You are on page 1of 78

การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟแบบดริปจากวัสดุแปรรูปหวาย

DESIGN AND DEVELOPMENT OF DRIP COFFEE EXTRACTION PRODUCTS FROM


RATTAN MATERIAL.

กิตติพฒ
ั น์ วัฒนานุสรณ์

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
2566
การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟแบบดริปจากวัสดุแปรรูปหวาย

กิตติพฒ
ั น์ วัฒนานุสรณ์

สารนิพนธ์นเี ้ ป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบเพื่อธุรกิจ
วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปี การศึกษา 2566
ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
DESIGN AND DEVELOPMENT OF DRIP COFFEE EXTRACTION PRODUCTS FROM
RATTAN MATERIAL.

KITTIPAT WATANANUSORN

A Master’s Project Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements


for the Degree of MASTER OF ARTS
(Master of Arts (Design for Business))
College of Social Communication Innovation, Srinakharinwirot University
2023
Copyright of Srinakharinwirot University
สารนิพนธ์
เรื่อง
การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟแบบดริปจากวัสดุแปรรูปหวาย
ของ
กิตติพฒ
ั น์ วัฒนานุสรณ์

ได้รบั อนุมตั ิจากบัณฑิตวิทยาลัยให้นบั เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร


ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบเพื่อธุรกิจ
ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

(รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ฉตั รชัย เอกปั ญญาสกุล)


คณบดีบณ ั ฑิตวิทยาลัย

คณะกรรมการสอบปากเปล่าสารนิพนธ์

.............................................. ที่ปรึกษาหลัก .............................................. ประธาน


(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นพดล อินทร์จนั ทร์) (รองศาสตราจารย์อารยะ ศรีกลั ยาณบุตร)

.............................................. กรรมการ
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เสาวลักษณ์ พันธบุตร)

บทคัด ย่อภาษาไทย

ชื่อเรื่อง การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟแบบดริปจากวัสดุแปรรูป
หวาย
ผูว้ ิจยั กิตติพฒ ั น์ วัฒนานุสรณ์
ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
ปี การศึกษา 2566
อาจารย์ท่ปี รึกษา ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. นพดล อินทร์จนั ทร์

งานวิจยั เรื่องการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟแบบดริปจากวัสดุแปรรูป
หวายเป็ นการวิจัยและพัฒนาหวายไม้เศรษฐกิจของประเทศไทยและมุ่งนาเสนอผลิตภัณฑ์จ าก
ธรรมชาติเพื่อทดแทนวัสดุแบบดัง้ เดิม โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มผูบ้ ริโภค ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการจัก
สานหวาย ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านกาแฟ และผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการออกแบบ เพื่อนากาหนดแนวทางการ
ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ตน้ แบบ ผลการวิจัยพบว่า การใช้ลายสานจูงนางเป็ นลวดลายที่
เหมาะสมในการนามาผลิต เนื่องจากมีอตั ราการไหลของนา้ ที่เหมาะสม และเป็ นลวดลายที่นิยมใน
ท้องตลาด โดยนาพัฒ นาเป็ นอุปกรณ์สกัดกาแฟแบบดริผู้วิจัยได้อ อกแบบผลิ ตภัณฑ์ต้น แบบ
ออกมาทั้ง 2 แบบด้วยกันคือแบบสานทึบ และแบบสานโปร่ง พบว่าผลิตภัณฑ์ตน้ แบบที่ 1 หรือ
แบบสานทึบ นัน้ มีความเหมาะสมมากที่สดุ แสดงถึงคุณค่าความเป็ นไทยผ่านงานจักสานได้อย่าง
ชัดเจน และมีจุดเด่นด้านการให้กลิ่นธรรมชาติเมื่อทดลองดื่มกาแฟพบว่าเมื่อทดลองประเมินจาก
ผูบ้ ริโภคและจากผูเ้ ชี่ยวชาญมีความเห็นที่ตรงกันว่าสามารถพัฒนาต่อยอดและผลิตเป็ นผลิตภัณฑ์
ชุมชน แสดงถึงคุณค่าของงานจักสานของคนไทยที่อยู่ค่กู บั คนไทย สอดรับกับรูปแบบวิถีของคน
รุน่ ใหม่ และสนับสนุนผูท้ ่ปี ระกอบอาชีพงานจักสานหวายให้อยู่ค่กู บั คนไทยต่อไป

คาสาคัญ : กาแฟดริป, วัสดุแปรรูปหวาย, นวัตกรรมในการออกแบบผลิตภัณฑ์หตั ถกรรม



บทคัด ย่อภาษาอัง กฤษ

Title DESIGN AND DEVELOPMENT OF DRIP COFFEE EXTRACTION


PRODUCTS FROM RATTAN MATERIAL.
Author KITTIPAT WATANANUSORN
Degree MASTER OF ARTS
Academic Year 2023
Thesis Advisor Assistant Professor Doctoral Noppadol Inchan

The purpose of this research project is to create natural alternatives to


traditional drip coffee extraction products by using processed rattan materials from Thai
economic trees. To achieve this goal, the researchers gathered data from various experts,
including consumer groups, rattan weaving experts, coffee experts, and design experts.
The objective was to determine guidelines for designing and developing prototype
products. After conducting the study, the researchers discovered that the Juang Nang
weave pattern is the most suitable for production, as it is popular in the market and
provided an appropriate water flow rate. Then, two prototype products were developed,
one with a solid weave and another with an airy weave. During testing, the solid weave
model was deemed the most suitable as it showcased Thai basketry work and gave the
coffee a natural aroma when used for extraction. The positive feedback from consumers
and experts suggested that this product can be further developed and produced as
community products. This research emphasizes the value of Thai basketry work, an
integral part of Thai culture and tradition. It supports the artisans who practice this craft
and promotes the use of natural materials in the production of consumer goods.

Keyword : Drip coffee, Rattan material, Innovation in handicraft product design



กิตติ กรรมประ กาศ

กิตติกรรมประกาศ

ปริญญานิพนธ์ฉบับนีส้ าเร็จลุล่วงได้ดว้ ยความเมตตากรุ ณาช่วยเหลือและความเอาใจใส่


ตลอดจนถึงการให้คาแนะนาและข้อคิดเห็นที่ประโยชน์อย่างยิ่งสาหรับการปรับแก้ไขข้อบกพร่องจาก
คณะกรรมการผูค้ วบคุมปริญญานิพนธ์ ผูว้ ิจัยขอกราบขอบพระคุณผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นพดล
อินทร์จันทร์ ที่ได้ให้ความเมตตากรุ ณาเป็ นที่ปรึกษาพร้อมทัง้ ให้ความช่วยเหลือชีแ้ นะแนวทางสิ่งที่
เป็ นประโยชน์ต่อการศึกษาและการทาปริญญานิพ นธ์นีด้ ้วยความเอาใจใส่ตลอดมา รวมทั้ง ดร.
เสาวลักษณ์ พันธบุตร ดร.อรรถศิษฐ์ พัฒนะศิริ ดร.เบญจวรรณ อารักษ์การุ ณ ดร.ภัทรนันท์ ไวทยะ
สินและคณาจารย์ในภาควิชาทุกท่านที่ช่วยเหลือโดยให้ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติมที่เป็ นประโยชน์จึงทาให้
ปริญญานิพนธ์ฉบับนีม้ ีความสมบูรณ์มากยิ่งขึน้
ขอกราบขอบพระคุณคุณพ่อ คุณแม่และครอบครัวที่ได้สนับสนุนทุนด้านการศึกษาให้ผูว้ ิจยั
มีโอกาสศึกษาต่อในระดับปริญญาโท และคอยให้กาลังใจในระหว่างการทาปริญญานิพนธ์ในครัง้ นี ้
จนทาให้ผวู้ ิจยั สามารถทาปริญญานิพนธ์ฉบับนีไ้ ด้อย่างสาเร็จลุลว่ ง
ขอขอบคุณ พี่เบ้ง เจมส์ คิม ชาลี เจมม่อน แพท อเด้น แทน รวมทัง้ บุคคลอีกหลายท่านที่
ไม่ได้กล่าวนามไว้ ณ ที่ นี ้ ที่ได้ให้ความช่วยเหลือและเป็ นกาลังใจให้กบั ผูว้ ิจยั มาโดยตลอด
ขอขอบคุณเพื่อนร่วมชัน้ เรียน พี่ใหญ่ พลอย ขิม เรนนี่ ฝ้าย พี่คิรนิ พี่แอ๊นท์ พี่นทั พี่กลอย พี่
เอิรธ์ ที่คอยให้กาลังใจและคาแนะนาที่เป็ นประโยชน์ในทัง้ ด้านการศึกษาและด้านการทางานตลอด
ระหว่างการศึกษาในระดับปริญญาโทในครัง้ นี ้

กิตติพฒ
ั น์ วัฒนานุสรณ์
สารบัญ

หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย ................................................................................................................ ง
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ........................................................................................................... จ
กิตติกรรมประกาศ.................................................................................................................. ฉ
สารบัญ ................................................................................................................................. ช
สารบัญตาราง .......................................................................................................................ญ
สารบัญรูปภาพ ......................................................................................................................ฎ
บทที่ 1 บทนา......................................................................................................................... 1
ความเป็ นมาและความสาคัญ ............................................................................................. 1
วัตถุประสงค์ของการวิจยั .................................................................................................... 4
ขอบเขตในการวิจยั ............................................................................................................ 4
ประชากรที่ใช้ในการวิจยั .............................................................................................. 4
กลุม่ ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั ......................................................................................... 4
ขัน้ ตอนการศึกษาค้นคว้า.................................................................................................... 4
ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รบั .................................................................................................. 5
นิยามศัพท์เฉพาะ............................................................................................................... 5
บทที่ 2 เอกสาร แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ............................................................ 6
1.ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์การดริปกาแฟ ............................................................................ 7
1.1 ความรูเ้ กี่ยวกับการชงกาแฟ ................................................................................... 7
1.2 ความเป็ นมาของการสกัดกาแฟแบบดริป ................................................................ 8
1.3 ความสาคัญและรูปร่างของดริปเปอร์.................................................................... 10
2 ข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต............................................................................. 10

2.1 ความสาคัญและศักยภาพของหวาย ..................................................................... 10


2.2 หวายกับงานจักสาน ............................................................................................ 11
2.3 รูปแบบลวดลายการจักสาน ................................................................................. 12
3.ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์หตั ถกรรม ................................................................................ 15
3.1 ความหมายของผลิตภัณฑ์หตั ถกรรม .................................................................... 15
3.2 องค์ประกอบของการออกแบบผลิตภัณฑ์หตั ถกรรม ............................................... 15
3.3 นวัตกรรมในการออกแบบผลิตภัณฑ์หตั ถกรรม ...................................................... 16
4.แนวคิดและทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบ้ ริโภค ................................................. 19
4.1 ความหมายของพฤติกรรมของผูบ้ ริโภค ................................................................. 19
4.2 พฤติกรรมของผูบ้ ริโภคในยุคดิจิทลั ....................................................................... 20
5.แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมการชงกาแฟในครัวเรือน.......................................... 21
6.แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลิตภัณฑ์............................................. 21
7.งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ....................................................................................................... 23
บทที่ 3 วิธีการดาเนินการวิจยั ............................................................................................... 26
การกาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง .............................................................................. 26
ขัน้ ตอนการศึกษาค้นคว้า.................................................................................................. 27
กรอบแนวคิดวิจยั ............................................................................................................. 28
บทที่ 4 ผลดาเนินงานวิจยั ..................................................................................................... 29
ขัน้ ตอนที่ 1 ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับลวดลายการจักสานไทย และรูปแบบของผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟ
แบบดริบ ................................................................................................................... 29
1.1 การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับลวดลายการจักสานไทย .................................................. 29
1.2 การทดลองการไหลผ่านของนา้ ผ่านลวดลายทัง้ หมด 10 ลวดลาย ........................... 41
ขัน้ ตอนที่ 2 การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากลวดลายงานจักสาน ............................. 42

2.1 ขัน้ ตอนที่ 1 ......................................................................................................... 43


2.2 ขัน้ ตอนที่ 2 ......................................................................................................... 43
2.3 ขัน้ ตอนที่ 3 ......................................................................................................... 44
2.4 ภาพถ่ายผลิตภัณฑ์ตวั ต้นแบบรูปแบบที่ 1 (แบบสานทึบ) ....................................... 46
2.5 ภาพถ่ายผลิตภัณฑ์ตวั ต้นแบบรูปแบบที่ 2 (แบบสานโปร่ง) .................................... 47
ขัน้ ตอนที่ 3 นาตัวต้นแบบขายจริงผ่านช่องทางออนไลน์และเลือกผูบ้ ริโภคจานวน 10 ท่าน
พร้อมทัง้ ผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านการดื่มกาแฟ และนักออกแบบผลิตภัณฑ์ จานวน 2 ท่าน มา
ทาการสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อหาข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และทาการสรุปผล
และปรับปรุงแบบต่อไป .............................................................................................. 49
3.1 นาตัวต้นแบบทดลองขายจริงผ่านทางช่องทางออนไลน์.......................................... 49
3.2 ทาการเก็บข้อมูลข้อเสนอแนะและคาแนะนาที่มีต่อผลิตภัณฑ์จากผูบ้ ริโภค .............. 51
3.3 ทาการเก็บข้อมูลข้อเสนอแนะและคาแนะนาที่มีต่อผลิตภัณฑ์จากผูเ้ ชี่ยวชาญ ......... 54
ขัน้ ตอนที่ 4 นาข้อเสนอแนะและข้อที่ควรแก้ไขปรับปรุงจากผูบ้ ริโภคและจากผูเ้ ชี่ยวชาญมาทา
การพัฒนาและปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้มีความสมบูรณ์................................................... 57
บทที่ 5 สรุปผลการวิจยั อภิปราย และข้อเสนอแนะ ................................................................. 59
1. สรุปผลการวิจยั ............................................................................................................ 59
2. อภิปรายผลการวิจยั ..................................................................................................... 61
3.ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................. 62
บรรณานุกรม ....................................................................................................................... 63
ประวัติผเู้ ขียน....................................................................................................................... 65
สารบัญตาราง

หน้า
ตาราง 1 แสดงลวดลายจักสาน ............................................................................................. 12
ตาราง 2 แสดงข้อมูลจากการลงพืน้ ที่เก็บข้อมูลร้านค้าจักสาน ................................................. 35
ตาราง 3 แสดงข้อมูลผลการทดลองการหาอัตราการไหลของนา้ .............................................. 42
ตาราง 4 แสดงข้อมูลความคิดเห็นที่ได้จากผูบ้ ริโภคจานวน 10 ท่าน ........................................ 51
ตาราง 5 แสดงข้อมูลที่ได้จากการสอบถามผูเ้ ชี่ยวชาญ ........................................................... 56
สารบัญรูปภาพ

หน้า
ภาพประกอบ 1 ตัวอย่างอุปกรณ์ดริปกาแฟในอดีต ................................................................... 9
ภาพประกอบ 2 กรอบแนวคิดวิจยั ......................................................................................... 28
ภาพประกอบ 3 ร้านป้าหวาย ................................................................................................ 30
ภาพประกอบ 4 ร้านบ้านหัตถกรรม ....................................................................................... 31
ภาพประกอบ 5 ร้านยุพดีวาณิช............................................................................................. 32
ภาพประกอบ 6 ร้านเอเชียคิงส์จกั สาน ................................................................................... 33
ภาพประกอบ 7 ร้านบ้านหวายหัตถกรรมคลอง 9 ................................................................... 34
ภาพประกอบ 8 ตัวอย่างลายสามขึน้ ลง ................................................................................. 36
ภาพประกอบ 9 ตัวอย่างลายดีหล่ม ....................................................................................... 36
ภาพประกอบ 10 ตัวอย่างลายครุ .......................................................................................... 37
ภาพประกอบ 11 ตัวอย่างลายครุบ ........................................................................................ 37
ภาพประกอบ 12 ตัวอย่างลายก้นลิง ...................................................................................... 38
ภาพประกอบ 13 ตัวอย่างลายสาม ........................................................................................ 38
ภาพประกอบ 14 ตัวอย่างลายกระด้งฝัด ................................................................................ 39
ภาพประกอบ 15 ตัวอย่างลายตาแหลวมืด ............................................................................. 39
ภาพประกอบ 16 ตัวอย่างลายสองขึน้ ลง ................................................................................ 40
ภาพประกอบ 17 ตัวอย่างลายจูงนาง .................................................................................... 41
ภาพประกอบ 18 ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านงานหวายโดยผูว้ ิจยั ............................................................ 43
ภาพประกอบ 19 ออกแบบโครงร่างรูปแบบที่ 1 ...................................................................... 44
ภาพประกอบ 20 ออกแบบโครงร่างรูปแบบที่ 2 ...................................................................... 45
ภาพประกอบ 21 ตัวอย่างโครงร่างผลิตภัณฑ์ตน้ แบบรูปแบบที่ 1 ............................................ 46

ภาพประกอบ 22 ตัวอย่างโครงร่างผลิตภัณฑ์ตน้ แบบรูปแบบที่ 2 ............................................ 47


ภาพประกอบ 23 ตัวอย่างโครงร่างผลิตภัณฑ์ตน้ แบบรูปแบบที่ 1 ............................................ 48
ภาพประกอบ 24 แสดงช่องทางการขายออนไลน์ช่องทางที่ 1 .................................................. 49
ภาพประกอบ 25 แสดงช่องทางการขายออนไลน์ช่องทางที่ 2 .................................................. 50
ภาพประกอบ 26 แสดงถึงตัวผลิตภัณฑ์ท่ผี วู้ ิจยั ทาการปรับปรุงแบบ ........................................ 58
บทที่ 1
บทนา

ความเป็ นมาและความสาคัญ
กาแฟ กลายเป็ นเครื่องดื่มที่เป็ นที่รูจ้ ักของคนทั่วโลกรวมถึงผูบ้ ริโภคในประเทศไทย ซึ่ง
ปั จจุบนั คนไทยที่บริโภคกาแฟสดมีปริมาณที่เพิ่มมากขึน้ ทัง้ ในกลุ่มของนักเรียนและนักศึกษา วัย
ทางาน รวมไปถึงกลุ่มนักท่องเที่ยว หรือกล่าวได้ว่าผูค้ นทุกเพศทุกวัยสามารถเข้าถึงการดื่มกาแฟ
ได้ม ากขึ ้น ไม่ ว่ า จะเป็ นการดื่ ม กาแฟเองที่ บ้า น หรื อ การออกดื่ ม กาแฟนอกบ้า น จึ ง ท าให้
ผูป้ ระกอบการร้านค้ากาแฟต้องการที่จะตอบสนองแนวโน้มการบริโภคกาแฟที่เพิ่มมากขึน้ ทัง้ นี ้
จาก บทวิเคราะห์ธุรกิจเรื่องธุรกิจผลิตกาแฟ โดยกรมการพัฒนาธุรกิจการค้าหรือกระทรวงพาณิชย์
ได้ระบุว่าทิศทางของธุรกิจผลิตกาแฟยังคงมีโอกาสเติบโตได้อีกจากความต้องการของตลาดโลกที่
มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึน้ อย่างต่อเนื่อง ด้วยเหตุนีจ้ ึงทาให้เจ้าของกิจการร้านกาแฟจาเป็ นต้องสร้างจุด
ขายให้กับร้านของตนเองให้มีความน่าสนใจ หรือมีความสดใหม่อยู่เสมอ เพราะพฤติกรรมของ
ผู้บริโภคนั้นได้มี การเปลี่ ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา(ผู้จัดการออนไลน์, 2563) ในปั จ จุบันจึ ง มี
รู ปแบบร้านกาแฟที่หลากหลายให้ผูบ้ ริโภคได้เลือกใช้บริการตามความชอบส่วนตัว ด้วยกรรมวิธี
การสกัดกาแฟที่แตกต่างกันออกไป เพราะจุดประสงค์ของผู้บริโภคกาแฟในปั จ จุบันนั้นไม่ ไ ด้
ต้องการไปร้านกาแฟเพื่ อซือ้ บริโภคเพียงอย่างเดียว แต่ยงั ต้องการการบริการที่แปลกใหม่อีกด้วย
จึงทาให้รา้ นกาแฟแนวสโลว์บาร์กลายเป็ นรูปแบบร้านกาแฟที่คนรุ่นใหม่ หรือผูท้ ่ีสนใจจะทาธุรกิจ
เกี่ยวกับกาแฟนัน้ ให้ความสนใจเป็ นอย่างมาก เพราะ จะมีความแตกต่างกับร้านกาแฟทั่วไปอย่าง
ชัดเจนในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านกรรมวิธี ระยะเวลาที่ใช้ในการทา และความแตกต่างของเมนูกาแฟ
รวมถึงรูปแบบการตกแต่งร้านเป็ นต้น
แต่เมื่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ได้ทาให้วิถีการใช้ชีวิต หรือพฤติกรรม
ของผูบ้ ริโภคเปลี่ยนแปลงไป ทาให้ผคู้ นไม่กล้าออกจากบ้าน ต้องทางานอยู่ท่ีบา้ น หรือใช้ชีวิตอยู่ท่ี
บ้านมากขึน้ เพราะกังวลต่อสถานการณ์ความไม่แน่นอนการออกมาใช้ชีวิตนอกบ้าน ซึ่งส่งผล
กระทบในหลายด้านรวมถึงด้านธุรกิจที่ทาให้ผูป้ ระกอบการต้องปิ ดกิจการไปเป็ นจานวนมาก เฉก
เช่นเดียวกับธุรกิจร้านค้ากาแฟ จากผลสารวจของบริษัทเซนทรัลเรสเตอรองส์กรุ๊ปจากัด ได้กล่าวว่า
ในปี 2563 นัน้ มูลค่าของตลาดกาแฟในประเทศไทยนัน้ มีมูลค่าสูงถึง 60,000 ล้านบาท โดยแบ่ง
สัดส่วนเป็ น การดื่มกาแฟในบ้าน และการดื่มกาแฟนอกบ้าน ซึ่งสัดส่วนของการดื่มกาแฟในบ้าน
นั้นมี มูล ค่า 33,000 ล้านบาท ซึ่ง มี การเติบโตสูง ขึน้ จากปี 2562 ถึง 10% แต่ในทางกลับกันใน
สัดส่วนของการดื่ม กาแฟนอกบ้านนั้นมี อัตราที่ลดลงถึง 30-40% ด้วยมูลค่า 27,000 ล้านบาท
2

(ศูนย์อจั ฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร, 2565) (Positioning, 2564) สรุปได้ว่าผูค้ นนัน้ ได้ให้ความ


