๒. บําเหน็จตกทอด
กรณีเสียชีวิต

ไดรับเงินเดือนที่ปูนบําเหน็จฯ แลว X (จํานวนปรับราชการ + เวลารับราชการทวีคูณ)

หมายเหตุ พ.ร.บ.บําเหน็จ บํานาญขาราชการ พ.ศ.๒๔๙๔ พ.ร.บ. ก.บ.ข. พ.ศ.๒๕๓๙


๖๗

สิทธิที่ขาราชการทหารจะไดรบั เมื่อออกจากราชการ

- ขอบังคับ กห. วาดวยเงินเบีย้ หวัด พ.ศ.๒๔๙๕


- พ.ร.บ. บําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ.๒๔๙๔
- พ.ร.บ. กองทุนบําเหน็จขาราชการ พ.ศ.๒๕๓๙

กรณีลาออก มีสิทธิไดรับเบี้ยหวัด หรือบําเหน็จ หรือบํานาญ


กรณีเกษียณอายุ มีสิทธิไดรับบําเหน็จ หรือบํานาญ
กรณีถึงแกกรรม มีสิทธิไดรับบําเหน็จตกทอด

เบี้ยหวัด เงินที่จายเปนรายเดือนใหแกนายทหารสัญญาบัตรชายที่ลาออกจากราชการ
เปนนายทหารกองหนุน นายทหารประทวนและพลทหารประจําการชายที่ออกจากราชการขณะที่
ยังไมพนกองหนุนชั้นที่ ๒
คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
นายทหารสัญญาบัตร
ƒ มีเวลาราชการไมนอยกวา ๑ ป (รวมเวลาราชการทวีคูณ)
ƒ เมื่อออกราชการตองมีชั้นยศและอายุไมเกิน ดังนี้
- ร.ต. - ร.อ. ไมเกิน ๔๕ ป
- พ.ต. - พ.ท. ไมเกิน ๕๐ ป
- พ.อ. ขึ้นไป ไมเกิน ๕๕ ป
การนับอายุใหนับตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๖ ซึ่งบัญญัติวาการนับ
อายุบุคคลใหเริ่มนับตั้งแตวันเกิด เชน ร.อ.กลา เกิดเมื่อ ๒๗ ก.พ.๐๗ จะมีอายุราชการ
ครบ ๔๕ ปบริบูรณ ในวันที่ ๒๖ ก.พ.๕๒ ดังนั้น หากลาออกในวันที่ ๒๗ ก.พ.๕๒ จะไมมี
สิทธิไดรับเบี้ยหวัด
๖๘
นายทหารประทวนและพลทหารประจําการ
ƒ รับราชการในกองประจําการครบตามกําหนด
ƒ รับราชการประจําการไมนอยกวา ๑ ป (ไมรวมเวลาราชการทวีคูณ)
ƒ เมื่อออกจากราชการ ยังไมพนกองหนุนชั้นที่ ๒
- กองประจําการ ๒ ป
- กองหนุนชั้นที่ ๑ ๗ ป
- กองหนุนชั้นที่ ๒ ๑๐ ป
- กองหนุนชั้นที่ ๓ ๖ ป
- พนราชการทหาร
ƒ นายทหารประทวนที่แตงตั้งจากขาราชการกลาโหมพลเรือน ซึ่งขึ้นทะเบียนกองประจําการ
เมื่ออายุเกิน ๒๑ ป (นับถึง ๓๑ ธ.ค.) เมื่อออกจากราชการจะตองมีอายุไมเกิน ๓๙ ป
(๓๙ + พ.ศ.เกิด หากวัน เดือน ป ที่ลาออกไมเกินวันที่ ๑ ของเดือนที่ขึ้นทะเบียน) จึงจะมี
สิทธิไดรับเบี้ยหวัด เชน เกิดวันที่ ๑๐ พ.ค. ๑๐ + ๓๙ = ๒๕๔๙ ขึ้นทะเบียนทหาร เมื่อ
๒๒ เม.ย.๓๒ ดังนั้น จะอยูในเกณฑรับเบี้ยหวัดถึงวันที่ ๓๑ มี.ค.๔๙
๖๙

บําเหน็จปกติ เงินที่จายใหเปนเงินกอนครั้งเดียว และไมมีสิทธิเบิกเงินสวัสดิการตางๆ


คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
๑. มีเวลาราชการตั้งแต ๑ แตไมถึง ๑๐ ป
ƒ ทางราชการใหออกดวยเหตุทดแทน
ƒ ออกจากราชการดวยเหตุทุพพลภาพ
ƒ ทางราชการใหออกเพราะครบเกษียณอายุ
ƒ ลาออกเมื่ออายยุครบ ๕๐ ปบริบูรณแลว
๒. ลาออกโดยมีเวลาราชการครบ ๑๐ ปบริบูรณ แตไมถึง ๒๕ ปบริบูรณ
๓. มีสิทธิไดรับบํานาญแตขอรับนําเหน็จแทน
เกณฑคํานวณบําเหน็จ = เงินเดือนเดือนสุดทาย X เวลาราชการ (จํานวนป)

หมายเหตุ เวลาราชการใหนับแตจํานวนป เศษของป ถาไมถึง ๖ เดือน ใหปดทิ้ง แตถาถึง ๖


เดือน ใหนับเปน ๑ ป

บําเหน็จสมาชิก กบข.

เกณฑคํานวณบําเหน็จสมาชิก กบข. = เงินเดือนเดือนสุดทาย x เวลาราชการ (จํานวนป)

หมายเหตุ เวลาราชการนับจํานวนปรวมทั้งเศษของป ผูที่ไดรับบําเหน็จสมาชิก กบข.


