You are on page 1of 25

การขยายพันธุ ์แบบใช้เพศ เกิดขึนจาก


เซลล ์สืบพันธุ ์สองเซลล ์มารวมตัวกัน แต่ละ
เซลล ์ได้มาจากการแบ่งเซลล ์แบบไมโอซีส
(meiosis)
่ โครโมโซมชุดเดียว (haploid=n)
- ทีมี
่ โครโมโซมสอง
- รวมตัวกันแล้วจะได้เซลล ์ทีมี
ชุด (diploid=2n)

- เกิดขึนในขบวนการปฏิ สนธิพฒ
ั นาต่อไป
เป็ นต้นใหม่
การแบ่งเซลล ์ (CELL
DIVISION)
การเจริญเติบโต และการสืบพันธุ ์ของ
่ ชวี ต
สิงมี ่
ิ เกียวข้องกับการแบ่ง
เซลล ์ 2 ขบวนการ คือ การแบ่งตัวของ
นิ วเคลียส (KARYOKINESIS)
และการแบ่งตัวของไซโทพลาซึม

(CYTOPLASM) เมือการแบ่ งตัว
ของนิ วเคียสสินสุ้ ด ขบวนการแบ่งตัวของไซ
โทพลาซึมทันที

การแบ่งตัวของนิ วเคลียสมีอยู ่ 2 แบบ คือ


1. การแบ่งตัวแบบไมโทซิส
การแบ่งเซลล ์แบบไมโทซิส
ได้เซลล ์ 2 เซลล ์
Chr. จานวนเท่าเดิม (2n = 2n)
่ มล
เซลล ์ทีได้ ี ก
ั ษณะเหมือนเดิมทุก
ประการ

พบในการแบ่งเซลล ์เพือการ
เจริญเติบโต
ระยะการแบ่งเซลล ์

Prophase Metaplase Anaphase Telophase


การแบ่งเซลล ์แบบไมโอซิส

เพือแบ่ งเซลล ์สืบพันธุ ์ (อสุจ ิ - ไข่)
หญิง - เกิดทีร่ ังไข่ (Ovary) ได้ไข่ 1 ใบ
ชาย - เกิดทีอ ่ ัณฑะ (Testis) ได้อสุจ ิ 4
ตัว
เป็ นการแบ่งเซลล ์ทีลดจ่ านวนโครโมโซม

ลงครึงหนึ ่ ง (2n = n)
ได้เซลล ์ 4 เซลล ์
การขยายพันธุ ์พืชแบบใช้เพศ (sexual
propagation)
– การขยายพันธุ ์โดยใช้เมล็ด เช่น พืช
ล้มลุกต่างๆ และพืชต้นบางชนิ ด
– การขยายพันธุ ์ในสภาพปลอดเชือ้ (In
Vitro culture systems )

– การเลียงไมโครสปอร ์และเกสรต ัวผู ้ เช่น
ยาสู บ

– การเลียงโอวู ล (Ovule) เช่น คาร ์เนชน ่ั
ยาสู บ พิทูเนี ย
– การเลียงเอ็้ ่ ดจากเซลล ์ร่างกาย
มบริโอทีเกิ
(Somatic Embryogenesis) เช่น สน
– การเลียงเมล็ ้ ด เช่น กล้วยไม้
การเกิดเมล็ด
การปฏิสนธิ
้ ัวผู ้
ใช้เชือต
2 ตัว
ความสัมพันธ ์ระหว่างโครงสร ้างของดอก และส่วน
ต่างๆ ของผลและเมล็ด
โครงสร ้างและองค ์ประกอบของ
เมล็


เมล็ดมีส่วนประกอบทีสาคัญ 3 ส่วน คือ
1 . เอ็มบริโอ
่ จากการ
คือ พืชต้นใหม่หรือต้นอ่อนทีได้
ปฏิสนธิ
ประกอบด้วย ยอดอ่อน รากอ่อน ใบเลียง ้
epicotyl และ hypocotyl
้ อสะสมอาหาร
2. เนื อเยื ่

พวกใบเลียงคู ห
่ รือพวกนอนเอนโดสเปอร ์
มิกสะสมอาหารไว้ในใบเลียง ้ ซึงเป็
่ นส่วนที่
สาคัญของเมล็ด แต่พวกใบเลียงเดี้ ่ หรือ
ยว

