You are on page 1of 494

สารบัญ

หนา

Monographs สมุนไพรที่ใชในเครื่องสําอาง 1-397

ดัชนีชื่อวิทยาศาสตร 398-399

ดัชนีชื่อสมุนไพร 400-401

ดัชนีสูตรโครงสราง 402-408
-1-

ชื่อสามัญ (Common or English name) Birch, เบิรค


:
ชื่อไทย (Thai name) -
:
ชื่อทองถิ่น (Local names) Paper Birch, White Birch, Canoe Birch, Silver
:
Birch
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Betula pendula Roth.
ชื่อพอง (Synonyms) : B. alba, B. verrucosa, B. lobulata, Bodorata,
B. rhombifolias (4)
วงศ (Family) : Betulaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Birch (Betula alba) bark extract
Birch (Betula alba) leaf extract
Birch (Betula alba) oil
Birch (Betula alba) sap (7)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมตน สูงประมาณ 30 ซม. เปลือกตนสีขาวซึ่งมักรอนเปนลายตามขวาง กิ่งกานที่ออนจะเรียบ
แข็งและปกคลุมดวยตอมเรซิน ใบเปนรูปสามเหลี่ยม เรียบ มีตอม ขอบใบหยัก มีสีเขียวเขมทางดานบน
และ สีเขียวเทาทางดานลาง เสนใบมีสีเขมและอวบน้ํา ดอกตัวผูไมมีกานชู รูปทรงกระบอกยาว 6-10 ซม.
ดอกตัวเมียมีลักษณะเปนหางแมว รูปทรงกระบอกยาว 2-4 ซม. กวาง 8-10 ซม. (3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนพืชที่มีถิ่นกําเนิดในทวีปยุโรปบริเวณทางเหนือของเมดิเตอเรเนียน ไซบีเรีย และบางบริเวณ
ในทวีปเอเชีย (3)

สรรพคุณพื้นบาน :
เบิ ร ค เป น พื ช รสขม มี ฤ ทธิ์ ฝ าดสมาน ช ว ยขั บ ป ส สาวะและช ว ยระบายอ อ นๆ ลดการอั ก เสบ
บรรเทาอาการปวดและชวยขับเหงื่อ (1) ใบเบิรคใชฆาเชื้อแบคทีเรียและลดการอักเสบของทางเดินปสสาวะ
เพิ่ ม ปริม าณป ส สาวะ ทํ าให เลื อ ดสะอาด ใบเบิ รค ใช ในรู ป ยาชงช ว ยขับ ป ส สาวะ สลายนิ่ วในไตและ
กระเพาะป สสาวะ โรคปวดขอและเกาท ใชภายนอกแกรังแค น้ํ ามั นเบิ รค (birch tar) ใชภ ายนอกฆา
ปรสิตที่ผิวหนังที่ทําใหผมรวง แกอาการปวดขอและรักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง (3)
-2-

ตําราสมุนไพร (4) ใชเปลือกตนกลั่นน้ํามัน เปลือกตนเตรียมยาชงรับประทานแกโรคผิวหนังและ


ขับปสสาวะ ภายนอกใชผสมน้ําอาบ แกเหงื่อออกมากที่เทาและผื่นที่ผิวหนัง หรือทําเปนยาพอกบริเวณ
หนองฝ
สรรพคุณ พื้ น บานของใบ ใชในโรคเกาท ปวดขอและฟอกเลือด ผสมน้ําอาบบรรเทาอาการขอ
อักเสบ น้ํามันเบิรคมีสรรพคุณพื้นบานรักษาโรคผิวหนังพุพองโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินและใชฆา
ปรสิต (4)

สวนที่ใช :
ใบ เปลือกตน น้ํามันจากเปลือกตน (1)

องคประกอบทางเคมี :
ใบ
- ไทรเทอรปนส :
betula-triterpene saponins (เบทูลา-ไทรเทอรปนส ซาโปนินส)
- ฟลาโวนอยด :
ไฮเปอโรไซด (hyperoside) เคอรเซติน (quercetin) มัยริเซติน
ไดกาแลคโตไซด (myricetin digalactosides)
- โปรแอนโทไซยานิดิน (proanthocyanidins)
- น้ํามันหอมระเหย : เซสควิเทอรปนสออกไซด (sesquiterpene oxide) โมโนเทอรปน
กลูโคไซด (monoterpene glucosides) ไดแก เบทูลา อัลโบไซด เอ
และบี (betula alboside A and B) โรซีโอไซด (roseoside)
- อนุพันธของกรดแคฟเฟอิก (caffeic acid derivatives) : กรดคลอโรเจนิก (chlorogenic acid)
- วิตามินซี
- 3,4′-dihydroxy propiophenone-3-β-D-glucoside

น้ํามันเบิรค (birch tar) กลั่นจากเปลือกตน


- ฟนอล (phenols, 6%) : กวัยอะคอล (guaiacol), คาเทคอล (catechol), ไพโรแกลลอล
(pyrogallol), 5-propyl-pyrogallol dimethyl ether, 5-ethyl-pyrogallol
dimethyl ether

เปลือก
- เบทูลิน (betulin) (3)

CH2OH
CH3 CH3 H

H CH3
HO
H H
H3C CH3
-3-

betulin (C30H50O2), MR 442.73 (5)


