You are on page 1of 72

1045205 สถิติเพื่อการศึกษาวิจัย

(Statistics for Educational Research )

ตวัญจ์ ลักษณ์ พวงนิล


ขอบเขตเนือ้ หา
ขอบเขตเนือ้ หา (ต่ อ)
ขอบเขตเนือ้ หา (ต่ อ)
บทที่ 1
ความรู้พนฐานเกี
ื้ ่ยวกับสถิติ
(Introduction)
ความหมายของสถิติ
ประโยชน์ ของสถิติ
ข้ อมูล

เป็ นรายละเอียด
เกี่ยวกับสิ่งที่ผ้ ูวจิ ัย
ต้ องการศึกษา เช่ น
ตัวแปร (Variable)
ปริมาณ (Quantitative)

ตัวแปร
คุณภาพ
(Qualitative)
ตัวอย่ าง 1
ตัวอย่ าง 2
ตัวอย่ าง 3
ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
สัญลักษณ์
ความหมาย สัญลักษณ์ สัญลักษณ์
ค่าสถิติ ค่าพารามิเตอร์
ค่าเฉลี่ย X 

ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน S หรื อ SD 

ความแปรปรวน S2 
2

สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 
r
ระดับของการวัด
ระดับของการวัด (ต่ อ)
แบบฝึ กหัดท้ ายบท
1. จงอธิบายความหมายของคำว่า “สถิติ”
2. สถิติเชิงบรรยาย หมายถึงอะไร
3. จงอธิบายความหมายของสถิติอา้ งอิงมาพอเข้าใจ
4. จงยกตัวอย่างงานวิจยั มาคนละ 1 เรื่ อง พร้อมทั้งระบุตวั แปรต้น
และตัวแปรตาม
5. ท่านเข้าใจคำว่า “ประชากร” และ “กลุ่มตัวอย่าง” ว่าอย่างไร จงอธิบาย
6. ระดับของการวัดมีประโยชน์ต่อการศึกษาวิจยั อย่างไร และมีกี่มาตราวัด
จงอธิบายทุกมาตรา พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ
บทที่ 2
การแจกแจงความถี่ของข้อมูล (Data Frequency
Distribution)

การแจกแจงความถี่ หมายถึง การนำข้ อมูลทีร่ วบรวมมา ซึ่งเป็ นข้ อมูลดิบ


(Raw data) ทีเ่ ป็ นตัวเลข มาจัดระเบียบใหม่ ให้ เป็ นกลุ่มเหนือหมวดหมู่ เพือ่
ความสะดวกในการวิเคราะห์ และง่ ายต่ อการนำเสนอในค่ าสถิตติ ่ างๆ เช่ น ค่ า
เฉลีย่ มัธยฐาน ฐานนิยม เป็ นต้ น การแจกแจงความถีม่ ี 2 วิธี
หมายถึง การนำข้ อมูลทีไ่ ด้ มาเรียงลำดับจากมาก
การเรียงลำดับ ไปหาน้ อย หรือน้ อยไปหมาก เช่ น คะแนนวัดผล
ข้ อมูล สั มฤทธิ์ของวิชาอาหารและยา มีนักเรียนสอบ 3
0 คน แต่ ละคนได้ คะแนน ดังนี้

16 17 19 24 27 20 22 24
18 20
21 24 20 19 18 17 21 25
20 19 17 22 23 23 25 20
จากข้26
อมูลดัง24
กล่าว นำมาเรี
21 23 ยงใหม่ จากน้อยไปหามาก ได้ดงั นี้
16 17 17 17 18 18
การเรียงลำดับ
19 19 19 20 20 20
ข้ อมูล (ต่ อ)
20 20 21 21 21 22
22 23 23 23 24 24
24 24 25 25 26 27