สนใจกับการดื่มกาแฟที่บา้ นมากขึน้ เนื่องจากมีเวลาอยู่ท่ีบา้ นมากขึน้ จึงทาให้ตอ้ งหากิจกรรมใหม่
ที่น่าสนใจหรือวิถีชีวิตที่แตกต่างจากเดิม ซึ่งกาแฟก็มีวิถีแบบใหม่ท่ีกาลังเป็ นกระแสอยู่น่ ันก็คือ
การดริปกาแฟนั่นเอง
โดยวิธีการสกัดกาแฟดื่มเองที่บ้านที่กาลังเป็ นกระแสในกลุ่มผู้บริโภคกาแฟก็มี หลาย
หลายวิธีดว้ ยกัน กาแฟโมกาพ็อต กาแฟดริป การใช้เครื่องเอสเพรโซ่ หรือกาแฟแคปซูล (Monliga
Songsuk, 2562) กล่าวไว้ว่าเหตุผลในการชงกาแฟดื่มเองที่บา้ นเป็ นอีกหนึ่งทางเลือกที่สามารถลด
ค่าใช้จ่ายได้มากกว่า และสามารถเลือกรสชาติกาแฟได้ดว้ ยตนเองแต่กรรมวิธีการสกัดกาแฟดื่ม
เองที่เป็ นกระแสมากที่สุดคือ การสกัดกาแฟแบบดริป นั่นเอง ซึ่งอุปกรณ์ในการทากาแฟดริปที่
วางขายนัน้ อยู่ในตลาดส่วนใหญ่มกั จะทาจากวัสดุ พลาสติก สแตนเลส และเซรามิก แต่วสั ดุเหล่านี ้
เป็ นวัสดุท่ีไม่เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แต่ในทางกลับกันผูบ้ ริโภคในปั จจุบันได้มีความตื่นตัว และ
สนใจการอนุรกั ษ์สิ่งแวดล้อ มมากขึน้ ไปจนถึงการเลือกใช้สินค้าที่เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมาก
ยิ่งขึน้ ด้วยเช่นกัน
ซึ่งปั ญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมนั้นไม่ใช่เรื่องใหม่แต่เป็ นเรื่องที่มี การลุกลามเพิ่ม ขึน้ อยู่
เสมอ โดยหนึ่งปั ญหาสิ่งแวดล้อมที่เป็ นปั ญหาใหญ่ ในปั จจุบนั ก็คือ ปั ญหาจากขยะพลาสติก โดย
สานักงานนโยบายแผนทรัพ ยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อมได้ระบุว่ า ในปี พ.ศ.2563 พบว่า
ปริมาณของขยะพลาสติกที่เกิดขึน้ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 นัน้ มีปริมาณ
สูงถึง 6,300 ตันต่อวัน ซึ่งมีอตั ราการเพิ่มขึน้ ถึงร้อยละ 15 เมื่อนาข้อมูลไปเปรียบเทียบกับช่วงเวลา
เดียวกันในช่วงสถานการณ์ปกติหรือเมื่อปี พ.ศ.2562 ที่มีปริมาณขยะพลาสติกเฉลี่ย 2 ล้านตั น
หรือประมาณ 5,500 ตันต่อวัน อีกทั้ง Euronews Green ได้เผยแพร่ขอ้ มูลสถิติเมื่ อปี 2564 ว่า
ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 5 ที่มีขยะพลาสติกล้นทะเลมากที่สดุ ในโลก โดยมีจานวนขยะพลาสติก
ในท้องทะเลถึง 22.8 ล้าน กิโลกรัม หรือกล่าวได้ว่าคนไทยสร้างขยะพลาสติกราว 70 กิโลกรัมต่อ
คนต่อปี ซึ่งเป็ นจานวนที่สงู ที่สดุ ในกลุม่ อาเซียน ซึ่งปัญหาเกี่ยวกับขยะพลาสติกนัน้ เป็ นสิ่งที่พบเจอ
ในชีวิตประจาวันอยู่เสมอจึงทาให้มีอตั ราที่เพิ่มสูงขึน้ อีกทัง้ ยังเป็ นผลพวงจากสถานการณ์ Covid-
19 ที่ส่งผลให้พฤติกรรมการใช้ชีวิตประจาวันของผูบ้ ริโภคเปลี่ยนแปลงไป เช่นในด้านบริการการ
สั่งซือ้ สินค้าหรืออาหารผ่านระบบออนไลน์มีปริมาณเพิ่มมากขึน้ จึงทาให้ตอ้ งมีบรรจุภณ ั ฑ์พลาสติก
เข้ามาใช้เพิ่มมากขึน้
จากเหตุผลที่กล่าวไปข้างต้นจึง กลายเป็ นสาเหตุท่ีส่งผลให้ผบู้ ริโภคในปั จจุบนั ได้มีความ
ตื่ น ตัว กับ การอนุ รัก ษ์ สิ่ ง แวดล้อ มมากขึ น้ กว่ า ในอดี ต อี ก ทั้ง มี ด การพัฒ นาร้า นกาแฟโดยใช้
3

ผลิ ตภัณ ฑ์จ ากธรรมชาติในการตกแต่ง หรือ สินค้า ที่เป็ นมิ ตรกับสิ่ง แวดล้อม ผู้วิจัยจึ ง มองเห็น
โอกาสว่าถ้าหากสามารถนาวัสดุธรรมชาติท่ีสามารถหาได้ง่าย และมีตน้ ทุนที่ต่ามาใช้ในการสร้าง
ผลิ ตภัณ ฑ์เ กี่ ยวกับกาแฟที่ส ามารถนามาใช้ในชี วิตประจาวันได้ก็จ ะเป็ น อีกหนึ่ง วิธี ท่ีจ ะท าให้
ผูบ้ ริโภคลดการใช้สิ่งของที่ทาจากวัสดุท่ยี ่อยสลายได้ยากอย่างเช่น พลาสติกได้
หวายพืชเศรษฐกิจของไทย
ประเทศไทยมี ทรัพ ยากรวัสดุธรรมชาติหลากหลายที่อยู่คู่กับคนไทยมาเป็ นระยะ
เวลานานอยู่หลากหลายชนิดด้วยกัน และหวายนัน้ ก็เป็ นหนึ่งในวัสดุทางธรรมชาติท่ีมีประโยชน์ใช้
สอยในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านอาหาร ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านเครื่องเรือนหรือเครื่องใช้ท่ีเ ป็ นที่
ต้องการของตลาดโดยเฉพาะตลาดต่างประเทศ และยังเป็ นที่รูจ้ กั กันอย่างแพร่หลาย โดยประเทศ
ไทยมีนนั้ ปริมาณหวายติดอันดับหนึ่งในสามของประเทศที่อยู่ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดย
กรมป่ าไม้ยังได้ระบุว่า การส่งออกสินค้าที่ผลิตจากหวายในช่วงระหว่างปี พ.ศ.2555-2560 นัน้ มี
มูลค่ารวมสูงถึง 1,062 ล้านบาท โดยมูลค่าของการส่งออกหลักจะขึน้ อยู่กบั สินค้าประเภทหวายไม่
แปรรูป ในขณะที่การนาเข้าสินค้าที่ผลิตจากหวายมีมลู ค่าการนาเข้ารวม 3,749 ล้านบาท ทัง้ นีจ้ ึง
ส่งผลให้มีแนวโน้มการนาเข้าและการส่งออกสินค้าจากหวายลดลง เนื่องด้วยเพราะความต้องการ
ใช้สินค้าหรือการทาการตลาดของสินค้าที่ทาจากหวายยังไม่สามารถเข้าถึงความต้องการผูบ้ ริโภค
ได้ทงั้ หมด ผูว้ ิจยั จึงมองเห็นโอกาสนีท้ ่ีเป็ นข้อได้เปรียบของประเทศไทยในด้านของทรัพยากรที่จะ
สามารถนาพืชเศรษฐกิจอย่างหวายไปพัฒนาและต่อยอดต่อไปได้ให้เกิดประโยชน์สงู สุด (กรมป่ า
ไม้, 2561)
จากข้อมูลทั้งหมดที่กล่าวไปข้างต้นจึง ส่งผลให้สินค้าประเภทที่ง านฝี มื อที่ทาจาก
วัตถุดิบธรรมชาตินนั้ มีโอกาสที่ตลาดจะขยายตัวและเติบโตขึน้ ได้ ผูว้ ิจยั จึงมองเห็นว่า หากสามารถ
นาวัสดุธรรมชาติหรือ หวาย ที่เป็ นข้อได้เปรียบของประเทศไทยที่ มีทรัพยากรจานวนมาก และมี
ต้นทุนที่ต่า อีกทัง้ ยังเป็ นพืชเศรษฐกิจของประเทศไทยมาประยุกต์ใช้แทนวัตถุดิบสังเคราะห์ท่ีแพง
และไม่เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยการนามาผสมผสานกับงานฝี มือ หรืองานหัตถกรรมของคนไทย
ที่ตอ้ งอาศัยความประณีตและความชานาญก็จะสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับวัสดุธรรมชาตินนั้
และสามารถครอบคลุมกลุ่มผูบ้ ริโภคได้ในวงกว้างมากยิ่งขึน้ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ อีกทัง้
ยังเป็ นการสร้างสรรค์ผลงานที่เป็ นเอกลักษณ์โดยสอดแทรกความเป็ นไทยลงไปได้อย่างสมบูรณ์
แบบ และยังเป็ นแนวทางที่ช่วยทาให้คนรุ่นใหม่ หันมาสนใจสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ท่ีเป็ นมิ ตรต่อ
สิ่งแวดล้อม และยังถือเป็ นการอนุรกั ษ์งานศิลป์ หัตถกรรมท้องถิ่นของคนไทยให้อยู่อย่างยั่งยืนได้
อีกด้วย ผูว้ ิจัยมองเห็นโอกาสที่จะสามารถนาวัสดุแปรรู ปจากหวายมาสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยการ
4

นามาออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟแบบดริปที่มีเอกลักษณ์ความเป็ นไทย รวมถึงยัง


เป็ นการพัฒนาศิลป์ หัตถกรรมท้องถิ่น

วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟแบบดริปด้วยวัสดุท่แี ปรรูปจากหวาย

ขอบเขตในการวิจัย
ประชากรที่ใช้ในการวิจัย
กลุม่ เป้าหมายที่ช่ืนชอบการบริโภคกาแฟและสนใจการบริโภคกาแฟแบบดริป
กลุ่มตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจัย
กลุม่ ตัวอย่างที่ 1 ผูว้ ิจยั ใช้การทดลองขายผลิตภัณฑ์ดริปกาแฟจากวัสดุหวายแปรรูป
โดยใช้วิธีขายผ่านทางออนไลน์ และเก็บรวบรวมข้อมูลจากผูซ้ ือ้ จริง จานวน 10 คน
กลุ่มตัวอย่างที่ 2 ผูเ้ ชี่ยวชาญจานวน 2 ท่าน ดังนี ้ ผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านการดื่มกาแฟ
และนักออกแบบผลิตภัณฑ์

ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า
ในการทาวิจยั ครัง้ นี ้ ผูว้ ิจยั ได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับวัสดุแปรรูปหวาย และลวดลาย
การจักสาน เพื่อนามาออกแบบละพัฒ นาผลิ ตภัณฑ์ดริปกาแฟให้ตรงกับกลุ่ม เป้า หมาย โดย
กาหนดขอบเขตการศึกษาค้นคว้าไว้ดงั นี ้
ขัน้ ตอนที่ 1 ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับลวดลายการจักสานไทย และรูปแบบของผลิตภัณฑ์
สกัดกาแฟดริป
ขัน้ ตอนที่ 2 ออกแบบและพัฒนาลวดลายจากลายงานจักสาน
ขัน้ ตอนที่ 3 นาตัวต้นแบบขายจริงผ่านช่องทางออนไลน์และเลือกผูบ้ ริโภคจานวน
ทัง้ หมด 10 ท่าน พร้อมทัง้ ผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านการดื่มกาแฟ และนักออกแบบผลิตภัณฑ์จานวน 2
ท่าน มาทาการสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อหาข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และทาการสรุ ปผล
และปรับปรุงแบบต่อไป
ขั้น ตอนที่ 4 น าข้อ เสนอแนะหรื อ ข้อ ที่ ค วรแก้ไ ขปรับ ปรุ ง จากผู้บ ริโ ภค และจาก
ผูเ้ ชี่ยวชาญมาทาการพัฒนาและปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้มีความสมบูรณ์
5

ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รับ
1.สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟแบบดริปด้วยวัสดุธ รรมชาติผ่านงานหัตถกรรมที่มี
เอกลักษณ์ของความเป็ นไทยและตรงกับความต้องการของตลาดในปัจจุบนั
2.เป็ นอีกหนึ่งช่องทางในการช่วยสนับสนุนสร้างรายได้และองค์ความรูใ้ ห้กบั คนในชุมชน

นิยามศัพท์เฉพาะ
กาแฟดริป หมายถึง ขัน้ ตอนวิธีการชงกาแฟรู ปแบบหนึ่ง วิธีการชงไม่เหมือนกับวิธีการ
แบบเดิม กล่าวคือจะชงด้วยการใช้นา้ เทผ่านผงกาแฟคั่วบดที่วางไว้บนตัวกรอง จากนัน้ นา้ ร้อนที่
ไหลผ่านกาแฟคั่วบด ผ่านตัวกรอง
วัสดุแปรรู ปจากหวาย หมายถึง พืชตระกูลปาล์มที่สามารถนาส่วนต่าง ๆของต้นมาใช้
ประโยชน์โดยผ่าน กระบวนการปรับปรุ ง เปลี่ยนแปลงรู ปร่าง ให้มีลกั ษณะแปลกใหม่แตกต่างไป
จากเดิมรวมถึงเพื่อเพิ่มมูลค่าและประโยชน์การใช้สอยให้กับหวายธรรมชาติ อีกทั้งเพื่อให้เป็ น
ผลิตภัณฑ์ท่สี ามารถใช้ในชีวิตประจาวันได้
นวัตกรรมในการออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรม หมายถึง การสร้างนวัตกรรมในการ
ออกแบบผลิตภัณฑ์หตั ถกรรมต้องสามารถแสดงถึงกระบวนการออกแบบและกระบวนการผลิตที่มี
การผสมผสานระหว่างขนบธรรมเนียมแบบดัง้ เดิมและแบบร่วมสมัยเข้าด้วยกัน รวมถึงรูปแบบและ
กระบวนการผลิตที่สร้างความแตกต่างให้มีเอกลักษณ์แตกต่างจากผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกัน
บทที่ 2
เอกสาร แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้อง

การออกแบบและพัฒ นาผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟแบบดริปด้วยวัส ดุท่ีแ ปรรู ปจากหวาย


ผู้วิ จัย ได้ท าการศึก ษาเอกสารและงานวิ จัย ที่ เ กี่ ย วข้อ งรวมไปถึ ง แนวคิ ด และทฤษฎี ด้า นการ
ออกแบบเพื่อเป็ นพืน้ ฐานด้านการศึกษาโดยมีแนวความคิด และทฤษฎีเกี่ยวข้อง ดังนี ้
1.ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์การดริปกาแฟ
1.1 ความรูเ้ กี่ยวกับการชงกาแฟ
1.2 ความเป็ นมาของการสกัดกาแฟแบบดริป
1.3 ความสาคัญและรูปร่างของดริปเปอร์
2.ข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต
2.1 ความสาคัญและศักยภาพของหวาย
2.2 หวายกับงานจักสาน
2.3 รูปแบบลวดลายการจักสาน
3.ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์หตั ถกรรม
3.1 ความหมายของผลิตภัณฑ์หตั ถกรรม
3.2 องค์ประกอบของการออกแบบผลิตภัณฑ์หตั ถกรรม
3.3 นวัตกรรมในการออกแบบผลิตภัณฑ์หตั ถกรรม
4.แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบ้ ริโภค
4.1ความหมายพฤติกรรมของผูบ้ ริโภค
4.2 พฤติกรรมของผูบ้ ริโภคในยุคดิจิทลั
5.แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมการชงกาแฟในครัวเรือน
6.แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลิตภัณฑ์
7.งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
7

1.ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์การดริปกาแฟ
1.1 ความรู้เกี่ยวกับการชงกาแฟ
วิธีในการชงกาแฟหรือการสกัดกาแฟนัน้ มีหลากหลายวิธีดว้ ยกันทัง้ ที่สามารถทาเอง
ได้ท่บี า้ น หรือจากการซือ้ จากร้านค้ากาแฟนอกบ้าน ซึ่งวิธีการสกัดกาแฟนัน้ ได้ถูกนามาปรับใช้และ
พัฒนาให้เข้ากับยุคสมัย เพื่อให้ตรงกับ พฤติกรรมของผูบ้ ริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป เพราะการดื่ม
กาแฟกลายเป็ นส่วนหนึ่งของการใช้ชีวิตประจาวันไปแล้ว อีกทัง้ ยังให้รสชาติความอร่อยของกาแฟ
ที่แตกต่างกันอีกด้วย ซึ่ง (JAMES HOFFMAN , 2559) ได้กล่าวไว้ว่าพฤติกรรมการชงกาแฟของ
ผูบ้ ริโภคประกอบด้วย 7 วิธีดงั นี ้
1.การชงแบบเอสเพรสโซ (ESPRESSO) เป็ น การสกัด กาแฟโดยใช้เ ครื่ อ งจะ
สังเกตเห็นได้ตามร้านค้ากาแฟทั่ว ๆไปถือเป็ นตัวขับเคลื่อนหลักของธุ รกิจ ร้านค้าปลีก เช่น ใน
วัฒนธรรมกาแฟอิตาเลี่ยนที่ได้รบั ความนิยมในวงกว้าง หรือแม้กระทั่ง Espresso ในรู ปแบบของ
ร้านอาหารสะดวกซือ้ แบบอเมริกนั ก็มีการกระจายตัวเป็ นวงกว้างรอบโลก
2.เครื่องชงสุญญากาศ (VACUUM POT) ปัจจุบนั มักเรียกกันว่า เครื่องชงแบบไซ
ฟอน (Syphon Brewer) ซึ่งเป็ นวิธีการชงแบบโบราณแต่สามารถสร้างความเพลิดเพลินระหว่างทา
การชงได้ โดยจะประกอบด้วยโถสองโถซึ่งขัน้ ตอนทัง้ หมดนัน้ จะอาศัยหลักฟิ สิกส์ จึงทาให้การชง
กาแฟด้วยวิธีนีจ้ ะค่อนข้างยาก เพราะต้องมีอปุ กรณ์เพิ่มเติมเพื่อให้ความร้อนแยกต่างหาก
3.การชงด้วยเครื่องชงฟิ ลเตอร์ไฟฟ้า มีขอ้ ดีของเครื่องชงไฟฟ้าคือไม่ตอ้ งคาดเดา
ในแต่ละขัน้ ตอนด้วยตนเอง อีกทัง้ สามารถทาซา้ ได้ แต่ตอ้ งพึงระวังในเรื่องของความสม่าเสมอของ
ปริมาณกาแฟและปริมาณของนา้ ที่ใส่ลงไปในเครื่อง ผูบ้ ริโภคที่ใช้ในบ้านส่วนใหญ่มกั ชงกาแฟได้
ไม่ดี เนื่องจากไม่สามารถต้มนา้ ให้ได้อณ ุ หภูมิท่ีเหมาะสม
4.การชงแอโร่ เ พรส (AEROPRESS) คื อ วิ ธี ก ารสกัด กาแฟที่ มี ก ารผสมผสาน
วิธีการชงของสองแบบเข้าด้วยกัน เริ่มด้วยการนานา้ และกาแฟที่บดแล้วที่ชงเข้าด้วยกัน ซึ่งคล้าย
กับการชงด้วย French Press แต่ขนั้ ตอนสุดท้ายนา้ จะถูกดันด้วยลูกสูบผ่านกาแฟและกระดาษ
กรอง ซึ่งมีความคล้ายกับการชงกาแฟแบบ Espresso และแบบ Filter
5.การชงมอคค่าพอทแบบตัง้ เตา (STOVE-TOP MOKA POT) คือ การชงที่เริ่มต้น
จากการเอาเมล็ดกาแฟไปทาการบด จากนัน้ ใส่ไปในที่กรวยแล้วเติมนา้ ประกอบหม้อต้ม เอาไปตัง้
บนเตาและรอประมาณ 4-5 นาที นา้ ร้อนจากก้นหม้อจะดันนา้ กาแฟสดขึน้ มาสามารถนากาแฟที่
ได้ไปทาได้ทงั้ เครื่องดื่มแบบร้อน และแบบเย็น
6.การชงแบบเฟรนช์เพรส (FRENCH PRESS) เป็ นวิธี การชงกาแฟที่ประหยัด
และส่วนใหญ่มีอปุ กรณ์อยู่แล้วที่บา้ น เพราะเป็ นอุปกรณ์การชงกาแฟแบบแช่ ซึ่งวิธีนีจ้ ะปล่อยให้
8

กาแฟชุ่มนา้ และสกัดกาแฟออกมาได้อย่างสม่าเสมอแทนที่จะปล่อยให้นา้ ไหลผ่านกาแฟที่บดแล้ว


เพียงอย่างเดียว
7.การชงแบบพัวร์โอเวอร์หรือฟิ ลเตอร์ (POUR-OVER OR FILTER BREWERS)
หรือที่รูจ้ ักกันว่า ดริปคาว่า Pour Over ใช้สาหรับวิธีชงหลายๆวิธี โดยมีองค์ประกอบที่เหมือนกัน
คือจะใช้ขั้นตอนการซึม ผ่ า น ซึ่ง หมายความว่า นา้ จะซึม ตัวกาแฟ และสกัดเอารสชาติอ อกมา
ระหว่างที่นา้ กาลังไหลผ่านกาแฟที่บดแล้ว ซึ่งหลักการสาคัญในการชงด้วยวิธีนีม้ ีปัจจัย อยู่สาม
อย่างที่สง่ ผลต่อรสชาติกาแฟ ดังนี ้ (1) ระดับของการบดกาแฟหากกาแฟมีความละเอียดเท่าไรนา้ ที่
ซึมผ่านลงไปก็จะยิ่งสกัดกาแฟออกมามากขึน้ เท่านัน้ (2) ระยะเวลาที่นา้ สัมผัสกับกาแฟ หมายถึง
ความเร็วของนา้ ที่ไหลผ่านกาแฟและความเร็วในการเทนา้ ลงไปบนกาแฟสามารถยืดระยะเวลาชง
(3) ปริมาณของกาแฟ หากยิ่งมีกาแฟมากเท่าไรนา้ ก็ยิ่งใช้เวลาไหลผ่านตัวกาแฟด้วยมากยิ่งขึน้
เช่นกัน
ซึ่งจะเห็นว่าวิธีการสกัดกาแฟนัน้ มีหลากหลายวิธี และมีความยากง่ายหรือจุดเด่นที่
แตกต่างกันแต่ทงั้ หมดนีล้ ว้ นแล้วถูกสร้างขึน้ มาเพื่อให้ตอบโจทย์กับผูบ้ ริโภคที่มีความชื่นชอบใน
กรรมวิธีการชงกาแฟ และรสชาติความเข้มข้นของกาแฟรวมถึงอุปกรณ์การชงที่แตกต่างกัน โดยที่
บางวิธีนนั้ สามารถหาซือ้ อุปกรณ์ได้ง่ายและมีราคาที่ไม่สงู จนเกินไป ซึ่งในส่วนของร้านค้ากาแฟก็มี
การปรับเปลี่ยนรู ปแบบเพื่อให้ตอบโจทย์กับผูบ้ ริโภคกาแฟในปั จจุบันมากยิ่งขึน้ เช่นกัน จากผล
สารวจของบริษัทเซนทรัลเรสเตอรองส์กรุ๊ปจากัด ได้กล่าวว่าในปี 2563 มูลค่าของตลาดกาแฟใน
ประเทศไทยนัน้ มีมลู ค่าสูงถึง 60,000 ล้านบาท โดยแบ่งสัดส่วนเป็ น การดื่มกาแฟในบ้าน และการ
ดื่มกาแฟนอกบ้าน ซึ่งสัดส่วนของการดื่มกาแฟในบ้านมีการเติบโตสูงขึน้ จากปี 2562 ถึง 10% แต่
ในทางกลับกันในสัดส่วนของการดื่มกาแฟนอกบ้านนัน้ มีอัตราที่ลดลงถึง 30-40% (Positioning,
2564 ออนไลน์)
สรุปได้ว่าผูค้ นนัน้ ได้ให้ความสนใจกับการดื่มกาแฟที่บา้ นมากขึน้ เนื่องจากมีเวลาอยู่
ที่บา้ นมากขึน้ จึงทาให้ตอ้ งหากิจกรรมใหม่ ๆ หรือวิถีชีวิตที่แตกต่างจากเดิม ซึ่งกาแฟก็มีวิถีแบบ
ใหม่ท่ีกาลังเป็ นกระแสอยู่น่ ันก็คือการชงกาแฟแบบดริป หรือที่เรียกว่า การชงแบบพัวร์โอเวอร์
นั่นเอง (POUR-OVER)
1.2 ความเป็ นมาของการสกัดกาแฟแบบดริป
ในปี ค.ศ. 1908 แม่บา้ นชาวเมืองเดรสเดนในเยอรมันชื่อ อะเมลี ออกุสต์ เมลิตต้า
เบนตซ์ (Amalie Auguste Melitta Bentz) ซึ่ง ไม่ ถูกใจนักกับ รสชาติ ของกาแฟต้ม เพราะมี ก าก
กาแฟสดที่หลุดติดลงมาในถ้วยกาแฟด้วยจึง อยากที่จะสกัด “รสขม” ออกจาก “กาแฟต้ม” อันเคย
9