สารสกัด :
Birch bark extract เปนสารสกัดจากเปลือกของ B. alba
Birch extract เปนสารสกัดจากใบและเปลือกของ B. alba
Birch leaf extract เปนสารสกัดจากใบของ B. alba
Birch oil เปนน้ํามันหอมระเหยของ B. alba
Birch sap เปนน้ําเลี้ยงจากทอลําเลียงน้ําของ B. alba (7)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
สารสกัดจากเปลือกตน และใบของเบิรค ใชในผลิตภัณฑทําความสะอาด เชน สบู, cold cream,
cleansing lotion และใชในผลิตภัณฑบํารุงผิวและเพิ่มความชุมชื้น birch sap ใชในผลิตภัณฑสําหรับผม
และหนังศีรษะ เพื่อลดความมันของเสนผม ขจัดรังแคและผมรวง น้ํามันหอมระเหยใชเปนสวนประกอบ
ในน้ําหอม (7)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
ใบเบิรคมีฤทธิ์ขับปสสาวะและแกไข การทดลองในสัตวพบฤทธิ์เพิ่มปริมาณปสสาวะ (3) ฤทธิ์ตาน
เชื้อแบคทีเรียใชรักษาโรคเกาทและโรคปวดขอ ชาชงจากใบละลายนิ่วและกระเพาะปสสาวะในไต (2,6) น้ํา
มันเบิรคมีฤทธิ์ตานปรสิตที่ทําใหเกิดหิด เปนสวนผสมหนึ่งในยา Unguentum contra scabiem ซึ่งเปนยา
รักษาหิด (3) ใชรักษาโรคสะเก็ดเงิน (psoriasis) และผิวหนังอักเสบ (eczema) (1)
ใบเตรียมเปนชาใชชะลาง ในอาการติดเชื้อและอักเสบบริเวณทางเดินปสสาวะและไต (4)

ขอควรระวัง :
น้ํามันเบิรคอาจระคายเคืองตอผิวหนัง (3)

เอกสารอางอิง :
1. Bown D. Encyclopedia of Herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995:
248-9.
-4-

2. D’Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic Desk Reference. New York: CRC Press, 1999: 63.
3. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 78-9.
4. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
5. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thiem Verlag Stuttgart, 2000: 80.
6. Vermeulen N. Encyclopaedia of herbs. The Netherlands: Rebo Productions Ltd., 1999: 65.
7. Wenninger JA, McEwen G.N. Interbational Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 71.
-5-

Birch (Betula pendula Roth.)


-5-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Bladderwrack, แบลดเดอรแวรค


ชื่อไทย (Thai name) : สาหรายทะเลสีน้ําตาล
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Brown seaweed, Bladder warech, Blasentang,
Meertang, See-Eiche, Black tang, Rockweed,
Kelp Meereiche (5)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Fucus vesiculosus L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Fucus quercus marina (5)
วงศ (Family) : Fucaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Bladderwrack (Fucus vesiculosus) extract

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
สาหรายทะเลสีน้ําตาล อาจพบเปนทาลลัส (thallus) ที่สมบูรณหรือขาดเปนทอนแตละทอนมีขนาด
กว า ง 2 ซม.และอาจยาวได ถึ ง 40 ซม. ทาลลั ส มี ลั ก ษณะการแตกแบบเป น 2 แฉก (dichotomously
branched) ที่โคนเปนทรงกระบอก สวนที่แตกแขนงแบนและปลายขยายออก ที่ผิวมีฟองอากาศและมัก
เกิดเปนคู มีหลายสีตั้งแตน้ําตาลถึงดํา (2)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
ชายฝงมหาสมุทรปาซิฟคเหนือแอตแลนติคเหนือ และทะเลบอลติค (2)

สรรพคุณพื้นบาน :
รับประทานเพื่อลดน้ําหนัก ขออักเสบ และโรคเกี่ยวกับตอมไทรอยด (antihypothyroid) (2,7) ใน
โฮมีโอพาทีใหใชสาหรายทะเลแหงในโรคอวน โรคคอพอก ตอมไทรอยดเปนพิษ ขนาดที่ใชลด ความ
อวน ใชทั้งตน (แหง) 1 ชอนชา ในน้ํารอน 1 แกว ทิ้งใหเย็นและดื่ม วันละ 1-2 ครั้ง (5)

สวนที่ใช :
ทั้งตน (entire plant) หรือ ทาลลัล (thallus)

องคประกอบทางเคมี :
ทาลลัส ประกอบดวยสารกลุมตางๆ ดังนี้
-6-

- คารโบไฮเดรท (carbohydrates) ไดแก โพลีแซคคาไรด (polysaccharides) มีชื่อวา กรดอัลจินิก


(alginic acid) หรืออัลจิน (algin) และโพลีแซคคาไรดอื่น ๆ ไดแก ฟูคอยแดน (fucoidan) ลามิ
นาริน (laminarin, sulfated polysaccharide ester) (7) ฟูแคน (fucans) (2)
- โพลีฟนอล (polyphenols) ไดแก ฟลอโรกลูซินอล (phloroglucinol) ที่มีน้ําหนักโมเลกุลมากกวา
10,000 (2)
- สเตียรอล (sterols) ไดแก ฟูโคสเตียรอล (fucosterol) (2)
- แรธาตุและวิตามิน ธาตุหลักคือไอโอดีน วิตามินไดแก วิตามินเอ ดี และซี (2,7)
- อื่น ๆ ไดแก ฟลอโรแทนนิน (phlorotannin) ไขมันที่มีขั้วสูง (polar lipids) ซัลเฟต ซัลโฟเนต
หรือ ฟอสเฟตเอสเตอรของกลัยโคซิล ไดกลีเซอไรด (sulfated, sulfonate or phosphate esters
of glycosyl diglycerides) (2)

O- -
- O
O
O S O
O S O
CH3 O S O
O O
O CH 3 O
O CH 3 O
OH
OH
O
O OH
O

n n

fucoidan MR 133,000 ± 20,000 (4)

สารสกัด Bladderwrack (Bladderwrack extract) :