เมือ่ เรียงข้ อมูลแล้ วทำให้ ทราบ

คะแนนสู งสุ ด คือ 27 คะแนน


ต่ำสุ ดคือ 16 คะแนน
การ เป็ นการจัดเรียงลำดับของข้ อมูลเป็ นกลุ่ม ซึ่งจะได้ จัดไว้ หลายๆ กลุ่มตาม
แจกแจง ความเหมาะสมของข้ อมูลแล้ วนับจำนวนในแต่ ละกลุ่ม ว่ ามีจำนวนเท่ าใด จาก
นั้นก็วเิ คราะห์ ข้อมูลเพือ่ หาคำตอบนำเสนอ ซึ่งกระทำได้ หลายวิธี เช่ น
ความถี่
ตารางแจกแจงความถี่
(Frequencies Distribution)
ตารางแจกแจงความถี่ (ต่ อ)
ตัวอย่าง
คะแนน รอยขีด ความถี่
11-15 //// // 7
16-20 //// //// //// //// 10
21-25 //// //// //// //// 20
26-30 //// //// //// //// //// // 27
31-35 //// //// //// /// 18
36-40 //// //// /// 13
รวม 95

จากตาราง จะเห็นว่ า 11 16 21 26 31 36 เรียกว่ า ขีดจำกัด


ล่ าง
ตัวเลข 15 20 25 30 45 40 เรียกว่ า ขีดจำกัด
ตารางแจกแจงความถี่ (ต่ อ)
การแจกแจงความถีแ่ บบไม่ จัดกลุ่ม
(Ungroup data)
ความคิดเห็นต่อการบรห
ิ ารงาน
Valid Cumulative
Frequency Percent Percent Percent
Valid น ้อยทีส
่ ด ุ 23 22.8 22.8 22.8
น ้อย 21 20.8 20.8 43.6
ปานกลาง 31 30.7 30.7 74.3
มาก 22 21.8 21.8 96.0
มากทีส่ ดุ 4 4.0 4.0 100.0
Total 101 100.0 100.0

ความถี่ ร้อยละ ความถี่สะสม


07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 31
B31
Statistics : Frequency

30

20

10

0
Valid น อยที
้ ส ่ ด
ุ Valid ปานกลาง Valid มากทีส
่ ด

Valid น อย
้ Valid มาก

B31

การแจกแจงความถี่
07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 33
แสดงการแจกแจงความถีด่ ้ วย Histogram
B31
40

30

20
F re que ncy

10

Std. Dev = 1.17


Mean = 2.6

0 N = 101.00
1.0 2.0 3.0 4.0 5.0

B31

07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 34


การแจกแจงความถี่ แบบ
Frequency polygon
ความค ิดเห็ นต่อการบริหารงาน
Statistics : Frequency

30

20

10

Valid น ้อยทีส
่ ด
ุ Valid ปานกลาง Valid มากทีส
่ ด

Valid น ้อย Valid มาก

ระด ับความคิดเห็ น

07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 35


การแจกแจงความถีส่ ะสม
Cumulative frequency distribution
ความค ิดเห็ นต่อการบริหารงาน
Statistics : Cumulative Percent

80.0

60.0

40.0

20.0
Valid น อยที
้ ส ่ ด
ุ Valid น อย
้ Valid ปานกลาง Valid มาก

ความคิดเห็ น

07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 36


20

10
ลักษณะโค้ งต่ างๆ
ทีเ่ กิดจากการแจกแจง
F re que ncy

0
1.0 2.0 3.0 4.0 5.0

07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 37


1.Normal curve
20

10
F re que ncy

0
1.0 2.0 3.0 4.0 5.0

คนที่ได้คะแนนสู งและคะแนนต่ำมีจำนวนพอๆ กัน คนส่ วนมาก


ได้คะแนนปานกลาง
07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 38
2. Positive skewness
10

4
F re que ncy

0
1.0 2.0 3.0 4.0 5.0

คนส่ วนส่ วนใหญ่ได้คะแนนน้อย คนส่ วนน้อยได้คะแนนมาก

07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 39


3.Negative skewness
A11
50

40

30

20
F req u en cy

10

0
1.0 2.0 3.0 4.0 5.0

A11

คนส่ วนน้อยได้คะแนนน้อย คนส่ วนมากได้คะแนนมาก

07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 40


4. U - Shaped
12

10

4
Frequency

0
1.0 2.0 3.0 4.0 5.0

คนที่ส่วนมากได้คะแนนมากและน้อย
คนส่ วยน้อยได้คะแนนปานกลาง
07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 41
สถิติบรรยาย
(descriptive statistics)

