You are on page 1of 14

การจัดการแผลเท้าเบาหวาน: บทบาทของพยาบาล

Management of Diabetic Foot Ulcers: The Nurses’ Roles

ชยพล ศิรินิยมชัย พย.ม.* Chayaphon Siriniyomchai, M.N.S*

บทคัดย่อ

แผลเท้าเบาหวานเป็นภาวะแทรกซ้อนทีส่ ำ� คัญของผูป้ ว่ ยเบาหวาน มีสาเหตุมาจากจากระบบ


ประสาทส่วนปลายเสือ่ ม หลอดเลือดส่วนปลายทีเ่ ท้าตีบตัน แรงกดทับและการบาดเจ็บของเท้า รวม
ถึงการติดเชื้อของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน�้ำตาลได้ไม่ดี ท�ำให้ผู้ป่วยมีอาการชา ไม่มีความ
รู้สึกเจ็บปวด เกิดภาวะเท้าผิดรูป น�ำไปสู่การตัดขาในทีส่ ุด ส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยเบาหวาน ทัง้ ด้าน
ร่างกายและจิตใจ คุณภาพชีวติ ลดลง และเพิม่ ภาระการดูแลของครอบครัว บทความนีม้ วี ตั ถุประสงค์
เพือ่ เสนอให้เห็นบทบาทของพยาบาลในการจัดการแผลเท้าเบาหวาน เพือ่ ลดการถูกตัดเท้า ลดอัตรา
การเสียชีวิต และช่วยลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ตลอดจนท�ำให้ผู้ป่วยเบาหวานที่มีแผลเท้า
เบาหวานมีคุณภาพชีวิตที่ดีตลอดไป

ค�ำส�ำคัญ: การจัดการ แผลเท้าเบาหวาน บทบาทของพยาบาล

Abstract

Diabetic foot ulcer is a significant complication of diabetic patients caused


by peripheral neuropathy, peripheral arterial disease, pressure and injury of the
patients’ foot. Other causes include infection in poor control of blood sugar level,
foot neuropathy, painless sensation, and foot deformity which lead to foot
amputation. Diabetic foot ulcer has a great impact on diabetic patients. These are
physical, mental, quality of life, and increasing family’s burden. This article aims to
present the roles of nurses in managing diabetic foot ulcers, to reduce the rate of
foot amputation, death, and cost of medical treatment, which improve quality of
life in diabetic patients with foot ulcers.

Keywords: Management, Diabetic Foot Ulcers, Nurses’ Roles

* ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์แมคคอร์มิค มหาวิทยาลัยพายัพ


* Assistant Professor, McCormick Faculty of Nursing, Payap University

ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 ประจำ�เดือน มกราคม-มิถุนายน 2561 1


การจัดการแผลเท้าเบาหวาน: บทบาทของพยาบาล

บทน�ำ ตัดที่ระดับนิ้วเท้า สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการขาด


โรคเบาหวานเป็นโรคไม่ตดิ ต่อเรือ้ รังทีม่ สี าเหตุ เลือดมาเลี้ยง (ร้อยละ 84.3) มีผู้เสียชีวิต 13 คน
มาจากความผิดปกติทางเมตะบอลิซึม เป็นผลมาจาก (ร้อยละ 6.4) ใช้ระยะเวลาพักรักษาตัวในโรงพยาบาล
ความบกพร่องในการหลัง่ อินซูลนิ และ/หรือการออก เฉลีย่ 32.5 วัน มีคา่ ใช้จา่ ยทางตรงเฉลีย่ 80,490 บาท8
ฤทธิ์ ข องอิ น ซู ลิ น ลดลงหรื อ มี ภ าวะดื้ อ ต่ อ อิ น ซู ลิ น ท�ำให้ผู้ป่วยเบาหวานที่มีแผลที่เท้ามีความจ�ำเป็นที่
ท�ำให้มรี ะดับน�ำ้ ตาลในเลือดสูง1 ปัจจุบนั โรคเบาหวาน ต้องได้รับการดูแลจากทีมสหสาขาวิชาชีพโดยเฉพาะ
เป็นปัญหาทางสาธารณสุขทีส่ ำ� คัญ ทีม่ แี นวโน้มสูงขึน้ อย่างยิ่งพยาบาล ผู้เขียนจึงได้จัดท�ำบทความฉบับนี้
ของทุ ก ประเทศทั่ ว โลก จากรายงานสถานการณ์ ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ให้บุคลากรทางการแพทย์มี
จ�ำนวนผูเ้ ป็นเบาหวานของสมาพันธ์เบาหวานโลกพบ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะเท้าเบาหวาน และ
ว่ามีการคาดการณ์ว่าผู้ที่เป็นโรคเบาหวานทั่วโลกมี บทบาทของพยาบาลในการป้องกันการเกิดแผลที่
จ�ำนวนเพิม่ ขึน้ จาก 415 ล้านคน ในปี ค.ศ. 2015 เป็น เท้าเบาหวานและการช่วยส่งเสริมการหายของแผล
642 ล้านคน ในปี ค.ศ. 20402 ส�ำหรับประเทศไทย เท้าเบาหวาน และสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในการ
กระทรวงสาธารณสุ ข ประเทศไทยคาดการณ์ ว ่ า ดูแลเท้าเบาหวานได้อย่างเหมาะสม
ระหว่าง ปี พ.ศ. 2554 – 2563 จะพบผู้ที่เป็นโรคเบา
หวาน จ�ำนวน 501,299 - 553,941 คน/ปี และจะมี ความหมายและปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดแผล
ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 8.2 ล้านคน ใน เท้าเบาหวาน
ปี พ.ศ. 25633 จากจ�ำนวนของผู้ป่วยเบาหวานที่เพิ่ม จากการทบทวนวรรณกรรมร่วมกับประสบการณ์
ขึน้ ส่งผลกระทบในเรือ่ งของภาวะแทรกซ้อนของโรค ในการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน พบว่าปัจจัยเสี่ยงที่
เบาหวาน ได้แก่ ภาวะแทรกซ้อนทางไต (diabetic มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ การเกิ ด แผลที่ เ ท้ า ในผู ้ ป ่ ว ย
nephropathy) ภาวะแทรกซ้อนทางตา (diabetic เบาหวาน ได้แก่ การเสือ่ มของเส้นประสาทส่วนปลาย
retinopathy และภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาท (peripheral neuropathy) ซึ่งเกิดจากการที่มีภาวะ
(diabetic neuropathy)4 การทีม่ ภี าวะประสาทส่วน น�ำ้ ตาลในเลือดทีส่ งู เปน เวลานาน ทาํ ใหค วามสามารถ
ปลายเสื่อม จะส่งผลท�ำให้เกิดเท้าผิดรูปท�ำให้เกิด ในการเปนเนื้อเยื่อเหนี่ยวนําสัญญาณไฟฟา (con-
ภาวะเท้าเบาหวานขึ้น4 ductive tissue) เสียไป การสงสัญญาณประสาท
องค์การอนามัยโลกได้ให้ค�ำนิยามเท้าเบา (nerve impulse) ไปยังเซลลประสาท (neuron) ถัด
หวาน (diabetic foot) ว่า เป็นกลุ่มอาการของเท้าที่ ไปทํางานไดชา ลง นําไปสูก ารเกิดภาวะปลายประสาท
เกิดจากปลายประสาทเสือ่ ม และ/หรือ เส้นเลือดส่วน เสื่อมไดในที่สุดเป็นสาเหตุส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดแผลที่
ปลายตีบตัน ก่อให้เกิดบาดแผล ติดเชื้อ และน�ำไปสู่ เท้า4 ซึ่งการเสื่อมของเส้นประสาทจะเกิดทั้งเส้น
การสูญเสียหน้าที่การท�ำงานของเท้า หรือการตัดขา ประสาทรับความรูส้ กึ เส้นประสาทควบคุมกล้ามเนือ้
ได้5 ก่อให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ และก่อให้เกิด และเส้นประสาทอัตโนมัติ ส่งผลท�ำให้เท้าผิดรูป การ
ภาวะทุพลภาพ รู้สึกสูญเสียภาพลักษณ์ส่งผลกระทบ กระจายของน�้ำหนักที่ฝาเทาผิดปกติ เกิดแรงกดซ�้ำๆ
ต่อตนเอง ครอบครัวมีภาระค่าใช้จา่ ยเพิม่ ขึน้ และอาจ ในตําแหนงที่มีการรับน�้ำหนักตลอดเวลาท�ำให้เกิดมี
ถึงขัน้ เสียชีวติ ได้จากการติดเชือ้ จากแผลทีเ่ ท้า6-7 จาก หนังหนา (callus) ขึ้น ร่วมกับภาวะหลอดเลือดส่วน
การศึกษาระบาดวิทยาและค่าใช้จา่ ยในการรักษาเท้า ปลายตีบตัน (peripheral vascular disease) จาก
เบาหวานที่ถูกตัดเท้าหรือขา ณ โรงพยาบาลศิริราช การที่มีระดับน�้ำตาลเลือดสูงท�ำให้มีน�้ำตาลมาเกาะที่
พบว่า มีผู้ถูกตัดเท้าและขาเนื่องจากเท้าเบาหวาน เม็ดเลือดแดง ท�ำให้การปล่อยออกซิเจนจากเม็ดเลือด
จ�ำนวน 204 คน ร้อยละ 59.8 ของผูป้ ว่ ยเบาหวานถูก แดงไปยังเนือ้ เยือ่ ลดลง เนือ้ เยือ่ จึงขาดออกซิเจน ผนัง