สารสกัดจากทาลลัสแหงของ Fucus vesiculosus

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
เปนสวนผสมในผลิตภัณฑบํารุงเสนผมและผิว ผลิตภัณฑกันแดด ผลิตภัณ ฑหลังโกนหนวดและผสมน้ําอาบ
(2,7,8)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- ตานเชื้อแบคทีเรีย (6) และตานเชื้อรา (3)
- ยับยั้งเอนไซม HIV-1 reverse transcriptase และยับยั้งการเกิด syncytium (1)
-7-

- ใชเปนสวนผสมรวมกับสารสกัดชนิดอื่นในผลิตภัณฑอิมัลชั่น ใชทารักษาอาการอักเสบของชั้น
ใตผิวหนัง (cellulitis) (9)

ขอควรระวัง :
สําหรับผลิตภัณฑที่ใชรับประทาน ไมควรรับประทานในปริมาณสูงและติดตอกันเปนเวลานาน เนื่องจาก
- อาจทําใหเกิด hyperthyroidism เนื่องจากไอโอดีนในสาหรายทะเล
- ทําใหเกิดสิว หรือทําใหสิวที่เปนอยูแลวมีอาการกําเริบขึ้น
- อาจมีการปนเปอนของโลหะหนัก เชน สารหนู
- อาจทําใหการดูดซึมของเหล็กเขาสูรางกายลดลงเนื่องจากฟูคอยแดนจับธาตุเหล็กไว
- หลีกเลี่ยงการใชในสตรีที่ตั้งครรภและใหนมบุตรเนื่องจากยังไมมีขอมูลความปลอดภัยเพียงพอ
- ไมแนะนําใหใชในเด็ก

เอกสารอางอิง :
1. Beress A, Wassermann O, Brugnt T, et al. New procedure for the isolation of anti-HIV
compounds (polysaccharides and polyphenols) from the marine algae Fucus vesiculosus. J
N a t P r o l 1 9 9 3 ; 5 6 ( 4 ) : 4 7 8 - 8 8 .
2. D’Amelio FS. Botanicals: A phytocosmetic desk reference. Florida: CRC Press, 2000: 65-
6 , 2 2 6 , 2 9 2 .
3. Guerin JC, Reveillere HP. Antifungae Activity of plant extracts used in therapy I. Study of
41 plant extracts against 9 fungi species. Ann Pharm Fr 1984; 42(6): 553-9.
4. Harborne JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd ed. Taylor & Francis Ltd.
1999.
5. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
6. Lustigman B, Lee LH, thees N, et al. Production of antibacterial substances by macroalgae
of the New York/New Jersey coast, USA. Bull Environ Contam Toxicol 1992; 49(2): 743-9.
7. Newall CA, Anderson LA, Phillipson ID. Herbal Medicines: A guide for health care
professionals. London: The Pharmaceutical press, 1996: 1246.
8. Raybaud H. Cosmetic composition for shaving and skin care containing Fucus vesiculosis.
Patent-Fr Demande-2, 732, 893, 1996: 4pp.
9. Valdes Diaz I. Anti-cellulite composition containing plant and seaweed extracts. Patent-
Span-2, 049, 661; 1994: 4pp.
-8-
-9-

สาหรายทะเลสีน้ําตาล (Fucus vesiculosus L.)


-9-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Borage, บอเรจ


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Bugloss, Bourrache (3,4), Borretsch,
Gurkenkraut, Wohlgemutkraut (6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Borago officinalis L.
ชื่อพอง (Synonyms) : -
วงศ (Family) : Boraginaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Borage extract
Borage seed oil

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พืชลมลุก มีขนปกคลุม ลําตนตั้งตรง อวบน้ํา (succulent) เปนรองสีขาว ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไข
ยาว 3-10 ซม. ขอบใบเรียบและมวนเขา มีขน หลังใบสีเขียว ทองใบสีขาว ดอกเดี่ยวออกที่ปลาย กลีบ
เลี้ยงแบงเปน 5 กลีบตรงบริเวณฐาน ลักษณะเปนขนเรียบๆ กลีบดอกเปนหลอดสั้น ๆ กวาง 1.5-2.5
ซม. สีน้ําเงิน ปลายกลีบดอกมีสีขาว กานชูเกสรตัวผู 5 อัน เกสรมีสีมวงดํา ผลแข็งแบบ nut ขนาดเล็ก 7-
10 มม. สีน้ําตาล (2,4)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนพืชพื้นเมืองเมดิเตอรเรเนียน (2) ปจจุบันมีการเพาะปลูกทั่วไปในยุโรปและอเมริกาเหนือ ขยาย
พันธุโดยใชเมล็ด (3,4)

สรรพคุณพื้นบาน (1,4,6) :
ดอก : บรรเทาอาการปสสาวะไมออก ลดไข บรรเทาอาการระคายเคืองบริเวณทาง
เดินหายใจ ทองรวง และอาการอักเสบ ขออักเสบ อาการไมสบายในวัยทอง
ของบุรุษและฟอกเลือด
สวนเหนือดิน : มีสารที่ชวยลดอาการระคายเคืองจึงใชแกไอ แกเจ็บคอ บรรเทาอาการอักเสบที่
ไตและกระเพาะปสสาวะ
น้ํามันจากเมล็ด : รักษาโรคผิวหนังชนิด neurodermatitis
ใบสด : ในยาแผนโบราณยุโรป (โฮมีโอพาที) ใชรักษาโรคทางเดินหายใจสวนบนและ
สวนลาง
-10-