เป็ นสถิติที่ใช้บรรยายคุณลักษณะ
ของสิ่ งที่ตอ้ งการศึกษา

07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 42


การสร้ างตารางแจกแจงความถี่
13 14 15 14 16 13 15 12 14 12
2 2 4 8 2 8 0 9 4 5
14 15 16 14 13 14 15 15 13 16
5 2 1 7 8 1 9 3 7 0
15 14 15 15 15 16 13 16 14 12
6 3 8 0 4 8 5 4 4 0
12 14 จงสร้า17งตารางแจกแจงความถี
13 15 14 ่ ให้14มี 7 14
อันตรภาคชั
14 ้ น14
6 1 0 8 6 7 1 4 5 9
วิธีทำ คะแนนต่ำสุ ด (Min) = 120
16 ง14
คะแนนสู 15 13= 13
สุ ด (Max) 17013 14 13 12 16
5
พิสยั (i) 4 2 5 8 4 8
= 170 – 120 = 50 6 8 4
กำหนดอันตรภาคชั้น เท่ากับ 7 ชั้น
I = R/C
= 50 / 7
= 7.11
= 8
ให้ขีดจำกัดล่างของชั้นแรกเท่ากับ 120
ให้ขีดจำกัดล่างของชั้นแรกเท่ากับ 120 + 8 = 127
ขีดจำกัดล่างของชั้นต่อไป คือ 127 + 1 = 128
เขียนตารางแจกแจงความถี่

ความสู ง รอยขีด ความถี่


120 – 127 /// 3
128 – 135 ///// / 6
136 – 143 ///// ///// 10
144 – 151 ///// ///// //// 14
152 – 159 ///// //// 9
160 – 167 ///// / 6
168 - 175 // 2
50
สถิตบิ รรยาย (descriptive statistics)

07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 47


แบบฝึ กหัด
1. จงอธิบายข้อความต่อไปนี้
อันตรภาคชั้น
ขีดจำกัดชั้นจริ ง
จุดกึ่งกลางชั้น
พิสยั
2. จงสมมติขอ้ มูลน้ำหนักของสมาชิกให้หอ้ ง และสร้างตารางแจกแจง
ความถี่
บทที่ 3

การวัดแนวโน้ มเข้ าสู่ ส่วนกลาง


(Measurement of central tendency)
การวัดแนวโน้ มเข้ าสู่ ส่วนกลาง
(Measurement of central tendency)

1. ค่ าเฉลีย่ (Arithemetic mean)


หรือ ค่ า Mean (ค่ าเฉลีย่ )

สำหรับ N

ประชากร x i
  i 1
N
07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 50
สำหรับ
กลุ่มตัวอย่าง
n

 x i
X  i 1
n
n

  f i xi สำหรับข้อมูลที่เป็ น
ความถี่
X  i 1

 f

07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 51


2. มัธยฐาน (Median : Md)
หมายถึงค่ าทีอ่ ยู่ตำแหน่ งกึง่ กลางของข้ อมูลแต่ ละชุ ด
Md = 7

ข้อมูลชุดที่ 1 : 6 8 9 10 7 5 3 2 11
ข้อมูลชุดที่ 2 : 12 15 10 17 18 11

Md = (12+15)/2=13.5

07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 52


การหามัธยฐานข้ อมูลทีม่ กี ารแจกแจงความถี่
N 
 2  F
Md  L  i  
 f 
 
L แทน ขีดจำกัดล่างที่แท้จริ งของชั้นที่มีมธั ยฐานอยู่
N แทน จำนวนคะแนนทั้งหมด
F แทน ความถี่สะสมตั้งแต่คะแนนต่ำสุ ดถึงชั้นก่อนชั้นที่มธั ยฐาน
f แทน ความถี่ของคะแนนในชั้นที่มีมธั ยฐาน
i แทน อันตรภาคชั้น
07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 53
ตัวอย่าง
คะแนน ความถี่ ความถีส่ ะสม
30-34 2 25  26 
 2  8
25 -29 3 23 Md  14.5  5 
 7 
20-24 5 20  
15-19 7 15  14.5  5.714
10 -14 4 8
5-9 3 4
=18.07
0-4 1 1
f = 25
07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 54
3. ฐานนิยม (Mode : Mo)
หมายถึงค่ าทีค่ วามถีส่ ู งสุ ดของข้ อมูลชุดหนึ่งๆ