จะมีสิทธิไดรับเงินสะสม เงินสมทบ และผลประโยชนตอบแทนเงินดังกลาวดวย

บําเหน็จตกทอด
เงินที่จายเปนกอนครั้งเดียวใหแกทายาทของขาราชการประจําการ หรือ
ผูที่รับเบี้ยหวัด หรือบํานาญซึ่งถึงแกกรรม
คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
๑. ทายาทของขาราชการหรือผูที่ไดรับเบี้ยหวัด จะไดรับ

เงินเดือนเดือนสุดทาย x เวลาราชการ (จํานวนป)


๗๐

๒. ทายาทของผูที่รับบํานาญ จะไดรับ เปนเงิน ๓๐ เทาของเงินบํานาญรวมเงินชวยคาครองชีพ


ผูรั บเบี้ยหวั ดบํ าเหน็จ บํา นาญ (ช.ค.บ.) กรณีรั บบํ าเหน็จ ดํารงชีพ ไปแล ว ทายาทจะได รั บ
บําเหน็จตกทอดหักดวยบําเหน็จดํารงชีพ
ทายาทผูมีสิทธิไดรับบําเหน็จตกทอด
คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
๑. บุตร ๑ - ๒ คน ไดรับ ๒ สวน บุตรตั้งแต ๓ คนขึ้นไป ไดรับ ๓ สวน (ไมจํากัดอายุ)
๒. คูสมรสไดรับ ๑ สวน
๓. บิดามารดา หรือบิดาหรือมารดาที่มีชีวิตอยูใหไดรับ ๑ สวน
๔. ในกรณีที่ไมมีทายาท
ƒ ใหจายแกบุคคลซึ่งผูตายไดแสดงเจตนาไวตอสวนราชการเจาสังกัดตามแบบและวิธีการที่
กระทรวงการคลังกําหนดไว (ไมเกิน ๓ คน)
ƒ ถาไมมีทายาทหรือบุคคลซึ่งผูตายไดแสดงเจตนาไว หรือบุคคลนั้นไดตายไปกอนใหสิทธิ
ในบําเหน็จตกทอดนั้นเปนอันยุติลง
บํานาญปกติ เงินที่จายใหเปนรายเดือน และมีสิทธิเบิกเงินสวัสดิการตางๆ เชนเดียวกับ
ขาราชการประจําการ
คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิรับบํานาญ
๑. ตองมีเวลาราชการตั้งแต ๑๐ ปบริบูรณขึ้นไป
ƒ ทางราชการใหออกดวยเหตุทดแทน
ƒ ทางราชการใหออกเพราะครบเกษียณอายุ
ƒ ออกจากราชการเพราะเหตุทุพพลภาพ
ƒ ลาออกจากราชการเมื่ออายุครบ ๕๐ ปบริบูรณ
๒. ลาออกโดยมีเวลาราชการครบ ๒๕ ป

เกณฑคํานวณบํานาญ = เงินเดือนเดือนสุดทาย x เวลาราชการ (จํานวนป)


๕๐

หมายเหตุ เวลาราชการใหนับตั้งแตจํานวนป เศษของป ถาไมถึง ๖ เดือน ใหปดทิ้ง แตถาถึง


๖ เดือน ใหนับเปน ๑ ป
๗๑

บํานาญสมาชิก กบข.

เกณฑคํานวณบํานาญ กบข. = เงินเดือนเฉลี่ย ๖๐ เดือนสุดทาย x เวลาราชการ (จํานวนป)


๕๐

หมายเหตุ เงิ นเดื อนเฉลี่ ย ๖๐ เดื อนสุ ดท ายคู ณเวลาราชการ (เวลาราชการนั บเป นจํ านวนป
รวมทั้งเศษของป) หาร ๕๐ แตตองไมเกินรอยละ ๗๐ ของเงินเดือนเฉลี่ย ๖๐ เดือน
ผู ที่ ไ ด รั บ บํ า นาญยั ง มี สิ ท ธิ ไ ด รั บ เงิ น บํ า เหน็ จ ดํ า รงชี พ (การจ า ยเงิ น ครึ่ ง หนึ่ ง ของบํ า เหน็ จ
ตกทอดเพื่อชวยเหลือในการดํารงชีพผูรับบํานาญกอน) ในอัตรา ๑๕ เทาของเงินบํานาญ
แตไมเกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท สวนเงินบําเหน็จดํารงชีพสวนที่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท สามารถขอรับ
เพิ่มไดอีกไมเกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท เมื่อผูที่ไดรับบํานาญมีอายุ ๖๕ ป นอกจากนี้ผูที่รับบํานาญ
สมาชิ ก กบข. จะมี สิ ท ธิ ไ ด รั บ เงิ น ประเดิ ม (ถ า มี ) เงิ น ชดเชย เงิ น สะสม เงิ น สมทบ และ
ผลประโยชนตอบแทนเงินดังกลาวดวย

บํานาญพิเศษ เงินที่จายใหเปนรายเดือน
คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ บํานาญพิเศษแบงออกไดเปน ๒ กรณี คือ
ƒ กรณีทุพพลภาพ เพราะเหตุปฏิบัติหนาที่ราชการในหนาที่ ผูที่ทุพพลภาพเปนผูที่ไดรับ
บํานาญพิเศษ
ƒ กรณีถึงแกความตาย เพราะเหตุปฏิบัติหนาที่ราชการในหนาที่ ทายาทไดรับบํานาญพิเศษ
การคํานวณบํานาญพิเศษ
๑ เงินเดือนเดือนสุดทาย หมายถึง เงินเดือนที่ไดรับปูนบําเหน็จพิเศษแลว
๒ กรณีทุพพลภาพ (ไดรับทั้งบํานาญปกติและบํานาญพิเศษ)
ƒ ยามปกติ ไดรับบํานาญเปนจํานวน ๕ ถึง ๒๐ ใน ๕ สวน ของเงินเดือนเดือนสุดทาย
ƒ ผูที่ทําหนาที่ไปราชการหรือปฏิบัติราชการโดยอากาศยานในอากาศ, ทําหนาที่โดดรม,
ดําน้ํา, กวาดทุนระเบิด, ขุดทําลาย, ทําประกอบวัตถุระเบิด หรือมีหนาที่เกี่ยวกับไอพิษ
ไดรับบํานาญพิเศษเปนจํานวน ๑/๒ ของเงินเดือนเดือนสุดทาย
ƒ ทําหนาที่ในระหวางเวลาที่มีการรบ, การสงครามหรือการปราบปรามการจลาจลไดรั บ
บํานาญพิเศษเปนจํานวน ๓๐ - ๓๕ ใน ๕๐ สวน ของเงินเดือนเดือนสุดทาย
๓. กรณีถึงแกความตาย
๗๒
ƒ ยามปกติทายาทไดรับบํานาญพิเศษเปนจํานวน ๑/๒ ของเงินเดือนเดือนสุดทาย
ƒ ทําหนาที่ตองไปราชการหรือปฏิบัติราชการโดยอากาศยานในอากาศ, ทําการโดดรม, ดําน้ํา,
กวาดทุนระเบิด, ขุดทําลาย, ประกอบวัตถุระเบิด มีหนาที่เกี่ยวกับไอพิษ, การรบ,
การสงคราม. ปราบปรามการจราจล ทายาทไดรับบํานาญพิเศษเปนจํานวน ๔๐/๕๐
ของเงินเดือนเดือนสุดทาย
ทายาทผูมีสิทธิไดรับบํานาญพิเศษ
คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
๑. บิดา มารดา หรือคนใดคนหนึ่งที่มีชีวิตอยู ไดรับ ๑ สวน
๒. คูสมรส ไดรับ ๑ สวน
๓. บุตร ๑ ถึง ๒ คนไดรับ ๒ สวน บุตร ๓ คนขึ้นไปไดรับ ๓ สวน
๔. ถาไมมีทายาทในขอใด หรือทายาทนั้นไดตายไปกอนแลว ใหแบงบํานาญพิเศษ หรือบําเหน็จ
ตกทอดระหวางทายาทที่มี
๕. ถาไมมีทายาทก็ใหจายแกผูอยูในความอุปการระของผูตาย หรือผูอุปการะผูตาย แลวแตกรณี
เงื่อนไขที่จะไดรับบํานาญพิเศษ
๑. บิดา มารดา ใหไดรับจนตลอดชีวติ
๒. คูส มรสไดรับจนตลอดชีวิต เวนแตจดทะเบียนสมรสใหม
๓. บุ ต รได รั บ จนอายุ ค รบ ๒๐ ป บ ริ บู ร ณ แต ถ า กํ า ลั ง ศึ ก ษาอยู ใ นชั้ น เตรี ย มอุ ด มศึ ก ษาชั้ น
อุดมศึกษาหรื อชั้นการศึกษาที่เ ทียบเทา ก็ให ได รับจนสําเร็จ การศึกษา แตอายุตองไม เกิ น
๒๕ ป (บุตรที่พิการถึงทุพพลภาพ ไดรับตลอดเวลาที่ทุพพลภาพอยู)
๔. ผูอุปการะ หรือผูอยูในความอุปการะไดรับ ๑๐ ป ถาอายุไมถึง ๒๐ ป ใหอนุโลมรับอยางบุตร

