You are on page 1of 22

การแสดงโขน

โขน เป็ นศิลปะการแสดงชัน


้ สูง พัฒนามาจากการแสดง....
- ชักนาคดึกดำบรรพ์
- หนังใหญ่
- กระบี่กระบอง
การแสดงชักนาคดึกดำบรรพ์
• ชักนาคดึกดำบรรพ์ เป็ นการละเล่นอย่างหนึ่งของไทย มี
มาตัง้ แต่สมัยโบราณ เป็ นการแสดงเพื่อเอาน้ำอมฤตจาก
เกษียรสมุทร ตามคติของฮินดู มักจะแสดงใน
งานมหรสพหลวง 
• การละเล่นชักนาคดึกดำบรรพ์ มีกล่าวไว้ในกฎมณเฑียรบาลสมัย
กรุงศรีอยุธยา ตอนที่กล่าวถึงพระราชพิธีอินทราภิเษกว่า มีการตัง้ เขา
พระสุเมรุและภูเขาอื่น ๆ ที่กลางสนาม แล้วให้ตำรวจเล็กแต่งตัวเป็ น
อสูร 100 ตน มหาดเล็กแต่งตัวเป็ นเทวดา และวานรอย่างละ 100
และแต่งเป็ นสุครีพ พาลี และมหาชมพูอย่างละหนึ่งตัว เข้าร่วมแห่ทำ
พิธีชักนาคดึกดำบรรพ์ โดยให้อสูรชักหัว เทวดาและวานรชักหางของ
พญานาค เพื่อให้มหาสมุทรถูกกวนจนเกิดแผ่นดิน และ น้ำอมฤต
• แต่เทวดาและอสูรกลับมาทำสงครามแย่งชิงน้ำอมฤตกัน
จนสุดท้าย ฝ่ ายเทวดา และวานร ได้ใช้กลอุบายหลอก
พวกอสูร จนได้น้ำอมฤตไป เหล่าเทวดาจึงได้เป็ นใหญ่
บนสวรรค์จนทุกวันนี ้
• มีอิทธิพลทางด้านการแต่งกาย แต่งหน้า การสร้าง
หัวโขน 
หน ังใหญ่
• หนังใหญ่ คือมหรสพที่แพร่หลายของคนไทยอีกอย่างหนึ่ง ตัวหนัง
จะใช้แผ่นหนังวัวฉลุเป็ นรูปตัวละครในเรื่องรามเกียรติ ์ และมีไม้ผูก
ทาบตัวหนังไว้ทงั ้ สองข้าง เพื่อให้ ตัวหนังตัง้ ตรงไม่งอ และทำให้มี
คันยื่นลงมาใต้ตัวหนังเป็ นสองข้างสำหรับจับถือ และยกได้ถนัด
สถานที่เล่นจะปลูกโรงใช้ผ้าขาวคาดเป็ นจอ ส่วนด้านหลังจอจะจุดไต้
และก่อไฟไว้ เพื่อให้แสงทำให้เห็นเงาตัวหนังซึ่งมีลวดลายวิจิตรมาติด
อยู่ที่จอผ้าขาว
• การเชิดนัน
้ คนเชิดต้องเต้นไปตามจังหวะดนตรีและบท
พากย์บทเจรจาด้วย การแสดงโขนก็ประกอบไป
ด้วยการพากย์ เจรจา ขับร้อง และการเต้นทำท่า
ตามบทพากย์
• จึงกล่าวได้ว่าโขนนำเอาการพากย์ เจรจา และท่าทาง
การเต้นการแสดงมาจาก หนังใหญ่
กระบี่กระบอง
• กระบี่กระบอง เป็ นกีฬา การแสดงสาธิต และการต่อสู้ป้องกันตัวด้วย
อาวุธโบราณของไทย โดยทำเลียนแบบอาวุธจริง เป็ นไม้ โลหะ หนังสัตว์ ซึ่ง
ประกอบด้วยอาวุธ ทัง้ แบบสัน
้ และแบบยาว อาทิเช่น ดาบ หอก ง้าว กระบี่
 พลอง นอกจากนีย
้ ังมีอุปกรณ์สำหรับป้ องกันตัว อันได้แก่ ดัง้  เขน โล่ ไม้ศอก
สัน