ชินที่ดื่มกินกันมาอย่างยาวนาน จึง ได้มีการเริ่มต้นศึกษาการชงกาแฟในหลากหลายรู ปแบบ จน


สุดท้ายไปลงตัวที่วิธีการนากระดาษมาเป็ นตัวกรองของกาแฟบด โดยใช้หม้อทรงแบนเจาะรู เล็ก ๆ
5 รูตรงกลาง แล้ววางบนกระป๋ องซึ่งทาหน้าที่รองรับนา้ กาแฟต่อมาก็นากระดาษวางไว้ในหม้อ ที่
ถูกเจาะรู และใส่ผงกาแฟบดลงไป แล้วค่อยๆรินนา้ ร้อนลงไปช้า ๆ เพื่อให้ได้รสชาติกาแฟที่มีความ
กลมกล่อมและไม่มีเศษของกาแฟติดอยู่ในแก้วอีกต่อไป (Smebiznews,2563 ออนไลน์)

ภาพประกอบ 1 ตัวอย่างอุปกรณ์ดริปกาแฟในอดีต

จนต่อมาในปี ค.ศ. 1936 บริษัท Melitta ได้เปิ ดตัวกระดาษกรองทรงกรวย (อย่างที่ใช้


กันในปั จจุบนั ไปทั่วโลก) เป็ นครัง้ แรก พร้อมๆ กับพัฒนาอุปกรณ์รูปทรงสี่เหลี่ยมคางหมู ทาจาก
เซรามิคซึ่งเรียกกันว่า ดริปเปอร์ (Dripper) เข้ามาใช้แทนที่หม้อทรงแบนเจาะรู เพื่อใช้ค่กู บั กระดาษ
กรองแบบใหม่ และปั๊ มตราแบรนด์ Melitta แสดงสิทธิ์ความเป็ นเจ้าของไว้ดา้ นข้างดริปเปอร์ นับ
จากบัดนัน้ มา(SMEBIZNEWS, 2563) (Smebiznews,2563 ออนไลน์) จนมาถึงในปัจจุบนั กาแฟด
ริปกลายเป็ นหนึ่งรู ปแบบในการชงกาแฟดื่มที่ได้รบั ความสนใจไปทั่วทุกมุมโลก เพราะมีวิธีท่ีง่าย
อีกทัง้ ยังสามารถดึงรสชาติของกาแฟคั่วบดออกมาได้อย่างเป็ นที่น่าพอใจ แต่สาหรับคอกาแฟนัน้
หากวิเคราะห์ลงลึกในรายละเอียดแล้วจะพบว่าการดริปกาแฟนัน้ ล้วนแฝงไปด้วย “ศาสตร์”และ
ศิลป์ ในทุกขัน้ ตอนการดริปกาแฟ
10

1.3 ความสาคัญและรู ปร่างของดริปเปอร์


ในปั จจุบันนั้นสามารถพบเห็นคนชงกาแฟดริปได้อย่างแพร่หลายมากขึน้ ไม่ ว่าจะ
ตามร้านกาแฟสด ตามที่ทางาน หรือแม้แต่ตามสถานที่ท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติก็มีไม่นอ้ ยเช่นกัน
โดยหลักทั่วไปแล้วตัวแปรที่ส่งผลในการดริปกาแฟให้ได้กลิ่นและรสชาติออกมาดีนนั้ มาจากหลาย
ปั จ จัย ด้ว ยกัน เริ่ม ตั้ง แต่ อัต ราส่ว นปริม าณกาแฟต่ อ น ้า , ขนาดผงกาแฟคั่ว บด, กาที่ ใ ช้เ ทน ้า ,
รูปแบบของการเทนา้ , ระยะเวลาในการชง, อุณหภูมินา้ ที่ใช้, ระดับการคั่วของเมล็ดกาแฟ, นาฬิกา
จับเวลา, ตาชั่งดิจิทัล ไปจนถึงประเภทกระดาษกรอง รวมถึงลักษณะของ “ดริปเปอร์” ซึ่งเป็ น
ภาชนะที่มีรูระบายนา้ อยู่ตรงกลางใช้คู่กับกระดาษกรอง ดริปเปอร์ จึงถือเป็ นหนึ่งในอุปกรณ์ท่ี
ส าคัญ ที่ สุด และขาดไม่ ไ ด้ใ นการท ากาแฟดริป ซึ่ง ดริป เปอร์ท่ี อ ยู่ใ นตลาดในปั จ จุบัน นั้น มี ข้อ
แตกต่างกันสามประการดังนี ้
1.รูปทรงของดริปเปอร์ เช่น ทรงกรวย หรือ V60 และ ทรงตะกร้า ก้นตัด
2.วัสดุท่นี ามาใช้ในการผลิตดริปเปอร์ เช่น พลาสติก,เซรามิค,แก้ว,และโลหะ วัสดุ
ต่างชนิดจะส่งผลในเรื่องของการเก็บกักความร้อนกระจายความร้อนที่แตกต่างกัน
3. ขนาดของดริปเปอร์ ขนาดที่จะรองรับกับปริมาณผงกาแฟและนา้ ได้ ซึ่งส่งผล
ต่อจานวนกาแฟที่ได้(KURASU, 2565)

2 ข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุดิบทีใ่ ช้ในการผลิต
2.1 ความสาคัญและศักยภาพของหวาย
หวาย เป็ นไม้เลือ้ ยที่ถูกจัดอยู่ในตระกูลของปาล์ม เป็ นไม้ท่ีพบได้ในเขตร้อน โดยมี
คุณสมบัติพิเศษคือมีความเหนียว สามารถดัด หรืองอตัวได้ ด้วยคุณสมบัติพิเศษนี ้ ทาให้หวาย
กลายเป็ นพืชเศรษฐกิจที่นิยมนามาใช้เป็ นเครื่องจักสาน เพราะเมื่อนาหวายมาสร้างเป็ นผลิตภัณฑ์
หรือแปรรูปจะมีนา้ หนักเบาสามารถเคลื่อนย้ายได้ง่าย มีตน้ ทุนในการผลิตในด้านของทรัพยากรที่
ถูกกว่าผลิตภัณฑ์ท่ีทาจากไม้ และยังสามารถใช้ได้แทบทุกส่วนของลาต้น อีกทัง้ ในประเทศไทยพบ
หวายที่เกิดขึน้ เองตามธรรมชาติ อยู่ประมาณ 7 สกุล 103 ชนิด ซึ่งพบมากถึงครึ่งหนึ่งของสกุล
หวายที่พบทั่วโลกและมีปริมาณเป็ นหนึ่งในสามของประเทศในโซนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
จึงเป็ นข้อได้เปรียบของประเทศไทย ตัง้ แต่หน่อหวาย ลาหวาย ใบ ราก และผล โดยประโยชน์ของ
หวายสามารถแบ่งได้เป็ น 3 ด้านหลัก ๆ ดังนี ้
1.ด้านอาหาร สามารถนามาใช้ประกอบอาหารได้หลายชนิดทั้งจากส่วนหน่อ
อ่อนและผล
11

2.ด้านเครื่องเรือนเครื่องใช้ เนื่องคุณสมบัติของหวายมีนา้ หนักเบามีความเหนียว


และยืดหยุ่นสูง และที่สาคัญคือมีราคาที่ไม่สงู มากนัก จึงได้รบั ความสนใจในการนามาใช้เป็ นวัสดุ
แปรรูปเพื่อทาเฟอร์นิเจอร์ เครื่องมือเกษตรกรรม ประมง และเครื่องกีฬาเป็ นต้น
3.ด้านสิ่งแวดล้อม นอกจากประโยชน์ในการนามาประกอบอาหาร และสร้าง
ผลิตภัณฑ์แล้ว หวายยังเป็ นพืชดัชนีท่ีชีว้ ดั ความอุดมสมบูรณ์ของสภาพป่ า และความหลากหลาย
ของพืชพรรณในป่ า เพราะเป็ นพืช เศรษฐกิจท้องถิ่นที่สามารถปลูกในเขตพืน้ ที่อนุรกั ษ์และฟื ้ นฟู
สภาพป่ า (กรมป่ าไม้, 2555)
โดยกรมป่ าไม้ ได้กล่าวอีกว่าการส่งออกสินค้าจากหวายในช่วง 6 ปี ระหว่างปี พ.ศ.
2555-2560 มีมูลค่ารวม 1,062 ล้านบาท โดยมูลค่าการส่งออกหลักจะขึน้ อยู่กับสินค้าประเภท
หวายที่ไม่แปรรูป ในขณะที่การนาเข้าสินค้าจากหวายมีมลู ค่าการนาเข้ารวม 3,749 ล้านบาท โดย
มูลค่าการนาเข้าหลักจะขึน้ อยู่กับสินค้า ทัง้ นีแ้ นวโน้มการนาเข้าและการส่งออกสินค้าจากหวาย
ปริมาณลดลง เป็ นเพราะความต้องการใช้สินค้าหรือการตลาดของหวายยังไม่ สามารถครอบคลุม
ผูบ้ ริโภคทัง้ หมด โดยคู่คา้ ที่สาคัญของไทย คือ อินเดีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ไต้หวัน และมาเลเซีย ซึ่ง
เป็ นตลาดจาหน่ายสินค้าที่มาจากหวาย เช่น เฟอร์นิเจอร์จกั สาน ขณะที่บางตลาดต้องการลาหวาย
เพื่อนาไปแปรรูปต่อ โดยคู่แข่งทางการตลาด ได้แก่ อินโดนีเซีย จีน ฟิ ลิปปิ นส์ เวียดนาม ลาว เป็ น
ต้น ที่มีการจาหน่ายเฟอร์นิเจอร์ ของจักสาน และลาหวายเช่นเดียวกัน
2.2 หวายกับงานจักสาน
หวายกับการจักสานนัน้ เป็ นสิ่งหนึ่งของงานหัตถกรรม ซึ่งในแต่ทอ้ งถิ่นก็จะมีการทา
ชิน้ งานที่มีประโยชน์ใช้สอยที่แตกต่างกันออกไป แต่จะเน้นการคานึงถึงประโยชน์จากการใช้งาน
เป็ นหลัก โดยหวายที่จะนามาทาการจักสานจะต้องเป็ นหวายที่มีขนาดเล็ก เช่น หวายหอม หวาย
ขนุน หวายนา้ เป็ น ต้น ผลิ ตภัณ ฑ์เครื่องจักสานที่นิยมและสามารถพบเห็นได้ในปั จ จุบัน เช่ น
ตะกร้า กระเช้าตะกร้อ กระเป๋ า หมวก ภาชนะใส่ผลไม้ เป็ นต้น แต่เครื่องจักสานจากหวายที่พบเห็น
มากที่ สุด คื อ ตะกร้า หิ ว้ ซึ่ง เป็ น ที่ นิ ย มของคนภาคกลาง โดยจะมี รู ป ร่า งและขนาดตลอดจน
ลวดลายในการสานที่แตกต่างกันออกไปโดยเปลี่ยนแปลงตามความชื่นชอบของผูบ้ ริโภคของแต่ละ
ท้องถิ่น และประโยชน์ใช้สอย เช่น ตะกร้าหิว้ ในพืน้ ที่จังหวัดอ่างทอง พระนครศรีอยุธยา สิงห์บุรี
สุพรรณบุรี นัน้ นิยมใช้ตะกร้าหิว้ รูปไข่ มีหหู วิ ้ ข้างบนซึ่งสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างหลากหลาย
12

2.3 รู ปแบบลวดลายการจักสาน
ลวดลายการสานที่ถูกนามาจักสานเพื่อขึน้ รูปทรงของเครื่องจักสานนัน้ เป็ นวิธีท่มี ี
แบบแผน อย่างเป็ นระบบหรือกล่าวได้ว่าต้องอาศัยความประณีต เพื่อการสร้างโครงสร้างของ
เครื่องจักสานให้เกิดการเชื่อมต่อของเส้นหวายกันไปมา โดยนาลักษณะการขัดกันของเส้นตอกหรือ
วัสดุอ่ืนที่ใช้จักสานได้ เพื่อให้เกิดแรงยึดระหว่างกันจนเป็ นผืนแผ่นเพื่อเป็ นผนังของโครงสร้าง
เครื่องจักสานตามต้องการ (ศักดิ์ชาย สิกขา 2544 : 15) อีกทัง้ ลายสานที่เกิดขึน้ ถือได้ว่าเป็ นการ
ปรับปรุงแก้ไขของมนุษย์ตงั้ แต่อดีตจนถึงปั จจุ บนั โดยในอดีตมนุษย์พบว่า สิ่งที่ธรรมชาติสร้า งให้
ไม่สอดคล้องต่อการนาไปใช้งานในชีวิตจริง มนุษย์จึง ทาการเริ่มปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงลักษณะ
รู ปทรงของสิ่งต่าง ๆ และการที่มนุษย์ดัดแปลงรู ปทรงของสิ่งแวดล้อมนับว่ามนุษย์ได้เริ่มต้นการ
ออกแบบ (นวลน้อย บุญวงษ์ 2539 : 8) ซึ่งผูว้ ิจัยพบว่ามีลวดลายที่ได้รบั ความนิยมและมี ความ
น่ า สนใจในการท ามาประยุ ก ต์ใ นปั จ จุ บัน จ านวน 17 ลวดลายโดยแบ่ ง ได้ต ามตารางดั ง นี ้
(ประทักษ์ คูณทอง, 2565)

ตาราง 1 แสดงลวดลายจักสาน
13
14
15

สรุปได้ว่าลวดลายของการจักสานในแต่ละแบบนัน้ ล้วนมีประโยชน์ใช้สอยที่แตกต่าง
กันออกไป อีกทั้ง ยัง เป็ นงานศิล ปหัต ถกรรมที่ช่ ว ยสะท้อนให้เ ห็นภูมิ ปั ญญาของชาวบ้า นหรื อ
วัฒนธรรมของชาวบ้านในแต่ละพืน้ ที่ท่ีอาศัยบความปราณีต และความชาญฉลาดในการเลือก
วัตถุดิบมาดัดแปลงแปรรูปมาเป็ นผลิตภัณฑ์ท่ีช่วยแต่สนองในด้านของการใช้สอยเป็ นหลัก ซึ่งเป็ น
สิ่งที่ถกู สืบทอดกันมาตัง้ แต่รุน่ บรรพบุรุษมาจนถึงปัจจุบนั

3.ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์หัตถกรรม
3.1 ความหมายของผลิตภัณฑ์หัตถกรรม
ผลิ ต ภั ณ ฑ์หั ต ถกรรม (Crafts Product) ความหมายของผลิ ต ภั ณ ฑ์หั ต ถกรรม
ผูอ้ อกแบบและผูผ้ ลิตส่วนใหญ่มกั จะเป็ นคนเดียวกันได้มีการสัมผัสกับผลิตภัณฑ์นนั้ ตัง้ แต่เริ่มต้น
จนสาเร็จ และมีการสอดแทรกอารมณ์ความรู ส้ ึกนึกคิดส่วนตัวเข้าไปในผลงานระหว่างที่ทา เช่น
สิ่งประดิษฐ์ท่ีเป็ นฝี มือของ ชาวบ้าน (Handmade) จุดประสงค์แบบดั้งเดิมคือ ทาขึน้ เพื่อความ
จาเป็ นในการดารงชีวิตหรือการใช้ชีวิตประจาวัน และเสน่หค์ ือความไม่เหมือนกันของผลงานแต่ละ
ชิน้ เป็ นงานประดิษฐ์ท่มี ีความละเอียดอ่อน ความปราณีต และเครื่องจักรสามารถทาตามได้ยาก

3.2 องค์ประกอบของการออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรม
งานหัตถกรรมมีบทบาทสาคัญกับวิถีชีวิตของชาวชนบทมาเป็ นเวลานาน เนื่องจาก
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติตามสภาพภูมิ ศาสตร์และการประกอบอาชี พเกษตรกรรมที่มีอยู่
จานวนมาก จึงทาให้เกิดการสร้างเครื่องมือ หรือเครื่องใช้ท่ีทาขึน้ จากวัสดุพืน้ บ้านที่ผลิตขึน้ เพื่อใช้
เองเป็ น ส่ ว นมาก ดั ง นั้น เครื่ อ งจั ก สานจึ ง เป็ นเครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ท่ี ส นองความต้อ งการใน
ชีวิตประจาวันอย่างแพร่หลาย อาทิเช่น เพื่อใช้สอยภายในครอบครัว เช่นการทอผ้า การทาภาชนะ
จากเครื่องปั้ นดินเผา เนื่องจากผลิตภัณฑ์ถูกสร้างด้วยวัสดุท่ีได้จากการหาจากท้องถิ่น หรือจาก
ธรรมชาติ งานหัตถกรรมจึง มีความสาคัญในการแสดงออกถึงศิลปะที่แฝงไว้ด้วยวิถีชี วิต ความ
เป็ นอยู่วฒ
ั นธรรม และประเพณีของท้องถิ่นของคนไทย (วิบลู ย์ ลีส้ วุ รรณ 2532 : 15)
ซึ่งสามารถแบ่งองค์ประกอบของการออกแบบผลิตภัณฑ์หตั ถกรรมได้ดงั นี ้
3.2.1. ต้องแสดงถึงคุณค่าของธรรมชาติหรืองานหัตถกรรมที่มีเอกลักษณ์และ
ศิลปะวัฒนธรรมของท้องถิ่น
3.2.2. วัสดุและกรรมวิธีการผลิตของท้องถิ่นต้องสามารถผลิตได้จริง โดยผ่านการ
ใช้ภมู ิปัญญาของชาวบ้าน
16

3.2.3. ราคาที่สามารถซือ้ ได้ ไม่แพง เพื่อเพิ่มโอกาสในการตัดสินใจซือ้ ได้มากขึน้


และมีราคาที่เหมาะสม
3.2.4. มีความสวยงาม และน่าสนใจ หรือมีรูปแบบที่แปลกใหม่ สะดุดตาผูบ้ ริโภค
แต่ยงั สามารถสื่อถึงเอกลักษณ์ของท้องถิ่นนัน้ ๆ ได้อยู่
3.2.5. มีความสะดวกต่อการพกพาขณะเดินทาง มีขนาดที่พอเหมาะ สามารถ
บรรจุหรือขนส่งได้อย่างปลอดภัย
3.3 นวัตกรรมในการออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรม
โทมัส ฮิวส์ (Hughes,1987) ได้ให้ความหมายของนวัตกรรมไว้ว่า ต้องเป็ นการใช้
วิธีการใหม่มาทาการปฏิบตั ิหลังจากที่ได้ผ่านการทดลองและพัฒนา โดยจะต้องเป็ นกระบวนการ
ตามลาดับแบบแผนจึงจะสร้างความแตกต่างให้กบั การปฏิบตั ิแบบเดิมที่เคยเป็ น
(Morton,1971) ได้ก ล่ า วว่ า นวัต กรรมไม่ ใ ช่ ก ารล้ม ล้า งสิ่ ง เก่ า ที่ มี อ ยู่ แต่ คื อ การ
ปรับปรุงและพัฒนาเพื่อความอยู่รอด เพราะฉะนัน้ ความหมายโดยรวมของการสร้างนวัตกรรมก็คือ
การสร้างความแตกต่าง (Differentiation) จากวิธีการเดิมพร้อมกับผ่านการทาการทดลองหลาย
ครัง้ จนเกิดความเชี่ยวชาญและค้นพบว่าเป็ นผลงานที่สามารถสร้างความแปลกใหม่ได้
การสร้างนวัตกรรมทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจะต้องสามารถแสดง
ให้เห็นถึงการออกแบบและกระบวนการผลิตที่มีการผสมผสานระหว่างขนบธรรมเนียมแบบดัง้ เดิม
และแบบร่วมสมัย เข้าด้วยกัน การประดิษฐ์และสร้างสรรค์วัสดุ รู ปแบบและกระบวนการผลิตที่
สร้างความแตกต่างและเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะของตัว ของผลิตภัณฑ์เองและในผลิตภัณฑ์ประเภท
เดียวกันด้วย ดังรายละเอียดต่อไปนี ้
การออกแบบ (Design) ส่ว นใหญ่ จ ะใช้ห ลัก การทั่ว ไปในการออกแบบที่ เป็ น
พืน้ ฐานในการออกแบบ
ความงาม (Artistic & Aesthetic Value) ขนาดและสัดส่วน (Size & Proportion)
ต้องมีความเหมาะสมกับประเภทของผลิตภัณฑ์และเหมาะสมกับการใช้งาน เช่น ของที่ระลึกก็ควร
จะมีความกะทัดรัด สามารถพกพาได้ง่ายเพื่ อสามารถเป็ นของฝากได้ เป็ นต้น รู ป ร่าง รู ปทรง
(Shape & Form) นั้นจะสร้างความแตกต่างและมี แนวคิด ที่ใช้ในการทาการออกแบบได้อ ย่ า ง
ชัดเจนและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว โครงสร้าง (Structure) ความแข็งแรงของโครงสร้างซึ่งสอดคล้อง
กับรูปแบบที่ออกแบบไว้ สีสนั (Color) สีของวัสดุแบบเดิม สีธรรมชาติหรือการผสมผสานระหว่าง
วัสดุลวด ลาย (Pattern) เกิดขึน้ มาจากพื น้ ผิวของวัสดุ หรือ การสร้างสรรค์ขึน้ มาใหม่ขึน้ อยู่กับ
ความเหมาะสมของผลิตภัณฑ์ว่าจะอยู่ในประเภทใด
17