สวนที่ใช :
ใบ ดอก สวนเหนือดิน (herb) น้ํามันจากเมล็ด

องคประกอบทางเคมี :
น้ํามันเมล็ดบอเรจ (borage seed oil) ประกอบดวยกรดไขมันกลีเซอไรดที่มีสัดสวนของกรดไขมัน
ชนิ ด ไม อิ่ ม ตั วสู ง ได แ ก กรดแกมมาลิ โนเลนิ ก (γ-linolenic acid) 17-25% และกรดลิ โนเลอิ ก (linoleic
acid)
ใบ ประกอบดวยสารสําคัญกลุมตาง ๆ ไดแก
- แอลคาลอยดกลุมพัยรโรลิซิดีน (pyrrolizidine alkaloids) : ซูพินิน (supinin), ไลคอพ-ซา
มิ น (lycopsamin), 7-อะเซติ ล ไลคอพซามิ น (7-acetyl-lycopsamin), อิ น เทอเมดี น
(intermedine), 7-อ ะ เซ ติ ล อิ น เท อ เม ดี น (7-acetyl-intermedine), อ ะ ม า บิ ลี น
(amabiline), เทซินีน (thesinine)
- กรดซิลิซิก (silicic acid)
- สารเมือก (mucilages)
- แทนนิน (tannins) (4)
ดอก ประกอบดวยบอรเนซิท (bornesit), อัลลันโตอิน (allantoin), สารเมือกและเกลือคัลเซียม
(อาจมีมากถึง 17%)
สวนเหนือดิน ประกอบดวยแทนนิน (ประมาณ 3%), กรดซิลิซิก (1.5-2.2%), สารเมือก (อาจมีมาก
ถึง 11%), แอลคาลอยดพัยรโรลิซิดีน

COOH

γ-linolenic acid, 18:3 (n-6), ∆6,9,12

สารสกัดบอเรจ (Borage extract) :


น้ํามันบอเรจ (Borage seed oil) : น้ํามันที่ไดจากเมล็ด B. officinalis
สารสกัดบอเรจ (Borage extract) : สารสกัดจากสวนเหนือดินของ B. officinalis

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
-11-

สารสกัดบอเรจมีสารเมือก (mucilage) ปริมาณมาก จึงใชป ระโยชน ในการทําให ผิวเรียบ ใชทํา


ความสะอาดผิวหนังและเพิ่มความขาว ชวยขจัดสิ่งสกปรก (3) น้ํามันเมล็ดบอเรจเปนสวนผสมในผลิตภัณฑ
บํารุงผิว (skin conditioner)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
น้ํ า มั น จากเมล็ ด ประกอบด ว ย γ-linolenic acid (GLA) ซึ่ ง เป น สารตั้ ง ต น ของการสั ง เคราะห
โปรสตาแกลนดิ น (prostaglandin, PG) โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง PGE1 โดยโปรสตาแกลนดิ น ช ว ยควบคุ ม
กระบวนการสังเคราะหและเผาผลาญสารในรางกาย (metabolic function) ปกติ GLA ถูกสังเคราะหจาก
กรดลิโนเลอิก (linoleic acid) โดยผานทางเอนไซมเดลตา-6-ดีแซททูเรส (δ-6-desaturase) ซึ่งเอนไซมนี้ไม
ทํางานเมื่ออายุมากขึ้น ภาวะเบาหวาน ปริมาณคารโบไฮเดรทที่ไดรับมากเกินไปหรือภาวะขาดสารอาหาร
บอเรจจึงเปนแหลงสําคัญของ GLA สามารถใชบรรเทาโรคผิวหนังที่เกิดจากการแพ ลดอาการอักเสบแดง
จากภาวะผิวแพงาย อาการจากภาวะหมดระดู เบาหวาน โรคพิษสุราเรื้อรัง (alcoholism) ชวยปองกัน
โรคหัวใจและการเปนลม (1) บอเรจมีกลิ่นคลายแตงกวา จึงใชแตงกลิ่นในสลัด น้ํามันจากเมล็ดเปนแหลง
ของอาหาร (1,3,7)

ขอควรระวัง :
สมุ น ไพรนี้ มี แ อลคาลอยด พั ย ร โ รลิ ซิ ดี น ที่ เป น พิ ษ ต อ ยี น (gene) และก อ ให เกิ ด มะเร็ ง หาก
รับประทานควรระมัดระวัง จึงควรใชภายนอกเทานั้น ขนาดที่ใชภายนอกสมุนไพรแหงไมเกิน 20% (4-
6) ปกติในสารสกัดจะพบแอลคาลอยดพัยรโรลิซิดีนประมาณ 0.05-0.1% ไมควรใชแอลคาลอยดพัยรโรลิซิ
ดีนเกินกวา 1µg โดยคํานวณจากสมุนไพรที่มีปริมาณแอลคาลอยด 5-7%

เอกสารอางอิง :
1. Albert YL, Steven F. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wilson & Sons Inc., 1996: 98-9.
2. Bown D. Encyclopedia of herbs and their uses. RD Press. Australia. 1995.
3. D’Amelio FS. Botanicals: A phytocosmetic desk reference. Florida: CRC Press, 2000: 67.
4. Gruenwald J, Brendler T, Jaenicke C. PDR for Herbal Medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, 2000: 114-5.
5. Mark B, Werner RB, Alicia G, et al. The Complete German Commission E Monographs.
Austin: American Botanical Council, 1998: 316.
-12-

6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen and Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
7. Veumeulen N. Encyclopaedia of Herbs. Slovenia: Rebo Production Ltd, 1999: 66-7.
-13-

Borage (Borago officinalis L.)