Mo = 16

ข้อมูลชุดที่ 1 : 12 13 15 15 16 16 16
ข้อมูลชุดที่ 2 : 10 12 15 15 16 17 17 19 20

Mo = 15 17

07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 55


ความสั มพันธ์ ระหว่ าง X , Md,Mo
20

10
F re que ncy

0
1.0 2.0 3.0 4.0 5.0

X
Md
A11
10

Mo 50

8
40

6
30

4 20
F re q u e n cy
F re que ncy

2 10

0 0
1.0 2.0 3.0 4.0 5.0 1.0 2.0 3.0 4.0 5.0

A11

Mode,Md,X X, Md, Mo
07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 56
การเลือกใช้ สถิตใิ นการวัดแนวโน้ มเข้ าสู่ ศูนย์ กลาง

มาตรานามบัญญัติ ใช้ ฐานนิยม


มาตราเรียงอันดับ ใช้ ฐานนิยม หรือมัธยฐาน
มาตราอันตรภาคชั้น ใช้ ฐานนิยม มัธยฐาน หรือค่ าเฉลีย่
มาตราอัตราส่ วน ใช้ ฐานนิยม มัธยฐาน หรือค่ าเฉลีย่
บทที่ 4
การวัดการกระจาย
(Measurement of dispersion)
การวัดการกระจาย
(Measurement of dispersion)

1. พิสยั (Range)
2. ความเบี่ยงเบนควอไทล์ (Quartile deviation)
3. ความแปรปรวน (variance)
4. ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation)

07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 59


1. พิสัย (Range)

พิสยั คือ ความแตกต่างระหว่างค่าสูงสุ ด


กับค่าต่ำสุ ดของข้อมูลชุดหนึ่งๆ

พิสัย = ค่ าสู งสุ ด - ค่ าต่ำสุ ด

ถ้ า ค่ าพิสัยเป็ น 0 แสดงว่ า ข้ อมูลไม่ มกี ารกระจาย


ถ้ าพิสัยน้ อยแสดงว่ ากระจายน้ อย ถ้ าค่ าพิสัยมากแสดงว่ า
ข้ อมูลชุดนั้นมีการกระจายมาก

07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 60


จงหาพิสยั ของคะแนน 10 คน ซึ่ งมีดงั นี้ :
ตวั อยา่ ง 15,12,18,20,17,11,15,13,19,8
พิสยั = 20 – 8 = 12
ข้อสังเกตเกี่ยวกับพิสยั
1. ถ้าข้อมูลมีจำนวนมาก ค่าพิสยั มีแนวโน้มที่จะสูงด้วย ดังนั้นจึงไม่
เหมาะ ในการเปรี ยบกรณี ที่จำนวนข้อมูลไม่เท่ากัน
2.การคำนวณพิสยั มาจากตัวเลข 2 ตัว อาจเป็ นตัวแทนที่ดีหรื อไม่ดีกไ็ ด้
3.พิสยั เหมะกับกลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก เพราะให้ค่าคงที่มากกว่ากลุ่ม
ตัวอย่างขนาดใหญ่
4.พิสยั เหมาะกับการหาค่าการกระจายของข้อมูลแบคร่ าว

07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 61


2. ความเบี่ยงเบนควอไทล์
(Quatile deviation)

ความเบี่ยงเบนควอไทล์ คือ ค่าที่ใช้วดั


การกระจายของข้อมูลซึ่ งหาได้จากครึ่ ง Q3  Q1
หนึ่งของความแตกต่างระหว่าง ควอไทล์ Q.D 
ที่ 3 (Q3) กับ ควอไทล์ที่ 1 (Q1) 2

07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 62


ในกรณี ที่ขอ้ มูลอยูใ่ นรู ป
Qx แทน ควอไทล์ที่ตอ้ งการหา
ของการแจกแจงความถี่
แบบจัดกลุ่ม L0 แทน แทนขีดจำกัดล่างที่แท้จริ งของชั้น
คะแนนที่ควอไทล์น้ นั อยู่
i แทน อันตรภาคชั้น
 NX 
 4  F  N แทน จำนวนคะแนนทั้งหมด
QX  L0  i   X แทน ตำแหน่งที่ของควอไทล์น้ นั
 f 
  F แทนความถี่สะสมก่อนถึงชั้นคะแนนที่ควอ
ไทล์น้ นั อยู่
f แทน ความถี่ของชั้นคะแนนที่ควอไทล์น้ นั
07/12/21
อยู่
อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 63
ตัวอย่ างการหาความเบี่ยงเบนควอไทล์
คะแนน f cf
32-34 1 70
29-31 2 69 ข้ อมูลตัวที่ ของ
26-28 7 67 Q1 = (70 x 1)/4
23-25 18 60 =17.5≈18