ประโยชน์ใช้สอย (Function Value) สามารถใช้งานได้ง่าย สะดวก และมีความ


เหมาะสมในด้านราคา รวมถึงมีประโยชน์มากกว่าหนึ่งอย่างก็จะยิ่งช่วยสร้างข้อได้เปรียบให้กับ
ผลิตภัณฑ์ได้
กระบวนการผลิต (Production Process) การเปลี่ยนแปลงกรรมวิธีการผลิต เพื่อ
สร้างความแตกต่ างในรู ปลักษณ์ใหม่ และทาการผสมผสานระหว่ างวัส ดุเ ดิ ม เข้า กับ วัส ดุอ่ื น ที่
แตกต่างจากวัสดุเดิม จึงสรุปได้ว่าการสร้างนวัตกรรมในการออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรม ไม่ใช่
สิ่งที่ไกลตัวสาหรับผูผ้ ลิตจนเกินไป ทุกคนสามารถที่จะสร้างนวัตกรรมได้ เพียงแต่จาเป็ นต้องสร้าง
ให้มีความแตกต่างจากสิ่ง เดิมที่มีอยู่ และการสร้างผลงานที่ผสมผสานระหว่างการออกแบบและ
กรรมวิธีการผลิตต้องคานึงถึงที่มาของผลิตภัณฑ์อันแสดงถึงเอกลักษณ์ประจาถิ่น เพื่อให้เกิดการ
ต่อยอดจากภูมิปัญญาเดิมที่มีอยู่ การอธิบายได้ถึงที่มาในการสร้างสรรค์ แต่ให้อยู่ในกรอบของสิ่ง
ที่กล่าวมาข้างต้น ไม่จาเป็ นต้องสร้างสรรค์มากจนเกินไปจนดูเหมือนเป็ นการบิดเบือนและทาลาย
ความงามของคุณ ค่ า วัส ดุเ ดิม หรือเอกลักษณ์ประจาถิ่น เพียงแค่นีก้ ารสร้างนวัตกรรมให้กับ
ผลิ ตภัณ ฑ์หัตถกรรมก็น่าจะประสบผลส าเร็จ ได้ในระดับหนึ่ง (วัช รินทร์จ รุ ง จิ ตสุนทร. 2548.
หลักการและแนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์.กรุ งเทพ : แอ๊ปป้าพริน้ ติง้ กรุ๊ป จากัด . สานักงาน
นวัตกรรมแห่งชาติ. 2547)
ขอบเขตของงานออกแบบผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์หตั ถกรรม (Handy Craft) ผูอ้ อกแบบ
และผูผ้ ลิตมักจะเป็ นคนเดียวกัน และได้มีการสัมผัสกับผลิตภัณฑ์นนั้ ตัง้ แต่เริ่มต้นจาสาเร็จ เช่น
สิ่งประดิษฐ์ท่ีเป็ นฝี มือของชาวบ้าน จุดประสงค์ดงั้ เดิมคือทาขึน้ เพื่อความจาเป็ นในการดารงชีวิต
เสน่หข์ องผลิตภัณฑ์ประเภทนีจ้ ึงอยู่ท่ีความไม่เหมือนกันในรายละเอียดของแต่ละชิน้ งานซึ่งเป็ น
งานประดิษฐ์ท่ีละเอียดอ่อนเครื่องจักรทาตามได้ยาก
- ส่วนประกอบของการออกแบบผลิตภัณฑ์หตั ถกรรม
- คุณค่าและความสาคัญของธรรมชาติหรืองานหัตถกรรม
- มีเอกลักษณ์และศิลปะของวัฒนธรรมท้องถิ่น
- วัสดุและกรรมวิธีการผลิตมาจากท้องถิ่น
- สามารถผลิตได้จริงใช้สอยดีเหมาะสมกับวัสดุทอ้ งถิ่น
- ความสวยงามและความน่าสนใจ
- รูปแบบแปลกใหม่สะดุดตา
- สะดวกสบายต่อการพกพาขณะเดินทาง
- ขณะขนาดพอเหมาะบรรจุหีบห่อยากต่อการชารุดเสียหาย
18

- ราคาที่ซือ้ ได้โดยอาศัยการตัดสินใจน้อย
- ราคาไม่แพงมีหลายราคาให้เลือก
คุณประโยชน์ของการออกแบบผลิตภัณฑ์
- เป็ นการสร้างภาพลักษณ์ขององค์กรให้เกิดความแตกต่างอย่างชัดเจนจาก
คู่แข่งหรือทาให้ดสู ะดุดตาและง่ายต่อการจดจา
- สร้างเอกลักษณ์สินค้าให้เกิดสัมผัสและรับรูท้ ่ีดีต่อองค์กรผ่านการใช้ผลิตภัณฑ์
- รู ป ลัก ษณ์ห รื อ ลัก ษณะภายนอกของผลิ ต ภัณ ฑ์บ รรจุ ภัณ ฑ์แ ละส่ ว นอื่ น ที่
เกี่ยวข้องกับการออกแบบจะต้องสามารถสื่อสารกับลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- การพัฒนาผลิตภัณฑ์เดิมให้เกิดประโยชน์ใช้สอยที่ดีขนึ ้
- เพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ให้สงู ขึน้ เพื่อนาไปสูก่ ารเพิ่มราคาสินค้าได้
- การลดต้นทุนจะช่วยเพิ่มกาไร เช่น ออกแบบให้กระบวนการผลิตมีความง่ายลด
ขัน้ ตอนการเลือกใช้วสั ดุภายในประเทศ
- ขยายตลาดสิ นค้าเช่ นสร้างผลิตภัณฑ์ท่ีสนองประโยชน์ใช้สอยไม่ใหม่ สร้าง
ความต้องการใหม่สร้างตลาดกลุม่ เป้าหมายใหม่
คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ท่ดี ี
ความแปลกใหม่ (Innovative) หรือกล่าวได้ว่าต้องเป็ นผลิตภัณฑ์ท่ีไม่ซา้ จากเดิม
และสามารถนาเสนอความแปลกใหม่ในด้านต่าง ๆเช่น ด้านประโยชน์การใช้สอยที่ต่างจากรู ป
แบบเดิม หรือแม้กระทั่งวัสดุใหม่หรือที่เหมาะสมกับสภาพความต้องการของผูบ้ ริโภคในตลาดนัน้
มีท่ีมา (Story) เป็ นผลิตภัณฑ์ท่ีมีประวัติความเป็ นมาหรือสามารถเล่าเรื่องได้ไม่
ว่าจะเป็ นต้นกาเนิดหรือความคิดของการออกแบบเพื่อให้ผบู้ ริโภคทราบถึงเรื่องราวเหล่านัน้ ได้ เช่น
นาฬิกาของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ที่ได้กล่าวถึงต้นกาเนิดว่ามาจากช่างฝี มือในหมู่บา้ นเก่ าแก่
หมู่บา้ นหนึ่งที่มีการสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบนั เป็ นต้น
ระยะเวลาเหมาะสม (Timing) การนาผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดนัน้ เหมาะสมตามฎ
ดูกาลหรือตามความจาเป็ น หรือเหมาะสมกับผูบ้ ริโภคในช่วงเวลานัน้ ๆ เช่น ผลิตภัณฑ์เสือ้ กันฝนก็
ควรจะออกสูต่ ลาดในช่วงหน้าฝน ราคาพอสมควร (Price) เป้นผลิตภัณฑ์ท่ีมีราคาขายเหมาะสม
กับกาลังซือ้ ของผูบ้ ริโภคหรือกลุ่มเป้าหมายในตลาด โดยอาศัยการศึกษาวิจัยกลุ่มผูบ้ ริโภคให้ได้
ข้อมูลก่อนทาการออกแบบและผลิต
19

มีขอ้ มูลข่าวสาร (Information) การสร้างการรับรู ถ้ ึงตัวผลิตภัณฑ์จาเป็ นต้องมี


ข้อ มูล ข่ า วสารของตัว ผลิ ต ภัณ ฑ์ ท่ี สื่ อ ถึ ง ผู้บ ริโ ภคได้ท ราบและเข้า ใจอย่ า งถูก ต้อ งในด้า นของ
ประโยชน์และวิธีการใช้งาน
เป็ นที่ยอมรับ ( Regional Acceptance) ผลิตภัณฑ์นนั้ จะต้องเป็ นที่ยอมรับของ
ผู้บริโภคหรือกลุ่ม เป้าหมายและต้องส่ง ผลทาให้เสื่อมเสียหรือขัดต่อขนบธรรมเนียมประเพณี
วัฒนธรรมและศาสนา
มีอายุการใช้งาน (Life Cycle) ผลิตภัณฑ์นนั้ จะต้องมีความแข็งแรง คงทนต่อการ
ใช้งาน หรือมีอายุการใช้งานที่เหมาะสมกับลักษณะของผลิตภัณฑ์และราคาที่จาหน่าย(มยุรี เรือง
สมบัติ และคณะ, 2555)
จึงสามารถสรุ ปได้ว่าในการออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมนั้นต้องสามารถแสดงให้
เห็นถึงเอกลักษณ์เฉพาะตัวของผลิตภัณฑ์นนั้ ๆ ได้ อีกทัง้ ยังต้องสามารถแสดงถึงความร่วมสมัย
และประโยชน์ใช้สอยได้โดยขึน้ อยู่กบั ประเภทของผลิตภัณฑ์นนั้ ๆ ว่าอยู่ในประเภทใด ก็จะสามารถ
สร้างข้อได้เปรียบ หรือโอกาสในการแข่งขันได้

4.แนวคิดและทฤษฎีทเี่ กี่ยวข้องเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภค
4.1 ความหมายของพฤติกรรมของผู้บริโภค
Belch & Belch (1993) การตอบสนองต่อความต้องการของผูบ้ ริโภคนัน้ ต้องอาศัย
การเข้าใจถึงความหมายของพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคซึ่งหมายถึง กิจกรรมต่าง ๆ ที่บุคคลนัน้ ๆ ได้
เข้าไปมี ส่วนร่ว มในกระบวนการซึ่ง ประกอบด้ว ย การแสวงหา การเลือกหรื อการซื อ้ และการ
ประเมิณผล
อรยา บุณสกุลโสภิต (2555: 19) พฤติกรรมของผูบ้ ริโภคถือเป็ นกระบวนการอย่าง
หนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจซือ้ การแสวงหา การเลือก การซือ้ การใช้ และประเมินผล เพื่อ
ตอบสนองความพึงพอใจของตนเอง
ฉัตยาพร เสมอใจ (2550) พฤติกรรมของผูบ้ ริโภคคือการเข้าใจถึงกระบวนการก่อน
การตัดสินใจซือ้ เพื่อเข้าใจถึงปั จจัยในการซือ้ การใช้และการประเมินผลการใช้สินค้าหรือบริการ
ของบุคคล ซึ่งจะมีความสาคัญต่อการซือ้ สินค้าและบริการทัง้ ในปั จจุบนั และอนาคต
จากความหมายในข้างต้นผูว้ ิจัยสามารถสรุปได้ว่า พฤติกรรมผูบ้ ริโภคหมายถึง การ
แสดงออกถึงกระบวนการการตัดสินใจซือ้ สินค้าหรือบริการนัน้ ๆ การใช้ และการประเมินผลสินค้า
หรือบริการ รวมถึงกระบวนการหลังจากการใช้ว่าสามารถตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริโภคได้
หรือไม่
20

4.2 พฤติกรรมของผู้บริโภคในยุคดิจิทัล
ธีรเดช ดารงค์พลาสิทธิ์ (2561 อ้างอิงใน บารุง ศรีนวลปาน, 2561, หน้า 3-4) หัวหน้า
งานคอนเน็คมีเดีย ของบริษัท ดันน์ฮมั บี ้ (ประเทศไทย) จากัด ได้กล่าวว่า พฤติกรรมผูบ้ ริโภค 4.0
(Behavior 4.0) นัน้ สามารถแบ่งออกได้เป็ น 4 ลักษณะเด่น ดังนี ้
4.2.1. มีเครือข่ายความสัมพันธ์กับผู้อ่ืน (Connection) หมายถึง พฤติกรรมที่
จาเป็ นต้องอาศัยการพูดคุย และการสื่อสารกับผูอ้ ่ืน อยู่ตลอดเวลา หรือสามารถกล่าวได้ว่าในทุก
อิรยิ าบท เช่น การนั่งรถ การรับประทานอาหาร หรือเวลาทางาน เป็ นต้น
4.2.2 มี ความอดทนจากัด (Current) หมายถึง ผู้บริโภคที่มี พ ฤติกรรมใจร้อ น
ความอดทนต่า ชอบทาอะไรที่รวดเร็ว เบื่อง่าย ต้องการที่จะเข้าถึงข้อมูลและผูค้ นแบบทันท่วงที
4.3.3. ต้องการความสะดวกสบาย (Convenient) หมายถึง ผูบ้ ริโภคสามารถ
เข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ หรือบริการของผลิตภัณฑ์นนั้ ได้ง่าย และมีความสะดวกรวดเร็ว
4.3.4. ต้องการเป็ นส่วนหนึ่งของสายสืบโซเชียล (Community) หมายถึง ผูบ้ ริโภค
ต้องการปกป้องสิทธิของผูบ้ ริโภคด้วยตนเอง ทัง้ ในด้านของความถูกต้อง และความยุติธรรม โดย
ผ่านการแสดงความคิดเห็นจากเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เป็ นกระแสในสังคม เพื่อทาให้เกิดการรับรูใ้ นวง
กว้างขึน้ และแพร่หลาย ซึ่งถูกเรียกว่า วัฒนธรรมฝูงชน(Crowd-Culture)
ดั่งใจถวิล อนันตชัย (2561 อ้างอิงใน บารุ ง ศรีนวลปาน, 2561, หน้า 4 ) กล่าวว่า
วัฒนธรรมของฝูงชน (Crowd-Culture) นัน้ เป็ นกระแสที่คนในสังคมจะให้ความสนใจกับคนที่ถูก
เอาเปรี ย บหรื อ ไม่ ไ ด้รับ ความยุ ติ ธ รรมจากตราสิ น ค้า นั้น ๆ ซึ่ ง เป็ น กระแที่ ต ราสิ น ค้า ต้อ งให้
ความสาคัญ เพราะหากสินค้านัน้ หลอกลวงหรือไม่จริงใจต่อผูบ้ ริโภค จะทาให้สินค้านัน้ ถูกกลุ่ม
วัฒนธรรมฝูงชนเผยแพร่ขอ้ มูลเหล่านัน้ และส่งผลต่อยอดขายได้
จากแนวคิ ด ที่ ก ล่ า วมาข้า งต้น ผู้วิ จัย สามารถสรุ ป ได้ว่ า ลัก ษณะของพฤติ ก รรม
ผูบ้ ริโภคในยุคดิจิทัลนัน้ มีความต้องการในด้านของความสะดวกสบาย และความรวดเร็วในการ
เข้าถึงข้อมูลนั้น ๆ ได้ เนื่องจากพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย อยุ่
ตลอดเวลา ถ้าหากมีความเข้าใจในพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคได้อย่างทันท่วงที หรือมีการวิเคราะห์
พฤติกรรมของผูบ้ ริโภคอยู่ตลอดเวลาก็จะสามารถสร้างความไว้ใจให้กบั ผูบ้ ริโภคได้มากยิ่งขึน้ อีก
ทัง้ ในปั จจุบนั ได้ผูบ้ ริโภคได้มีการสร้างกลุ่มหรือชุมชนในโลกออนไลน์ท่ีทาให้พวกเขาได้สามารถ
แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผูบ้ ริโภคที่ใช้ผลิตภัณฑ์เดียวกันอยู่ว่าตราสินค้านัน้ หลอกลวงหรือไม่
21

5.แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมการชงกาแฟในครัวเรือน
(Monliga Songsuk,2562) พฤติกรรมของผูบ้ ริโภคกาแฟที่ในครัวเรือนมีสาเหตุคือ เพื่อ
แบ่งเงินเหลือเก็บไปทาอย่างอื่น เนื่องจากกาแฟสดที่ขายกันอยู่ทุกวันนีม้ ีราคาที่เพิ่มสูงขึน้ เรื่อย ๆ
ตามค่าครองชีพ อีกทัง้ อาจจะได้รสชาติไม่คงที่ ดังนัน้ การเลือกใช้เครื่องชงกาแฟสดใช้ในบ้านจึงถือ
เป็ นทางเลือกที่ช่วยให้ประหยัดงบได้มากกว่าและได้รสชาติท่สี ามารถเลือกได้ดว้ ยตนเอง
(Marguerite Ward, 2560) การดื่มกาแฟในช่วงสายหรือช่วงบ่ายของวัน Laura Cipullo
นักโภชนาการ ได้เผยว่า ในช่วงที่เราตื่นนอนขึน้ มาจะมีฮอร์โมนความเครียดจานวนมาก ถ้าหากยิ่ง
เพิ่มคาเฟอีนเข้าไปอีก จะส่งผลให้เกิดเหนื่อยล้าในภายหลัง สาหรับช่วงเวลาที่เหมาะแก่การดื่ม
กาแฟควรเป็ นช่วงที่ประมาณ 3 - 4 ชั่วโมงหลังจากตื่นนอนหรือดื่มกาแฟในช่วงบ่ายแทน (รัชนี
เพชรด้วง, ม.ป.ป.)
จากที่แนวคิดที่กล่าวมาข้างต้นนัน้ ผูว้ ิจยั สามารถสรุปได้ว่าพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคกาแฟ
นอกเหนือจากการเลือกซือ้ กาแฟดื่มจากร้านค้ากาแฟสดนอกบ้าน ก็ยงั มีคนให้ความสนใจกับการ
ชงกาแฟดื่ ม ภายในบ้า นของตนเอง เพราะการเลื อ กซื ้อ ดื่ ม กาแฟนอกบ้า นนั้น อาจจะไม่ ไ ด้
ตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริโภคกาแฟได้ทั้งหมด เนื่องจากไม่สามารถควบคุมรสชาติของ
กาแฟ หรือแบบที่ตนเองชอบได้ ผนวกกับเรื่องของราคาหากดื่มกาแฟทุกวันการเลือกชงกาแฟด้วย
ตนเองที่บา้ นนัน้ อาจจะเป็ นทางเลือกที่ช่วยให้ประหยัดและควบคุมงบได้มากกว่า

6.แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลิตภัณฑ์
(พูนลาภ ทิพชาติโยธิน,2553) การแข่งขันที่เปิ ดกว้างมากขึน้ ส่งผลให้การทาธุรกิจย่อม
ต้องมีหลักการ “คิด” ให้เหนือขัน้ กว่าที่เคยเป็ น การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กบั ผลิตภัณฑ์หรือบริการเริ่ม
มีบทบาทสาคัญในการสร้างความสนใจให้กบั กลุ่มผูบ้ ริโภคกลุ่มใหม่ ๆ และยังสามารถรักษากลุ่ม
ผูบ้ ริโภครายเดิมให้คงอยู่ต่อไปได้นาน ๆ โดยในอดีตที่ผ่านมานัน้ หากผลิตภัณฑ์ หรือบริการหนึ่งจะ
ประสบความสาเร็จได้ในท้องตลาด สิ่งที่สาคัญที่สุดก็คงจะเป็ นตัวผลิตภัณฑ์ หรือบริการหลัก
นั่นเอง ที่ตอ้ งมีคุณภาพที่ ดีหรือเหนือกว่าของคู่แข่งในตลาด และตอบสนองต่อความต้องการได้
ดีกว่าแม้ว่าในปัจจุบนั คุณภาพของผลิตภัณฑ์หรือบริการหลักอาจจะเป็ นเรื่องที่ ควรให้ความสาคัญ
จึงเป็ นที่มาของเรื่องมูลค่าเพิ่มที่มาพร้อมกับผลิตภัณฑ์หรือบริการจะเป็ นตัว ช่วยสร้างการดึง ดูด
หรือตัวช่วยที่ทาให้ผู้บริโภคสนใจมากขึน้ หรือทาให้เกิดการตัดสินใจที่จ ะซื อ้ สินค้า หรือบริก าร
ดังนัน้ การทาธุรกิจในปัจจุบนั จะไม่ใช่เป็ นการค้าขายสินค้าหรือบริการหลักเพียงอย่างเดียว
แต่จะต้องคานึงถึงส่วนของการเพิ่มมูลค่าที่จะช่วยทาให้ผูบ้ ริโภครูส้ ึกได้ประโยชน์เพิ่มมากขึน้ จึง
จะสามารถสร้างความน่าสนใจเพิ่มขึน้ ได้
22

การสร้างมูลค่าเพิ่ม นั้นสามารถสร้างได้ในหลายทาง เช่น การสร้างมูลค่าเพิ่มจากการ


ออกแบบผลิตภัณฑ์ การสร้างมูลค่าเพิ่มจากกระบวนการผลิต ซึ่ง ควรเริ่มต้นกระบวนการไปพร้อม
กัน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์คือการมอบสินค้าหรือบริการที่มี “คุณค่าเพิ่ม” สาหรับกลุม่ เป้าหมายได้
ซึ่งมีหลักในการพิจารณาหาแนวทางในการสร้างมูลค่าเพิ่มจากโอกาสต่าง ๆ ได้ดงั นี ้ คือ
1. การเพิ่มคุณค่าของสินค้าและบริการ จะต้องคานึงถึงความต้องการและรสนิยม
ของผูบ้ ริโภคเป็ นหลักหรือการเข้าใจถึงพฤติกรรมของผูบ้ ริโภค หรือปัจจัยใดบ้างที่สง่ ผลให้ผบู้ ริโภค
ตัดสินใจซือ้ จึงจะค่อยพิจารณาถึงโอกาสในการสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อให้ตรงกับความต้องการของ
ผูบ้ ริโภค
2. การพิ จ ารณาตัว ผลิ ต ภัณ ฑ์ห รื อ บริ ก าร หรื อ แนวคิ ด (Concept) เป็ น เรื่ อ งที่ มี
ความสาคัญที่สุด จึงต้องอาศัยองค์ความรู ้ (Knowledge) เพื่อให้เข้าใจความเข้าใจพืน้ ฐานและ
บริบทของผลิตภัณฑ์เป็ นอย่างดี อีกทัง้ ต้องใช้ความคิดเชิงสร้างสรรค์ (Creative Thinking) และ
ความคิดเชิงกลยุทธ์ (Strategic Thinking) เพื่อให้เกิดแนวคิดที่มีความแตกต่างและโดดเด่น
3. การพิจารณาถึงเรื่องวัตถุดิบหรือการคัดเลือกทรัพยากรในการนามาผลิตสินค้า
หรือบริการนั้น ๆ ที่มีเรื่องราวเฉพาะตัวจะเป็ นส่วนช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มได้เช่นกัน เช่น การเลือก
วัตถุดิบที่เป็ นของท้องถิ่นนัน้ ๆ จะมีเรื่องราวและความแตกต่างที่โดดเด่นและมีคณ ุ ค่า
4. การพิจารณาถึงขัน้ ตอนกระบวนการผลิตสามารถลดขัน้ ตอนหรือมีวิธีท่ีแปลกใหม่
ต่างจากวิธีเดิมจะช่วยสร้างคุณค่าได้มากยิ่งขึน้
5. การพิจารณาถึงบรรจุภัณฑ์ ถือเป็ นขัน้ ตอนของการนาเสนอหรือมอบสินค้าและ
บริการให้กับผูบ้ ริโภคได้รบั รู ถ้ ึงคุณค่าของผลิตภัณฑ์ตงั้ แต่ ครัง้ แรกที่ได้รบั ซึ่งการออกแบบบรรจุ
ภัณฑ์ให้มีเอกลักษณ์นนั้ จะช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มได้ เช่น ในเรื่องของความสะดวก การรักษาคุณภาพ
ผลิตภัณฑ์ หรือในด้านของความสวยงาม เป็ นต้น
6. การพิจารณาถึงการสร้างมูลค่าเพิ่มในเชิงบริการให้กบั ผลิตภัณฑ์ หรือกล่าวได้ว่า
เป็ นการบริการเพื่อให้ผบู้ ริโภคนัน้ ได้รบั ความสะดวกสบายในการได้มาซึ่งสินค้าและบริการ รวมถึง
การให้บริการข้อมูลเพิ่มเติมหรือการบริการหลังการขาย เป็ นต้น
7. การสร้างแบรนด์ เป็ นปั จจัยที่มีความสาคัญที่สดุ ในการทาธุรกิจในปั จจุบนั ใน
การเสริมสร้างคุณค่าให้กบั ผลิตภัณฑ์จาเป็ นต้องดาเนินควบคู่ไปพร้อมกับการสื่อสารจากแบรนด์
ให้ไปถึงผูบ้ ริโภคหรือกลุ่มเป้าหมาย เพื่อ เป็ นการเสริมสร้างอัตลักษณ์ของผลิตภัณฑ์และบริการ
นัน้ ๆ เพื่อให้ผบู้ ริโภคได้รบั รู แ้ ละเข้าถึงได้
23