เมล็ดใบเลียงคู ่ เมล็ดใบ

เลียงเดี
ยว่
การงอกของ
การงอกของเมล็ด (germination)
เมล็ด
แบ่งได้เป็ น 2 ประเภท

Epigeal germination หรือการงอก



แบบใบเลียงอยู ่เหนื อดิน ส่วนใหญ่พบ

ในพืชใบเลียงคู ่ เช่น มะขาม, ถว่ ั
เขียว
Hypogeal germination หรือการ

งอกแบบใบเลียงอยู ่ใต้ดน
ิ ตส่วนใหญ่

พบในพืชใบเลียงเดี ่
ยว เช่นมะพร ้าว,
ข้าว, ข้าวโพด
การพักตัวของเมล็ด ( Seed
Dormancy
่ )
การพักตัวเนื องจากเปลือกหุม
้ เมล็ด
• การพักต ัวทางกายภาพ เนื่ องจาก
เปลือกของเมล็ดไม่ยอมให้น้ า และอากาศ
ผ่านเข้าไป
• การมีเปลือกเมล็ดแข็ง เปลือกเมล็ด
บางชนิ ดมีความแข็งมากจนเอ็มบริโอเจริญ
ออกมาไม่ได้ การทาให้ออ ่ นต ัวมักเกิดจาก
จุลน ่ ได้ฆ่า
ิ ทรีย ์ในดินหรือในวัสดุปลู กทีไม่
้ อุ
เชือที ่ ณหภู มส ิ ูง
การพักตัวเองจากสารเคมี
การพักต ัวทางสัณฐานวิทยา

เมล็ดพืชบางชนิ ดเมือแยกจากต้ น
่ งไม่พฒ
แม่มเี อ็มบริโอทียั ั นายังไม่เต็มที่
และมีการพักต ัวเกิดขึน ้ เมือเมล็
่ ดดู ด
น้ าเอ็มบริโอมีขนาดใหญ่ขนก่ ึ ้ อนที่
เมล็ดจะงอก
การพักต ัวทางสรีรวิทยา
่ั
เป็ นการพักต ัวชวคราวและจะ
หมดไประหว่างการเก็บร ักษาแบบแห้ง
่ ามาเพาะก็จะงอกได้
เมือน
การพักต ัวอย่างปานกลาง
การพักตัวของเอ็มบริโอ
ลักษณะการพักต ัวแบบนี ้
ต้องการความเย็นจัดในระยะเวลา 1 -3
เดือน เมล็ดดู ดน้ าเข้าไปและอยู ่ใน
สภาวะทีมี ่ อากาศถ่ายเทได้ด ี
ระยะเวลาเวลาทีต้ ่ องใช้ใน
ขบวนการ after ripening ของเมล็ดที่

พักต ัวขึนอยู ่ก ับการทางานร่วมกน ั ของ
ปั จจัยหลายอย่างต่อไปนี ้
ก. ลักษณะทางพันธุกรรมของ
กลุ่มเมล็ดนัน ้
ข. สภาพทีระหว่ ่ างเมล็ดพัฒนา

การทาลายการพักตัวของเมล็ด
สการิฟิเคชน ่ ั (scarification) คือการทา
ให้เปลือกเมล็ดแตก การขัดหรือใช้

เครืองมือทาให้เปลือกอ่อนตัวเพือให้ ่ น้ าและ
ก๊าชต่างๆซึมผ่านได้

การเก็บเกียวผลที ่ งแก่ ส่วนใหญ่ในไม้ยน
ยั ื
ต้นจะงอกได้ด ี เพราะว่าเปลือกเมล็ดยังไม่
แข็งมาก
่ั
สตราติฟิเคชน(stratification) คือ วิธกี าร
จดการกับเมล็ดทีพั ่ กตัวโดยให้เมล็ดดูดน้ า
แล้วได้ร ับความเย็นจัด

ปั จจัยที ่ ผลต่อการงอกของเมล็ด
มี
้ ่
I. นา หน้าทีคือ
ก. ทาให้เปลือกเมล็ดอ่อนตัว
ข. ทาให้มก ่
ี ารแลกเปลียนก๊ าซ
ค. ทาให้โพรโทพลาซึมได้ร ับน้ าและเกิด
กระบวนการเมแทบอลิซม ึ
ง. ทาให้เคลือนย้่ ายอาหารได้ เพราะน้ า
ช่วยทาให้สลายอาหารสะสม
II. อุณหภู ม ิ
เมล็ดต่างชนิ ดต้องการอุณหภู มต ่ งกันซึง่
ิ า
สามารถแบ่งเมล็ดได้เป็ น