เงินชวยพิเศษ เงินที่จายใหแกบุคคลที่ขาราชการประจําการ หรือผูที่รับเบี้ยหวัดหรือ


บํานาญซึ่งถึงแกกรรม ไดแสดงเจตนาไว (ไมเกิน ๑ คน) เปนจํานวนเงิน ๓ เทาของเงินเดือน
เบี้ยหวัด หรือบํานาญ
คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
๑. ขาราชการตาย ทายาทไดรับเงินเทากับเงินเดือน ๓ เดือน
๒. กองหนุนมีเบี้ยหวัด ขาราชการตาย ทายาทไดรับเปนเงินเทากับเบี้ยหวัด ๓ เดือน
๓. ผูร ับบํานาญปกติหรือบํานาญพิเศษเหตุทุพพลภาพ ตาย ทายาทไดรับเปนเงินเทากับบํานาญ
๓ เดือน
๗๓
ผูรับเงินชวยพิเศษ
๑. จายใหแกบุคคลที่ผูตายไดแสดงเจตนาระบุไวเปนหนังสือ ตามแบบของกระทรวงการคลัง
๒. ถาผูตายมิไดแสดงเจตนาระบุบุคคลใดไวใหจายแกบุคคลกอนหลังดังนี้
ƒ คูสมรส
ƒ บุตร
ƒ บิดามารดา
ƒ ผูอยูในอุปการะของผูตาย
ƒ ผูอุปการะผูตาย
เงินเดือน เบี้ยหวัด หรือบํานาญคางจาย จนถึงวันที่เสียชีวิต จายใหแกทายาท
เงินสวัสดิการคางจาย ขาราชการประจําการที่เปนสมาชิก กบข. ถึงแกกรรม ทายาทมีสิทธิ
ไดรับเงินสะสม เงินสมทบ และผลประโยชนตอบแทนเงินดังกลาว

การตรวจสอบความถูกตองของสมุดประวัติรับราชการ
- ชื่อ – นามสกุล
- วัน เดือน ป เกิด
- วันขึ้นทะเบียนทหารกองประจําการ
- วันบรรจุเขารับราชการ
- รายการตําแหนง
- รายการเงินเดือน
- เวลาราชการทวีคูณ
- การบันทึกขอมูลเกี่ยวกับทายาท
- การจัดการทําหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผูรับเงินชวยพิเศษ และบําเหน็จตกทอด
๗๔
ขั้นตอนการขอรับสิทธิกําลังพลและหลักฐานประกอบการพิจารณา การยื่นเรื่องราวขอรับเบี้ยหวัด
บําเหน็จ บํานาญ บําเหน็จตกทอด
๑. กรณีลาออก, ปลดออก
ƒ ขาราชการชั้นสัญญาบัตรที่ออกจากราชการ ลงชื่อ ยื่นเรื่องราวที่ สบ.ทหาร
ƒ ขาราชการต่ํากวาชั้นสัญญาบัตรที่ออกจากราชการ ลงชื่อยื่นเรื่องราวที่ตนสังกัดครั้งสุดทาย
ที่ผูนั้นรับราชการอยู
๒. กรณีตาย
ƒ ขาราชการชั้นสัญญาบัตรประจําการกรณีตายปกติ (ปวยตายฯ) ใหทายาทลงชื่อยื่น
เรื่องราวที่ สบ.ทหาร
ƒ ขาราชการชั้นสัญญาบัตรกรณีตายผิดปกติ (อุบัติเหตุฯ) ใหทายาทลงชื่อยื่นเรื่องราวที่ตน
สังกัดครั้งสุดทาย ที่ผูนั้นรับราชการอยู
ƒ ขาราชการเบี้ยหวัด บํานาญชั้นสัญญาบัตรใหทายาทยื่นเรื่องราวที่ สบ.ทหาร
ƒ ขาราชการเบี้ยหวัด บํานาญ ต่ํากวาชั้นสัญญาบัตร ใหทายาทยื่นเรื่องราวที่ตนสังกัดครั้ง
สุดทายที่ผูนั้นเคยรับราชการอยูการสงเคราะหจาก อผศ.