2 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ
Management of Diabetic Foot Ulcers: The Nurses’ Roles

หลอดเลือดเกิดการเปลี่ยนแปลงเกิดการแข็งตัวของ การซักประวัติ ซักประวัติเกี่ยวกับปัจจัยที่มี


ผนังหลอดเลือดเพิ่มขึ้น ท�ำให้หลอดเลือดตีบแคบ ความสัมพันธ์กบั การเกิดแผลทีเ่ ท้าในผูป้ ว่ ยเบาหวาน
หนาตัว และอุดตัน4 ทําใหเลือดไปเลี้ยงที่เทาลดลง ได้แก่การเคยมีแผลที่เท้าหรือถูกตัดขา เท้า หรือนิ้ว
ท�ำให้เนื้อเยื่อขาดเลือด จากภาวะที่มีน�้ำตาลในเลือด เท้าท�ำให้จุดลงน�้ำหนักของเท้าเปลี่ยนแปลงไปท�ำให้
สูงตลอดเวลาส่งผลท�ำให้ขัดขวางกระบวนการหาย เสี่ยงต่อการเกิดแผลที่เท้า ระยะเวลาในการเป็น
ของแผล ส่งผลให้ไม่มีการเจริญของเยื่อบุผิวหนัง เบาหวานที่มีระดับน�้ำตาลในเลือดสูงมานานจะส่งผล
(epithelialization) มาปกคลุมปิดแผลที่เท้าภายใน ให้ประสาทส่วนปลายเสื่อม และการสูบบุหรี่ส่งผลให้
ระยะเวลาที่แผลควรจะหาย ท�ำให้กลายเปนแผล เกิดการเปลีย่ นแปลงของหลอดเลือดส่งผลต่อการไหล
เรื้อรังร่วมกับการติดเชื้อที่แผลที่เท้า ส่งผลท�ำให้มี เวียนเลือดส่วนปลายได้ ส่วนภาวะแทรกซ้อนที่ตา
โอกาสถูกตัดเท้าเพิ่มสูงขึ้น4,9-12 ดังนั้นบทบาทของ เป็นการเสื่อมของหลอดเลือดแดงเล็กที่จอรับภาพ
พยาบาลในการจัดการแผลเท้าเบาหวานควรเริ่มจาก ท�ำให้การมองเห็นลดลงท�ำให้เสี่ยงต่อการเกิดแผลที่
บทบาทของพยาบาลในการประเมินความเสี่ยงของ เท้ า และภาวะแทรกซ้ อ นที่ ไ ตท� ำ ให้ ห ลอดเลื อ ด
การเกิดแผลเท้าเบาหวาน แดงฝอยทีห่ น่วยไตเสือ่ มลงส่งผลให้เกิดการคัง่ ของเสีย
ในร่างกายท�ำให้ระบบภูมคิ มุ้ กันของร่างกายลดลง เมือ่
บทบาทของพยาบาลในการประเมินความเสีย่ งของ เกิดแผลที่เท้าท�ำให้เกิดการติดเชื้อขึ้น4,12-15
การเกิดแผลเท้าเบาหวาน การประเมิ น ลั ก ษณะเท้ า ภายนอก ตรวจ
พยาบาลเป็นผูม้ บี ทบาทส�ำคัญในการประเมิน ลักษณะทั่วไปของเท้ามีผิวหนังที่เท้าชุ่มชื้นเป็นปกติ
เท้าในผู้ป่วยเบาหวานโดยมีเป้าหมายหลักในการ หรื อ แห้ ง มี ร อยแยกแตกของผิ ว หนั ง ที่ เ ท้ า หรื อ ไม่
คัดกรองผูป้ ว่ ยเบาหวานทีม่ ภี าวะเสีย่ งต่อการเกิดแผล ส�ำรวจว่ามีหนังแข็ง (callus) หรือไม่ ตรวจเล็บว่าเล็บ
ที่เท้า ตามแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและดูแล หนาซ้อนกัน แข็งงุ้มงอหรือไม่ ตัดเล็บถูกวิธีหรือไม่ มี
รักษาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท้า พ.ศ. เชือ้ ราบริเวณเล็บหรือตามซอกนิว้ หรือไม่ ตรวจดูสผี วิ
2556 13 ร่ ว มกั บ แนวทางเวชปฏิ บั ติ ส� ำ หรั บ โรค ของเท้าว่าคล�้ำหรือไม่ อุณหภูมิของเท้าอุ่นเป็นปกติ
เบาหวาน 256014 ที่ได้ให้ความส�ำคัญในการควบคุม หรือไม่ หรือเย็นผิดปกติ เนือ่ งจากผูป้ ว่ ยเบาหวานส่วน
ป้องกันและรักษาผู้ป่วยเบาหวานเพื่อป้องกันภาวะ ใหญ่ จ ะมี ค วามผิ ด ปกติ ข องระบบประสาทสั่ ง การ
แทรกซ้อน โดยก�ำหนดให้ผู้ป่วยเบาหวานต้องได้รับ (motor neuropathy) และการเสื่อมของระบบ
การดูแลรักษาเบาหวานอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดหรือ ประสาทอัตโนมัติ (autonomic neuropathy) การ
ชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ โดยเฉพาะภาวะ ตรวจเท้าเพื่อประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดแผลเท้า
แทรกซ้อนที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวานที่ต้องได้รับการ ในผูป้ ว่ ยเบาหวานทีม่ คี วามผิดปกติของระบบประสาท
ตรวจเท้าอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ โดยการตรวจคัดกรอง สั่งการจะพบว่ารูปเท้ามีลักษณะเท้าผิดปกติ เช่น มี
เพือ่ ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วย เท้าแบน (flat feet) ท�ำให้เกิดแรงกดที่ฝ่าเท้าเปลี่ยน
เบาหวาน ประกอบด้วย การซักประวัตกิ ารเกิดแผลที่ ไปท�ำให้เกิดแผลกดทับที่ฝ่าเท้าขึ้น นิ้วเท้างอจิกพื้น
เท้า การตรวจลักษณะเท้า การประเมินการรับความ (claw toes) ท�ำให้เกิดแผลกดทับที่ปลายนิ้ว
รู้สึก การประเมินระบบการไหลเวียนที่เลี้ยงขาและ
เท้า และการประเมินพฤติกรรมในการดูแลเท้าด้วย
ตนเองของผู้ป่วยเบาหวานรายละเอียดมีดังนี้

ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 ประจำ�เดือน มกราคม-มิถุนายน 2561 3


การจัดการแผลเท้าเบาหวาน: บทบาทของพยาบาล


รูปภาพที่ 1 เท้าแบน (flat feet) 13
รูปภาพที่ 2 นิ้วเท้างอจิกพื้น (claw toes)13


รูปภาพที่ 3 การหนาตัวของผิวหนัง (callus)13 รูปภาพที่ 4 ภาวะ Charcot’s foot 13

นิ้วหัวแม่เท้าเก (hallux valgus) นอกจากนี้ ภายในข้อเท้าร่วมด้วยหรือมีการท�ำลายกระดูกเท้า