1. Boulos L. Medicinal plants of North Africa. Michigan: Reference Publications, Inc.,
1983:
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัท
ประชาชน จํากัด, 2542:
3. D’Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic Desk Reference. New York: CRC Press,
1999:
4. Bown D. Encyclopedia of Herb & their uses. London: Dorling Kindersley Limited,
1995:
5. ชยันต พิเชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ
ฉบับเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: บริษัท
อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด. 2544:
6. Vermeulen N. Encyclopaedia of herbs. The Netherlands: Rebo Productions Ltd.,
1999:
7. Weiss RF. Weiss’s Herbal Medicine. New York: Georg Thieme Verlag, 2001:
8. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and
Comparisons, 2001:
9. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food,
drugs, and cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996:
10. พรรณิภา ชุมศรีและคณะ. สวนนานาพฤกษสมุนไพร. โครงการวิจัยและรวบรวมพันธุพืช
สมุนไพรเภสัช-มหิดล.
11. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale:
Medical Economics Company, Inc., 2000:
12. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2544:
13. Wenninger JA, McEwen G.N. Interbational Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995:
14. Ayensu ES. Medicinal Plants of the West Indies. Michigan: Reference Publications,
Inc., 1981:
15. วงศสถิตย ฉั่วกุลและคณะ. สมุนไพรไทย มรดกไทย. กรุงเทพฯ: บริษัท สยามบุคส แอนด
พับลิเคชั่นส จํากัด, 2540:
16. = 14.
17. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New
York: Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000:
18. วงศสถิตย ฉั่วกุลและคณะ. สมุนไพรพื้นบานลานนา. กรุงเทพฯ: บริษัท อมรินทรพริ้นติ้ง แอนด
พับลิชชิ่ง จํากัด, 2539:
19. ลีนา ผูพัฒนพงศ. สมุนไพรไทย ตอนที่ 5. กรุงเทพฯ: ห.จ.ก.ชุติมาการพิมพ, 2530:
20. กองกานดา ชยามฤต. สมุนไพรไทย ตอนที่ 4. กรุงเทพฯ: ห.จ.ก.ชุติมาการพิมพ, 2528:
21. Tisserand R, Balacs T. Essential Oil Safety: A Guide for Health Care Professionals.
Glasgow: Bell and Bain Ltd, 1995:
22. McMAKIN PD. A Field Guide to the Flowering Plants of Thailand. Bangkok: White
Lotus Co., Ltd., 1998:
23. กิตติมา กิติศักดิ์ไชยกุล และฉวีวรรณ นุนสิงห. สมุนไพรที่ใชในเครื่องสําอาง. โครงการพิเศษ ป
การศึกษา 2538. คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล
24. Natural Products Research Institute Seoul National University. Medicinal Plants in the
Republic of Korea. Manila: World Health Organization, 1998:
-13-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Chickweed, ชิควีด


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Adder ’s Mouth, Passerina, Stichwort, Tongue grass,
Satin flower, White bird ‘s eye, Starweed (1,3-5,7),
Vogelmiere (6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Stellaria media L. Vill. (6)
ชื่อพอง (Synonyms) : Alsine media (6)
วงศ (Family) : Caryophyllaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Chickweed (Stellaria media) extract (8)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
เปนวัชพืช สูง 5-30 ซม. คอนขางแตกแขนง มีรอยตามแนวยาว ลําตนบวมออกตามขอ ใบ
ออกตรงขาม รูปไข ใบทางดานลางมีหูใบยาว ใบทางดานบนไมมีหูใบ ใบยาว 1 ซม. กวาง 0.7 ซม. ดอก
เดี่ยวสีขาว รูปรางคลายดาว (ชื่อ Stellaria มาจากภาษาละติน แปลวา ดาว) ออกที่ยอด ผลคอนขางกลม มี
ริ้วคลายซี่ฟนปกคลุม (5)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
พบทั่วไปทั้งยุโรป อเมริกาเหนือ และที่อื่นๆ ทั่วโลก (7)

สรรพคุณพื้นบาน :
มีการใชรักษาโรคเกาท ขอตอแข็ง วัณ โรค และโรคเลือด ใชภายนอกรักษาบาดแผล ริดสีดวงทวาร การ
อักเสบของตา โรคเรื้อนกวาง ใชในรูปขี้ผึ้งรักษาอาการคัน ชิกหวีดเปนพืชรสเย็น มีสรรพคุณบรรเทาอาการคัน สมาน
แผล ใชภายในบรรเทาอาการปวดขอ (1,2,5-7) ตํารายาสมุนไพรของเยอรมัน (HAB1) ใชสวนเหนือดิน (สด) ขณะกําลัง
ออกดอก บรรเทาอาการไมสบายเกี่ยวกับการทรงตัวและ การเคลื่อนไหว เชน ปวดขอ และเจ็บปวดเมื่อสัมผัส (6)

สวนที่ใช :
สวนเหนือดิน (herb) (6)

องคประกอบทางเคมี :
ก ร ด ค า ร บ็ อ ก ซิ ลิ ก (carboxylic acids), คู ม า ริ น ส (coumarins), ไฮ ด ร อ ก ซี คู ม า ริ น ส
(hydroxycoumarins), ฟลาโวนอยด (รูติน ), ซาโปนิน (saponins), สเตียรอยด (steroids), ไทรเทอรปน
กลั ย โคไซด (triterpene glycosides), วิ ต ามิ น ซี (vitamin C, 150-375 µg/100 g), ไทรเอมี น (triamine,
-14-

0.02 mg), วิ ต ามิ น บี 2 (riboflavin, 0.14 mg), ไนอาซี น (niacin, 0.51 mg), คาโรที น (carotene, 35.2
mg), กรดลิโนเลนิก (linolenic acids), กรดออคตะเดคะเททรานิก (octadecatetraenic acid), สารเมือก
(mucilage), วิตามินอี (tocopherols), แรธาตุ (3,6)

OH

HO O
OH

OH
HO
O OH
OH O O CH2

O
H3C
O
HO
HO
OH

rutin (quercetin-3-rutinoside)