เอกสารและหลักฐานประกอบการดําเนินการ
- สําเนาทะเบียนคนตายหรือมรณะบัตร
- สําเนาทะเบียนบาน
- สําเนาทะเบียนสมรส
- สําเนาทะเบียนรับรองบุตร(บุตรที่เกิดจากภริยาที่มิไดจดทะเบียนสมรส)
- สําเนาทะเบียนรับรองบุตรบุญธรรม หลักฐานการตายของทายาท
- หนังสือรับรองภริยาที่ไมชอบดวยกฎหมาย (ถามี) หนังสือยินยอมของภริยาที่จดทะเบียน
สมรสซอนและเอกสารอื่นๆ ที่ทางการออกใหเตรียมไวอยางละ ๒ ฉบับ
- รูปถายของผูมีสิทธิ (ขนาดรูปติดบัตรประจําตัว) อยางนอยคนละ ๖ รูป
๗๕

สิทธิการไดรับบําเหน็จพิเศษในเวลาปกติ

- ระเบียบ กห. วาดวยการพิจารณาบําเหน็จพิเศษในเวลาปกติ พ.ศ.๒๕๒๙ และฉบับแกไข


เพิ่มเติม พ.ศ.๒๕๓๑ และ ๒๕๒๙

คุณสมบัติผูไดรับสิทธิ
๑. ผูซึ่งจะไดรับการพิจารณาบําเหน็จพิเศษในเวลาปกติจะตองเปนทหารซึ่งเสียชีวิต ทุพพลภาพ
หรือพิการ เนื่องจากการปฏิบัติราชการในหนาที่ และการเสียชีวิต ทุพพลภาพ หรือพิการนั้นมิได
เกิดจากความประมาทเลินเลออยางรายแรง หรือจากความผิดของตนเอง
๒. การเลื่อนชั้นเงินเดือนใหแกทหารที่เสียชีวิต ทุพพลภาพ หรือพิการจนไมสามารถรับราชการ
ตอไปไดใหเปนไปตามเกณฑพิจารณา ดังนี้
ƒ เสียชีวิต ทุพพลภาพ หรือพิการ เพราะปฏิบัติราชการสภาพที่เสี่ยงอันตรายตอชีวิตเลื่อน
ไดไมเกิน ๗ ชั้น
ƒ เสียชีวิต ทุพพลภาพ หรือพิการ โดยการกระทําของผูกระทําความผิด เนื่องจากการ
ปราบปรามผูกระทําความผิด เลื่อนไดไมเกิน ๖ ชั้น
ƒ เสียชีวิต ทุพพลภาพ หรือพิการ โดยถูกประทุษราย เลื่อนไดไมเกิน ๕ ชั้น
ƒ เสียชีวิต ทุพพลภาพ หรือพิการ โดยอุบัติเหตุ เลื่อนไดไมเกิน ๓ ชั้น
ƒ เสียชีวิต ทุพพลภาพ หรือพิการ เพราะปฏิบัติราชการตรากตรําเรงรัด หรือเครงเครียด
เกินกวาปกติธรรมดา เลื่อนไดไมเกิน ๒ ขั้น
ƒ เสียชีวิต ทุพพลภาพ หรือพิการ เนื่องจากตองไปปฏิบัติราชการเปนครั้งคราว นอกที่ตั้ง
สํานักงานประจํา หรือตองประจําปฏิบัติราชการในทองที่กันดารที่เสี่ยงตอโรคภัยไขเจ็บ
ตามคําสั่งของผูบังคับบัญชาเลื่อนได ๑ ชั้น
ƒ ทหารซึ่งเสียชีวิตตามความในขอ ๑ ถาผูนั้นปฏิบัติราชการมาไมนอยกวา ๖ เดือน ในรอบ
ปงบประมาณที่เสียชีวิต ใหไดรับบําเหน็จเพิ่มอีก ๑ ชั้น
๗๖
ขั้นตอนการขอรับสิทธิกําลังพลและหลักฐานประกอบการพิจารณา
เมื่อเกิดเหตุ หนวยตนสังกัดแตงตั้งคณะกรรมการพิจารณา เมื่อเห็นควรไดรับสิทธิใหเสนอตอ
กพ.ทหาร เพื่อประชุมคณะกรรมการพิจารณาบําเหน็จพิเศษในเวลาปกติ ซึ่งมี รอง จก.กพ.ทหาร
เปนประธาน เปนผูพิจารณา และนําเรียน ผบ.ทสส. เพื่อขออนุมัติ ตอจากนั้นสงให สบ.ทหาร
ดําเนินการออกคําสั่ง และเสนอ กระทรวงการคลัง เพื่อขอรับเงินตามสิทธิ
หมายเหตุ รายละเอียดขั้นตอนปฏิบัติตาม รปจ. ของ กบพ.กพ.ทหาร

เอกสารและหลักฐานประกอบการดําเนินการ
- สําเนาใบมรณบัตร
- สําเนาบัตรขาราชการ หรือบัตรประจําตัวประชาชน
- คําสั่งปฏิบัติหนาที่
- คําสั่งเงินเดือน
- คําสั่งแตงตั้งยศ
- คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการ
- ผลการสอบสวนของคณะกรรมการหนวยตนสังกัด
- รายงานการชันสูตรพลิกศพกรมตํารวจ
- ใบแสดงความเห็นแพทย
๗๗

สิทธิการไดรับบําเหน็จพิเศษในเวลาเหตุฉุกเฉิน

ขอบังคับ กห. วาดวยการพิจารณาบําเหน็จพิเศษในเวลาเหตุฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๒๙ และฉบับแกไข


เพิ่มเติม พ.ศ.๒๕๓๑ และ พ.ศ.๒๕๒๙

ผูที่จะไดรับสิทธิตองเปนทหารที่ไดทําการสูรบ หรือตอสู หรือปฏิบัติราชการ ในเวลาเหตุ


ฉุกเฉิน เหตุฉุกเฉิน หมายถึง เวลาทําสงคราม เวลาทําการรบ เวลาทําการปราบปรามจลาจล และ
ปฏิบัติราชการลับ หรือปฏิบัติราชการพิเศษตามที่ กห. กําหนด