จะพบการอ่อนแรงหรือลีบฝ่อของกล้ามเนื้อเท้า อีก และเกิดข้อต่อเท้าอักเสบเรือ้ รังเรียกภาวะ Charcot’s
ทัง้ ท�ำให้เกิดจุดกดทับบริเวณฝ่าเท้า ในกรณีทพี่ บการ foot ต้องส่งปรึกษาแพทย์เพื่อรักษาแก้ไขภาวะดัง
หนาตัวของผิวหนังเป็นหนังแข็ง จะต้องให้ความส�ำคัญ กล่าว13-14
เพราะมีโอกาสเกิดแผล (pre-ulcer lesion) จากแรง การตรวจเพื่ อ ประเมิ น แรงกดที่ ฝ ่ า เท้ า ใน
กดของผิวหนังทีห่ นาตัวขึน้ ควรมีการจัดการหนังหนา ปั จ จุ บั น คื อ การตรวจหาความผิ ด ปกติ ข องการลง
บริเวณนัน้ ๆ โดยพยาบาลหรือบุคลากรทางการแพทย์ น�้ำหนักของฝ่าเท้าโดยใช้ Podoscope เพื่อประเมิน
ที่ผ่านการอบรมเพื่อป้องกันการเกิดแผล ส�ำหรับ แรงกดบนฝ่าเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ท�ำให้ประเมิน
ผู้ป่วยเบาหวานที่มีความผิดปกติของระบบประสาท ความเสี่ยงต่อการเกิดแผลที่เท้าได้ในต�ำแหน่งที่มีแรง
อัตโนมัติเสื่อมร่วมด้วย จะตรวจพบผิวหนังแห้งซึ่งส่ง กดมากโดยปรึ ก ษานั ก กายภาพบ� ำ บั ด ในการช่ ว ย
ผลให้ผิวหนังแตกง่ายและเกิดแผลได้ ถ้าตรวจพบ วินิจฉัยแรงกดที่ฝ่าเท้า16
ผิวหนังบริเวณเท้าอุ่น บวมแดง อาจมีการติดเชื้อ

4 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ
Management of Diabetic Foot Ulcers: The Nurses’ Roles

รูปภาพที่ 5 เครื่องวัดแรงกดที่เท้า Podoscope16 รูปภาพที่ 6 การดูแรงกดที่ฝ่าเท้าขณะ


ยืนบนเครื่อง Podoscope 16

การประเมินการรับความรู้สึกที่เท้าในการป้องกัน เท้า และใต้นิ้วก้อยของเท้า ถ้าต�ำแหน่งที่จะตรวจมี


ตนเองที่เท้า หนังแข็ง แผล หรือแผลเป็นให้เลี่ยงไปตรวจที่บริเวณ
เป็ น การประเมิ น ความผิ ด ปกติ ข องระบบ ใกล้เคียง หากการรับรู้ความรู้สึกครบทั้ง 4 จุดถือว่า
ประสาทส่วนปลาย โดยการตรวจด้วย Semmes- ปกติ แต่ถ้าตรวจพบการรับความรู้สึกผิดปกติอย่าง
Weinstein Monofilament ขนาด 5.07 (10 กรัม) น้อย 1 ต�ำแหน่งแปลผลว่าเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน
แตะบริเวณนิ้วหัวแม่เท้า 1 จุด และบริเวณหน้าเท้า สูญเสีย protective sensation13-14
จ�ำนวน 3 จุด ได้แก่ ใต้นิ้วหัวแม่เท้า ใต้นิ้วกลางของ

รูปภาพที่ 7 ต�ำแหน่งที่ตรวจด้วย รูปภาพที่ 8 การตรวจเท้าด้วย Monofilament13


Monofilament13

การประเมินหลอดเลือดที่เลี้ยงขาและเท้า ด้านใน (posterior tibial) เพื่อประเมินภาวการณ์


โดยการสอบถามอาการปวดขา อาการปวด อุดกัน้ ของหลอดเลือดแดงทีม่ ผี ลต่อการหายของแผล
ขาหลังการเดิน เมือ่ พักแล้วจึงจะหาย (intermittent ที่เท้า13-14
claudication) และคล�ำชีพจรบริเวณหลังเท้าด้าน ปัจจุบันเมื่อไม่สามารถคล�ำชีพจรที่เท้าได้จะ
หน้า (dorsalis pedis) บริเวณหลังปุ่มกระดูกข้อเท้า มี ก ารส่ ง ผู ้ ป ่ ว ยต่ อ ไปยั ง โรงพยาบาลศู น ย์ ห รื อ
ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 ประจำ�เดือน มกราคม-มิถุนายน 2561 5
การจัดการแผลเท้าเบาหวาน: บทบาทของพยาบาล

โรงพยาบาลที่เป็นโรงเรียนแพทย์เพื่อท�ำการประเมิน ผู ้ เขี ย น พบว่ า ผู ้ ป ่ ว ยเบาหวานที่ ม ารั บ บริ ก ารมี


Ankle- Brachial Index (ABI) เป็นการตรวจการไหล พฤติกรรมการดูแลเท้าและสวมรองเท้าที่ไม่ถูกต้อง
เวียนของเลือดที่ไปเลี้ยงเท้า โดยการหาอัตราส่วน คือสวมรองเท้าแตะแบบคีบ มีลักษณะผิวหนังเท้า
ระหว่างความดันโลหิตช่วงซิสโตลิกของข้อเท้า หาร แห้งแตกและมีคราบสกปรกติดบริเวณง่ามนิ้วเท้า ซึ่ง
ด้วยความดันโลหิตช่วงซิสโตลิกของแขน ค�ำนวณค่า เสี่ยงต่อการเกิดแผลที่เท้าได้ง่าย พยาบาลจะต้อง
ABI โดยการใช้ค่าแรงดันเลือดซิสโตลิกของเท้าแต่ละ ประเมินเท้าในผู้ป่วยเบาหวานทุกราย เพื่อประเมิน
ข้างหารด้วยค่าแรงดันเลือดซิสโตลิกของแขนข้างทีส่ งู พฤติกรรมในการดูแลเท้าของผู้ป่วย15,17
กว่า13
การแปลผลค่า ABI การจ�ำแนกระดับความเสี่ยงและการจัดการต่อการ
>1.30 ผิดปกติ หลอดเลือดแข็ง ไม่สามารถ เกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน
ท�ำการกดหลอดเลือดได้ ควรส่งปรึกษาแพทย์ จากประสบการณ์ในการจัดการความเสีย่ งต่อ
0.90 – 1.30 ปกติ การเกิดแผลเท้าในผูป้ ว่ ยเบาหวานของผูเ้ ขียนร่วมกับ
0.40 – 0.89 มีการอุดตันของหลอดเลือดแดง แนวเวชปฏิบัติการป้องกันและดูแลรักษาผู้ป่วยเบา
ส่วนปลาย ควรส่งปรึกษาแพทย์ หวานที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท้า 2556 และแนวทาง
< 0.40 มีการขาดเลือดไปเลี้ยงรุนแรง จาก เวชปฏิบตั สิ ำ� หรับโรคเบาหวาน 2560 จะสามารถจําแนก
การอุดตันของหลอดเลือดแดงควรส่งปรึกษาแพทย์ ระดับความเสี่ยงต่อการเกิดแผลที่เท้าและการให้ค�ำ
การประเมินพฤติกรรมในการดูแลเท้าด้วยตนเองของ แนะน�ำในการป้องกันการเกิดแผลที่เท้า ดังตารางที่
ผู้ป่วยเบาหวาน 113-14
ในการดู แ ลเท้ า ในผู ้ ป ่ ว ยเบาหวานของ

ตารางที่ 1 ระดับความเสี่ยงและการให้ค�ำแนะน�ำในการป้องกันการเกิดแผลที่เท้า

1. ผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับความเสี่ยงต�่ำต่อการเกิดแผลเท้าเบาหวาน
ได้แก่ผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่มีประวัติการมีแผลที่เท้า ขา นิ้วเท้า ขณะประเมินไม่มีแผลที่เท้า ผิวหนังและรูป
เท้าปกติ การรับความรู้สึกที่เท้าทั้ง 4 จุดปกติเมื่อตรวจด้วย Semmes-Weinstein Monofilament ขนาด
5.07 (10 กรัม) และคล�ำชีพจรเท้าได้ตามปกติ
การให้ค�ำแนะน�ำแก่ผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับความเสี่ยงต�่ำในการป้องกันการเกิดแผลที่เท้า
- ให้ความรู้ผู้ป่วยเบาหวานและผู้ดูแลหรือครอบครัวในเรื่องพฤติกรรมการดูแลเท้า
- ติดตามและประเมินพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานเมื่อมาตรวจตามนัด
- แนะน�ำให้ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือด ไขมันและความดันโลหิตให้เหมาะสม
- แนะน�ำผู้ป่วยงดสูบบุหรี่ และแนะน�ำให้สวมรองเท้าที่เหมาะสมคือหุ้มปลายนิ้วเท้า
- นัดตรวจเท้าอย่างละเอียดปีละครั้งเพื่อประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดแผลที่เท้าที่อาจเกิดขึ้น
2. ผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับความเสี่ยงปานกลางต่อการเกิดแผลเท้าเบาหวาน
ได้แก่ผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่มีประวัติแผลที่เท้าหรือถูกตัดขา เท้า นิ้วเท้า และไม่มีเท้าผิดรูป แต่ตรวจพบการ
รับความรู้สึกที่เท้าผิดปกติ ตั้งแต่ 1 จุดขึ้นไปเมื่อตรวจด้วย Semmes-Weinstein Monofilament ขนาด
5.07 (10 กรัม) และหรือคล�ำชีพจรที่เท้าเบาลง