• ได้ให้รูปแบบวิธีการรำ ใช้อาวุธ ท่าต่อสู้ กระบวนลีลา ท่ารบต่าง ๆ ในการ


แสดงโขน
รูปแบบและล ักษณะของการแสดงโขน
• โขน เป็ นนาฏศิลป์ ชัน
้ สูงอย่างหนึ่งของไทย เดิมผู้แสดงโขน
ทุกตัวจะต้อง สวมหัวโขนปิ ดหน้าทัง้ หมด จึงต้องมีผู้ทำ
หน้าที่พากย์เจรจาแทนเรียกว่า คนพากย์โขน ต่อ
มาได้วิวัฒนาการด้านการแต่งหน้านิยมให้ตัวพระและตัวนาง
ใช้การแต่งหน้าอย่างละครแทนการสวมหัวโขนปิ ดหน้า
ทัง้ หมด แต่ถึงอย่างนัน
้ ก็ไม่พูดส่งเสียงเจรจาด้วยตัวเอง 
ประเภทของโขน
1.โขนกลางแปลง
โขนกลางแปลง คือ การแสดงโขนบนพืน ้ ดินกลาง
สนามหญ้า นิยมแสดงกลางแจ้ง ไม่มเี วที โขนกลาง
แปลงคงจะมีแต่การยกทัพและการรบกันเป็ นพืน ้ เพลง
ดนตรีก็มแี ต่เพลงหน ้าพาทย์ และมีบทพากย์เจรจา
เท่านัน
้ ไม่มกี ารขับร ้อง
2.  โขนโรงนอกหรือโขนนง่ ั ราว
• โขนโรงนอกหรือโขนนั่งราวคือ โขนทีจ ่ ัดแสดงบนโรงไม่ม ี
เตียงนั่ง แต่มรี าวไม ้กระบอกพาดตามสว่ นยาวของโรง
ตรงหน ้าฉากออกมามีชอ ่ งทางให ้ผู ้แสดงเดินได ้รอบราว
นัน
้ ตัวโรงมักมีหลังคากันแดดกันฝน เมือ ่ ตัวโขนทีเ่ ป็ น
ตัวเอกออกมาแสดง จะนั่งบนราวไม ้กระบอกแทนนั่งเตียง
ดำเนินเรือ่ งโดยการพากย์เจรจา ไม่ม ี บทขับร ้อง
3. โขนโรงใน
โขนโรงใน เกิดขึน ้ เมือ
่ มีผู ้นำการแสดงโขนกับละครในเข ้าผสม
กัน มีทงั ้ การแสดงออกท่ารำเต ้นและการฟ้ อนรำตามแบบละครใน
การดำเนินเรือ ่ งมีพากย์เจรจาตามแบบโขน และมีเพลงร ้องเพลง
ระบำตามแบบละครในผสมผสานกันไป และในตอนนีค ้ งเป็ นตอน
ทีกำ
่ หนดให ้ผู ้แสดงโขนเป็ นตัวเทพบุตร เทพธิดา และมนุษย์
ชายหญิงทีเ่ คยสวมหัวโขนปิ ดหน ้าทัง้ หมด เปลีย ่ นมาสวมเครือ ่ ง
ประดับศรี ษะ เชน ่ มงกุฎ รัดเกล ้า ฯลฯ ตามแบบละครใน  
4. โขนหน้าจอ
• โขนหน้าจอ คือ โขนที่แสดงตรงหน้าจอ ซึ่งแต่เดิมขึงไว้
สำหรับแสดงหนังใหญ่ ทำด้วยผ้าโปร่งสีขาวสองข้างทัง้
ซ้ายและขวาเจาะช่องทำเป็ นประตูสำหรับผู้แสดงเข้า
ออก ต่อจากประตูออกไปทางขวาของเวทีเขียนเป็ น
ภาพพลับพลาของพระราม ทางด้านซ้ายของ
เวทีเป็ นภาพปราสาทราชวัง สมมุติเป็ นกรุงลงกาหรือ
เมืองยักษ์ ใช้ใช้ปี่พาทย์เครื่องใหญ่ หรือเครื่องคู่ มี
5. โขนฉาก
สันนิษฐานว่าโขนฉากเกิดขึน ้ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โดยมีผู้คิดสร้างฉากประกอบ
การแสดงโขนบนเวทีขน ึ้ คล้ายกับละครดึกดำบรรพ์ ผู้ที่
เป็ นต้นคิดนัน
้ เข้าใจว่าจะเป็ นสมเด็จพระเจ้า บรมวงศ์เธอ
เจ้าฟ้ ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์  โขนฉากยังรวมไปถึงโขน
ทางโทรทัศน์อีกด้วย เพราะการแสดงโขนทางโทรทัศน์มีฉาก
ประกอบตามท้องเรื่อง
ลักษณะเฉพาะในการแสดงโขน
• 1. ผู้แสดงสวมหัวโขนยักษ์  ลิง  หรือสวมชฎา  มงกุฎ ( ตัวพระ  ตัวนาง )
• 2. มีผู้พากย์  เจรจาแทนผู้แสดง
• 3. แต่งกายยืนเครื่อง พระ นาง ยักษ์ ลิง
• 4. ใช้วงปี่ พาทย์เครื่องห้า   วงปี่ พาทย์เครื่องคู่  หรือ  วงปี่ พาทย์เครื่องใหญ่
• 5. นิยมแสดงเรื่องรามเกียรติ ์ ซึ่งเป็ นเรื่องราวการทำสงครามระหว่าง
พระราม กับทศกัณฐ์  โดยมีจุดประสงค์ นำเสนอคติเตือนใจแก่ผู้
ชม  คือ  ธรรมะย่อมชนะอธรรม

You might also like