คุณสมบัติผูที่ไดรับสิทธิ
ทหารผูทําการสูรบ หรือตอสู หรือปฏิบัติราชการในเวลาเหตุฉุกเฉิน ใหไดรับบําเหน็จพิเศษ
โดยเลื่อนชั้นเงินเดือน หรือใหไดรับเงินเพิ่มพิเศษสําหรับการสูรบ หรือเงินรางวัลสําหรับ การสูรบ ดังนี้
๑. ผูที่ไดทําการสูรบ หรือตอสู จนไดรับอันตรายถึงเสียชีวิต หรือทุพพลภาพ เนื่องในการสูรบ
หรือตอสูเลื่อนชั้นเงินเดือนไมเกิน ๙ ชั้น
๒. ผูที่ปฏิบัติราชการในเวลาเหตุฉุกเฉิน จนไดรับอันตรายถึงเสียชีวิต หรือทุพพลภาพ โดยการกระทํา
ของขาศึก หรือศัตรู หรือกระทําการบนอากาศยาน ใตน้ํา หรือเกี่ยวกับวัตถุระเบิด หรือเกี่ยวกับ
แกสพิษ หรือรังสีที่เปนอันตรายตอรางกาย เลื่อนชั้นเงินเดือนไมเกิน ๗ ชั้น
๓. ผูที่ปฏิบัติราชการในเวลาเหตุฉุกเฉิน จนไดรับอันตรายถึงเสียชีวิต หรือทุพพลภาพ นอกจาก
กรณี ๑ และ ๒ เลื่อนชั้นเงินเดือนไมเกิน ๕ ชั้น
๔. ผูที่ไดทําการสูรบ หรือตอสู จนไดรับอันตราย หรือทําการสูรบ หรือตอสูไดผลดี หรือปฏิบัติ
หนาที่ ในเวลาเหตุฉุกเฉินดวยการตรากตรําเหน็ดเหนื่อย และไดผลสมความมุงหมายของทาง
ราชการเปนอยางดี เลื่อนชั้นเงินเดือนไมเกิน ๔ ชั้น
๕. ผูที่ปฏิบัติราชการในเวลาเหตุฉุกเฉิน จนปวยเจ็บถึงเสียชีวิต หรือทุพพลภาพ โดยมิไดทํา
การสูรบ หรือตอสู หรือมิใชโดยการกระทําของขาศึกหรือศัตรู เลื่อนชั้นเงินเดือนไมเกิน ๓ ชั้น
๖. ผูที่ไดทําการสู หรือตอสู หรือปฏิบัติราชการในเวลาเหตุฉุกเฉิน จนไดรับอันตรายถึงเสียชีวิต
ไม ว า กรณี ใ ด ๆ ถ า ผู นั้ น เป น ผู ที่ ไ ด ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ร าชการมาไม น อ ยกว า ๖ เดื อ น ในรอบ
ปงบประมาณที่เสียชีวิต หรือผูที่ไดปฏิบัติภารกิจทางอากาศในยานอันตรายมาไมนอยกวา
เที่ยวบินที่กําหนดไว กรณีใด กรณีหนึ่ง ใหไดรับบําเหน็จพิเศษเพิ่มอีก ๑ ชั้น
๗๘
๗. ทหารผู ใ ดปฏิ บั ติ ร าชการในการสงคราม หรื อ การรบนอกราชอาณาจั ก ร หากอยู ใ นเกณฑ
ที่จะไดรับบําเหน็จพิเศษตามความในขอ ๒ ใหพิจารณาเลื่อนชั้นเงินเดือน หรือเงินเพิ่มพิเศษ
สํ า หรั บ การสู ร บ หรื อ เงิ น รางวั ล สํ า หรั บ การสู ร บแล ว แต ก รณี เพิ่ ม จากเกณฑ ที่ กํ า หนดไว
อีก ๑ ชั้น

เอกสารและหลักฐานประกอบการดําเนินการ
- สําเนาใบมรณบัตร
- สําเนาบัตรขาราชการ หรือบัตรประจําตัวประชาชน
- คําสั่งปฏิบัติหนาที่
- คําสั่งเงินเดือน
- คําสั่งแตงตั้งยศ
- ผลการสอบสวนของคณะกรรมการหนวยในสนาม
- รายงานการชันสูตรพลิกศพกรมตํารวจ
- ใบแสดงความเห็นแพทย
- มติ ครม. เกี่ยวกับสิทธิกําลังพล
๗๙

สิทธิไดรับการสงเคราะห

- คําสั่ง อผศ. ที่ ๙/๒๕๓๔ ลง ๑๑ ม.ค. ๓๔ เรื่องการสงเคราะหทหารผานศึกซึ่งกําลังกระทํา


หนาที่ปองกันหรือปราบปรามการกระทําอันเปนภัยตอความมั่นคงหรือความปลอดภัยแหง
ราชอาณาจักร และครอบครัว

ทหารหรือบุคคลซึ่งกระทําหนาที่ในการปองกันปราบปรามการกระทําอันเปนภัยตอความมั่นคง
หรือความปลอดภัยแหงราชอาณาจักรไมวาภายในหรือภายนอกราชอาณาจักร ตามที่ กห. หรือ
สํานักนายกรัฐมนตรีกําหนดตองมีคุณสมบัติตามที่สภาพทหารผานศึกกําหนด

ผูไดรับการสงเคราะห
ผูปฏิบัติหนาที่และครอบครัว (บิดา, มารดา, สามี, ภริยา และบุตรที่ถูกตองตามกฎหมาย)

ประเภทการสงเคราะห
๑. กรณีประสบภัยพิบัติ
๒. ผูปฏิบัติหนาที่ถึงแกความตาย ชวยคาจัดการศพ ศพละ ๕,๐๐๐ บาท
๓. ครอบครัวถึงแกความตาย ชวยคาจัดการศพ ๑,๐๐๐ บาท
๔. กรณีบาดเจ็บ จายเงินเยี่ยมเยียน ๓๐๐ บาท
๕. คาคลอดบุตร ๗๐๐ บาท
๖. คาธรรมเนียมการเรียนบุตร คาบํารุง คาธรรมเนียมโรงเรียนเอกชน ซึ่งอายุไมเกิน ๒๐ ป นับแต
ภาคการเรียนการศึกษาที่ทางราชการใหออกไปปฏิบัติหนาที่เปนตนไป
๗. การรักษาพยาบาล ไดรับการสงเคราะหจาก รพ.อผศ. และสถานพยาบาลของทางราชการ
อื่น ๆ ทั้งประเภทผูปวยในและผูปวยนอก จะใหการสงเคราะหคารักษาพยาบาลเฉพาะผูที่
ไมมีสิทธิเบิกจากทางราชการ โดยใหเบิกตามหลักเกณฑของพระราชกฤษฎีกาวาดวยการเงิน
สวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล โดยยื่นวันที่จายเงินคารักษาพยาบาลการยื่นเรื่องราว
ขอรับการสงเคราะห ตามแบบที่ อผศ. กําหนดที่ อผศ. สวนกลาง อผศ. ทุกแหงสัสดีอําเภอ
หรือสัสดีจังหวัด
๘๐

สิทธิผูที่ลาออกจากทางราชการหรือเกษียณอายุ

สําหรับผูที่ลาออกหรือเกษียณอายุราชการแลว ที่มีคุณสมบัติที่จะทําบัตรประจําตัวทหารผาน
ศึกจาก อผศ. ไดดังนี้

บัตรชั้นที่ ๑ ไดแก ทหารผานศึกที่ไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณศักดิ์รามาธิบดีดวย