8. การพิจ ารณาถึง การสร้างมูล ค่ าเพิ่ม เรื่ องการนาผลิ ตภัณฑ์และบริการนั้น ให้


สามารถเข้า ถึ ง ผู้บ ริ โ ภคกลุ่ม เป้ า หมายได้ท่ี เ ป็ น การเพิ่ ม คุณ ค่ า ให้แ ก่ ผู้บ ริ โ ภคในด้า นความ
สะดวกสบาย ความสาคัญของการสร้างมูลค่าเพิ่มในปั จจุบนั การดาเนินธุรกิจมีการแข่งขันอย่าง
รุ นแรงและพฤติกรรมผูบ้ ริโภค เปลี่ยนแปลงไปจากยุคสมัยและเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบ
โดยตรงต่อพฤติกรรมของผูบ้ ริโภค เช่น สถานการณ์ COVID-19 ดังนัน้ ธุรกิจต่าง ๆ จึงต้องมีการ
ปรับปรุงแนวคิดและ กลยุทธ์ให้ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึน้ ได้ในอนาคต กลยุทธ์การสร้าง
มูลค่าเพิ่มจะช่วยให้ธุรกิจนัน้ มีโอกาสหรือข้อได้เปรียบในการแข่งขันได้มากยิ่งขึน้
จากข้อมูลข้างต้นผูว้ ิจยั สรุปได้ว่า การสร้างมูลค่าเพิ่ม คือสิ่งที่ช่วยสร้างโอกาสหรือข้อ
ได้เปรียบในการแข่งขันของธุรกิจได้มากยิ่งขึน้ โดยผ่านการสร้างคุณค่าให้กบั ลูกค้าหรือผูบ้ ริโภคให้
ดีมากยิ่งขึน้ โดยนอกเหนือจากการสร้างความแตกต่างให้กับสินค้าที่อยู่ในตลาดแล้ว การสร้าง
มูลค่าเพิ่มนัน้ ยังช่วยสร้างการรับรู ใ้ ห้กับผูบ้ ริโภค และทาให้การตัดสินใจซือ้ ได้ไวขึน้ และมีความ
มั่นใจที่จะเลือกซือ้ สินค้าหรือบริการของตราสินค้านีต้ ่อไป

7.งานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้อง
รัชนี เพชรด้วง ผลการวิจยั พบว่า ผูป้ ระกอบการเกี่ยวกับธุรกิจกาแฟ จาเป็ นต้องคานึงถึง
ความสาคัญประเด็นทางด้านเพศ อายุ สถานภาพ อาชีพ และรายได้ต่อเดือน เนื่องจากผูว้ ิจยั เห็น
ว่าเพศ อายุ สถานภาพ อาชีพ และรายได้ต่อเดือน เป็ นปั จจัยที่ผูข้ ายและผูป้ ระกอบการเกี่ยวกับ
ธุรกิจกาแฟควรคานึงถึงต่อผูต้ อ้ งการชงกาแฟในครัวเรือนของประชากรในกรุงเทพมหานคร ปั จจัย
ส่วนบุคคล โดยจาแนกตาม ระดับการศึกษา ไม่มีผลต่อพฤติกรรมการชงกาแฟในครัวเรือน ควร
เน้นกลยุทธ์ทางการตลาด และการส่งเสริมการขายปั จจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อ
พฤติกรรมการชงกาแฟในครัวเรือนของประชากรในกรุงเทพมหานคร คือ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ โดย
ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์นนั้ ควรให้ความสาคัญทางปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ที่เน้นถึงความหลากหลาย มี
คุณภาพสูง ทันสมัย มีการรับคืนหรือเปลี่ยนสินค้า มีบริการหลังการขาย เพื่อการตัดสินใจซือ้ ของ
ผูบ้ ริโภค และต้องสามารถสนองความต้องการของผูบ้ ริโภคได้
มยุรี เรืองสมบัติ (2555) ผลการวิจัยพบว่า หวายสังเคราะห์เป็ นวัสดุท่ีผลิตขึน้ มาเพื่อใช้
ทดแทนเส้นหวายจากธรรมชาติ ส่วนผสมที่ใช้จะประกอบด้วย โพลิพรอพีลีน ,โพลิเอทีลีน ,ผงไม้,
สารประสาน, สารหล่อลื่น, สารปรับปรุ งคุณสมบัติการทนแรงกระแทกและยา EPDM ซึ่งเมื่อนา
ส่วนผสมดังกล่าวมาผ่านกระบวนการ อัดรีดขึน้ รูป ซึ่งมีคณ ุ สมบัติหลากหลายกว่าหวายธรรมชาติ
เหมาะจะนามาทาเป็ นเฟอร์นิเจอร์เพราะมีสีสนั ลวดลาย และผิวสัมผัสใกล้เคียงกับหวายธรรมชาติ
แต่มี ความยื ด หยุ่น ดี ก ว่ า คงทนต่อ รัง สี ยูวี และการสึก กร่อ น สามารถใช้ง านได้ทั้ง ภายในและ
24

ภายนอกอาคาร เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพราะสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้แต่วสั ดุชนิดนีไ้ ม่ทนต่อ


สารเคมีท่มี ีฤทธิ์กดั กร่อนรุ นแรง ส่วนราคาจะสูงกว่า หวายธรรมชาติประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์เพราะ
เป็ นนวัตกรรมที่พฒ ั นาขึ น้ มาเพื่อให้มีคณ
ุ สมบัติดีกว่า หวายธรรมชาติ ผูป้ ระกอบการควรใส่ใจใน
คุณภาพของผลิตภัณฑ์ และสร้างให้เกิดมาตรฐานของสินค้าที่ น่าเชื่อถือมากยิ่งขึน้ ที่มาช่วยเพิ่ ม
มูลค่าให้กบั ผลิตภัณฑ์ในกลุ่มนี ้ เพราะจากการศึกษาพบปั ญหาการเอาเปรียบกลุ่มเป้าหมายของ
ผู้ประกอบการในหลายประการ เช่ น ควรระบุราคาของผลิตภัณฑ์ค วร ระบุถึง แหล่ง ที่ ม าของ
ผลิตภัณฑ์เพื่อป้องกันการแอบอ้าง
สุช าติ อนวัช (2547) ได้ศึกษารู ปแบบการพัฒ นาการตลาดผลิตภัณฑ์เครื่องจักสาน:
กรณีศกึ ษาบ้านหนองแจง ตาบลหนองกระโดน อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ผลการศึกษาพบว่า
ปั ญหาการตลาดผลิตภัณฑ์เครื่องจักสานบ้านหนองแจงอยู่ในระดับปานกลาง ปั ญหาในด้านของ
ราคาอยู่ในระดับปานกลาง ปั ญหาด้านการจัดจาหน่ายอยู่ในระดับปานกลาง และปั ญหาด้านการ
ส่ง เสริม การตลาดอยู่ใ นระดับ ปานกลาง รู ป แบบการพัฒ นาการตลาดผลิ ต ภัณ ฑ์จัก สาน จึ ง
ประกอบด้วย 1) บริหารโครงสร้างพืน้ ฐาน 2) การฝึ กอบรมและศึกษาดูง าน 3) ประชาสัมพันธ์
สินค้า 4) กาหนดบุคคลและสถานที่จดั จาหน่าย และ 5) ติดตามและประเมินผล
ทรงฤทธิ์ พรหมชิ ณ วงศ์ (2550) ได้ศึกษาเกี่ ยวกับ การผลิ ตและการตลาดหัตถกรรม
พืน้ บ้านภายใต้โครงการหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ : กรณีศึกษาเครื่องจักสานมวยบ้านหนองขาม
ตาบลหนองขาม อาเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ผลการวิจยั พบว่า เดิมผูส้ านจะสานมวยเพื่อ
ใช้ในครัวเรือนเมื่อประชากรเพิ่ม ขึน้ จานวนมาก สังคมมีการเปลี่ยนไป ปั จจุบนั จึงเป็ นการผลิตหรือ
การสานเพื่อธุรกิจการค้า ซึ่งการค้าขายในปั จจุบนั จะมีอยู่ 4 ลักษณะ คือ 1) ผลิตเองขายเอง ได้
ราคาดีแต่ชา้ และลาบาก 2.) ขายให้พ่อค้าคนกลางที่นารถเข้าไปซือ้ ถึงหมู่บา้ น 3.) ผลิตแล้วส่งขาย
ให้แก่รา้ นค้ากลุ่มผูข้ าย ซึ่งผลผลิตจะต้องมีคณ ุ ภาพตามที่กลุ่มผูข้ ายกาหนด จึงจะได้ราคาตามที่
ตกลงกันไว้ 4.) ขายโดยส่วนราชการผ่านการจัดงานตลาดนัดสินค้าหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ใน
การผลิตและการตลาด พบว่าปั ญหาในด้านวัตถุดิบคือ มีปริมาณของไม้ไผ่ไม่เพียงพอต่ อ การ
นามาใช้งาน
ศศิธร พรมมาลา (2561) ได้ศึกษาเกี่ยวกับปั จจัยส่วนประสมทางการตลาดและบริการที่
มีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมการซือ้ กาแฟสดของผูบ้ ริโภคในอาเภอสันทรายจังหวัดเชียงใหม่ ด้าน
ข้อมูลพฤติกรรมการซือ้ กาแฟสด พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถาม จานวน 400 คน ส่วนใหญ่มีความถี่
ในการบริโภคกาแฟสดโดยเฉลี่ยอาทิตย์ละ 2 – 3 ครัง้ ปกติบริโภคกาแฟสดช่วงเวลา9.00 น. –
12.00 น. เมนูของกาแฟที่มีการบริโภคบ่อยที่สดุ คือ คาปูชิโน ซึ่งเหตุผลสาคัญในการตัดสินใจเลือก
25

ซือ้ กาแฟสดมากที่สุด คือ รสชาติของผลิตภัณฑ์ ค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการซือ้ กาแฟสด และบุคคลที่มี


ส่วนในการตัดสินใจเลือกซือ้ กาแฟสด คือ ตนเอง
26

บทที่ 3
วิธีการดาเนินการวิจัย

การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟแบบดริปจากวัสดุแปรรู ปหวาย ผูว้ ิจัยได้


ดาเนินการวิจยั โดยใช้วิธีการวิจยั และพัฒนา หรือ(R&D) โดยมีการทดลองผลิตต้นแบบและทดลอง
ขายจริงผ่านช่องทางออนไลน์เพื่อทาการเก็บข้อมูลจากการใช้งานจริงของผูบ้ ริโภค จากนัน้ นาแบบ
ร่างไปสอบถาม และการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผูเ้ ชี่ยวชาญโดยใช้ทฤษฎีดา้ นการออกแบบผลิตภัณฑ์
เป็ นเกณฑ์ในการสอบถามเพื่อหาข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ และพัฒนาผลิตภัณฑ์
สกัดกาแฟแบบดริปจากวัสดุแปรรูปหวาย ต่อไป
1.แหล่งข้อมูล
2.ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง
3.ขัน้ ตอนการวิจยั
4.เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
5.วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
6.การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงเนือ้ หา
7.การนาเสนอข้อมูล
8.ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจยั

การกาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
โดยการวิจยั ครัง้ นีจ้ ะเป็ นการวิจยั เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ประกอบไปด้วย
2 กลุม่ ดังนี ้
ประชากร
กลุม่ เป้าหมายที่ช่ืนชอบการดื่มกาแฟและสนใจการบริโภคกาแฟแบบดริป
กลุ่มตัวอย่างที่ 1
ผู้วิจัยใช้การทดลองขายผลิตภัณฑ์ดริปกาแฟจากวัส ดุหวายแปรรู ปผ่านทาง
ออนไลน์ และเลือกผูบ้ ริโภคจริงจานวน 10 ท่าน และทาการเก็บรวบรวมข้อมูล
กลุ่มตัวอย่างที่ 2
ผู้เ ชี่ ย วชาญจ านวน 2 ท่ า น ดั ง นี ้ ผู้เ ชี่ ย วชาญทางด้า นการดื่ ม กาแฟ และ
ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการออกแบบ
27

ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า
ในการทาวิจยั ครัง้ นี ้ ผูว้ ิจยั ได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับวัสดุแปรรูปหวาย และลวดลายการจัก
สาน เพื่อนามาออกแบบละพัฒ นาผลิตภัณฑ์ดริปกาแฟให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย โดยกาหนด
ขอบเขตการศึกษาค้นคว้าไว้ดงั นี ้
ขั้ น ตอนที่ 1 ศึ ก ษาข้อ มู ล เกี่ ย วกั บ ลวดลายการจั ก สานไทย และรู ป แบบของ
ผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟดริป
ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบและพัฒนาลวดลายจากลายงานจักสาน
ขั้นตอนที่ 3 นาตัวต้นแบบขายจริงผ่านช่องทางออนไลน์และเลือกผูบ้ ริโภคจานวน
ทัง้ หมด 10 ท่าน พร้อมทัง้ ผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านการดื่มกาแฟ และนักออกแบบผลิตภัณฑ์จานวน 2
ท่าน มาทาการสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อหาข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และทาการสรุ ปผล
และปรับปรุงแบบต่อไป
ขั้ น ตอนที่ 4 นาข้อเสนอแนะหรื อข้อ ที่ ควรแก้ไ ขปรับ ปรุ ง จากผู้บ ริโภค และจาก
ผูเ้ ชี่ยวชาญมาทาการพัฒนาและปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้มีความสมบูรณ์
28

กรอบแนวคิดวิจัย

ภาพประกอบ 2 กรอบแนวคิดวิจยั
29

บทที่ 4
ผลดาเนินงานวิจัย

การวิจัยการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟแบบดริปจากวัสดุแปรรู ปหวาย
โดยผูว้ ิจยั ขอนาเสนอผลที่ได้จากการดาเนินงาน ตามขัน้ ตอนดังต่อไปนี ้
ขั้ น ตอนที่ 1 ศึ ก ษาข้อ มู ล เกี่ ย วกั บ ลวดลายการจั ก สานไทยและรู ป แบบของ
ผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟดริป
ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากลวดลายงานจักสาน
ขั้นตอนที่ 3 นาตัวต้นแบบขายจริงผ่านช่องทางออนไลน์และเลือกผูบ้ ริโภคจานวน
ทัง้ หมด 10 ท่าน พร้อมทัง้ ผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านการดื่มกาแฟ และนักออกแบบผลิตภัณฑ์จานวน 2
ท่าน มาทาการสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อหาข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และทาการสรุ ปผล
และปรับปรุงแบบต่อไป
ขั้ น ตอนที่ 4 นาข้อเสนอแนะหรื อข้อ ที่ ควรแก้ไ ขปรับ ปรุ ง จากผู้บ ริโภค และจาก
ผูเ้ ชี่ยวชาญมาทาการพัฒนาและปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้มีความสมบูรณ์

ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับลวดลายการจักสานไทย และรู ปแบบของผลิตภัณฑ์สกัด


กาแฟแบบดริบ
1.1 การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับลวดลายการจักสานไทย
ผูว้ ิจยั ได้ทาการศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับลวดลายจักสานที่มีอยู่ในประเทศไทยพบว่า
ในปั จจุบนั มีลวดลายอยู่หลากหลายรูปแบบ จึงทาการลงพืน้ ที่เพื่อสอบถามเกี่ยวกับลวดลายการ
จักสานเพิ่มเติม เพราะในการขึน้ รูปทรงหรือขึน้ ชิน้ งานจักสานนัน้ เป็ นวิธีท่ีมีแบบแผน และมีระบบ
ระเบียบเพื่อสร้างโครงสร้างของชิน้ งานให้เกิดการเชื่อมต่อซา้ ๆ กันไปเพื่อให้เกิดแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างกันจนเป็ นชิน้ งานจักสานตามต้องการ ด้วยเหตุนีผ้ วู้ ิจยั จึงได้ทาการลงพืน้ ที่เพื่อทาการเก็บ
ข้อมูลกับทางร้านค้าที่ขายเครื่องจักสานหวาย ในเขตกรุ งเทพมหานครและปริม ณฑลที่เป็ นศูนย์
รวมเครื่องจักสานจากทั่วประเทศ เพื่อสอบถามว่าในปั จจุบนั มีลวดลายใดที่ได้รบั ความนิยมในการ
นามาขึน้ ชิน้ งานจักสานหวายมากที่สุด รวมถึงการรวบรวมหาแนวคิดต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับงานจัก
สานที่ไ ด้จ ากผู้ป ระกอบการร้า นค้าจัก สานเพิ่ม เติ ม เพื่อนามาเป็ นข้อ มูล ที่ใ ช้ประกอบในการ
ออกแบบตัวผลิตภัณฑ์ในครัง้ นี ้ โดยผูว้ ิจัยได้กาหนดเกณฑ์เพื่อใช้ในการคัดเลือกร้านค้า จักสาน
ดังนี ้
30

1.)ต้องเป็ นร้านค้าที่จาหน่ายผลิตภัณฑ์งานจักสานหวายเป็ นหลักโดยมีสินค้าที่


ส่งจากภูมิภาคต่าง ๆทั่วประเทศไทย
2.)ต้องเป็ นร้านค้าที่มีการจาหน่ายทัง้ ช่องทางออนไลน์ และช่องทางออฟไลน์
3.)ต้องเป็ นร้านค้าที่ผลิตชิน้ งานจักสานโดยมีการทางานร่วมกับชุมชนชาวบ้าน
ผูว้ ิจัยจึงใช้เกณฑ์การคัดเลือกแบบเจาะจง จึงได้รา้ นค้าจักสานมาจานวนทั้งหมด 5 ร้าน ตาม
ข้อมูลดังนี ้
ร้านที่ 1 ชื่อร้าน : ป้าหวาย
สถานที่ตงั้ : โครงการ11 จตุจกั ร เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ

ภาพประกอบ 3 ร้านป้าหวาย

ภาพถ่ายโดยผูว้ ิจยั

ร้ า นค้ า ที่ 1 ร้ า นป้ า หวาย ตั้ง อยู่ ท่ี ต ลาดนัด จตุจัก ร โครงการ 11 จากการ
สอบถามข้อมูลพบว่า ในส่วนของกลุ่มของผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่ท่ีทางร้านจาหน่ายนัน้ จะเป็ นกลุ่ม
ของเครื่องภาชนะและเครื่องใช้ภายในบ้าน โดยวัสดุท่นี ามาใช้สานนัน้ มีทงั้ หวายแปรรูปและไผ่ ใน
ด้านของการผลิตสินค้านัน้ มีการผลิตโดยช่างฝี มือของทางร้าน และการรับมาจากชุมชน OTOP
ของจังหวัดอยุธยาด้วยเช่นกัน ทางร้านไม่มีหน้าร้านออนไลน์จึงอาศัยการขายแบบออฟไลน์เป็ น
หลักเพราะกลุ่มลูกค้าจะเป็ นหลักจะเป็ นช่าวต่างชาติ เนื่องจากสถานที่ตั้งของร้านเป็ นสถานที่
ท่องเที่ยวอยู่แล้วจึงเน้นการขายแบบค้าปลีกมากกว่าการขายส่ง
31

ร้านที่ 2 ชื่อร้าน : บ้านหัตถกรรม


สถานที่ตงั้ : ถนน กาแพงเพชร 2 เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ

ภาพประกอบ 4 ร้านบ้านหัตถกรรม

ภาพถ่ายโดยผูว้ ิจยั
ร้ า นค้ า ที่ 2 ร้ า นบ้ า นหัตถกรรม ตั้ง อยู่ท่ีบริเวณตลาดนัดจตุจักร อยู่ท่ีถนน
กาแพงเพชร 2 ติดถนนใหญ่ ตรงข้ามกับ JJ Mall กลุ่มของผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่ท่ีรา้ นค้าจักสานนี ้
จ าหน่ า ยเป็ น หลัก คื อ กลุ่ม ของเฟอร์นิ เ จอร์แ ละอุป กรณ์ข องตกแต่ ง ภายในส าหรับ บ้า นและ
ร้านอาหาร เช่น โคมไฟหวายที่มีลกั ษณะเหมือนสุม่ ไก่ ซึ่งทางร้านเป็ นผูผ้ ลิตเองเพราะมาจากชุมชน
ที่ประกอบอาชีพการจักสานเป็ นหลัก โดยทางร้านจะเน้ นการจาหน่ายแบบค้าส่งผ่านทางออนไลน์
และออฟไลน์
32

ร้านที่ 3 ชื่อร้าน : ร้านยุพดีวาณิช


สถานที่ตงั้ : ถนน มหาไชย เขตพระนคร กรุงเทพฯ

ภาพประกอบ 5 ร้านยุพดีวาณิช

ภาพถ่ายโดยผูว้ ิจยั

ร้ า นค้ า ที่ 3 ร้ า นยุ พ ดี ว าณิ ช ตั้ง อยู่ติดริม ถนน มหาไชยก่อนถึง ร้านผัด ไทย
ประตูผี ทางร้า นได้ป ระกอบกิ จ การมาเป็ น เวลานานโดยสื บ ทอดกัน มารุ่น สู่รุ่น โดยกลุ่ม ของ
ผลิ ตภัณ ฑ์ส่วนใหญ่ ท่ีรา้ นค้าจ าหน่ายนั้นจะเป็ นกลุ่มของอุปกรณ์ตกแต่งภายในและกลุ่มของ
ภาชนะเครื่องครัว วัสดุท่ีใช้ในการสานจะมีทงั้ หวายและไผ่ ซึ่งแทบจะมีผลิตภัณฑ์ท่ีเป็ นเครื่องใช้
สอยครบทุกรูปแบบ เพราะช่างฝี มือของทางร้านมีประสบการณ์ในด้านการจักสานสูง จึงสามารถ
ผลิตได้ดว้ ยตนเอง และมีรบั จากชุมชนชาวบ้านบ้างเป็ นครัง้ คราว โดยทางร้านเน้นจาหน่ายแบบค้า
ส่งและรับผลิตตามแบบเป็ นหลักผ่านช่องทางออนไลน์ผ่านทาง Line Official ของทางร้าน
33

ร้านที่ 4 ชื่อร้าน : ร้านเอเชียคิงส์จกั สาน


สถานที่ตงั้ : ถนน เจริญราษฎร์ บางคอแหลม กรุงเทพฯ

ภาพประกอบ 6 ร้านเอเชียคิงส์จกั สาน

ภาพถ่ายโดยผูว้ ิจยั

ร้านค้าที่ 4 ร้านเอเชียคิงส์จักสาน ตั้งอยู่ทถี่ นน เจริญราษฎร์ เป็ นร้านค้าขาย


ส่งเครื่องจักสานที่เปิ ดมาเป็ นระยะเวลานาน โดยเน้นกระจายสินค้าส่งออกไปยังต่างประเทศ กลุ่ม
ของผลิตภัณฑ์ท่ีทางร้านมีแทบจะครบทุกรู ปแบบ แต่ท่ีพบเห็นมากที่สุดจะเป็ นภาชนะสาหรับใส่
ของอเนกประสงค์ เช่น ตะกร้าหวายที่พบเห็นได้มากที่สดุ โดยวัสดุ ท่ีใช้ส่วนใหญ่จะเป็ นหวายแปร
รู ปเป็ นหลักมากกว่ าไม้ไ ผ่ ด้านการผลิ ตนั้น ทางร้านได้แจ้ง ว่า เป็ น การรับมาจากชุม ชนต่าง ๆ
มากกว่าการผลิตเอง และช่องทางการจาหน่ายทางร้านจะเน้นการขายผ่านช่องทางออนไลน์ผ่าน
ทางเว็ปไซต์เป็ นหลัก
34