6 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ
Management of Diabetic Foot Ulcers: The Nurses’ Roles

การให้ค�ำแนะน�ำแก่ผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับความเสี่ยงปานกลางในการป้องกันการเกิดแผลที่เท้า
- ให้ความรู้ผู้ป่วยเบาหวานและผู้ดูแลหรือครอบครัวในเรื่องพฤติกรรมการดูแลเท้า
- ติดตามและประเมินพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานเมื่อมาตรวจตามนัด
- แนะน�ำให้ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือด ไขมันและความดันโลหิตให้ เหมาะสม
- แนะน�ำผู้ป่วยงดสูบบุหรี่ และแนะน�ำให้สวมรองเท้าที่เหมาะสมคือหุ้มปลายนิ้วเท้า
- นัดตรวจเท้าอย่างละเอียดปีละครั้งเพื่อประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดแผลที่เท้าที่อาจเกิดขึ้น
- ส่งพบแพทย์เชี่ยวชาญวินิจฉัยเพิ่มเติม ในกรณีที่ตรวจพบชีพจรเท้าเบาลง หรือตรวจ ABI <0.9
- นัดตรวจเท้าอย่างละเอียดทุก 3-6 เดือน
3. ผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับความเสี่ยงสูงต่อการเกิดแผลเท้าเบาหวาน
ได้แก่ผู้ป่วยเบาหวานที่มีประวัติมีแผลที่เท้าหรือถูกตัดขา เท้า นิ้วเท้า หรือมีการรับความรู้สึกที่เท้าผิดปกติ
ตั้งแต่ 1 จุดขึ้นไปเมื่อตรวจด้วย Semmes-Weinstein Monofilament ขนาด 5.07 (10 กรัม) และหรือ
คล�ำชีพจรที่เท้าเบาลง ร่วมกับพบเท้าผิดรูป หรือการเคลื่อนไหวของข้อเท้าลดลงท�ำให้เท้ามีขนาดใหญ่ขึ้น
การให้ค�ำแนะน�ำแก่ผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับความเสี่ยงสูงในการป้องกันการเกิดแผลที่เท้า
- ให้ความรู้ผู้ป่วยเบาหวานและผู้ดูแลหรือครอบครัวในเรื่องพฤติกรรมการดูแลเท้า
- ติดตามและประเมินพฤติกรรมการดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานเมื่อมาตรวจตามนัด
- แนะน�ำให้ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือด ไขมันและความดันโลหิตให้เหมาะสม
- แนะน�ำผู้ป่วยงดสูบบุหรี่ และแนะน�ำให้สวมรองเท้าที่เหมาะสมคือหุ้มปลายนิ้วเท้า
- ส่งพบแพทย์เชี่ยวชาญวินิจฉัยเพิ่มเติม ในกรณีที่ตรวจพบชีพจรเท้าเบาลง หรือตรวจ ABI <0.9 -
- ประสานงานกับโรงพยาบาลที่สามารถส่งต่อผู้ป่วยเบาหวานไปตัดรองเท้าตามเกณฑ์ของส�ำนัก
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
- ตรวจเท้าผู้ป่วยเบาหวานอย่างละเอียดทุก 1-3 เดือน

ในกรณีที่เกิดแผลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานขึ้น บาดแผลที่เท้า องค์ประกอบทางชีวเคมีแต่ละองค์


แล้ว การเข้าใจกระบวนการหายของแผลทีเ่ ท้าจะช่วย ประกอบจะเรียงตัวอย่างเป็นระเบียบเพื่อซ่อมแซม
ให้พยาบาลสามารถส่งเสริมการหายของแผลทีเ่ ท้าใน และเคลือ่ นตัวเข้ามาปิดบาดแผล เริม่ จากหลอดเลือด
ผู้ป่วยเบาหวานได้อย่างเหมาะสม หดตัวเพื่อหยุดเลือด ต่อมาจะเกิดก้อนเลือดอุดตัน
หลอดเลือด (thrombocytes) จากเกล็ดเลือดจับกัน
กระบวนการหายของแผลเท้าผู้ป่วยเบาหวาน เป็นกลุ่มเพื่อห้ามเลือด และมีการหลั่งสารเคมีจาก
เป็นกระบวนการที่มีข้ันตอนและด�ำเนินต่อ เซลล์ที่บาดเจ็บ โดยอาศัยปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
เนือ่ งทับซ้อนกันไป โดยเริม่ ทันทีทมี่ แี ผลทีเ่ ท้าและต่อ เริ่มจากกระบวนการการแข็งตัวของเลือด (coagula-
เนื่องใช้เวลาตั้งแต่ เป็นชั่วโมงเป็นวัน หรือเป็นเดือน tion) และcomplement cascades ผ่านทั้ง intrin-
ก็ได้ ระยะการหายของแผลที่เท้าแบ่งเป็น 4 ระยะ sic และ extrinsic coagulation pathway กระตุ้น
ดังนี15,17-18
้ prothrombin ไปเป็นก้อนของ thrombin ส่วน fi-
1. Hemostasis phases ประกอบด้วย brinogen จะเปลี่ยนเป็น fibrin รวมเป็นก้อนที่มี
vasoconstriction, platelet aggregation และ ความมั่นคงในการอุดห้ามเลือดบริเวณบาดแผล
thromboplastin รวมตัวกันเป็นก้อนในทันทีที่เกิด 2. Inflammatory phases ก่อนระยะการ

ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 ประจำ�เดือน มกราคม-มิถุนายน 2561 7


การจัดการแผลเท้าเบาหวาน: บทบาทของพยาบาล

อักเสบจะเกิดการห้ามเลือดก่อน clotting cascade บทบาทของพยาบาลในการจัดการแผลเท้าเบาหวาน


โดยการรวมตัวของ fibrin เพื่อห้ามเลือดจากนั้นจะมี การประเมินแผลเท้าเบาหวานมีความส�ำคัญ
ปัจจัยที่ท�ำให้เกิดการอักเสบของเซลล์ ได้แก่การหลั่ง เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการดูแลแผลที่เท้าอย่าง
สาร chemokines และ cytokines ในเซลล์และเกิด ถูกต้อง เหมาะสม รวดเร็ว ลดการถูกตัดขา และเสีย
กระบวนการจับกินเชือ้ แบคทีเรียและเซลล์ตายพร้อม ชีวติ ได้ จึงถือเป็นบทบาททีส่ ำ� คัญของพยาบาลในการ
กับการสร้างโมเลกุลเพือ่ เข้าสูร่ ะยะงอกขยายของเซลล์ จัดการแผลเท้าเบาหวาน ประกอบด้วยบทบาทด้าน
เนือ่ งจาก macrophages จะท�ำให้การหดตัวของแผล การจัดการแผลเท้าเบาหวาน บทบาทด้านการส่งเสริม
ไม่ดีดังนั้นเมื่อจ�ำนวน macrophages ลดลงการหด การหายของแผลเท้ า เบาหวาน และบทบาทการ
ตั ว ของแผลและการสร้ า งเซลล์ ผิ ว หนั ง (dermal ป้องกันการกลับเป็นแผลเท้าเบาหวานซ�้ำ
equivalent) ก็จะเพิ่มขึ้นเกิดการแบ่งตัวของ fibro- 1. บทบาทด้านการจัดการแผลเท้าเบาหวาน
blast ทีอ่ ยูร่ อบๆ แผลและเคลือ่ นเข้ามากลางแผลเพือ่ เป็นหัวใจส�ำคัญทีจ่ ะส่งเสริมกระบวนการหาย
ให้แผลแคบลง ดังนั้น macrophages จึงมีบทบาท ของแผลและป้องกันไม่ให้แผลเท้าเบาหวานเกิดการ
ส� ำ คั ญ ในการหายของแผลถ้ า ระยะการอั ก เสบนี้ ติดเชื้อเพื่อป้องกันการลุกลามจนต้องถูกตัดขา โดย
ยาวนานออกไปก็จะท�ำให้แผลเฉียบพลันกลายเป็น พยาบาลจะต้องมีความรูเ้ กีย่ วกับการประเมินแผลเท้า
แผลเรื้อรังส่งผลท�ำให้แผลที่เท้าหายยากขึ้น เบาหวาน กระบวนการหายของแผล และสามารถ
3. Proliferative phases เกิ ด ในวั น ที่ ประสานงานร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพโดยเฉพาะ
2-3 หลั ง เกิ ด แผลที่ เ ท้ า เริ่ ม จากกระบวนการ แพทย์ในการร่วมกันรักษาแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบา
angiogenesis ซึ่งจะกระตุ้นให้ endothelial cell หวานด้วยวิธีการที่เหมาะสม และใช้เทคนิคในการ
เคลื่ อ นเข้ า มาในแผลโดยเรี ย งตั ว ชิ ด กั น อย่ า งเป็ น เลือกใช้น�้ำยาหรือวัสดุปิดแผลที่ส่งเสริมการหายของ
ระเบี ย บเติ ม เต็ ม ช่ อ งว่ า งของแผลโดยมี growth แผล บทบาทของพยาบาลในการจัดการแผลเท้า
factors กระตุ้นให้พื้นแผลตื้น โดยในช่วงนี้แผล เบาหวานมี ดังต่อไปนี13-15