ความกลาหาญ, เหรียญกลาหาญ, เหรียญดุษฎีมาลาเข็มกลาหาญ หรือเหรียญอื่น
ที่เทียบเทาที่มีชื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษา และทหารผานศึกที่พิการทุพพลภาพ
จากการรบ
sffse
บัตรชั้นที่ ๒ ไดแก ผูที่ไดรับพระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เหรียญงานพระราชสงคราม
ทวีปยุโรป เหรียญพิทักษเสรีชน ชั้นที่ ๑
1111
บัตรชั้นที่ ๓ ไดแก ผูที่ไดพระราชทานเหรียญราชการสงครามอยางใดอยางหนึ่งในการปฏิบัติ
หนาที่ เชน เหรียญพิทักษเสรีชน ชั้นที่ ๒, เหรียญชวยราชการเขตภายใน,
เหรียญราชการชายแดน และเหรียญพิทักษรัฐธรรมนูญ
222222
บัตรชั้นที่ ๔ ได แ ก ผู มี คํ า สั่ ง ให ไ ปปฏิ บั ติ ก ารสงครามหรื อ การรบแต ไ ม มี ชื่ อ ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา

การสงเคราะหทหารผานศึกจะใหการสงเคราะหในดานตาง ๆ ดังนี้
๑. การสงเคราะหดานประกอบอาชีพ
ƒ การประกอบอาชีพดานเกษตรกรรม
- พิ จ ารณาให เ ป น สมาชิ ก ประกอบอาชี พ ในนิ ค มเกษตรกรรมทหารผ า นศึ ก ในพื้ น ที่
จังหวัดตาง ๆ ฯลฯ
- ฝากใหเขาประกอบอาชีพในนิคมเกษตรกรรม ฯลฯ
- ใหคําแนะนําดานวิชาการเกษตร การเพาะปลูก การเลี้ยงปศุสัตว การเลี้ยงสัตวน้ําอื่น ๆ
รวมทั้งการใชเครื่องมือทุนแรงในการเกษตร
- ติ ด ต อ ประสานราชการ เอกชน เพื่ อ ให จั ด ที่ ดิ น หรื อ แหล ง น้ํ า เพื่ อ ประกอบอาชี พ
และใหบริการ
๘๑
ƒ การแนะนําและสงเสริมการประกอบอาชีพ
ƒ การจัดหางานใหตามความรูความสามารถ
ƒ การฝกอาชีพในสวนกลาง และสวนภูมิภาค
ƒ การค้ําประกันการเขาทํางาน
ƒ การสงเคราะหเขาทํางานในโรงงานในอารักษ
๒. การสงเคราะหดานการใหกูยืมเงิน
ƒ สินเชื่อเพื่อการเกษตรระยะสั้น
ƒ สินเชื่อเพื่อการเกษตรระยะปานกลาง
ƒ สินเชื่อเพื่อประกอบอาชีพทั่วไป
ƒ ใหกูยืมเงินสินเชื่อเพื่อที่อยูอาศัยและที่ดินทํามาหากินในภูมิลําเนา
ƒ ใหกูยืมเงินสินเชื่อเพื่อสวัสดิการ
๓. การสงเคราะหกรณีประสบภัยพิบัติ
ƒ ที่อยูอาศัยประสบภัยพิบัติ
ƒ พื ช ผลทางการเกษตร สั ต ว เ ลี้ ย ง อาคารสถานที่ หรื อ เครื่ อ งมื อ สํ า หรั บ ประกอบอาชี พ
ตามที่ อผศ. กําหนดการประสบภัยพิบัติ
๔. การสงเคราะหกรณีทุพพลภาพ
๕. การสงเคราะหการฌาปนกิจ
๖. การสงเคราะหดานการศึกษา
๗. การสงเคราะหดา นการรักษาพยาบาล
๘. การสงเคราะหดานอื่น ๆ
๙. การสงเคราะหดานการสงเสริมสิทธิและเกียรติ
๘๒

สิทธิที่จะไดรับจากหนวยงานอื่น ๆ

๑. การลดคาโดยสารครึ่งราคาของการรถไฟแหงประเทศไทยและคาโดยสารบริษัท ขนสง จํากัด


๒. การลดคาโดยสารเครื่องบิน ของบริษัทการบินไทย (สําหรับการบินภายในประเทศ)
๓. ลดหย อ นค า รั ก ษาพยาบาลด า นทั น ตกรรม จากคณะทั น ตแพทยศาสตร จุ ฬ าลงกรณ
มหาวิทยาลัย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ
๔. การลดหยอนคาโดยสารครึ่งราคารถโดยสารประจําทาง
๕. การลดหยอนคารักษาพยาลของ รพ. ในกระทรวงสาธารณสุข
๖. การลดหยอนคากระแสไฟฟา และคาน้ําประปานครหลวง การประปาสวนภูมิภาค
สําหรับบัตรชั้นที่ ๒, (ชั้นที่ ๓, และชั้นที่ ๔ ไมมีสิทธิในเรื่องสวนลดคากระแสไฟฟา ประปา)

เอกสารหลักฐานประกอบการยื่นเรื่องขอรับการสงเคราะห
๑. บัตรประจําตัวทหารผานศึก บัตรประชาชนหรือบัตรขาราชการบํานาญ
๒. สําเนาทะเบียนบาน
๓. คํารองขอรับการชวยเหลือ
๔. ใบสําคัญการสมรส (ถามี)
๕. ผูพิการทุพพลภาพ ตองมี สด.๖
๖. คําสั่งปูนบําเหน็จพิเศษเวลาราชการฉุกเฉิน ( ถามี )

สถานที่ติดตอขอรับการสงเคราะห
- องค การสงเคราะห ทหารผ านศึ กส วนกลาง ถนนราชวิ ถี ตรงข าม รพ. พระมงกุ ฎเกล า
กทม. ๑๐๔๐๐ โทร. ๐ ๒๒๔๖ ๐๐๖๗ , ๐ ๒๒๔๖ ๑๓๕๖ , ๐ ๒๒๔๖ ๔๕๗๖
- สํานักงานสงเคราะหทหารผานศึก เขตจังหวัดที่อยูใกลภูมิลําเนาของผูรับการสงเคราะห
- สัสดีจังหวัด สัสดีอําเภอ ทุกแหงที่อยูใกลภูมิลําเนาของผูรับการสงเคราะห
๘๓

สิทธิเมื่อเสียชีวิต

สิทธิของทายาทในการไดรับกรณีเสียชีวิตกอนการเกษียณ
คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
ผูรับสิทธิ ไดแก ทายาทโดยธรรม
๑. คูสมรส ของผูเสียชีวิต
๒. บิดามารดา ของผูเสียชีวิต
๓. บุตร ธิดา ของผูเสียชีวิต
๔. พี่นองรวมบิดามารดาเดียวกัน
๕. พี่นองรวมบิดา หรือมารดาเดียวกัน
๖. ปูยาตายาย