1 . เมล็ดทีทนอุ ณหภู มเิ ย็นได้ งอกได้
ในช่วงอุณหภู ม ิ 4.5 องศา จนถึงอุณหภู ม ิ
III. ออกซิเจน/อากาศ

การแลกเปลียนอากาศระหว่ างวัสดุ
เพาะเมล็ดกับเอ็มบริโอ ออกซิเจนจาเป็ น
สาหร ับกระบวนการหายใจของเมล็ดที่
กาลังงอก
IV. แสงสว่าง เป็ นปั จจัยในสภาวะดังต่อไปนี ้
1. เมล็ดพืชบางอย่างทีเกาะอยู ่ ก
่ บ

ต้นไม้อนื่ จาเป็ นต้องได้ร ับแสงสว่างและจะ
เสียความมีชวี ต ิ ใน 2-3 สัปดาห ์ถ้าไม่ได้
ร ับแสง
2. เมล็ดพืชทีไวต่ ่ อแสงมักมีขนาด
เล็ก การเพาะตืนๆ ้ เป็ นปั จจัยทีส
่ าค ัญ
สาหร ับการรอดชีวต ิ
ตารางที่ 1 เมล็ดพันธุ ์ทีต้
่ องการ และไม่ตอ
้ งการแส
่ องการแสง
เมล็ดพันธุ ์ทีต้ ่ ตอ
เมล็ดพันธุ ์ทีไม่ ้ งการแสง

ยาสู บ ข้าว ข้าวโพด ข้าวฟ่าง


ปอกระเจา งา ปอแก้ว
สตรอว ์เบอร ์รี่ ่ ั ยว ถวลิ
ถวเขี ่ ั สง ถวเหลื
่ั ่ั
อง ถวลาย ถว่ ั
ผักกาดเขียวปลี ่ ั กยาว
แขก ถวฝั
ผักกาดหอม กะหล่าปลี ผักกาดกวางตุง้
พริก ผักกาดขาวปลี ผักกาดหัว
มะเขือ แตงโม แตงกวา แตงเทศ
มะเขือเทศ บวบเหลียม ่ หอมหัวใหญ่

(จวง
หลักการคัดเลือกเมล็ด
พันธุ ์
เมล็ดพันธุ ์พืช ต้องตรงตามพันธุ ์ที่
ต้องการ
เมล็ดมีความสมบู รณ์ ขนาดโต ไม่ลบ ี
เมล็ดต้องแก่จด ั เต็มที่
เมล็ดต้องใหม่ ไม่เก็บไว้นานเกินไป
่ มี
เปอร ์เซ็นต ์ความงอก เมล็ดทีดี
เปอร ์เซ็นต ์ความงอก
80-90 % หรือสู งกว่านี ้
การเพาะเมล็ด
พันธุ ์
การเตรียมเมล็ด
1. แช่น้ า เมล็ดเปลือกบาง เช่น ข้าว
ข้าวโพด ถว่ ั
2. แช่น้ าร ้อน เมล็ดเปลือกหนา เช่น
ผักชี กระถิน
3. กะเทาะเปลือก เปลือกหุม ้ แข็ง เช่น ถว่ ั
ลิสง
4. ใช้คอ้ นทุบ เปลือกแข็งและหนา เช่น
การเพาะเมล็ด มี 2 แบบ คือ
1 . การเพาะเมล็ดในภาชนะ
วัตถุประสงค ์ เพาะเมล็ดเพือย้ ่ ายต้นกล้าไป
ปลู กต่อไป นิ ยมทากับเมล็ดทีมี ่ ราคาแพง
และต้องการการดู แลเอาใจใส่ หรือไม่
ต้องการต้นกล้ามาก
วิธเี พาะเมล็ดในภาชนะ
- นาวัสดุเพาะใส่ในภาชนะเกลียให้ ่ เสมอกัน
รดน้ าให้ชม ่
ุ่ วัสดุอยู ่ตากว่
าขอบภาชนะ
ประมาณ 1 -2 นิ ว ้
- นาเมล็ดมาเพาะ เช่น หว่าน โรยเป็ นแถว
การเพาะเมล็ดพริก
2. การเพาะเมล็ดในแปลงเพาะ
นิ ยมใช้กบ ั การเพาะเมล็ดเป็ นจานวน
มาก หรือการเพาะในแปลงเพือปลู ่ กเลย
เช่น เมล็ดผัก แปลงเพาะต้องได้ร ับแสง
เต็มที่ ดินควรเป็ น ดินร่วน ควรขุดดิน
ตากแดดทิงไว้ ้ 1 -2 สัปดาห ์

You might also like