1.5 ร้านที่ 5 ชื่อร้าน : บ้านหวายหัตถกรรม คลอง 9


สถานที่ตงั้ : คลอง 9 ธัญบุรี ปทุมธานี

ภาพประกอบ 7 ร้านบ้านหวายหัตถกรรมคลอง 9

ภาพถ่ายโดยผูว้ ิจยั

ร้านค้าที่ 5 บ้านหวายหัตถกรรม คลอง 9 ธัญบุรี ปทุมธานี ทางร้านได้เน้นการ


จัดจาหน่ายสินค้ากลุ่มประเภทเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้านเป็ นหลัก โดยส่วนใหญ่จะเป็ นงาน
จักสานขนาดใหญ่มากกว่างานชิน้ เล็ก ในด้านของการผลิตนัน้ ทางร้านผลิตโดยช่างฝี มือของตนเอง
มากกว่าการรับจากชุมชนในพืน้ ที่จงั หวัดนครนายก และสามารถขึน้ แบบได้ตามความต้องการของ
ลูกค้าในส่วนของงานที่เป็ นเฟอร์นิเจอร์อย่างเดียว และวัสดุท่ใี ช้ขึน้ ชิน้ งานจะมีทงั้ หวายแปรรูปและ
ไม้ไผ่โดยเลือกตามความเหมาะสมของแต่ละผลิตภัณฑ์นนั้ ๆ ช่องทางการขายมีทงั้ ออนไลน์และ
ออฟไลน์
ผู้วิจัยได้ทาการสังเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้จ ากการลงพืน้ ที่สารวจร้านค้าจานวนทั้ง หมด 5
ร้านค้า ดังนี ้ ร้านป้าหวาย,ร้านบ้านหัตถกรรม,ร้านยุพดีวาณิช,ร้านเอเชียคิงส์จกั สาน และร้านบ้าน
หวายหัตถกรรมคลอง 9 ออกมาในรูปแบบตารางได้ดงั นี ้
35

ตาราง 2 แสดงข้อมูลจากการลงพืน้ ที่เก็บข้อมูลร้านค้าจักสาน

ชื่อร้านค้าจักสาน ่ บ
ลวดลายจักสานทีพ ประเภทกลุ่ม ช่องทาง
ผลิตภัณฑ์หลัก การขาย
ป้าหวาย ลายจูงนาง,ลายดีหล่ม,ลายตาแหลว เฟอร์นิเจอร์และ หน้าร้าน
มืด,ลายสองขึน้ ลง,ลายกระด้งฝัด อุปกรณ์เครื่องครัว
บ้านหัตถกรรม ลายสาม,ลายจูงนาง,ลายก้นลิง เฟอร์นิเจอร์และ หน้าร้าน
ลายตาแหลวมืด, ของตกแต่ง
ยุพดีวาณิช ลายครุ ,ลายสาม,ลายจูงนาง,ลายสอง ของตกแต่งภายใน Line Official
ขึน้ ลง และเครื่องครัว
เอเชียคิงส์จกั สาน ลายดีหล่ม,ลายสองขึน้ ลง,ลายครุบ, ภาชนะสาหรับใส่ เว็ปไซต์
ลายครุ ของอเนกประสงค์
บ้านหวายหัตถกรรมคลอง 9 ลายครุบ,ลายก้นลิง,ลายกระด้งฝัด, เฟอร์นิเจอร์และ เว็ปไซต์และ
ลายจูงนาง ของตกแต่ง โซเชียลมีเดีย

จากการลงพืน้ ที่ศึกษารู ปแบบลวดลายจักสานจากร้านค้าจักสานทั้ง หมด 5 พบว่ามี


ลวดลายที่นิยมนามาประดิษฐ์เป็ นภาชนะของตกแต่งทัง้ หมด 10 รูปแบบด้วยกัน ดังนี ้ 1.) ลายสาม
ขึน้ ลง 2.) ลายดีหล่ม 3.) ลายครุ 4.) ลายครุ บ 5.) ลายก้นลิง 6.) ลายสาม 7.) ลายกระด้งฝั ด 8.)
ลายตาแหลวมืด 9.) ลายสองขึน้ ลง และ 10.) ลายจูงนาง โดยรู ปแบบลายจักสานที่พบเห็นมาก
ที่สดุ คือ ลายจูงนาง จึงสามารถแจกแจงข้อมูลเกี่ยวกับคุณสมบัติของลวดลายจักสานทัง้ หมด 10
รูปแบบได้ดงั นี ้
รู ปแบบที่ 1 ลายสามขึน้ ลง ใช้สาหรับทาชิน้ งานประเภทเครื่องภาชนะและเครื่องใช้
ภายในบ้านเป็ นหลัก โดยเฉพาะหวดนึ่งข้าว ซึ่งเอกลักษณ์ของลายนีค้ ือจะมีลกั ษณะทรงจั่วใช้ลาย
ขัด สาม และสองมาเป็ นตัวประสานของการสานให้มีความแน่นหนาและมีอายุการใช้งานเป็ นระยะ
เวลานาน
36

ภาพประกอบ 8 ตัวอย่างลายสามขึน้ ลง

ที่มา https://jubsann.com/

รู ปแบบที่ 2 ลายดีหล่ม เป็ นลวดลายที่ใช้สาหรับทาส่วนท้ายของตะกร้าหาบของ


โดยจะมีลกั ษณะเป็ นทรงกระบอกก้นสอบเป็ นสี่เหลี่ยมที่สามารถใช้ได้ทงั้ การหิว้ และการหาบคอน
ได้

ภาพประกอบ 9 ตัวอย่างลายดีหล่ม

ที่มา https://jubsann.com/
37

รู ปแบบที่ 3 ลายครุ เป็ นลวดลายที่ใช้สาหรับทาตะกร้าที่สามารถใช้บรรจุนา้ ได้ โดย


จะมีลกั ษณะการสานที่แน่นและมีรูปทรงเป็ นทรงกระบอก ก้นสอบจะมีลกั ษณะเป็ นทรงสี่เหลี่ยม
คล้ายกับตะกร้าหาบของ และเพื่อใช้ในการตักและบรรจุนา้

ภาพประกอบ 10 ตัวอย่างลายครุ

ที่มา https://jubsann.com/

รู ปแบบที่ 4 ลายครุ บ เป็ นลวดลายที่ใช้สาหรับทาภาชนะที่ใช้นึ่งข้าว คือ มวย ซึ่งมี


ลักษณะทรงกระบอกส่วนล่างจะแคบ มีลกั ษณะคล้าย ๆ หวดนึ่งข้าวแต่จะมีความแข็งแรงทนทาน
กว่าเพราะลักษณะพิเศษของลวดลายนีค้ ือจะมีความหนาจากการสานถึง 3 ชัน้ ด้วยกัน

ภาพประกอบ 11 ตัวอย่างลายครุบ

ที่มา https://jubsann.com/
38

รู ปแบบที่ 5 ลายก้นลิง เป็ นลวดลายสานที่ส่วนใหญ่จะถูกพบอยู่ตรงส่วนท้ายของ


กระติบข้าวเหนียว โดยลักษณะเด่นของลายนีจ้ ะมีลกั ษณะเป็ นกากบาทสามเหลี่ยมและมีความ
ทนทานต่อการใช้งานที่ใช้สาหรับนึ่งข้าวเหนี่ยว

ภาพประกอบ 12 ตัวอย่างลายก้นลิง

ที่มา https://jubsann.com/

รู ปแบบที่ 6 ลายสาม เป็ นลวดลายที่พบบนชิน้ งานประเภทภาชนะเครื่องใช้ คือ


กระจาด โดยลวดลายนีจ้ ะลักษณะลายคล้ายกับลายครุ (รูปแบบที่ 3) แต่จะมีเส้นตัง้ สองเส้นและมี
ความชิดถี่ของเส้นที่มากกว่าลายครุ

ภาพประกอบ 13 ตัวอย่างลายสาม

ที่มา https://jubsann.com/
39

รู ปแบบที่ 7 ลายกระด้งฝั ด ลวดลายนีจ้ ะมีลกั ษณะลายคล้ายกับลายครุ แต่จะมี


ความห่างของเส้นแนวนอนมากกว่าลายครุ โดยลักษณะของลวดลายนีจ้ ะเป็ นลายสานเพียงลาย
เดียวที่ใช้สาหรับกระด้ง ที่มีรูปทรงกลมแบน ใช้สาหรับฝัดสิ่งที่ไม่ตอ้ งการออก

ภาพประกอบ 14 ตัวอย่างลายกระด้งฝัด

ที่มา https://jubsann.com/

รู ปแบบที่ 8 ลายตาแหลวมืด เป็ นลวดลายที่จะพบอยู่บนส่วนฝาปิ ดของก่องข้าว


เป็ นลายสานที่มีลักษณะเด่นคือสามารถให้ในด้านความสวยงามและด้านการใช้ง าน เพราะมี
ความทนทานสามารถทนความร้อนและความชืน้ ได้ดี

ภาพประกอบ 15 ตัวอย่างลายตาแหลวมืด

ที่มา https://jubsann.com/
40

รู ป แบบที่ 9 ลายสองขึ้น ลง เป็ นลายที่ใช้ส าหรับทาชิ น้ งานประเภทภาชนะคือ


กระชอน และหวดนึ่งข้าวเหนียว โดยลักษณะเด่นของลายคือลักษณะทรงจั่วใช้ลายขัดขึน้ -ลงมา
เป็ นตัวประสานของการสานเพื่อเพิ่มความแข็งแรงและทนทานใช้งานได้นาน

ภาพประกอบ 16 ตัวอย่างลายสองขึน้ ลง

ที่มา https://jubsann.com/

รู ปแบบที่ 10 ลายจูงนาง เป็ นลายที่สามารถพบเห็นได้ท่ีบริเวณปากของตะกร้า


หวาย เพราะลายจูงนางมักจะถูกนาไปสานเพื่อใช้ในการตกแต่ง เพิ่มความสวยงามและสร้าง
มูลค่าเพิ่มให้กบั ผลิตภัณฑ์นนั้ ๆ โดยลักษณะการสานจะใช้เวลาไม่เทียบเท่ากับลวดลายอื่นเพราะมี
การขัดกันของเส้นหวายที่นอ้ ยกว่า
41

ภาพประกอบ 17 ตัวอย่างลายจูงนาง

ภาพถ่ายโดยผูว้ ิจยั

ต่ อ มาผู้วิ จั ย ได้น าลวดลายทั้ง หมด 10 ลวดลายไปท าการค้น คว้า และทดลอง


คุณสมบัติของแต่ละลวดลาย เพื่อ ทาการหาอัตราการไหลผ่านของนา้ ว่า โดยไม่ใส่กระดาษกรอง
และกาแฟเพื่อทดลองว่า ลวดลายไหนที่สามารถทาเวลาได้ใกล้เคียงกับเกณฑ์มาตราฐานที่ใช้ใน
การเลือกดริปเปอร์ตามที่ผวู้ ิจยั ได้สืบค้นข้อมูล เพื่อให้ได้คาตอบเชิงคุณภาพในด้านการใช้งาน และ
จึงนาไปเป็ นแนวทางประกอบการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ในขัน้ ตอนต่อไป ตามข้อมูลดังนี ้
1.2 การทดลองการไหลผ่านของน้าผ่านลวดลายทัง้ หมด 10 ลวดลาย
โดยผูว้ ิจัยได้ทาการทดลองลวดลายทัง้ หมด 10 ลวดลาย ประกอบด้วย 1.) ลายสามขึน้
ลง 2.) ลายดีหล่ม 3.) ลายครุ 4. )ลายครุบ 5.) ลายก้นลิง 6.) ลายสาม 7.) ลายกระด้งฝัด 8.) ลาย
ตาแหลวมืด 9.) ลายสองขึน้ ลง และ 10.) ลายจูงนาง
42

ตาราง 3 แสดงข้อมูลผลการทดลองการหาอัตราการไหลของนา้

เมื่อทดลองแล้วผลลัพธ์ท่ีได้พบว่า ลายจูงนาง เป็ นลวดลายใช้เวลาน้อยที่สุด รองลงมา


คือลายสามขึน้ ลง และลายสาม ตามล าดับ ในขณะที่ลายครุ ใช้เวลาการไหลของนา้ นานที่สุด
ต่อมาผูจ้ ึงนามาเปรียบเทียบข้อมูล โดยอ้างอิงจาก (Beanshere,2019) ที่ได้กล่าวไว้ว่าวิธีในการ
เลือกดริปเปอร์นนั้ ต้องดูจากรู ปทรงและการไหลของนา้ การมีอัตราการไหลของนา้ ที่ดีจะช่วยให้ได้
รสชาติของกาแฟพอดี เพราะหากให้นา้ อยู่กับกาแฟที่บดนานจนเกินไปจะทาให้รสชาติของกาแฟ
นัน้ ออกมาไม่เข้มข้น แต่ทงั้ นีท้ งั้ นัน้ ต้องขึน้ อยู่กบั ความระเอียดของกาแฟที่บดรวมถึงกระดาษกรอง
ที่นามาใช้อีกด้วย ซึ่งโดยปกติแล้วการดริปแต่ละครัง้ จะใช้เวลาประมาณ 1.5-2 วินาทีในแต่ละรอบ
ของการวนนา้ ลายจูงนาง จึงมีความเหมาะสมเพราะมีอตั ราการไหลของนา้ ที่ดีท่สี ดุ

ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากลวดลายงานจักสาน
หลังจากที่ผูว้ ิจัยได้รูปแบบลวดลายจักสานที่จะนามาใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เป็ นที่
เรียบร้อยแล้ว โดยรูปแบบลวดลายที่นามาใช้คือ ลายจูงนาง ผูว้ ิจยั จึงได้ทาการลงพืน้ ที่ไปยังชุมชน
จักสานหวายและนาลายสานจูงนางไปทาการสอบถามผูช้ านาญการด้านงานจักสานหวาย เพื่อทา
การทดลองขึน้ ชิ น้ งานตัวต้นแบบผลิตภัณฑ์และสอบถามข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เพื่อนามาเป็ น
แนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ จึงสามารถแจกแจงขัน้ ตอนในการทางานร่วมกันได้ด่งั นี ้
43

2.1 ขัน้ ตอนที่ 1


ผูว้ ิจยั ได้ทาการชีแ้ จงถึงวัตถุประสงค์รวมถึงรายละเอียดต่าง ๆของการทาวิจยั ในครัง้
นีก้ บั ชาวบ้านผูช้ านาญการด้านงานจักสานหวาก่อนเพื่อให้เข้าใจถึงจุดประสงค์หรือเป้าหมายใน
การทาวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ในครัง้ นี ้

ภาพประกอบ 18 ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านงานหวายโดยผูว้ ิจยั

ภาพถ่ายโดยผูว้ ิจยั

2.2 ขัน้ ตอนที่ 2


ผูว้ ิจยั จึงได้นาลวดลายจักสานจูงนางที่ได้จากการทดลองในขัน้ ตอนที่ 1 มาสอบถาม
กับผูเ้ ชี่ยวชาญว่ามีความเป็ นไปได้หรือไม่ หรือมีขอ้ จากัดใดบ้าง ถ้าหากจะนามาใช้สานเพื่อขึน้
ผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟแบบดริปด้วยวัสดุแปรรูปหวายชาวบ้านได้กล่าวว่ามีความเป็ นไปได้ในการนา
ลายจูงนางมาใช้สานด้วยเหตุผลจากด้านการใช้งานและด้านของความสวยงาม ดังนี ้
2.2.1 ด้านของการใช้งานนัน้ มีความเป็ นไปได้ในการนามาใช้พฒ
ั นาผลิตภัณฑ์ใน
ครั้ง นี ้ เนื่องด้วยอุปกรณ์ส กัดกาแฟนั้นจาเป็ นต้องมีของเหลวไหลผ่านทุกครั้งเมื่อนามาใช้งาน
ดังนัน้ ควรมีรูปแบบการสานที่สามารถระบายอากาศได้ดีเพื่อป้องกันความชืน้ และช่วยถนอมตัว
วัสดุแปรรูปหวาย
2.2.2 ด้านของความสวยงาม การสานแบบลายจูงนางนัน้ ส่วนใหญ่จะถูกนาไปใช้
ในส่วนของการตกแต่งเครื่องจักสานเพื่อเพิ่มความสมบูรณ์และสวยงามให้กบั ชิน้ งานอยู่แล้วแต่ไม่
มีใครหยิบนามาใช้สานขึน้ ชิน้ งาน อีกทัง้ พี่ตูมได้กล่าวว่า ลวดลายนีเ้ ป็ นดั่งภูมิปัญญาท้องถิ่นใน
44

ชุมชน เพราะได้ถูกสืบทอดต่อกันมารุ่นสู่รุ่นเพื่อใช้ในการประกอบอาชีพสร้างรายได้ให้กับชุมชน
จากอาชีพการจักสานหวาย
2.3 ขัน้ ตอนที่ 3
หลังจากที่ผูว้ ิจัยได้ขอ้ มูลเพิ่ม เติม ของ ลวดลายจูงนางที่จะนามาใช้ในการพัฒ นา
ผลิตภัณฑ์จากผูเ้ ชี่ยวชาญเป็ นที่เรียบร้อยแล้ว ผูว้ ิจยั จึงได้ดาเนินการขึน้ ชิน้ งานโดยอาศัยหลักการ
และแนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์หตั ถกรรม (สานักนวัตกรรมแห่งชาติ .2547) ต้องแสดงให้เห็น
ถึงการออกแบบและการผลิตที่มีการผสมผสานระหว่างขนบธรรมเนียมแบบดัง้ เดิมและแบบร่วม
สมัย โดยอ้างอิงถึงความงาม (Artistic & Aesthetic Value) ประโยชน์ใช้สอย (Function Value)
และ กระบวนการผลิต (Production Process) ผูว้ ิจัยจึงได้ดาเนินการออกแบบโดยการร่างแบบ
ออกมาทัง้ หมด 2 แบบด้วยกันดังนี ้
2.3.1 รู ปร่างแบบที่ 1 : นาลวดลายจูง นางมาสานขึน้ โครงร่างโดยอ้างอิง จาก
ดริปเปอร์ทรงกรวย แนวคิดในการออกแบบรู ปแบบที่ 1 คือการนารู ปแบบของดริปเปอร์ทรงกรวย
และลายจูงนางมาสานต่อกันให้ทึบเป็ นชิน้ เดียวกันจากด้านบนและไล่เป็ นวงกลมจนไปถึงด้านล่าง
และตั้ง ใจให้เ ห็ นเป็ น เส้นหวายในส่ว นด้า นล่า งเพื่อ สร้า งลัก ษณะเฉพาะตัว หรื อ จุด เด่ น ให้กับ
ผลิตภัณฑ์เนื่องจากผูว้ ิจยั ไม่ตอ้ งการให้มีลกั ษณะคล้ายคลึงกับผลิตภัณฑ์จกั สานอื่น ๆ

ภาพประกอบ 19 ออกแบบโครงร่างรูปแบบที่ 1

ภาพถ่ายโดยผูว้ ิจยั
45

2.3.2 รู ปร่างแบบที่ 2 : นาลวดลายจูงนางมาสานขึน้ โครงร่างโดยอ้างอิงจากดริป


เปอร์ทรงมัตซึย่า แนวคิดในการออกแบบรูปแบบที่ 2 คือการนารูปแบบของดริปเปอร์ทรงมัตซึย่ามา
เป็ นตัวต้นแบบ โดยใช้เส้นหวายเส้นใหญ่มาขึน้ โครงร่างก่อนจึงค่อยนาลายจูงนางมาสานวนรอบ
เส้นหวายเส้นใหญ่ ซึ่งจะมีลักษณะการสานที่ไม่ทึบ โปร่งแสงและนามาใช้ตกแต่งเพิ่มเติม ตรง
บริเวณระหว่างข้อต่อของหวายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงและลักษณะเฉพาะตัวของผลิตภัณฑ์

ภาพประกอบ 20 ออกแบบโครงร่างรูปแบบที่ 2

ภาพถ่ายโดยผูว้ ิจยั

เมื่อผูว้ ิจัยได้ทาการร่างโครงร่างต้นแบบออกแบบมาทัง้ 2 แบบเป็ นที่เรียบร้อยแล้ว โดย


ได้มาเป็ นแบบที่สานทึบและแบบสานโปร่ง ผูว้ ิจยั จึงนาไปให้ผเู้ ชี่ยวชาญด้านการจักสานหวายเริ่ม
ทดลองจักสานขึน้ ตัวต้นแบบผลิตภัณฑ์ดว้ ยวัสดุแปรรูปหวายขึน้ มาทัง้ สองแบบ โดยผลลัพธ์ท่ีได้
ออกมาเป็ นดังนี ้
46

2.4 ภาพถ่ายผลิตภัณฑ์ตัวต้นแบบรู ปแบบที่ 1 (แบบสานทึบ)

ภาพประกอบ 21 ตัวอย่างโครงร่างผลิตภัณฑ์ตน้ แบบรูปแบบที่ 1

ที่มา : โดยผูว้ ิจยั


47

2.5 ภาพถ่ายผลิตภัณฑ์ตัวต้นแบบรู ปแบบที่ 2 (แบบสานโปร่ง)

ภาพประกอบ 22 ตัวอย่างโครงร่างผลิตภัณฑ์ตน้ แบบรูปแบบที่ 2

ภาพถ่ายโดยผูว้ ิจยั

เมื่อได้ตวั ผลิตภัณฑ์ตน้ แบบทัง้ สองแบบเป็ นที่เรียบร้อยแล้ว ผูว้ ิจยั จึงได้นามาปรึกษากับ


ผูเ้ ชี่ยวชาญเพื่อถามความเห็นเกี่ยวกับตัวผลิตภัณฑ์จักสานว่า รู ปแบบไหนมีความเหมาะสมใน
ด้านความสวยงามและการใช้งาน ประกอบกับต้องสอดคล้องกับแนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์
หัตถกรรม (สานักนวัตกรรมแห่งชาติ .2547) ที่ผูว้ ิจัยนามาใช้อา้ งอิงในการออกแบบและพัฒนา
ผลิตภัณฑ์
ผู้วิจัยจึ ง สามารถสรุ ปได้ว่าผลิตภัณฑ์ตัวต้นแบบที่ 1 มี ความเหมาะสมและตรงตาม
แนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์หตั ถกรรมมากที่สดุ ตามองค์ประกอบทัง้ 3 อย่างประกอบด้วย ด้าน
ความสวยงาม,ด้านประโยชน์ใช้สอยและด้านกระบวนการผลิต โดยสามารถแจกจางรายละเอียด
ได้ด่งั นี ้
1.)ด้านความสวยงาม : รู ปแบบการสานที่เป็ นเอกลักษณ์ สามารถแสดงถึง ความ
สวยงามของลวดลายการสานที่บ่งบอกถึงความประณีต และความเป็ นไทยได้อย่างลงตัว
2.)ด้านประโยชน์ใช้สอย : นอกเหนือจากการนามาใช้สกัดกาแฟแบบดริปแล้วในด้าน
คุณสมบัติของรูปแบบการสานนัน้ ยังสามารถนามาใช้ในการสะเด็ดนา้ ได้อีกด้วย
48