สารสกัด :
Chickweed extract เปนสารสกัดจากสวนเหนือดินของ Stellaria media (8)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ทําใหผิวเรียบ เปนสวนประกอบในครีม โลชั่น ผลิตภัณฑสําหรับทําความสะอาดผิว ลดกระและ
จุดดางดํา ผลิตภัณฑสําหรับพอกหนา ใชพอกเพื่อขจัดสะเก็ดแผล

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
ชิควีดใชภายในสําหรับโรคปวดขอ ใชภายนอกบรรเทาอาการคัน โรคสะเก็ดเงิน การอักเสบของชองคลอด
การปวด สิว และฝ สวนใหญใชรวมกับ Althaea officinalis หรือ Ulmus rubra ในขี้ผึ้ง เพื่อบรรเทาอาการคัน (2)
ชิควีดมีคุณสมบัติแกคัน ทําใหแผลหายเร็ว ใชทําขี้ผึ้งเพื่อรักษาโรคผิวหนัง, indolent ulcer ใชพอกรักษาสิวหัว
แดง ฝ หรือฝฝกบัว ชิควีดใชทําขี้ผึ้งรวมกับ Althea หรือเปลือก Slippery Elm และคอมเฟรย (comfrey) บรรเทาการ
อักเสบของตา การบวมและแดงของโรคไฟลามทุงบริเวณใบหนา ชิควีดมีคุณสมบัติเรงการสรางเซลล (3)

ขอควรระวัง :
การรับประทานในปริมาณมากอาจทําใหเกิดพิษได (4)
-15-

เอกสารอางอิง :
1. Boulos L. Medicinal plants of North Africa. Michigan: Reference Publications, Inc., 1983: 45.
2. Bown D. Encyclopedia of Herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 356.
3. D’Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic Desk Reference. New York: CRC Press, 1999: 80.
4. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2001:
139.
5. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 180.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
7. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 159.
8. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 122, 710.
-16-

Chickweed (Stellaria media L. Villars.)


-17-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Chinese foxglove, ไชนิส ฟอกซโกลฟ


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Rehmannia, Sheng Di, Sheng Ti Huang, Shu Ti
Huang, Ti Huang, Ti Huang Chiu (5)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Rehmannia glutinosa (Gaertn.) Libosch.
ชื่อพอง (Synonyms) : Rehmannia chinensis, R.sinensis, Digitalis glutionsa (2)
วงศ (Family) : (Gesneriaceae) Scrophulariaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Rehmannia chinensis extract (4)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมลมลุกอายุหลายป สูง 25-40 ซม. ทุกสวนของตนปกคลุมดวยขนออนยาว รากเปนรากสะสม
อาหาร ทรงกระบอกหรือกระสวย (3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดในจีน มีการเพาะปลูกแถบทางเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ตะวันออกและภาคกลาง
ของ จีน (3)

สรรพคุณพื้นบาน :
ยาจีน ใชประโยชนจากราก 2 ชนิด คือ dried rehmannia และ cured rehmannia ซึ่งรากทั้งสอง
ชนิด มีคุณสมบัติเพิ่มความชุมชื้น
dried Rehmannia : ชวยขับ ความรอ นในรางกาย ดังนั้ น จึงใชรักษาอาการไข ตางๆ โรค
หวัด เบาหวาน แกกระหาย ผิวแตก
cured Rehmannia : รักษาอาการปวดหลัง-ปวดเอว เจ็บเขา เหงื่อออกกลางคืน ฝนเปยก
ไขเรื้อรัง เบาหวาน หัวใจเตนแรง ประจําเดือนผิดปกติ เลือดออกใน
มดลูก วิงเวียนศรีษะ เกิดเสียงในหู
โดยทั่ ว ไปยาจี น ใช เรแมนเนี ย (rehmannia) เป น อาหารบํ า รุ ง กํ า ลั ง ป อ งกั น โรคและเป น ยา
อายุวัฒนะ (2)
จีน และญี่ปุนใชในรายที่พักฟน รางกายออนแอ การขับถายปสสาวะไมปกติ ลดไขและหามเลือด
(2)

สวนที่ใช :
-18-

การเตรี ย มรากมี 3 วิ ธี คื อ fresh rehmannia, raw หรื อ dried rehmannia และ cured หรื อ
cooked rehmannia
fresh rehmannia เตรียมโดยขุดรากในชวงฤดูใบไมรวงหรือใบไมผลิอาจนําไปใชเลยหรือเก็บไว
โดยวางบนดินและกลบดวยทรายแหง เก็บไวไดนาน 3 เดือน รากชนิดนี้เรียก fush rehmannia
dried หรือ raw rehmannia เตรียมโดยนํา fresh rehmannia มาอบโดยอุณหภูมิจนกระทั่งเนื้อใน
เปลี่ยนเปนสีดํา แลวนวดกับน้ํา ปนเปนกอนกลม และน้ําไปทําใหแหง
cured ห รื อ cooked rehmannia เตรี ย มได 2 วิ ธี วิ ธี แ รกเรี ย ก wine curing โดยทํ า dried
rehmannia มาทําใหชุมดวยน้ําแลวผสมกับไวน (30-50% โดยน้ําหนัก) ในภาชนะปดสนิท นําไปนึ่งทั้ง
ภาชนะจนไวน ถูกดู ด ซับ ไวทั้ งหมด นํ ามาหั่ น เปน ชิ้น บางๆ แลวทําให แหง วิธีที่สองเรียก steam-cured
rehmannia โดยนํา dried rehmannia มาทําใหชุมน้ํา แลวนําไปนึ่งไอน้ําจนเปลี่ยนเปนสีดําแลวนํามาทําให
แหง