20-22 21 42
Q3 = (70 x 3)/4 =
17-19 18 21
52.5≈53
14-16 2 3
ที่มาของข้อมูล : ชูศรี วงศ์รัตนะ.2544
11-13 1 1
07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 64
แทนค่ าในสู ตร
 70x1 
 4  3
Q1  16.5  3   18.92
 18 
 
 70x3 
 4  42 
Q3  22.5  3   24.5
 18 
 

24.5  18.82
Q.D   2.665
2
07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 65
3. ความเบี่ยงเบนเฉลีย่ (Mean deviation)
• ความเบี่ยงเบนเฉลีย่ คือ ผลเฉลีย่ ของความเบี่ยงเบนของคะแนนแต่ ละตัวใน
ข้ อมูลชุ ดหนึ่งจากตัวกลางเลขคณิตของข้ อมูลชุ ดนั้น

N 
 X X i

M.D  i 1
N
07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 66
ตัวอย่ าง
ข้ อมูล : 5 7 9 10 15 ค่ าเฉลีย่ 9.2

X |X - X |
5 4.2
7 2.2 13.2
9 0.2 M.D   2.64
10 0.8
5
15 5.8
|X - X| = 13.2
07/12/21 อ. ตวัญจ์ลกั ษณ์ พวงนิล 67
4. ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S หรือ S.D.) และความ
แปรปรวน (S2 )
ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสามารถบอกลักษณะของข้ อมูลได้
ดังนี้
1. S.D.=0 ข้อมูลชุดนั้นไม่มีการกระจาย ถ้าเป็ นความคิดเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญ
ต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งแสดงว่า ความคิดเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญทุกคน มีความคิด
เห็นเหมือนกัน
2. เมื่อ S.D. เข้าใกล้ 0 แสดงว่าข้อมูลมีการกระจายน้อย ถ้าเป็ นความคิดเห็น
ของผูเ้ ชี่ยวชาญต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง แสดงว่าความคิดเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญที
ใกล้เคียงกันมาก
3. เมื่อ S.D. เข้าใกล้ 1 แสดงว่า การกระจายของข้อมูลนั้นใกล้เคียงกับโค้ง
ปกติ
สั มประสิ ทธิ์ของการกระจาย
(Coefficient of Variation)
C.V. เป็ นค่าการเปรี ยบเทียบลักษณะข้อมูล 2 ชุด ว่าเหมือนหรื อไม่เหมือนกัน เก่ง
ไม่เก่งกว่ากันอย่างไร ถ้าหากว่าข้อมูลนั้น มีค่าเฉลี่ยเท่ากัน หรื อใกล้เคียงกัน เราก็จะ
เปรี ยบเทียบกันได้วา่ ลักษณะข้อมูลมีการกระจายเป็ นอย่างไร เช่น
ข้อมูล A : ค่าเฉลี่ย = 3.77
S.D. = 0.78
ข้อมูลชุด B : ค่าเฉลี่ย = 3.77
S.D. = 2.04
จากการเปรี ยบเทียบข้อมูลทั้งสองชุด จะทำให้
ทราบว่า ข้อมูลชุด A และข้อมูลชุด B มีค่าเฉลี่ยเท่ากัน
คือ 3.77 แต่ขอ้ มูลชุด B มีการกระจายมากกว่าข้อมูล
ชุด A ฉะนั้น ข้อมูลชุด A จะดีกว่าหรื อเก่งกว่าข้อมูล
ชุด B
แบบฝึ กหัด

1. ค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็ น 0 และ 1 หมายความว่าอย่างไร


2. การเปรี ยบเทียบข้อมูลสองชุดที่มี ค่าเฉลี่ยเท่ากันจะใช้ค่าใดใน
การเปรี ยบเทียบว่าข้อมูลชุดใดดีกว่าเก่งกว่า

You might also like