3.)ด้านกระบวนการผลิต : สามารถแสดงถึงกระบวนการจักสานได้อย่างชัดเจนเมื่อ
เทียบกับตัวต้นแบบที่ 2 เพราะต้องใช้ความประณี ตและระยะเวลาในการประดิษฐ์ท่ีม ากกว่า
พอสมควร อีกทัง้ ยังสามารถแสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมพืน้ บ้านที่เป็ นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของคน
ไทยได้อย่างชัดเจน
หลังจากที่ผวู้ ิจยั ได้ทาการวิเคราะห์โดยใช้ แนวคิดด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์หตั ถกรรม
(สานักนวัตกรรมแห่งชาติ.2547) ผูว้ ิจยั จึงได้นาผลิตภัณฑ์ตวั ต้นแบบที่ 1 ไปทดลองขายจริงและทา
การเก็บข้อมูลจากผู้บริโภคจริง จานวน 10 ท่าน พร้อมทั้งผูเ้ ชี่ยวชาญด้านกาแฟ และด้านการ
ออกแบบผลิ ตภัณ ฑ์ผ่ านการสัม ภาษณ์เชิ ง ลึกเพื่อนาข้อมูลและความเห็นที่มี ต่อผลิตภัณฑ์มา
ปรับปรุงแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ในขัน้ ตอนต่อไป ดังรูปภาพต่อไปนี ้

ภาพประกอบ 23 ตัวอย่างโครงร่างผลิตภัณฑ์ตน้ แบบรูปแบบที่ 1

ถ่ายโดยผูว้ ิจยั
49

ขัน้ ตอนที่ 3 นาตัวต้นแบบขายจริงผ่านช่องทางออนไลน์และเลือกผู้บริโภคจานวน 10 ท่าน


พร้อมทั้งผู้เชี่ยวชาญทางด้านการดื่มกาแฟ และนักออกแบบผลิตภัณฑ์ จานวน 2 ท่าน มา
ทาการสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อหาข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และทาการ
สรุปผลและปรับปรุ งแบบต่อไป
เมื่อผูว้ ิจยั ได้ทาการพัฒนาตัวต้นแบบผลิตภัณฑ์เสร็จสมบูรณ์เป็ นที่เรียบร้อยแล้ว ผูว้ ิจยั
จึงได้ทาการทดลองขายผ่านช่องทางออนไลน์ เพื่อทาการเก็บข้อมูลจากที่ผูท้ ่ีสนใจและนาไปใช้
บริโภคหรือนาไปใช้ดริปกาแฟในชีวิตจริง เพื่อให้ได้ขอ้ มูลเชิงคุณภาพหรือความคิดเห็นที่สามารถ
นามาปรับแก้ไขตัวผลิตภัณฑ์ให้มีความสมบูรณ์ได้มากยิ่งขึน้
3.1 นาตัวต้นแบบทดลองขายจริงผ่านทางช่องทางออนไลน์
3.1.1 ผ่านทางช่องทาง Facebook

ภาพประกอบ 24 แสดงช่องทางการขายออนไลน์ช่องทางที่ 1

ภาพถ่ายโดยผูว้ ิจยั
50

3.1.2 ผ่านทางช่องทาง Line Shopping

ภาพประกอบ 25 แสดงช่องทางการขายออนไลน์ช่องทางที่ 2

ภายถ่ายโดยผูว้ ิจยั

โดยจากการทดลองขายจริงผ่านทางทัง้ สองช่องทางนัน้ ผลปรากฎว่ามีผทู้ ่ีสนใจและซือ้


ไปใช้บริโภคจานวนทัง้ หมด 10 ท่าน จากนัน้ จึงทาการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อถาม
ถึงความคิดเห็นที่มี ต่อตัวผลิ ตภัณฑ์และนาข้อมูลมาสรุ ปเป็ นแนวทางในการพัฒนาผลิ ตภัณฑ์
ก่อนที่จะนาไปสอบถามผูเ้ ชี่ยวชาญอีก 2 ท่าน จึงสามารถสรุปข้อมูลที่ได้ดงั ตารางดังต่อไปนี ้
51

3.2 ทาการเก็บข้อมูลข้อเสนอแนะและคาแนะนาทีม่ ีต่อผลิตภัณฑ์จากผู้บริโภค

ตาราง 4 แสดงข้อมูลความคิดเห็นที่ได้จากผูบ้ ริโภคจานวน 10 ท่าน

ลาดับของ ความคิดเห็นจากผู้บริโภคทีท่ ดลองใช้งานจริง


ผู้บริโภค

ผู้บริโภคลาดับที่ ดริปเปอร์หวายเมื่อใช้แล้วรูส้ ึกว่ามีนา้ หนักเบากว่าดริปเปอร์ท่ที ามาจากวัสดุ


1 ชนิดอื่น ทาให้พกพาได้ง่าย การสานของตัวดริปเปอร์มีความประณีตทาให้มี
สุนทรียระหว่างการใช้งานเพิ่มมากขึน้ แต่ใช้ระยะยาวอาจจะเกิดเชือ้ รา
ส่วนตัวรูส้ ึกดีท่ตี วั ผลิตภัณฑ์นนั้ ทาจากวัสดุธรรมชาติเพราะช่วยลดการใช้วสั ดุ
ที่เป็ นพิษต่อสิ่งแวดล้อม แต่ถา้ หากเก็บการสานที่บริเวณด้านล่างน่าจะช่วย
ทาให้ผลิตภัณฑ์แข็งแรงขึน้

ผู้บริโภคลาดับที่ ในด้านการออกแบบค่อนข้างมีเอกลักษณ์ท่แี สดงความเป็ นท้องถิ่นแบบไทย


2 ได้ดี จากการนาหวายมาสานมาประยุกต์ใช้ มีความสวยงามในตัว ด้านการใช้
งานส่วนตัวรูส้ กึ ว่าอาจจะใช้งานยากสาหรับมือใหม่ อาจจะต้องมี
ประสบการณ์ในการดริปกาแฟมาก่อนจึงจะคุน้ เคยได้ ด้านการดูแลรักษาต้อง
พิถีพิถนั ระดับนึง เนื่องจากเป็ นวัสดุธรรมชาติและบริเวณปลายข้างล่างดูไม่
แข็งแรง

ผู้บริโภคลาดับที่ จากที่ได้ใช้ผลิตภัณฑ์แล้ว รูส้ กึ ชอบในด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ มีความ


3 สวยงามเรียบง่ายแล้วก็ดมู ีความเป็ นไทยอยู่ในผลิตภัณฑ์ ส่วนด้านการใช้งาน
พอได้ลองใช้งานแล้วก็รูส้ กึ ว่าใช้งานได้ง่าย การออกแบบเข้ากับการใช้งานใน
การดริปกาแฟ ทาให้รูส้ กึ ว่าใช้งานได้ไม่ยากอย่างที่คิดแต่อาจจะมีเรื่อง
ความรูส้ กึ รสสัมผัสของกาแฟที่อาจจะมีกลิ่นของธรรมชาติติดมาบ้างนิดหน่อย
แต่ก็ยงั รับได้
52

ตาราง 4 (ต่อ)

ลาดับของ ความคิดเห็นจากผู้บริโภคทีท่ ดลองใช้งานจริง


ผู้บริโภค

ผู้บริโภคลาดับที่ สามารถใช้งานได้สะดวก พกพาสะดวก ดูแลทาความสะอาดได้ง่ายและใน


4 ด้านความสวยงามมีความสวยงาม ถ้าไม่ใช้ก็สามารถนามาตกแต่งบ้านได้ ตัว
ผลิตภัณฑ์กว่าจะทาออกมาเป็ นชิน้ งานนัน้ ใช้ระยะเวลาพอสมควรและช่วย
อนุรกั ษ์ในเรื่องของความเป็ นไทย อีกทัง้ ยังสนับสนุนให้ชาวบ้านมีทกั ษะ
สามารถมีรายได้เสริมจากเวลาว่างอีกด้วย

ผู้บริโภคลาดับที่ ผลิตภัณฑ์มีความเฉพาะตัว สวยงาม และแปลกใหม่ ซึ่งเป็ นจุดเด่นที่ทาให้


5 ตัดสินใจซือ้ มาใช้งาน ส่วนในด้านการใช้งาน ประสิทธิภาพและประโยชน์ใช้
สอยอาจจะไม่เทียบเท่ารุ่นอื่น แต่การใช้งานสามารถใช้ได้ปกติดี ใช้แล้วได้
อรรถรส และถ่ายรูปสวย

ผู้บริโภคลาดับที่ การออกแบบผลิตภัณฑ์มีความเรียบง่าย สวยงาม และเรื่องของการใช้งานผม


6 มองว่าการดริปกาแฟไม่ใช่การที่ตอ้ งใช้เครื่องมือแพงๆ แต่มนั ขึน้ อยู่กบั
บรรยากาศและสถานที่นนั้ ๆมากกว่า ที่ชอบใช้แบบนีเ้ พราะว่ามีการดริปที่
ผสมผสานภูมิปัญญาชาวบ้านง่ายๆไม่ตอ้ งใช้เครื่องมือให้ย่งุ ยากหรือใช้
อุปกรณ์หลายชิน้

ผู้บริโภคลาดับที่ ผลิตภัณฑ์สามารถแสดงถึงมีความเป็ น Local และดู premium มีทงั้ มีกลิ่น


7 หอมเฉพาะตัว ทาให้เพิ่มอรรถรสในการทานกาแฟ แต่ไม่ถึงขัน้ กลบกลิ่มหอม
ของตัวกาแฟแต่ควรแก้ไขเรื่องการสานจบงานเพราะทาให้ดไู ม่แข็งแรง
53

ตาราง 4 (ต่อ)

ลาดับของ ความคิดเห็นจากผู้บริโภคทีท่ ดลองใช้งานจริง


ผู้บริโภค

ผู้บริโภคลาดับที่ มีความแตกต่างจากดริปเปอร์แบบอื่นที่เคยใช้ ในด้านความสวยงามและ


8 ความรูส้ กึ เวลาได้ใช้ให้บรรยากาศที่ดีเวลาไปท่องเที่ยว เหมือนได้จิบกาแฟ
ด้วยความรูส้ ึกใหม่ท่ีดีกว่าแต่เกร็งว่าบริเวณด้านล่างนักออกแบบอาจะทาให้
เป็ นจุดเด่น แต่ส่วนตัวมองว่าดูไม่เรียบร้อยซึ่งอาจไปกระทบกับด้าน
ความแข็งแรงของผลิตภัณฑ์ได้

ผู้บริโภคลาดับที่ มีจดุ เด่นคือตัววัสดุท่มี ีความโดดเด่นน่าสนใจไม่เหมือนใครในตลาดที่ขาย


9 ดริปเปอร์และภาพที่มองเห็นผลิตภัณฑ์ในครัง้ แรกให้ความรูส้ กึ ว่าเป็ นงาน
Handmade งานจากชุมชนโดยเฉพาะส่วนบริเวณปลายดริปเปอร์ท่สี านทิง้ ไว้
คิดว่าข้อเสียอาจเป็ นในเรื่องของ การเก็บรักษาและอายุการใช้งานเนื่องจาก
เป็ นวัสดุธรรมชาติ ซึ่งแตกต่างจากเจ้าอื่นที่ใช้วสั ดุท่เี ป็ นพลาสติก หรือแก้ว

ผู้บริโภคลาดับที่ ในด้านของการใช้งานตัวผลิตภัณฑ์นนั้ มีความเรียบง่ายและได้กลิ่นของวัสดุ


10 แปรรูปหวายเมื่อใช้งานซึ่งเป็ นความรูส้ ึกใหม่ แต่ไม่กลบกลิ่นกาแฟจนหายไป
และมีความเด่นเฉพาะตัวเมื่อเทียบกับดริปเปอร์อ่นื ในตลาดและยังแสดงให้
เห็นถึงความเป็ นไทยผ่านงานจักสานได้อย่างชัดเจน

จากข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ผบู้ ริโภคทัง้ หมด 10 ท่าน พบว่าตัวผลิตภัณฑ์สามารถ


แสดงถึงความเป็ นไทยได้อย่างชัดเจน โดยผ่านกรรมวิธีการผลิตด้วยการจักสาน อีกทัง้ ยังสามารถ
แสดงถึงความเป็ นผลิตภัณฑ์ท่ีมาจากชุมชนซึ่งถือว่าตรงตามจุดประสงค์ท่ีผวู้ ิจยั ได้ตงั้ ไว้ในการทา
วิจยั ครัง้ นี ้ แต่ในด้านของการใช้งานนัน้ ผูบ้ ริโภคได้กล่าวว่าเมื่อนาไปใช้ดริปกาแฟจริงแล้วใช้งาน
54

ไม่ยากแต่ในเรื่องของรสชาติตวามเข้มข้นของกาแฟไม่สามารถทาได้ดีเทียบเท่ากับดริปเปอร์ท่ีทา
จากวัสดุชนิดอื่น แต่มีจุดเด่นที่แตกต่างอย่างชัดเจน คือ กลิ่นที่มาจากวัสดุแปรรูปหวายที่ให้สมั ผัส
ใหม่ในระหว่างการดริปกาแฟซึ่งไม่กลบรสชาติของกาแฟให้หายไป ซึ่งทาให้เป็ นสัมผัสใหม่ในการ
ดริปกาแฟ
ส่วนข้อที่ควรปรับ ปรุ ง แก้ไ ขคื อส่วนบริเ วณปลายด้านล่า งของดริปเปอร์ดูมี ความไม่
เรียบร้อยสานไม่เป็ นชิน้ เดียวกันจึงทาให้กังวลถึงเรื่องความแทนทานในการใช้งาน จึงควรนาไป
สานให้เป็ นต่อกันให้เรียบร้อยเป็ นชิน้ เดียวกัน เพื่อให้ผลิตภัณฑ์มีความประณีตและมีความแข็งแรง
แทนทานมากขึน้ เก็บรักษาได้ง่ายขึน้ เป็ นต้น และคาแนะนาเพิ่มเติมที่ผูบ้ ริโภคได้กล่าวมาคือใน
ด้านของการรักษาหรืออายุการใช้งานของผลิตภัณฑ์นนั้ ผูบ้ ริโภคส่วนใหญ่มีความกังวลเรื่องของ
อายุก ารใช้ง าน เนื่ อ งจากวัส ดุแ ปรรู ป หวายนั้น เป็ น วัส ดุธ รรมชาติ จึ ง เกร็ง ว่ า ถ้า ใช้ง านไปสัก
ระยะเวลาจะมีการขึน้ รา จึงต้องการการดูแลที่เป็ นพิเศษหรือดูแลยากจึงไม่เหมาะกับการนามาใช้
ในชีวิตประจาวัน แต่เหมาะกับการเป็ นผลิตภัณฑ์ท่ใี ช้เป็ นบางโอกาส เช่น เมื่อไปเดินทางท่องเที่ยว
สถานที่ธรรมชาติหรือเหมาะกับการเป็ นของตกแต่งบ้านมากกว่า.
3.3 ทาการเก็บข้อมูลข้อเสนอแนะและคาแนะนาทีม่ ีต่อผลิตภัณฑ์จากผู้เชี่ยวชาญ
หลักจากที่ได้ขอ้ คิดเห็นจากผูบ้ ริโภคที่ทดลองใช้ตัวผลิตภัณฑ์จริงเป็ นจานวน 10 ท่าน
เป็ นที่เรียบร้อยแล้ว ผูว้ ิจยั จึงได้ทาการเก็บข้อมูลเพิ่มเติมด้วยวิธีการทาแบบสอบถามผ่านช่องทาง
ออนไลน์ (Questionnaire) ด้ว ยการส่ ง ข้อ มู ล ทาง E-mail โดยผู้วิ จั ย ได้ท าแบบสอบถามกั บ
ผูเ้ ชี่ยวชาญรวมทัง้ หมดจานวน 2 ท่าน เพื่อนามาเป็ นแนวทางประกอบในการพัฒนาต่อไป โดยมี
รายละเอียดดังนี ้
ท่านที่ 1 ดร.อภิชญา อังคะภิวาต ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ อาจารย์
ประจาสาขาวิชาการออกแบบสื่อปฏิสมั พันธ์และมัลติมีเดีย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ท่านที่ 2 คุณศิลา พงษ์สุวรรณ ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการดื่มกาแฟ เจ้าของร้านกาแฟที่
ได้รบั แรงบันดาลใจจากการชื่นชอบศาสตร์ของกาแฟ
โดยผูว้ ิจยั ได้วางแผนการเก็บข้อมูลแบบสอบถามออกเป็ นทัง้ 3 ด้านดังนี ้
1. ด้านการใช้งานผลิตภัณฑ์เป็ นอย่างไร
2. ด้านการออกแบบหรือรูปลักษณ์ภายนอก
3. ด้านวัสดุท่นี ามาใช้ในการประดิษฐ์
55

3.3.1 ด้านของการใช้งาน
ผู้เชี่ยวชาญท่านที่ 1 ได้ให้ความเห็นว่าในแง่การของการใช้งานน่าจะสามารถ
ใช้ดริปกาแฟได้ปกติ แต่มีความกังวลในเรื่องของอายุการใช้งานที่น่าจะมีอายุนอ้ ยกว่าวัสดุชนิดอื่น
ผู้เชี่ยวชาญท่านที่ 2 ได้ให้ความเห็นว่าผลิตภัณฑ์ดไู ม่ค่อยแข็งแรง อาจจะชารุด
ได้ง่าย ในส่วนของการนาไปใช้งานจริงนัน้ อาจให้กลิ่นที่แปลกใหม่และแตกต่างจากดริปเปอร์ท่ วั ไป
ได้ เนื่องจากทาจากวัสดุแปรรูปหวายซึ่งเป็ นวัสดุธรรมชาติซ่งึ เป็ นจุดเด่นของตัวผลิตภัณฑ์นี ้
3.3.2 ด้านการออกแบบหรือรูปลักษณ์ภายนอก
ผู้เชี่ยวชาญท่านที่ 1 ได้ให้ความเห็นว่า ตัวผลิตภัณฑ์สามารถให้ความเป็ นไทย
ได้อย่างชัดเจนด้วยลวดลายการจักสานและวัสดุแปรรูปหวาย แต่หากนาไปสานบริเวณด้านล่างให้
เรียบร้อยน่าจะทาให้ผลิตภัณฑ์ดสู มบูรณ์มากกว่านี ้
ผู้เชี่ยวชาญท่านที่ 2 ได้ให้ความเห็นว่า ดูมีความเป็ นไทยน่าใช้ แต่หากมีการ
สานบริเวณด้านล่างให้เรียบร้อยน่าจะช่วยให้ดมู ีความสวยงามมากยิ่งขึน้ และหากมีการส่งออกไป
ยังต่างประเทศ จะสามารถบ่งบอกว่าเป็ นผลิตภัณฑ์ท่ีม าจากกลุ่มชนชนชาวบ้านพืน้ เมื องของ
ประเทศไทยได้อย่างชัดเจนเพราะเป็ นงานจักสาน
3.3.3 ด้านวัสดุท่นี ามาใช้ในการประดิษฐ์
ผู้เชี่ยวชาญท่านที่ 1 ได้ให้ความเห็นว่าอาจมีความไม่เหมาะสม เพราะเนื่องจาก
เป็ นวัสดุธรรมชาติจึงอาจทาให้มีอายุการใช้งานที่นอ้ ย
ผู้เชี่ยวชาญท่านที่ 2 ได้ให้ความเห็นว่ามีความเหมาะสมเนื่องจากทาจากวัสดุ
ธรรมชาติช่วยลดการสร้างมลพิษให้กับสิ่งแวดล้อม และมีความเป็ นเอกลักษณ์เพราะทาจากวัสดุ
หวายซึ่งเป็ นวัสดุทอ้ งถิ่นของประเทศไทย อีกทัง้ ยังช่วยส่งเสริมชุมชนที่เพาะปลูกอีกด้วย
56

ตาราง 5 แสดงข้อมูลที่ได้จากการสอบถามผูเ้ ชี่ยวชาญ

ผู้เชี่ยวชาญ ด้านการใช้งาน ด้านการออกแบบ ด้านวัสดุทนี่ ามาใช้


ผลิตภัณฑ์ สร้างผลิตภัณฑ์
ผูเ้ ชีย่ วชาญ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ม่ ค่ อ ย มี มีความเป็ นไทยน่านามาใช้ มีความเหมาะสมเนื่องจาก
ด้านกาแฟ ความแข็ ง แรงอาจจะ และสามารถบ่งบอกว่าเป็ น ทาจากวัสดุธรรมชาติช่วยลด
ชารุ ดได้ง่ายและให้กลิ่น ผลิตภัณฑ์ท่ีมาจากกลุ่มชุน การสร้างมลพิษให้กบั
ธรรมชาติกลิ่นที่แตกต่าง ชนชาวบ้านของไทย สิ่งแวดล้อมและช่วยส่งเสริม
จากดริปเปอร์ท่วั ไป ชุมชนที่เพาะปลูกได้

ผูเ้ ชีย่ วชาญ ตั ว ผลิ ต ภั ณ ฑ์ส ามารถให้ อาจมีความไม่เหมาะสม


ด้าน ความเป็ นไ ทยไ ด้ อ ย่ า ง เพราะเนื่องจากเป็ นวัสดุ
น่ า จะสามารถใช้ ด ริ ป
การออกแบบ ชัดเจนด้วยลวดลายการจัก ธรรมชาติจึงอาจทาให้มีอายุ
กาแฟได้ปกติ แต่มีความ
กั ง วลในเรื่ อ งของอายุ สานและวัสดุแปรรู ปหวาย การใช้งานที่นอ้ ย
การใช้งานที่น่าจะมี อายุ แต่ ห ากน าไปสานบริ เ วณ
น้อยกว่าวัสดุชนิดอื่น ด้านล่างให้เรียบร้อยน่าจะ
ทาให้ผลิตภัณฑ์ดูสมบูรณ์
มากกว่านี ้

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากผู้เชี่ยวชาญ
ผูเ้ ชี่ยวชาญท่านที่ 1 ได้ให้ขอ้ เสนอแนะว่า ควรมีขอ้ มูลที่เกี่ยวกับด้านอายุการใช้งาน
ของตัวผลิตภัณฑ์รวมถึงวิธีการเก็บรักษาแบบเฉพาะทาง เพราะวัสดุธรรมชาติค่อนข้างดูแลรักษา
ยาก
ผูเ้ ชี่ยวชาญท่านที่ 2 ได้ให้ขอ้ เสนอแนะว่า ตัวผลิตภัณฑ์อาจจะไม่สามารถใช้งานได้
จริงในชีวิตประจาวัน อีกทัง้ เนื่องด้วยตัวผลิตภัณฑ์ทาจากวัสดุธรรมชาติจึงมีความกังวลเรื่องของ
การขึน้ รา ในส่วนของรู ปลักษณ์บริเวณด้านล่างน่าจะสานดูให้เรียบร้อยและหากมีนวัตกรรมที่
สามารถเคลือบและปลอดภัยสามารถรับประทานได้น่าจะช่วยทาให้ตวั ผลิตภัณฑ์ดแู ปลกใหม่และ
มีเอกลักษณ์เพิ่มมากขึน้
57

จึงสามารถสรุปได้ว่าตัวผลิตภัณฑ์นนั้ ไม่สามารถให้ผลลัพธ์ได้เทียบเท่ากับดริปเปอร์ท่ีทา
จากวัสดุชนิดอื่นในด้านของรสชาติกาแฟ ส่วนในด้านของการใช้ดริปกาแฟอาจไม่เหมาะกับการ
นามาใช้ในชีวิตประจา เพราะเป็ นการนาวัสดุธรรมชาติมาแปรรู ปด้วยวิธีการจักสานจึงทาให้ไม่มี
ความแข็ ง แรง ในส่ว นของด้า นการออกแบบหรื อ รู ป ลัก ษณ์ภ ายนอกในบริเ วณด้า นล่า งของ
ดริปเปอร์ดไู ม่แข็งแรง จึงควรนาไปสานเก็บให้เป็ นชิน้ เดียวกันจะช่วยให้ผลิตภัณฑ์มีความสมบูรณ์
ขึน้ และสามารถแสดงถึงความประณีตของชิน้ งานด้วยฝี มือของคนไทยได้มากยิ่งขึน้