องคประกอบทางเคมี :
รากสดหรือรากแหง มีอิริดอยดที่มีคาทาลพอล (catalpol) เปนองคประกอบหลัก และมีออคิวบิน
(aucubin) อะจูกอล (ajugol) เมลิทโทไซด (melittoside) เรแมนนิโอไซด (rehmannioside A-D) บาง
ชนิดในรูป acylated นอกจากนี้มี phenolic ester glycosides เชน verbascoside; คารโบไฮเดรท และ
ไฟโตสเตียรอล เชน campesterol และ β-sitosterol (2)
raw และ cured rehmannia มีองคประกอบทางเคมีคลายคลึงกัน แตกตางกันที่ปริมาณสารสําคัญ
คือ อิริดอยด (iridoid) แนพโทไพโรน (naphthopyrone) เฟนเอทิลแอลกอฮอล กลัยโคไซค (phenethyl
alcohol glycosides ไดแก catapol 0.08-0.5% มีปริมาณสูงสุดใน fresh rehmannia และต่ําสุดใน cured
rehmannia) ไดไฮโดรคาทาลพอล (dihydrocatalpol) ลีโอนูไรด (leonuride) ออคูบิน (aucubin) โมโนเม
ลิทโทไซด (monomelittoside) เลแมนนีโอไซด A, B, C และ D แอคทีโอไซด (acteoside) โพลีแซค- คา
ไรดที่ละลายน้ําได เอสเตอรของกรดไขมัน (fatty acids) ไดแก เมทิล ลิโนลีเอท (methyl linoleate) เม
ทิล พัลมิเตท (methyl palmitale) และเมทิล เอ็น-ออคทาเดคาโนเอท (methyl n-octadecanoate) (3)
callus tissue ของ Rehmannia glutinosa มีสารฟอรซีไทอะไซด (forsythiaside, forsythoside A)
มีคุณสมบัติจับอนุมูลอิสระ (strong radical scavenger) ยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย และแบคทีเรียที่กอใหเกิด
โรคพืช
รากเรแมนเนี ย ซึ่ ง เป น ยาบํ า รุ ง บํ า รุ งโลหิ ต และลดไข ใ นยาสมุ น ไพรญี่ ปุ น มี จิ โอโนไซด บี 1
(jionoside B1) มีคุณ สมบั ติกดภูมิคุมกัน (immunosuppressive) และเพอรพิวเรียไซด ซี (purpureaside
C) ซึ่งมีคุณสมบัติกดภูมิคุมกัน (1)
-19-

H H

H
O
O
H
CH2OH CH2OH
O
HO
HO O
OH

catapol (iridoid glucoside)


มีรสขมมาก มีคุณสมบัติขับปสสาวะ ระบาย พืชที่มี catapol มักมี aucubin ซึ่งมีคุณสมบัติ
ตานจุลชีพ และตานมะเร็ง aucubin ยังมีฤทธิ์ถอนพิษจากเห็ดพิษ (Amanita virosa)

สารสกัด :
Rehmannia chinensis extract เปนสารสกัดจากรากของ Rehmannia chinensis (4)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ใชบํารุงผิว เชน ผลิตภัณฑอาบน้ํา และใชในแชมพูบํารุงผม (3)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
cured rehmannia : สงบประสาท ลดความดันโลหิต ขับปสสาวะ เสริมการสรางโลหิต
dried rehmannia : มี ฤ ทธิ์ ทั้ ง เสริ ม ภู มิ คุ ม กั น และกดภู มิ คุ ม กั น ในหนู ท ดลอง การนํ า dried
rehmannia มาทําเปน cured rehmannia ทําใหผลเสริมภูมิคุมกันลดลง ในขณะที่ผลกดภูมิคุมกันยังคง
อยู
นอกจากนี้ยังมีฤทธิ์ลดน้ําตาลในเลือด ในกระตายพบวาทําใหระยะเวลาการแข็งตัวของเลือดสั้นลง
บํารุงหัวใจ ปกปองตับ ตานจุลชีพ แกอักเสบ ใชรักษาโรคไขขออักเสบ ผิวหนังอักเสบ ผื่นคัน (3)
สารสกัดโพลีแซคคาไรด แสดงฤทธิ์ปรับภูมิคุมกันและตานมะเร็งในสัตวทดลอง
-20-

สารเวอรบาสโคไซด (verbascoside) มีคุณสมบัติลดความดันโลหิต ปกปองตับ ยับยั้งการสราง


5-lipoxygenase products ในเม็ดเลือดขาวของคน แสดงวามีคุณสมบัติตานการอักเสบ และยับยั้ง lens
aldose reductase (1)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
2. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
3. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 435-7.
4. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 629.
5. http://www.comp.leeds.ac.uk/cgi-bin/pfaf/arr_html?Rehmannia+glutinosa&CAN=COMIND
-21-

Chinese foxglove (Rehmannia glutinosa (Gaertn.) Libosch.)