ต้องการออกซิเจนและสารอาหารมากขึ้นเพื่อสร้าง
หลอดเลื อดจะเห็ นลัก ษณะแผลเป็นสีแดงของตุ่ม การประเมินแผลเท้าเบาหวาน
หลอดเลือดเล็กๆ กระจายเต็มแผล จะช่วยให้แผลชิด การดูแลแผลเท้าเบาหวาน พยาบาลควรมี
สนิทกัน ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมิน สาเหตุการ
4. Remodeling phases เกิดขึ้นหลังจาก เกิดแผล ชนิดของแผล ขนาดของแผล ต�ำแหน่งของ
แผลหายแล้วโดยการสลายของ collagen product แผลทีเ่ ท้า และลักษณะของแผลทีเ่ ท้า เช่นสารคัดหลัง่
ส่วนทีเ่ กินให้เท่าๆ กับซ่อมตัวเองของระยะปรับตัวโดย ทีอ่ อกจากแผลและผิวหนังรอบๆ แผลการประเมินได้
การเรี ย งตั ว ใหม่ ข อง collagen โดยแผลมี ค วาม จากการสังเกต รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล
แข็งแรงประมาณร้อยละ 50 ใน 3 เดือนแรก ต่อมาจะ อย่างต่อเนือ่ งตลอดระยะเวลาของการดูแลแผลทีเ่ ท้า
เพิ่มความแข็งแรงเป็นร้อยละ 80 ต่อมา เพราะลักษณะทางคลินกิ และการตอบสนองการรักษา
อย่างไรก็ตามเมื่อผู้ป่วยเบาหวานมีแผลที่เท้า ของแผลที่เท้าในแต่ละระยะไม่เหมือนกัน จึงต้อง
เกิดขึน้ แล้ว พยาบาลจะเป็นผูท้ มี่ บี ทบาทส�ำคัญในการ วางแผนการรักษาให้เหมาะสมกับสภาพแผลที่เท้า
จัดการแผลเท้าเบาหวานเพือ่ ป้องกันการถูกตัดขาหรือ โดยมีรายละเอียดดังนี13-15,17

เท้า ดังนี้ ลักษณะเนื้อแผล (wound bed) ประเมิน

8 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ
Management of Diabetic Foot Ulcers: The Nurses’ Roles

การหายของแผลทีเ่ ท้าโดยประเมินตามสภาพเนือ้ แผล หนองและมีกลิ่นเหม็นมาก


ที่เท้า ได้แก่ สีด�ำแสดงว่าเนื้อเยื่อขาดเลือดมาเลี้ยง ภายหลังการประเมินแผลเท้าผูป้ ว่ ยเบาหวาน
สีเหลืองแสดงว่ามีการติดเชื้อแบคทีเรีย และสีแดง ตามหัวข้อดังกล่าวแล้ว เพือ่ ป้องกันภาวะเสีย่ งต่อการ
แสดงว่ามีเลือดมาเลี้ยงเพียงพอ นอกจากนั้นควร ถูกตัดเท้าหรือขา พยาบาลควรทราบถึงกระบวนการ
ประเมินความชุม่ ชืน้ ของแผลทีเ่ ท้า การบวมแดงรอบๆ หายของแผลและการจัดการแผลทีเ่ ท้าแต่ละประเภท
แผลทีเ่ ท้า ซึง่ แสดงถึงการอักเสบหรือการได้รบั เเรงกด เพือ่ ให้ผปู้ ว่ ยได้รบั การดูแลแผลอย่างถูกต้องเหมาะสม
เป็นเวลานาน ถ้าแผลทีเ่ ท้ามีความชืน้ มากขอบแผลจะ ต่อไป
ซีดขาวและเปือ่ ยยุย่ ท�ำให้แผลใช้เวลาหายนานขึน้ การ
ประเมินดังกล่าวทำให้สามารถวางแผนในการจัดการ การจัดการแผลเท้าเบาหวาน
กับปัจจัยทีส่ ง่ เสริมให้การหายของแผลทีเ่ ท้าได้เหมาะ จากประสบการณ์ในการจัดการแผลเท้าเบา
สมกับชนิดของเนื้อแผลที่เท้า หวานของผู้เขียนร่วมกับแนวเวชปฏิบัติการป้องกัน
ต�ำแหน่งของแผล (wound location) และดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนที่
ประเมินถึงปัญหาที่เกิดขึ้นและปัจจัยที่มีผลต่อการ เท้า 2556 และแนวทางเวชปฏิบัติส�ำหรับโรคเบา
หายของแผล เช่น แผลบริเวณฝ่าเท้าจะได้รับแรงกด หวาน 2560 มีดังต่อไปนี13-14้
อยูต่ ลอดเวลาท�ำให้แผลหายช้าและจะกลายเป็นแผล 1. แผลที่เท้าจากเส้นปลายประสาทเสื่อม
เรื้อรังที่ใช้เวลาในการรักษานานขึ้น (neuropathic ulcer)
ขนาดของแผล (wound measurement) แผลที่เท้าจากเส้นปลายประสาทเสื่อมเป็น
การวั ด ขนาดของแผลท� ำ ได้ โ ดย วั ด ความกว้ า ง แผลที่พบบ่อยที่สุด ส่งผลท�ำให้เกิดเท้าผิดรูป ท�ำให้
ความยาว ความลึก เพื่อประเมินและติดตามการหาย การลงน�้ำหนักที่เท้าผิดปกติท�ำให้ได้รับแรงกดซ�้ำๆ
ของแผลทีเ่ ท้า เครือ่ งมือวัดขนาดแผลทีพ่ ยาบาลใช้ได้ บริเวณฝ่าเท้า ท�ำให้เกิดหนังหนาขึน้ (callus) ร่วมกับ
แก่ สายวัด ไม้บรรทัด ไม้พันส�ำลี probe โดยวัดส่วน การใส่รองเท้าที่ไม่เหมาะสม เป็นสาเหตุส�ำคัญของ
ที่ ก ว้ า งที่ สุ ด เป็ น ความกว้ า ง ส่ ว นที่ ย าวที่ สุ ด เป็ น การเกิดแรงกดจนท�ำให้เกิดแผลที่เท้า การที่รูปของ
ความยาว วัดส่วนที่ลึกที่สุดเป็นความลึก เท้าเปลี่ยนแปลงไป ท�ำให้การลงน�้ำหนักที่ฝ่าเท้าผิด
สารคัดหลั่งออกจากแผล (exudate) ควร ปกติ ฉะนั้นแผลที่เท้าจากเส้นประสาทเสื่อม จะเกิด
ประเมินลักษณะ ชนิด จ�ำนวนสี และกลิ่นของสารคัด บริเวณต�ำแหน่งส่วนหน้าเท้าของโคนนิว้ ทัง้ ห้า โดยพบ
หลัง่ เช่น แผลแห้งจะไม่มสี ารคัดหลัง่ แผลสะอาดสาร มากที่ สุ ด ที่ บ ริ เวณโคนนิ้ ว หั ว แม่ เ ท้ า และนิ้ ว ก้ อ ย
คัดหลัง่ จะสีเหลืองใสมีปริมาณไม่มาก แต่แผลเกิดการ ต�ำแหน่งทีพ่ บรองมาคือบริเวณปลายนิว้ เท้าทัง้ ห้าและ
ติดเชื้อจะพบมีเนื้อตายและสารคัดหลั่งจะมีปริมาณ ส้นเท้า ลักษณะแผลจะมีรูปทรงกลมๆ ตรงกลางเป็น
มากและมีกลิ่นเหม็น หลุมลึกและขอบแผลจะมีผิวหนังหนาตัวขึ้นแผลเส้น
ขอบแผล (wound edge) ควรประเมินขอบ ปลายประสาทเสือ่ มจะไม่คอ่ ยเจ็บ ยกเว้นมีการติดเชือ้
แผลถ้าพบเนื้อตายจะเป็นอุปสรรคในการเจริญของ ร่วมด้วย
เนื้อเยื่อท�ำให้แผลที่เท้าใช้เวลาในการหายนานขึ้น
พยาบาลจึงควรตัดเนื้อตายออก
การติดเชื้อ (wound infection) พยาบาล
จะต้ อ งประเมิ น การติ ด เชื้ อ แผลที่ เ ท้ า โดยสั ง เกต
อาการปวดแผลที่เท้าและขอบแผลที่เท้ามีลักษณะ
แดงและมีสารคัดหลั่งปริมาณมาก ลักษณะขุ่นเป็น

ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 ประจำ�เดือน มกราคม-มิถุนายน 2561 9


การจัดการแผลเท้าเบาหวาน: บทบาทของพยาบาล

betadine เข้มข้น, น�้ำยา Dakin, หรือ hydrogen


peroxide ท�ำแผล เนื่องจากมีการระคายต่อเนื้อเยื่อ
มาก ท�ำให้รบกวนกระบวนการหายของแผล
การป้องกันการเกิดแผลซ�้ำ แผลกดทับจาก
เส้ น ประสาทเสื่ อ มมี โ อกาสเกิ ด แผลซ�้ ำ ประมาณ
ร้อยละ 6018 พยาบาลควรให้ค�ำแนะน�ำแก่ผู้ป่วย
เบาหวานแต่ละราย โดยเฉพาะการสวมใส่รองเท้าที่
เหมาะสมในการช่วยลดแรงกด หรือการใช้อุปกรณ์
รูปภาพที่ 9 แผลที่เกิดจากโรคปลายประสาทเสื่อม พยุงฝ่าเท้าเพื่อแก้ไขแรงกดที่เกิดขึ้นบนฝ่าเท้า
(neuropathic ulcer)13 2. แผลที่เท้าจากการขาดเลือด (ischemic
หลั ก การรั ก ษาแผลกดทั บ จากเส้ น ปลาย ulcer)
ประสาทเสื่อม พยาบาลจะต้องเข้าใจและมีความรู้ แผลจากการขาดเลือดส่วนใหญ่เกิดบริเวณ
เกีย่ วกับ การดูแลแผลและการลดแรงกดทีแ่ ผล ดังนี13-
้ ส่วนปลายของนิ้วเท้าทั้งห้า อาจตรวจพบก้นแผลซีด
15,17
และมีโอกาสติดเชื้อได้เช่นเดียวกับแผลทั่วไป มักพบ
การก�ำจัดการหนาตัวของผิวหนัง (callas ในผู้ป่วยสูงอายุเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากหลอดเลือด
trimming) เป็นการจัดการแรงกดทีเ่ กิดจากผิวหนังที่ แดงทีม่ าเลีย้ งบริเวณเท้าอาจมีไขมันอุดตัน หรือมีผนัง
ฝ่าเท้าหนาตัวขึน้ โดยการขูดหนังหนาบริเวณนัน้ ๆ โดย หลอดเลือดแดงเสียความยืดหยุ่นลงท�ำให้แข็ง ท�ำให้
พยาบาลที่ผ่านการอบรมมาแล้ว เลือดไปเลีย้ งเท้าลดลง ส่งผลให้คล�ำไม่พบชีพจรทีเ่ ท้า
การลดแรงกดที่ แ ผล (off – loading, หากคล� ำ ชี พ จรบริ เวณหลั ง เท้ า ไม่ ไ ด้ ค วรส่ ง ไปพบ
pressure reduction) เป็นหลักการส�ำคัญในการ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ การจัดการแผลส�ำหรับพยาบาลมี
รักษาแผลทีเ่ ท้า การลดแรงกดทีแ่ ผลและช่วยป้องกัน ดังนี13-15

เกิดแผลที่เท้าซ�้ำ และควรท�ำร่วมกับการรักษาแผลที่
เท้า ที่ใช้วัสดุท�ำแผลที่เหมาะสม จากการทบทวน
วรรณกรรมร่วมกับประสบการณ์ของผู้เขียน พบว่า
ประมาณร้อยละ 80-90 ของแผลที่เท้าที่เกิดจากเส้น
ปลายประสาทเสื่อมสามารถหายได้ การลดแรงกดที่
แผลที่เท้าประกอบด้วย การใส่เฝือกหุ้มเท้า การสวม
รองเท้าชนิดพิเศษชนิดครึง่ เดียว (half shoe) หรือให้
ค�ำแนะน�ำวิธกี ารลงน�ำ้ หนักบางส่วนทีเ่ ท้า เช่น การให้
นอนพัก จ�ำกัดการยืน เดิน การใช้รถเข็น การใช้ไม้เท้า
ค�ำ้ ยัน โดยพยาบาลเป็นผูป้ ระสานงานกับทีมสหสาขา รูปภาพที่ 10 แผลขาดเลือด (ischemic ulcer)13
วิชาชีพ ได้แก่ แพทย์ หรือนักกายภาพบ�ำบัด เพื่อ
พิจารณาตามความเหมาะสมกับแผลที่เท้าในผู้ป่วย การท�ำความสะอาดแผล ควรเลือกใช้นำ�้ เกลือ
เบาหวานแต่ละราย ปลอดเชือ้ (sterile normal saline) ห้ามใช้ alcohol,
การท� ำ ความสะอาดแผลที่ เ กิ ด จากเส้ น betadine เข้มข้น, น�้ำยา Dakin, หรือ hydrogen
ปลายประสาทเสื่อม พยาบาลควรเลือกใช้น�้ำเกลือ peroxide ท�ำแผล เนื่องจากมีการระคายต่อ
ปลอดเชือ้ (sterile normal saline) ห้ามใช้ alcohol, เนื้อเยื่อมาก ท�ำให้รบกวนกระบวนการหายของแผล

10 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ
Management of Diabetic Foot Ulcers: The Nurses’ Roles

การป้องกันการเกิดแผลซ�้ำ พยาบาลควรให้ ของแผลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน


ค�ำแนะน�ำในการส่งเสริมการไหลเวียนของเลือดที่มา ปัจจุบันบทบาทของพยาบาลในการดูแลเท้า
เลี้ยงขาและเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน โดยการหลีกเลี่ยง เบาหวานมีความส�ำคัญเพิ่มมากขึ้นโดยเน้นการดูแล
การนัง่ ไขว้หา้ ง หรือนัง่ พับเพียบ ควรหลีกเลีย่ งอาหาร แบบองค์รวม การส่งเสริมการดูแลสุขภาพเท้าใน
ที่มีไขมันสูง และควรบริหารเท้าอย่างน้อยวันละ 30 ผู้ป่วยเบาหวาน และเน้นการป้องกันการเกิดแผลที่
นาที เท้าซ�้ำ ตามนโยบายของส�ำนักหลักประกันสุขภาพ
3. แผลทีเ่ ท้าทีม่ กี ารติดเชือ้ (infected ulcer) แห่งชาติที่ให้ผู้ป่วยเบาหวานต้องได้รับการดูแลรักษา
พยาบาลสามารถประเมินแผลที่เท้าในผู้ป่วย เบาหวานอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดหรือชะลอการเกิด
เบาหวานที่มีการติดเชื้อ ได้โดยการดู ใช้นิ้วกดรอบ ภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ โดยเฉพาะการเกิดแผลที่เท้า
แผล และสังเกตการบวมเพือ่ ดูวา่ มีหนองออกจากแผล และส่งเสริมให้ผปู้ ว่ ยเบาหวานสามารถดูแลเท้าได้ดว้ ย
หรือไม่ หากเป็นแผลติดเชื้อจะมีหนองไหลออกจาก ตนเองโดยเน้นให้ครอบครัวเข้ามามีส่วนร่วมในการ
ปากแผลหรือจากการกดบริเวณที่บวมแดงรอบแผล ดูแลเท้า เพือ่ ให้ผปู้ ว่ ยเบาหวานมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ แี ละ
ให้สงั เกตขอบเขตแผลว่าแผลติดเชือ้ นัน้ ลุกลามไปมาก มีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ถูกต้อง พยาบาลควรให้
น้อยเพียงใดโดยจะพบว่ามีลักษณะบวมแพร่กระจาย ค�ำแนะน�ำแก่ผู้ป่วยเบาหวานในการส่งเสริมการหาย
จากปากแผลออกไป13-15 ของแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ดังนี13-15,17,19-21