ขั้นตอนการขอรับสิทธิ
การสอบสวนการเปนทายาทโดยธรรม (กรณีไมไดตั้งผูจัดการมรดก หรือไมไดทําพินัยกรรมไว)
แบบ ปค.๑๔ ตามภูมิลําเนาของทายาท เปนหนังสือออกโดยนายอําเภอ หรือผูอํานวยการเขต

หนวยตนสังกัด
๑. รวบรวมหลักฐาน เสนอ กง.ทหาร เพื่อรับรองเงินเดือนของผูเสียชีวิต
๒. รวบรวมหลักฐาน เสนอ สบ.ทหาร เพื่อขอรับสิทธิของผูเสียชีวิต แจกจายใหแกทายาทตอไป

เอกสารและหลักฐานประกอบการดําเนินการ
- บัตรประจําตัวประชาชนของผูขอรับสิทธิ
- ทะเบียนบานของผูข อรับสิทธิ
- ใบมรณบัตรของผูเสียชีวิต
- บัตรประจําตัวประชาชนผูเสียชีวิต
- ทะเบียนบานของผูเสียชีวิตที่ประทับตา “ตาย”
๘๔

สิทธิที่ไดรับกรณีเสียชีวิตดวยอุบัติเหตุ

กรณีเสียชีวิตดวยอุบัติเหตุปกติ
ลําดับ รายการที่ไดรับสิทธิ จํานวนเงิน สถานที่ที่จะขอรับสิทธิ
๑ เงินชวยเหลือสวัสดิการ บก.ทท. (กรณีอุบัติเหตุ) ๗,๐๐๐ หนวยตนสังกัดดําเนินการ
๒ เงินชวยเหลือสวัสดิการ บก.ทท. (กรณีเกิดอุบัติเหตุ ๖,๐๐๐ หนวยตนสังกัดดําเนินการ
และทุพพลภาพ)
๓ คาพวงหรีด ๕๐๐ หนวยตนสังกัดดําเนินการ
๔ ขาราชการถึงแกกรรม (กรณีปกติ) ๖,๐๐๐ หนวยตนสังกัดดําเนินการ
๕ ครอบครัวถึงแกกรรม ๔,๐๐๐ หนวยตนสังกัดดําเนินการ
๖ เงินคางจายนับถึงวันเสียชีวิต คํานวณ หนวยตนสังกัดดําเนินการ
๗ เงินชวยพิเศษ ๓ เทาของเงินเดือน คํานวณ หนวยตนสังกัดดําเนินการ
๘ คาสินไหมทดแทน แผนกฌาปณกิจสงเคราะห
- นายทหารสัญญาบัตร ๒๐,๐๐๐ กองสวัสดิการ
- นายทหารประทวน ๑๕,๐๐๐ กรมยุทธบริการทหาร

๙ บําเหน็จตกทอด (คิดตามปที่รับราชการ) คํานวณ หนวยตนสังกัดดําเนินการ


๑๐ เงินสะสมกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ (กบข.) คํานวณ ทายาทดําเนินการผาน
หนวยตนสังกัด (สบ.ทหาร)
๑๑ เงินฌาปนกิจสงเคราะหของเหลาทัพที่เปนสมาชิก คํานวณ ทายาทดําเนินการเอง
๑๒ เงินประกันชีวิตจากสหกรณออมทรัพย ฯ ๓๗๕,๐๐๐
๑๓ เงินที่สหกรณ ฯ ใหความชวยเหลือเปนคาปลงศพ คํานวณ สหกรณออมทรัพย
๑๔ คาพวงหรีดเคารพศพ ๕๐๐ กรมยุทธบริการทหาร
๑๕ คาหุนสหกรณ ฯ ที่สะสมไวหลังหักหนี้สินแลว คํานวณ
กรณีเสียชีวิตดวยอุบัติเหตุทางรถยนต
ลําดับ รายการที่ไดรับสิทธิ จํานวนเงิน สถานที่ที่จะขอรับสิทธิ
๑ คาสินไหมทดแทนตาม พ.ร.บ. ประกันภัยบุคคลที่ ๓ ๕๐,๐๐๐
๒ คาสินไหมทดแทนตาม พ.ร.บ. ประกันภัยจากรถยนต ๑๐๐,๐๐๐
บริษัทประกันภัยของคูกรณี
๓ สิทธิที่ทายาทจะเรียกรองจากบริษัท ฯ ประกันภัย ฯ ไมเกิน
๒๕๐,๐๐๐
๘๕

สิทธิในการขอพระราชทานน้าํ หลวงอาบศพ

คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
ผูเสียชีวิตตองเปนขาราชการชั้นสัญญาบัตร

ขั้นตอนการขอรับสิทธิกําลังพลและหลักฐานประกอบการพิจารณา
๑. เจาภาพ หรือทายาทจัดของ ดังนี้
ƒ จัดดอกไมกระทง ๑ กระทง
ƒ ธูปไมระกํา ๑ ดอก
ƒ เทียน ๑ เลม
๒. ใส พ านรองไปกราบบั ง คมลาพร อ มด ว ยหนั ง สื อ กราบบั ง คมทู ล ลา (ขอแบบหนั ง สื อ
จากเจ า หน า ที่ ก องพระราชพิ ธี ) โดยติ ด ต อ ที่ กองพระราชพิ ธี สํ า นั ก พระราชวั ง
ในพระบรมมหาราชวัง ตั้งแต ๐๘๓๐ น. ทุกวัน ไมเวนวันหยุดราชการ โทร.๐ ๒๒๒๑ ๗๑๘๒
และ ๐ ๒๒๒๑ ๐๘๗๓
ƒ พรอมทั้งนําใบมรณบัตรและหลักฐานที่ไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณชั้นสูงสุด
ที่ไดรับไปแสดงแกเจาหนาที่ เพื่อการจัดเครื่องประกอบเกียรติยศไดถูกตอง
ƒ ส ว นพระสงฆ ส มณศั ก ดิ์ ไม ต อ งมี ด อกไม ธู ป เที ย น เป น หน า ที่ ข องกรมศาสนา
แจงมรณภาพและขอพระราชทาน
๘๖

สิทธิในการขอพระราชทางเพลิงศพ

คุณสมบัติของผูไดรับสิทธิ
ผูขอรับสิทธิ ไดแก
๑. ผูเสียชีวิตตองเปนขาราชการชั้นสัญญาบัตร
๒. ญาติของขาราชการ (บิดา, มารดา บุตร ธิดา) ผูขอตองมีเปนขาราชการชั้นยศ พันโท ขึ้นไป