ขั้นตอนที่ 4 นาข้อเสนอแนะและข้อที่ควรแก้ไขปรับปรุ งจากผู้บริโภคและจากผู้เชี่ยวชาญ


มาทาการพัฒนาและปรับปรุ งผลิตภัณฑ์ให้มีความสมบูรณ์
เมื่อผูว้ ิจยั ได้ขอ้ มูลและทาการสังเคราะห์ขอ้ มูลเป็ นที่เรียบร้อยแล้ว ผูว้ ิจยั จึงได้นาข้อที่ควร
ปรับปรุงและข้อเสนอแนะจากผูบ้ ริโภคและผูเ้ ชี่ยวชาญมาทาการปรับแก้แบบกับผูเ้ ชี่ยวชาญด้าน
งานจักสาน เพื่อทาการพัฒนาตัวผลิตภัณฑ์ตวั สมบูรณ์
จากการทาการสอบถามกลุม่ ผูบ้ ริโภคและผูเ้ ชี่ยวชาญในขัน้ ตอนที่ 3 ทาให้ผวู้ ิจยั ทราบถึง
จุดที่ควรปรับปรุ ง แก้ไ ขตัวผลิ ตภัณฑ์ คือในด้านของการออกแบบหรือรู ปลักษณ์ภ ายนอกของ
ผลิตภัณฑ์ บริเวณด้านล่างควรนาไปทาการสานให้เรียบร้อยเป็ นชิน้ เดียวกันเพราะผูบ้ ริโภคมีความ
กังวลว่าอาจมีเศษของหวายตกลงไปในภาชนะได้ระหว่างใช้งาน โดยมีรายละเอียดการปรับแก้ดงั นี ้
ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์
ผูว้ ิจยั จึงได้ทาการปรับปรุงแก้ไขด้วยการปรับรูปแบบของการสานบริเวณด้านล่างของตัว
ผลิตภัณฑ์นนั้ ให้เป็ นชิน้ เดียวกันโดยการสานด้วยลายจูงนางติดกันเป็ นชิน้ เดียวกัน เพื่อให้มีความ
เรี ย บร้อ ยและเพิ่ ม ความแข็ ง แรงทนทานให้มี อ ายุก ารใช้ง านที่ น านขึ น้ จึ ง ท าให้ผู้วิ จัย ได้เ ป็ น
ผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟแบบดริปด้วยวัสดุแปรรู ปหวายแบบสมบูรณ์ตรงถามวัตถุประสงค์ของการ
วิจยั ในครัง้ นี ้
58

ภาพประกอบ 26 แสดงถึงตัวผลิตภัณฑ์ท่ผี วู้ ิจยั ทาการปรับปรุงแบบ

ภาพถ่ายโดยผูว้ ิจยั
59

บทที่ 5
สรุ ปผลการวิจัย อภิปราย และข้อเสนอแนะ

การวิจัยเรื่องการออกแบบและพัฒ นาผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟแบบดริปจากวัสดุแ ปรรู ป


หวาย มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากลวดลายงานจักสาน ซึ่งการวิจัยใน
ครัง้ นีเ้ ป็ นการวิจัยและพัฒนา (The Research and Development) โดยผูว้ ิจัยได้ทาการศึกษาหา
ข้อมูลเกี่ยวกับลวดลายการจักสาน รู ปแบบของผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟแบบดริป และวัสดุแปรรู ป
หวายที่นามาใช้ในการผลิต จากนัน้ นามาออกแบบผลิตภัณฑ์ตัวต้นแบบ เมื่อได้ผลิตภัณฑ์ท่ีผ่าน
การออกแบบเป็ นผลิตภัณฑ์ตัวต้นแบบแล้ว จากนัน้ ผูว้ ิจยั จึงได้นาไปทดลองขายจริงผ่านช่องทาง
ออนไลน์ และท าการเก็ บ ข้อ มูล จากผู้ บ ริ โ ภคที่ ใ ช้จ ริง จ านวน 10 ท่ า น รวมถึ ง น าแบบร่ า งให้
ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการดื่มกาแฟ และด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์พิจารณาทัง้ หมด 2 ท่าน ผ่านการ
ทาแบบสอบถาม เพื่อหาข้อเสนอแนะแนว ทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สมบูรณ์ จากนัน้ นาผล ที่ ไ ด้
จากการทาแบบสอบถามของผูบ้ ริโภคและผูเ้ ชี่ยวชาญมาจับประเด็นสาคัญและสรุปผล และนาไป
ปรับปรุงผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟแบบดริปด้วยวัสดุท่ีแปรรูปจากหวายให้สมบูรณ์ หลังจากได้ผลการ
ด าเนิ น งานวิ จัย ครบจามขั้นตอนแล้วสามารถสรุ ป ผลการด าเนิ น งาน โดยแบ่ ง หัว ข้อ การสรุ ป
ดังต่อไปนี ้
1.สรุปผลการวิจยั
2.อภิปรายผลการวิจยั
3.ข้อเสนอแนะ

1. สรุปผลการวิจัย
จากการวิจยั เรื่องการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟแบบดริปจากวัสดุแปรรูป
หวาย มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากลวดลายงานจักสานไทย โดยมีขอ้
ค้นพบในการวิจยั ดังนี ้
1.จากการศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับรู ปแบบลายจักสานไทย พบว่า รู ปแบบของการ
สานนัน้ มีอยู่หลากหลายรูปแบบ โดยมักจะยึดตามวัตถุประสงค์ว่าจะนามาใช้งานอย่างไรเพื่อให้
เกิดประโยชน์ใช้สอยที่สามารถนามาใช้ในชีวิตประจาวันได้ เช่น ตะกร้า กระเป๋ า เป็ นต้น ซึ่งเป็ นภูมิ
ปั ญญาของคนไทยที่ถูกสืบทอดกันมารุ่นสู่รุ่น โดยความแตกต่างของแต่ละรู ปแบบจะอยู่ท่ีความ
ห่ า งและความหนาของการสาน ต่ อ มาผู้วิ จัย ได้ท าการคัด เลื อ กลวดลายด้ว ยการปรึก ษากับ
ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการทาหวายและทาการทดลองหาอัตราการไหลของนา้ ผ่านลวดลายทัง้ 10 แบบ
60

เพื่อพิสจู น์ว่าลวดลายใดใช้เวลาน้อยที่สดุ จึงจะเหมาะสมที่จะนามาขึน้ ชิน้ งาน โดยผลที่ได้คือ ลาย


จูงนาง เนื่องจากเป็ นลายที่ทาเวลาได้ดีท่ีสุดในการทดลองและผูเ้ ชี่ยวชาญกล่าวว่าสามารถให้ได้
ทัง้ ด้านการใช้งานและด้านความสวยงาม
2.เมื่ อ ได้รู ป แบบลวดลายจัก สาน หรื อ ลายจู ง นางแล้ว ผู้วิ จัย ได้ท าการเริ่ ม ต้น
ขบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์กับชาวบ้านผูท้ ่ีมีความเชี่ยวชาญการจักสานงานหวายด้วยการวาด
โครงร่างด้วยดินสอก่อนที่จะขึน้ ชิน้ งานจริงด้วยการสาน อ้างอิงจากรูปทรงดริปเปอร์ทรงกรวยและ
ดริปเปอร์ทรงมัตซึย่ามาเป็ นต้นแบบในส่วนของโครงร่าง โดยได้ทาการออกแบบร่างทัง้ หมด 2 แบบ
ด้วยกัน มีลักษณะแตกต่างกันในด้านของช่ องว่างหรือระยะห่างของการสาน จากนั้นนาไปให้
ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านงานจักสานช่วยพิจารณาและให้ขอ้ เสนอแนะ เมื่อได้ตวั ผลิตภัณฑ์ตน้ แบบทัง้ สอง
แบบเป็ นที่เรียบร้อยแล้ว ผูว้ ิจยั จึงได้นามาทาการคัดเลือกด้วยการปรึกษากับผูเ้ ชี่ยวชาญและอาศัย
แนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมที่ประกอบด้วยองค์ประกอบทัง้ 3 ด้านดังนี ้ ด้านความ
สวยงาม,ด้านประโยชน์ใช้สอยและด้านกระบวนการผลิต เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ท่ีมีความเหมาะสม
มากที่สดุ จึงได้เป็ นผลิตภัณฑ์ตน้ แบบรูปแบบที่ 1และจึงนาไปขายผ่านช่องทางออนไลน์พร้อมกับ
เก็บข้อมูลจากผูบ้ ริโภคจริงในขัน้ ตอนต่อไป
3.นาผลิตภัณฑ์ตน้ แบบรู ปแบบที่ 1 ขายผ่านช่องทางออนไลน์และได้ผูบ้ ริโภคจริง
ทัง้ หมด 10 ท่าน มาทาการเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อถามถึงความคิดเห็นที่มีต่อตัว
ผลิตภัณฑ์เพื่อนาคาแนะนาหรือข้อเสนอแนะไปประกอบการพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยผูบ้ ริโภคส่วน
ใหญ่มีความเห็นตรงกันว่าในด้านของการใช้เมื่ อนาไปใช้ดริปกาแฟจริงแล้วไม่สามารถทาได้ดี
เทียบเท่ากับดริปเปอร์ท่ีทาจากวัสดุชนิดอื่น เช่น แก้ว เซรามิค เป็ นต้น แต่จุดเด่นที่ได้คือ กลิ่นที่มา
จากวัส ดุแปรรู ปหวายที่ให้สัม ผัส ใหม่ ในระหว่างการดริปกาแฟซึ่ง ไม่ กลบรสชาติ ของกาแฟให้
หายไป และตัวผลิตภัณฑ์สามารถแสดงถึงความเป็ นไทยได้อย่างชัดเจนผ่านกรรมวิธีการจักสาน
อี ก ทั้ง ยั ง สามารถแสดงถึ ง ความเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์หั ต ถกรรมที่ ม าจากชุ ม ชน และในส่ ว นของ
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม คือด้านของอายุการใช้งานอาจจะไม่คงทนเนื่องจากวัสดุแปรรูปหวายนัน้ เป็ น
วัสดุธรรมชาติจึงอาจไม่เหมาะกับการนามาใช้ในชีวิตประจาวัน แต่เหมาะกับการเป็ นผลิตภัณฑ์
ตัวเลือกที่ใช้เ ป็ นบางโอกาสหรือสามารถเป็ นอุปกรณ์ตกแต่ง บ้านมากกว่าต่อมานาผลิ ตภัณฑ์
ต้นแบบไปให้ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์และด้านการดื่มกาแฟทาการพิจารณาและ
นาข้อเสนอแนะมาปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้มีความลงตัวและสมบูรณ์มากที่สดุ
โดยจากการสรุปผลวิจัยใน 3 ข้อพบว่าสามารถตอบจุดประสงค์ของการวิจยั ที่ผูว้ ิจัย
ได้ คื อ การศึ ก ษาการจัก สานหรื อ ผลิ ต ภัณ ฑ์หัต ถกรรมของไทยนั้น สามารถน ามาออกแบบ
61

ผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟแบบดริปด้วยวัสดุแปรรู ปหวายได้ให้มีเอกลักษณ์ของความเป็ นไทยและตรง


กับความต้องการของตลาดในปั จจุบนั อีกทัง้ ยังเป็ นประโยชน์ต่อชาวบ้านที่สามารถนาองค์ความรู ้
นีไ้ ปปรับใช้เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กบั งานจักสานและสร้างการรับรูใ้ ห้กบั คนรุ่นใหม่ผ่านผลิตภั ณฑ์
ใหม่ ๆของคนไทยได้อย่างลงตัว

2. อภิปรายผลการวิจัย
การวิจัยเรื่องการออกแบบและพัฒ นาผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟแบบดริปจากวัสดุแ ปรรู ป
หวาย มีความสอดคล้องกับข้อมูลในแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งสามารถ
นาไปสูก่ ารอภิปรายได้ดงั นี ้
ผูว้ ิจัยได้ทาการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีความแปลกใหม่จากชิน้ งานจักสานเดิม ที่มี อยู่
โดยอาศัยความชื่นชอบของผูบ้ ริโภคในปั จจุบนั โดยการนาอุปกรณ์ท่ใี ช้สกัดกาแฟแบบดริปมาเป็ น
แนวคิดในการทาวิจัยและผสมผสานกับการจักสานของคนไทยและเลือกใช้วัสดุธ รรมชาติ ใ ห้
ออกมาเป็ นผลิตภัณฑ์ท่ีสามารถใช้งานได้จริงและมีความร่วมสมัย หลังจากการวิจยั จึงทาให้ผวู้ ิจยั
สามารถอภิปรายผลได้ว่า
การสร้างผลิตภัณฑ์หตั ถกรรมงานจักสานจากวัสดุธรรมชาติหรือวัสดุแปรรูปหวายนัน้
สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผูบ้ ริโภคสนใจได้หากตัวผลิตภัณฑ์มีความแปลกใหม่จากผลิตภัณฑ์
ทั่วไปในท้องตลาด สอดคล้องกับ งานวิจยั ของ พรพิมล ศักดา และบวร เครือรัตน์ เรื่องการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ชมุ ชนประเภทของใช้จากวัสดุธรรมชาติของกลุม่ อาชีพเสริมบ้านสุขเกษม ตาบลบางเลน
อาเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม ที่มีขอ้ สรุ ปว่าปั จจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซือ้ ผลิตภัณ ฑ์จ าก
ชุมชน สามารถสรุปตามความเห็นได้ว่า ปั จจัยที่ส่งผลมากที่สุดคือตัวผลิตภัณฑ์ท่ีออกแบบต้องมี
เอกลักษณ์ดูแปลกใหม่ในท้องตลาด รองลงมาคือมีรูปแบบและลวดลายที่สวยงามสอดคล้องกับ
ความต้องการของผูบ้ ริโภคและยัง คงแสดงถึง ความเป็ นเอกลักษณ์ของงานหัตถกรรม(พรพิม ล
ศักดา และบวร เครือรัตน์, 2561) สอดคล้องกับงานวิจัยของ นลินทิพ ย์ เศวตสุวรรณ ที่ศึกษา
เกี่ยวกับการออกแบบชุดกาแฟดริปจากโอ่งราชบุรี ซึ่งพบว่า การขึน้ ตัวต้นแบบผลิตภัณฑ์นนั้ ได้รบั
แรงบันดาลใจจากความชื่นชอบและสนใจเกี่ยวกับโอ่งราชบุรี จึงได้มีการวิเคราะห์ถึงลวดลายของ
โอ่งที่มีลวดลายที่แตกต่างกันก่อนนาใช้เป็ นหลักในการออกแบบ โดยเป็ นชุดดริปกาแฟที่สามารถ
นาเสนอถึงเอกลักษณ์และความสาคัญของโอ่งมังกรที่ซ่งึ นามาถ่ายถอดผ่านกระบวนการออกแบบ
ให้มีลกั ษณะรูปร่างที่มีความร่วมสมัยและมีความสัมพันธ์กนั ในด้านของรูปทรงแต่ยงั คงคุณค่าและ
เรื่องราวของลวดลายนัน้ ๆ (นลินทิพย์ เศวตสุวรรณ, 2557) ในส่วนของการเพิ่มมูลค่าของงานจัก
สาน สอดคล้องกับงานวิจัย เรื่อง การศึกษาลวดลายหัตถกรรมเครื่องจักสานพืน้ บ้านท้องถิ่น เพื่อ
62

เป็ นแนวทางในการออกแบบและพัฒนาลวดลายบนเครื่องเรือน กรณีศึกษา กลุ่มหัตถกรรมเครื่อง


จักสานบ้านหนองขอน อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ของประทักษ์ คูณทอง ที่ได้ขอ้ สรุ ปว่า
วิธีการเพิ่มมูลค่าให้งานจักสานนัน้ จาเป็ นต้องทาให้เป็ นที่รูจ้ ักและสามารถเพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชน
ท้องถิ่นด้วย โดยคนชุมชนจะต้องสามารถนาแนวทางในการประยุกต์ไปปรับใช้และพัฒนาเข้ากับ
งานของตน และสามารถต่อยอดกับวัสดุใหม่ ๆ เพื่อเป็ นการอนุรกั ษ์รูปแบบของลวดลายของเครื่อง
จักสานให้มีแนวทางในการประยุกต์ได้มากยิ่งขึน้ ตลอดจนการเผยแพร่อนุรกั ษ์สืบสานภูมิปัญญา
ให้ค งอยู่ ต่ อ ไป (ประทัก ษ์ คูณ ทอง,2556) อี ก ทั้ง ยัง สอดคล้อ งกั บ แนวคิ ด ด้า นการออกแบบ
ผลิตภัณฑ์หตั ถกรรมที่ผวู้ ิจยั ได้นามาเป็ นแนวคิดประกอบการออกแบบระบุว่าต้องสามารถแสดงให้
เห็นถึงการออกแบบและการผลิตที่มีความผสมผสานระหว่างขนบธรรมเนียมแบบดัง้ เดิม และมี
ความร่วมสมัย จึงทาให้ผลิตภัณฑ์นนั้ สามารถแสดงออกถึงความเป็ นไทยได้ผ่านการจักสานด้วย
ฝี มือของชาวบ้านที่สืบทอดกันมารุ่นสู่รุ่นจึงทาให้มีความเชี่ยวชาญ พร้อมกับได้องค์ความรูใ้ หม่ไป
ประกอบอาชีพด้านงานจักสานได้ โดยยึดตามความต้องการของกลุม่ ผูบ้ ริโภค หรือเทรนด์ (Trend)
ว่ามีความต้องการแบบไหนแล้วจะสามารถตอบสนองกลุ่มผูบ้ ริโภคเหล่านั้นได้อย่างไร (สานัก
นวัตกรรมแห่งชาติ. 2547)

3.ข้อเสนอแนะ
เรื่ อ งวิ ธี ก ารเก็ บ รั ก ษา เนื่องจากวัสดุแปรรู ปหวายเป็ นวัสดุธรรมชาติและเมื่ อน ามา
สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์สกัดกาแฟที่ตอ้ งสัมผัสกับนา้ ขณะที่ใช้งานจึงมีความกังวลว่าอาจทาให้เกิด
การขึน้ ราบนตัวผลิตภัณฑ์ เพราะถ้าเป็ นในส่วนของผลิตภัณฑ์จักสานอื่น ๆ จะมีการเคลือบเพื่อ
ป้องกันราบนพืน้ ผิวของผลิ ตภัณฑ์นั้น ๆ หากมีนวัตกรรมที่ใช้เคลือบเพื่อป้องกันการขึน้ ราและ
ปลอดภัยสามารถบริโภคได้
บรรณานุ กรม

บรรณานุกรม

กรมป่ าไม้. (2561). แผนแม่บทบริหารจัดการทรัพยากรไผ่และหวายแห่งชาติ พ.ศ. 2561-2579.


https://www.tei.or.th/file/events/2018-inbar-plan_24.pdf.
ชาลี วาระดี. (2564). แก้ว โลหะ เซรามิก หรือพลาสติก? อีกเทคนิคเลือก “ดริปเปอร์.”
https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/931590
ไทยอันดับ 5 สร้างขยะพลาสติกต่อประชากรมากสุดในโลก พบอยู่ท่ี 70 กก.ต่อคนต่อปี .
https://www.bangkokbiznews.com/social/1008711
นพดล ใหม่คามิ. (2561). การออกแบบผลิตภัณฑ์เฟอร์นิเจอร์จากวัสดุเสื่อกก: กรณีศกึ ษา ชุดโต๊ะ
เก้าอี ้ นั่งเรียน สาหรับเด็กก่อนปฐมวัย โต๊ะเก้าอีน้ ่งั เล่นเอนกประสงค์.
http://research.rmu.ac.th/rdi-mis//upload/fullreport/1607005678.pdf
นลินทิพย์ เศวตสุวรรณ. (2557). โครงการออกแบบชุดกาแฟดริปที่ได้รบั แรงบันดาลใจมาจากโอ่ง
ราชบุรี. สืบค้นเมื่อ 27 กันยายน 2565, จาก
http://www.sure.su.ac.th/xmlui/bitstream/id/3c34a6dc-f224-4406-a50a-
949453061208/fulltext.pdf?attempt=2
ประทักษ์ คูณทอง. (2555). การศึกษาลวดลายหัตถกรรมเครื่องจักสานพืน้ บ้านท้องถิ่น เพื่อเปน
แนวทางในการ ออกแบบและพัฒนาลวดลายบนเครื่องเรือน: กรณีศึกษา กลุม่ หัตถกรรม
เครื่องจักสานบ้านหนองขอน อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี. จาก
https://opacimages.lib.kmitl.ac.th/medias/b00189078/T128722.pdf
ผูจ้ ดั การออนไลน์. (2563). สารวจตลาดกาแฟไทย “ไปต่อ” หรือ “พักก่อน”. สืบค้นเมื่อ 21
กันยายน 2565, จาก https://mgronline.com/daily/detail/9630000112832
พรพิมล ศักดา และบวร เครือรัตน์. (2561). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชมุ ชนประเภทของใช้จากวัสดุ
ธรรมชาติของกลุม่ อาชีพเสริมบ้านสุขเกษม ตาบลบางเลน อาเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม.
สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2565, จาก
https://repository.rmutr.ac.th/bitstream/handle/123456789/1187/fulltext.pdf?seque
nce=1&isAllowed=y
64

มยุรี เรืองสมบัติ. (2555). การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์หตั ถกรรมกรณีศกึ ษาเฟอร์นิเจอร์ จาก


หวายเทียม.
https://repository.rmutp.ac.th/bitstream/handle/123456789/1458/ITED_56_17.pdf?
sequence=1&isAllowed=y
รัชนี เพชรด้วง. (2565). พฤติกรรมการชงกาแฟในครัวเรือนของประชากรในกรุงเทพมหานคร.
สืบค้นเมื่อ 21 กันยายน 2565, จาก https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/vlt15-
1/6114993721.pdf
ศศิธร พรมมาลา. (2561). ปั จจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมการ
ซือ้ กาแฟสดของผูบ้ ริโภคในอาเภอสันทรายจังหวัดเชียงใหม่.
http://www.graduate.cmru.ac.th/core/km_file/413.pdf
ศูนย์อจั ฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร. (2565). ตลาดกาแฟในประเทศไทยปี 2564. สืบค้นเมื่อ 20
กันยายน 2565, จาก http://fic.nfi.or.th/MarketOverviewDomesticDetail.php?id=364
อาชิรญาณ์ เผ่าต๊ะใจ. (2563). การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กบั ผลิตภัณฑ์กระเทียมปลอดภัยของ
ผูป้ ระกอบการจังหวัดเชียงใหม่.
https://erp.mju.ac.th/openFile.aspx?id=NDA3ODky&method=inline
KURASU. (2564). เลือกดริปเปอร์ยงั ไงให้เหมาะกับตัวเอง. https://kurasubkk.com/th/blogs/new-
blog/how-to-choose-the-dripper-which-one-is-right-for-you
Positioning. (2564). ตลาดกาแฟปี 2563. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2565, จาก
https://positioningmag.com/1337014
ประวัติผู้เ ขีย น

ประวัติผู้เขียน

ชื่อ-สกุล กิตติพฒ
ั น์ วัฒนานุสรณ์
วัน เดือน ปี เกิด 1 ตุลาคม 2542
สถานทีเ่ กิด กรุงเทพมหานคร
วุฒกิ ารศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม
ทีอ่ ยู่ปัจจุบัน 265/29 ซอยสาธุประดิษฐ์ 15 ถนนสาธุประดิษฐ์ เขตยานนาวา แขวงช่อง
นนทรี กรุงเทพ 10120

You might also like