ส่งเสริมการควบคุมระดับน�ำ้ ตาลในเลือด ถ้า
ระดับน�้ำตาลในเลือดสูงจะท�ำให้การท�ำงานของเม็ด
เลือดขาวลดลง ส่งผลต่อกระบวนการหายของแผลที่
เท้าช้าลง
ส่ ง เสริ ม ภาวะโภชนาการ การได้ รั บ สาร
อาหารที่เพียงพอมีผลต่อกระบวนการหายของแผล
ส่วนภาวะพร่องโภชนาการจะท�ำให้แผลทุกชนิดหาย
ช้ า ลงโดยเฉพาะในผู ้ ป ่ ว ยที่ มี น�้ ำ หนั ก ลดลงอย่ า ง
รวดเร็วโดยลดลงมากกว่าร้อยละ 5 ของน�้ำหนักเดิม
รูปภาพที่ 11 แผลติดเชื้อ(infected ulcer)13 ภายในเวลา 30 วันหรือมากกว่าร้อยละ 10 ภายใน
180 วัน มีผลให้เกิดภาวะโภชนาการบกพร่องสาร
การท�ำความสะอาดแผล พยาบาลจะต้องกด อาหารส�ำคัญมีดังนี้
ปากแผลทุกครั้ง บริเวณปากแผลอาจตรวจพบเนื้อ ก. โปรตีน เป็นองค์ประกอบส�ำคัญของ
ตายได้ หากแผลติดเชือ้ ไม่รนุ แรงให้รกั ษาโดยท�ำความ เนื้อเยื่อต่างๆ ช่วยส่งเสริมการสร้างเนื้อเยื่อที่สึกหรอ
สะอาดแผล ควรเลือกใช้น�้ำเกลือปลอดเชื้อ (sterile และเป็นส่วนประกอบของเมล็ดเลือดแดงที่จะน�ำ
normal saline) ห้ามใช้ alcohol, betadine เข้มข้น, ออกซิเจนไปยังเนือ้ เยือ่ บริเวณบาดแผล โปรตีนมีสว่ น
น�้ำยา Dakin, หรือ hydrogen peroxide ท�ำแผล ส�ำคัญในการสร้างคอลลาเจน ดังนั้นหากขาดโปรตีน
เนื่องจากมีการระคายต่อเนื้อเยื่อมาก ท�ำให้รบกวน จะท�ำให้การสร้าง neutrophil และ macrophage
การหายของแผลร่วมกับการตัดชิน้ เนือ้ ทีต่ ายออกและ ลดลง ความต้านทานเชื้อโรคจะลดลง ซึ่งจะส่งผลให้
เลือกใช้วัสดุปิดแผลที่เหมาะสม รวมถึงปรึกษาแพทย์ กระบวนการหายของแผลช้าลง
ในการให้ยาปฏิชีวนะที่ครอบคลุมเชื้อโรคต่อไป ข. คาร์โปไฮเดรต เป็นสารทีส่ ร้างพลังงาน
2. บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการหาย ให้ ร ่ า งกายเมื่ อ ขาดคาร์ โ บไฮเดรต ร่ า งกายจะดึ ง

ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 ประจำ�เดือน มกราคม-มิถุนายน 2561 11


การจัดการแผลเท้าเบาหวาน: บทบาทของพยาบาล

โปรตีนที่สะสมไว้ในร่างกายมาใช้ ส่งผลให้การหาย ไหลเวียนของเลือดที่มาเลี้ยงเท้าและท�ำให้กล้ามเนื้อ


ของแผลช้าลง เท้าแข็งแรง รวมทั้งงดสูบบุหรี่เพื่อป้องกันการตีบตัน
ค. วิตามินและเกลือแร่ ได้แก่ วิตามินซี มี ของหลอดเลือดที่มาเลี้ยงเท้า12-14
ส่วนส�ำคัญในการสร้างคอลลาเจน (Collagen) เสริม การจั ด การแผลเท้ า ในผู ้ ป ่ ว ยเบาหวานใน
สร้างภูมิต้านทานเชื้อโรค ช่วยให้การท�ำหน้าที่ของ ปั จ จุ บั น มี ก ารพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งในการท� ำ แผล
เม็ ด เลื อ ดแดงในการน� ำ ออกซิ เจนไปเลี้ ย งเนื้ อ เยื่ อ ได้ แ ก่ ก ารท� ำ แผลที่ เ ท้ า แบบระบบสุ ญ ญากาศ
สร้ า งเซลล์ เ ยื่ อ บุ ผิ ว หนั ง (epithelialization) (negative pressure wound therapy) เหมาะ
ให้แข็งแรง วิตามินเอ เพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงาน ส�ำหรับท�ำแผลที่เท้าที่มีขนาดใหญ่และมีการติดเชื้อ
ของ macrophage มี บ ทบาทในกระบวนการ และเหมาะส�ำหรับรักษาในโรงพยาบาลศูนย์ทมี่ แี พทย์
inflammation ช่วยลดการอักเสบและยังมีส่วนใน เฉพาะทางหรือในโรงเรียนแพทย์ ซึ่งสามารถช่วยให้
การสร้างคอลลาเจน ส่วนเกลือแร่เป็นสารประกอบ แผลทีเ่ ท้ามีอตั ราการหายมากกว่า 1.47 เท่า และช่วย
ของเอนไซม์และเป็น cofactor ในกระบวนการหาย ลดโอกาสถูกตัดขาน้อยกว่า 0.36 เท่าของการท�ำแผล
ของแผล ที่ส�ำคัญคือธาตุเหล็กและสังกะสี ธาตุเหล็ก แบบปกติ22 รวมทั้งการน�ำออกซิเจนบรรยากาศสูง
จะเพิ่มตัวน�ำออกซิเจนในเม็ดเลือดแดง สังกะสีช่วย หรือ hyperbaric oxygen (HBO) therapy มารักษา
สร้ า ง fibroblast และ collagen มี บ ทบาทใน แผลทีเ่ ท้าในผูป้ ว่ ยเบาหวานโดยเพิม่ ความเข้มข้นของ
กระบวนการ epithelialization โดยย่อย basement ออกซิเจนในเลือดให้สูงขึ้น ช่วยให้แผลที่เท้ามีอัตรา
membranes เกิดการงอกของขอบแผลใหม่ดงั นัน้ ถ้า การหายได้เร็วขึ้นแต่มีค่าใช้จ่ายสูงมากขึ้น23 การใช้
ขาดวิตามินและเกลือแร่ดังกล่าว จะท�ำให้เนื้อเยื่อที่ วัสดุทางการแพทย์ทมี่ คี วามสามารถในการดูดซับสาร
สร้างขึ้นใหม่ไม่แข็งแรง และแผลแยกได้ง่าย คัดหลัง่ จากแพทย์ได้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ และให้
การส่งเสริมสภาวะสุขภาพจิต เป็นการช่วย ความชุ ่ ม ชื้ น กั บ แผลที่ เ ท้ า มากขึ้ น ได้ แ ก่ แผ่ น ใย
ลดความวิ ต กกั ง วลจะส่ ง ผลต่ อ การหายของแผล สังเคราะห์ หรือน�้ำยาช่วยกระตุ้นการหายของแผล
ได้ เพราะความวิ ต กกั ง วลจะท� ำ ให้ มี ก ารคั ด หลั่ ง เช่น การใช้ growth factor ทีไ่ ด้มาจากเกล็ดเลือด น�ำ
glucocorticoids ซึ่ ง จะยั บ ยั้ ง การสั ง เคราะห์ มาใช้รักษาแผลเรื้อรังที่เท้าที่เกิดจากโรคเบาหวาน
collagen และการสร้าง granulation tissue และ ใช้ได้ผลดี แต่อาจไม่เหมาะสมกับฐานะเศรษฐกิจของ
จะกระตุ้นการท�ำงานของระบบประสาทซิมพาเทติค ผู้ป่วยเบาหวานในแต่ละราย จึงเป็นบทบาทหนึ่งที่
ท�ำให้หลอดเลือดหดตัว การไหลเวียนลดลง ท�ำให้ พยาบาลจะต้องมีความรูค้ วามเข้าใจในการพัฒนาด้าน
เซลล์ได้รับสารอาหารและออกซิเจนลดลงตามมา ซึ่ง การจัดการแผลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน13-14,22-23 เพื่อ
จะส่งผลให้กระบวนการหายของแผลช้าลงได้ พัฒนาการดูแลแผลเท้าเบาหวานให้มีประสิทธิภาพ
3. บทบาทการป้องกันการกลับเป็นแผลเท้า มากยิ่งขึ้น
เบาหวานซ�้ำ
เน้นการปรับพฤติกรรมการดูแลเท้าให้กับ บทสรุป
ผู้ป่วยเบาหวานและครอบครัว ได้แก่การตรวจดูเท้า บทบาทของพยาบาลในการการจัดการแผล
ซอกนิว้ และฝ่าเท้า การรักษาความสะอาดเท้าด้วยน�ำ้ เท้าเบาหวาน ควรเริ่มตั้งแต่การประเมินความเสี่ยง
สะอาด เช็ดเท้าและซอกนิ้วเท้าให้แห้ง การทาโลชั่น ของการเกิดแผลเท้าเบาหวาน ประกอบด้วย การซัก
เมือ่ มีผวิ เท้าแตกแห้ง การสวมรองเท้าทีเ่ หมาะสม เมือ่ ประวัติการเกิดแผลที่เท้า การตรวจลักษณะเท้า การ
มีแผลที่เท้าควรรีบมาพบพยาบาล หลีกเลี่ยงการซื้อ ประเมินการรับความรูส้ กึ โดยใช้ monofilament การ
ยาทาแผลมาใส่เอง ควรหมั่นบริหารเท้าเพื่อเพิ่มการ ประเมินระบบการไหลเวียนที่เลี้ยงขาและเท้า การ