ขั้นตอนการขอรับสิทธิกําลังพลและหลักฐานประกอบการพิจารณา
กรณีขาราชการเสียชีวิต
การเตรียมการ
๑. ใบมรณบั ต ร (ตรวจดู ยศ ชื่ อ ชื่ อ สกุ ล ถู ก ต อ งหรื อ ไม ถ า ยสํ า เนาเอกสาร ๒ แผ น
พรอมรับรองสําเนา)
๒. บัตรประจําตัวของทายาทหรือผูยื่นคํารอง (ถายสําเนาเอกสาร ๑ แผน พรอมรับรองสําเนา)
๓. ประชุมทายาทวาจะทําการฌาปนกิจศพในวันเวลาและสถานที่ใด เมื่อไดกําหนดการที่แนนอน
แลวแจงการลงทะเบียนไวกับทางฌาปนสถานใหเรียบรอย
๔. การกําหนดวันตองไมตรงกับวันศุกร วันพระราชพิธี วันรัฐพิธี
๕. บุคคลผูทําลายชีพตนเองไมพระราชทานเพลิงศพและเครื่องประกอบเกียรติยศ
หมายเหตุ
- เพื่อความรวดเร็วทางทายาทดําเนินการเองกับสํานักพระราชวัง
- บุคคลผูทําลายชีพตนเองไมสามารถขอพระราชทานเพลิงศพและเครื่องประกอบเกียรติยศ

การปฏิบัติ
๑. นําใบมรณะบัตร บัตรประจําตัวขาราชการ พรอมสําเนาเอกสารดังกลาวไปที่ (งาน ๔ กก.๓ สก.)
โทร ๐ ๒๕๘๓ ๕๖๕๙
๒. กรอกคํารองตามแบบฟอรมที่ สํานักพระราชวัง (งาน ๔ กก.๓ สก.)
๓. รับหนังสือจาก สํานักพระราชวัง (งาน ๔ กก.๓ สก.) ไปเสนอลงรับหนังสือที่ฝายสารบรรณ
สํ า นั ก พระราชวั ง รอเจ า หน า ที่ ต รวจสอบเอกสาร ลงรั บ เอกสารเสนอผู บั ง คั บ บั ญ ชา
สั่ ง การ จากนั้ น รั บ เรื่ อ งไปส ง ที่ ก องพระราชพิ ธี ซึ่ ง อยู ติ ด กั บ ประตู วิ ม านเทเวศร
๘๗
ในพระบรมมหาราชวั ง ตรงข า มมหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร ถนนหน า พระลาน กรุ ง เทพ ฯ
โทร. ๐ ๒๒๒๑ ๐๘๗๓ หรือ ๐ ๒๒๒๑ ๘๐๖๒
๔. กรณีเจาภาพขอหมายพระราชทานเพลิง ไปลงในหนังสือใหบอกกับเจาหนาที่ ปกติถายื่น
ระยะเวลากระชั้ นชิ ด กับ วั น พระราชทานเพลิง ศพ กองพระราชพิ ธีจ ะนํา หมายไปใหใ นวั น
พระราชทานเพลิงศพ (ที่วัด)
๕. ใหเจาภาพถามเจาหนาที่กองพระราชพิธี ที่รับเรื่องวาเรื่องนี้ใครเปนผูดําเนินการ ขอชื่อและ
เบอรโทรศัพทไว เพื่อการประสานติดตอ
๖. ขอพระราชทานเพลิงศพนอกเขตกรุงเทพ ฯ หรือปริมณฑลที่หางไกลจากสํานักพระราชวัง
เกิน ๕๐ กิโลเมตร กองพระราชพิธีจะใหรับหีบเพลิงหลวงพระราชทานพรอมคําแนะนํา

กรณีขอพิเศษบุตรขอใหบิดา มารดาและบุตร
การเตรียมการ
๑. ใบมรณบัตร
๒. ทะเบียนบานและบัตรประจําตัวประชาชนของบุตรผูยื่นคํารอง
๓. เอกสารตามขอ ๑ และขอ ๒ ถายสําเนารับรองเอกสาร นําตนฉบับไปแสดงพรอมกับหนังสือ
ที่ฝายสารบรรณ สํานักพระราชวัง ในพระบรมมหาราชวัง

การปฏิบัติ
๑. นํ า ใบมรณะบั ต ร บั ต รประจํ า ตั ว พร อ มสํ า เนาเอกสารดั ง กล า วไปที่ สํ า นั ก พระราชวั ง
(งาน ๔ กก.๓ สก.) โทร ๐ ๒๕๘๓ ๕๖๕๙
๒. กรอกคํารองตามแบบฟอรมที่ สํานักพระราชวัง (งาน ๔ กก.๓ สก.)
๓. รับหนั งสื อจาก สํ านั กพระราชวั ง (งาน ๔ กก.๓ สก.) ไปเสนอลงรับหนั งสื อที่ ฝายสารบรรณ
สํ านั กพระราชวั ง รอเจ าหน าที่ ตรวจสอบเอกสาร ลงรั บเอกสารเสนอผู บั งคั บบั ญชาสั่ งการ
แล วรั บเรื่ องไปส งที่ กองพระราชพิ ธี ซึ่งอยู ติ ดกับประตูวิ มานเทเวศร ในพระบรมมหาราชวั ง
ตรงข ามมหาวิ ทยาลั ยศิ ลปากร ถนนหน าพระลาน กรุ งเทพ ฯ โทร. ๐ ๒๒๒๑ ๐๘๗๓ หรื อ
๐ ๒๒๒๑ ๘๐๖๒
๔. กรณีเจาภาพขอหมายพระราชทานเพลิง ไปลงในหนังสือใหบอกกับเจาหนาที่ ปกติถายื่น
ระยะเวลากระชั้นชิดกับวันพระราชทานเพลิงศพ กองพระราชพิธีจะนําหมายไปใหในวัน
พระราชทานเพลิงศพ (ที่วัด)
๘๘
๕. ใหเจาภาพถามเจาหนาที่กองพระราชพิธี ที่รับเรื่องวาเรื่องนี้ใครเปนผูดําเนินการ ขอชื่อและ
เบอรโทรศัพทไว เพื่อการประสานติดตอ
๖. ขอพระราชทานเพลิงศพนอกเขตกรุงเทพฯ หรือปริมณฑลที่หางไกลจากสํานักพระราชวังเกิน
๕๐ กิโลเมตร กองพระราชพิธีจะใหรับหีบเพลิงหลวงพระราชทานพรอมคําแนะนํา (โปรดอาน
คําแนะนํา ใหเขาใจ)

--------------------

You might also like