12 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ
Management of Diabetic Foot Ulcers: The Nurses’ Roles

ประเมินพฤติกรรมในการดูแลเท้าด้วยตนเองของ เท้าเบาหวาน และบทบาทการป้องกันการกลับเป็น


ผู้ป่วยเบาหวาน การจําแนกระดับความเสี่ยงต่อการ แผลเท้าเบาหวานซ�้ำ บทบาทเหล่านี้เป็นบทบาทที่
เกิดแผลทีเ่ ท้า และการให้คำ� แนะน�ำในการป้องกันการ ส�ำคัญของพยาบาลที่สามารถปฏิบัติได้เพื่อให้ผู้ป่วย
เกิ ด แผลที่ เ ท้ า โดยพยาบาลจะต้ อ งเข้ า ใจใน เบาหวานได้รับการดูแลแผลที่เท้าได้อย่างถูกต้อง
กระบวนการหายของแผลเท้าผูป้ ว่ ยเบาหวานบทบาท เหมาะสม รวดเร็ว ลดการเกิดแผลซ�้ำ ลดถูกตัดขา
ทีส่ ำ� คัญของพยาบาลในการจัดการแผลเท้าเบาหวาน และลดอั ต ราการตาย เพื่ อ ให้ ผู ้ ป ่ ว ยเบาหวานมี
ประกอบด้ ว ยบทบาทด้ า นการจั ด การแผลเท้ า คุณภาพชีวิตที่ดีตลอดไป
เบาหวาน บทบาทด้านการส่งเสริมการหายของแผล

เอกสารอ้างอิง

1. Junrungsee S, Kosachunhanun N, Wongthanee A, Rerkasem K. History of foot ulcers


increases mortality among patients with diabetes in Northern Thailand. Journal of
Diabetic Medicine 2011;28:608-611.
2. Ogurtsova K, Fernandes R, Huang Y, Linnenkamp U, Guariguata L, Cho NH. IDF Diabetes
Atlas: Global estimates for the prevalence of diabetes for 2015 and 2040. Diabetes
Research and Clinical Practice 2017; 128:40–50.
3. ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. การคาดประมาณจ�ำนวนประชากรที่เป็น
โรคเบาหวานในประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2554-2563. รายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ประจ�ำสัปดาห์
2553; 39: 622-624.
4. ณัฐพงค์ โฆษชุณหนันท์. พยาธิสรีรวิทยาของโรคเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน. ใน: ณัฐพงค์ โฆษชุณหนันท์
และคณะ, บรรณาธิการ. ต�ำราการป้องกันและรักษาโรคเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน. กรุงเทพฯ: ทริค ธิงค์;
2556. หน้า. 21-34.
5. World Health Organization. Fact sheet: Diabetes [internet]. WHO; 2015 [cited 2018
April 1 ]. Available from: http://www.who.int/ mediacentre/factsheets/fs312/en/
6. กิ่งกาญจน์ เพียรไพรงาม. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยเบาหวานที่มีแผลที่เท้าใน
โรงพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ภาคเหนือตอนบน. วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย 2555; 24(3):16-27.
7. วรุณรัตน์ ชนะศรีรตั นกุล. ปัจจัยคัดสรรทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั คุณภาพชีวติ ของผูป้ ว่ ยเบาหวานทีม่ แี ผลที่
เท้าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2556; 25(2):
41-53.
8. วิลาวัณย์ ถิรภัทรพงศ์, กุลภา ศรีสวัสดิ์. Epidemiology and Direct Costs of Diabetes Related
Lower Extremity Amputations at Siriraj hospital. วารสารเวชศาสตร์ฟื้นฟูสาร 2551;18(2):
65-69.
9. International Working Group on the Diabetic Foot. IWGDF Guidance on the prevention
of foot ulcers in At-risk patients with diabetes[Internet]. 2015. [cited 2018 January 12].
Available from: http://www.iwgdf.org/files/2015/website_prevention.pdf
ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 ประจำ�เดือน มกราคม-มิถุนายน 2561 13
การจัดการแผลเท้าเบาหวาน: บทบาทของพยาบาล

10. นุชรี อาบสุวรรณ, นิตยา พันธุเวทย์. ประเด็นวันรณรงค์วันเบาหวานโลกปี 2554 [อินเตอร์เน็ต]. 2554


[เข้าถึงเมื่อ 12 มกราคม 2561]. เข้าถึงได้จาก: htp://www.thaincd.com/document/doc/
general/DM-2554.pdf
11. นพพร จันทรเสนา, อัมพรพรรณ ธีราบุตร. การพัฒนาแนวปฎิบัติทางคลินิกในการป้องกันความเสี่ยง
การเกิดแผลทีเ่ ท้าในผูส้ งู อายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 กลุม่ เสีย่ งระดับ 1 ทีม่ ารับบริการทีค่ ลินกิ เบาหวาน
โรงพยาบาลอ�ำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ. 2554;34(2):
32-41.
12. สายฝน ม่วงคุ้ม. บทบาทพยาบาลในการดูแลเท้าเบาหวาน. Journal of The Royal Thai Army
Nurses. 2560; 18(ฉบับพิเศษ): 1-10.
13. สถาบันวิจยั และประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์. แนวทางเวชปฏิบตั กิ ารป้องกันและดูแลรักษาผูป้ ว่ ย
เบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท้า 2556. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง
ประเทศไทย; 2556.
14. สมาคมโรคเบาหวานแห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ ส มเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ
สยามบรมราชกุมารี, บรรณาธิการ. แนวทางเวชปฏิบัติส�ำหรับโรคเบาหวาน 2560. กรุงเทพฯ:
ร่มเย็น มีเดีย; 2560.
15. อ�ำภาพร นามวงศ์พรหม, น�้ำอ้อย ภักดีวงศ์. การเกิดแผลที่เท้าและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิด
แผลที่เท้าของผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารการพยาบาล. 2553;25(3):51-63.
16. เอนก ทนงหาญ. Podoscope [Internet]. 2008 [cited 2018 April 1 ]. Available from: https://
www.gotoknow.org/posts/198442.
17 นงนุช หอมเนียม.บทบาทพยาบาลในการใช้หลักโภชนาการทีส่ ง่ เสริมการหายของแผล. วารสารพยาบาล
ต�ำรวจ. 2557;6(2):233-49.
18. Connor H, Mahdi OZ. Repetitive ulceration in neuropathic patients. Diabetes Metab
Res Rev. 2004 May-Jun; 20 Suppl 1: S23-8.
19. อริสรา สุขวัจนี.แนวปฏิบัติเพื่อป้องกันและดูแลการเกิดแผลที่เท้าและการถูกตัดขาหรือเท้าในผู้ป่วย
เบาหวาน. Journal of Medicine and Health Sciences 2015;22(2):99-107.
20. ณัตยา บูรไทย. การวิเคราะห์สถานการณ์การส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเท้าของผู้สูงอายุ
โรคเบาหวาน โรงพยาบาลศรีวรสุโขทัย. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต. เชียงใหม่:
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2553.
21. ขวัญฤทัย พันธุ. การรักษาแผลกดทับส�ำหรับพยาบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;
2559.
22. กิตติวฒั น์ มะโนจันทร์, วณิชชา เรือ่ งศรี, พัชรี ยิม้ แย้ม, ศศิธร ศิรกิ ลุ .การรักษาแผลเบาหวานทีเ่ ท้าแบบ
ระบบสุญญากาศ:การทบทวนอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์แบบอภิมาน. วารสารกรมการแพทย์
2560;42(1):42-47.
23. จิณพิชญ์ชา มะมม.บทบาทพยาบาลกับแผลกดทับ : ความท้าทายในการป้องกันและการดูแล. วารสาร
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2555; 20(5) ฉบับพิเศษ: 478-490.

14 วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ

You might also like