-21-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Cornflower, คอรนฟลาวเวอร


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Bachelor’s buttons, Centaurea, Bluebonnet,
Knapweed, Bluebottle, Blue centaury, Cyani,
bluebow, Hurtsickle, Blue cap, Cyani-flowers, Korn
blume, Tremisse, Kreuz blume (1-3, 5)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Centaurea cyanus L.
ชื่อพอง (Synonyms) : C. arvensis, C. segetum, C. vulgaris (5)
วงศ (Family) : Asteraceae (Compositae)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Cornflower (Centaurea cyanus)
Cornflower (Centaurea cyanus) extract

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พืชลมลุกอายุ 1-2 ป สูง 20-70 ซม. รากแกวมีสีขาว มีลักษณะเปน fusiform ลําตนตั้งตรง เปน
เหลี่ยม อวบน้ํา แตกกิ่งกาน ใบรูปหอกยาว ขอบใบเรียบหรือหยักเปนฟนปลาเล็กนอย กานดอกยาว
ดอกแบบ head ริ้วประดับ (bracts) สีเหลืองเขียว ดอกมีสีน้ําเงินสดใส มวง ชมพู หรือขาว ดอกที่ออก
ดานขาง มีขนาดใหญกวาที่ออกตรงกลาง ผลรูปรี (achene) สีเทามีขนปกคลุม (1-3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่น กําเนิดในเมดิเตอรเรเนียน ปจจุบัน มีการเพาะปลูกทั่ วไปโดยเฉพาะในทวีปอเมริกา เชน
ควีเบค เวอรจิเนีย คาลิฟอรเนีย บริทิช โคลัมเบีย (1,2,5) และออสเตรเลีย พบขึ้นในไรขาวโพดที่รกราง
ในยุโรปและเอเซียตะวันตก (2,5)

สรรพคุณพื้นบาน :
ในอิตาลี ใชในรูปยาหมักจากตนแหง แกโรคหืด ประเทศฝรั่งเศสใชในรูปยาชงจากดอก แก
โรคตา ประเทศอินเดียใชดอกขับระดู (2) ใชดอกลดไข แกทองผูก ยาบํารุง ขับปสสาวะ ทําใหชุมคอ
ละลายเสมหะ กระตุนการทํางานของตับและถุงน้ําดี ชวยเจริญ อาหารและเปนสวนผสมในชาสมุนไพร
ปจจุบันนิยมปลูกเปนพืชสวยงาม เพราะดอกมีสีสวยงาม (thistle-like flowers) ดอกมีคุณสมบัติฝาดสมาน
ชวยลดอาการอักเสบ ใชภายนอกแกเยื่อบุตา (cornea) อักเสบ บาดแผลเล็กๆ นอยๆ และปากอักเสบ
(3,5) สารสกัดจากดอกเปนสวนผสมในแชมพูและน้ํายาลางผม (rinse) (1)
-22-

สวนที่ใช :
ดอก

องคประกอบทางเคมี :
ดอกมีสารกลุมแอนโทไซยานิน ไดแก เซนเทาโรไซยานิน (centaurocyanin) และฟลาโวน กลัยโค
ไซด เช น อะพิ เจนิ น กลั ย โคไซด (apigenin-4′-O-(6-O-malonyl-β-D-glucosyl)-7-β-D-glucuronide) (5)
และมีรายงานสารอื่นอีก ดังนี้ ไซยานิดินกลัยโคไซด (cyanidin glycoside) แทนนิน (tannins) โปรโตไซ-
ยานิ น (protocyanin) ซิ โ คริ น (cichorin) ไคซิ น (chicin) กรดโพลี ก าแลคทู โ รนิ ก (polygalacturonic
acids) (2)

OH

+
HO O
OH
OH
HO OH
CH2OH O O
O CH2OH
HO O
HO
OH

cyanin (cyanidin 3,5-di-O-glucoside) (4)

สารสกัด Cornflower :
เปนสารสกัดจากดอกแหง (Centaurea cyanus )

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
สวนผสมในผลิตภัณฑพอกหนา ทําใหผิวหนาเรียบและชุมชื้น ตานการอักเสบ น้ําที่ไดจากการ
กลั่นจากดอกใชบํารุงเสนผม (2)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- น้ําที่กลั่นจากดอกใชลางตาเพื่อบรรเทาอาการเยื่อบุตาอักเสบ โรคผิวหนังตางๆ
- ฤทธิ์ ต า นเชื้ อ แบคที เรี ย (antibacteria effect) จากสาร centaurocyanin สารนี้ ไ ด จ ากส ว น
เหนือดินของตนยกเวนดอก (3)
-23-

- Commission E มี การใช cornflower เพื่ อ รักษาอาการไข ประจํ าเดื อนผิ ด ปกติ (menstrual
disorders) เชื้อราที่ อวัยวะเพศหญิ ง (vaginal candidiasis) ยาระบาย บํ ารุงรางกาย ขับ
ปสสาวะ ทําใหชุมคอ กระตุนการทํางานของตับและถุงน้ําดี (6)
- ดอกสดใชเปนผักสลัด (1)
- cyanin เปนสารสีแดงใชแตงสีอาหาร

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน
เอกสารอางอิง :
1. Bown D. Encyclopedia of herbs and their uses. RD Press. Australia. 1995.
2. D’Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic desk reference. New York: CRC Press, 1999: 88-9.
3. Gruenwald J, Brendler T, Jaenicke C. PDR for Herbal Medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, 2000: 225-6.
4. Harborne JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis Ltd.
1999.
5. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
6. Mark B, Werner RB, Alicia G, et al. The Complete German Commission E Monographs.
Austin: American Botanical Council, 1998: 325.
-24-

คอรนฟลาวเวอร (Centaurea cyanus L.)


-24-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Elder, เอลเดอร


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : American Elder, Sweet Elder (4), Black Elder, Black–
Berried Alder, Boor Tree, Common Elder (3), Bountry,
Ellanwood, Ellhorn (6), Holunder (7)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Sambucus nigra L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Sambucus arborescens, S. medullina, S. vulgaris (7)
วงศ (Family) : Caprifoliaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Sambucus
Sambucus extract
Sambucus oil

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็ก อายุหลายป ผลัดใบ สูง 7 ม. เปลือกตนชั้นนอก (cork) สีน้ําตาลเทา
ใบประกอบรูปขนนก ใบยอยรูปไขและขอบใบหยักเปนฟนปลา มีกลิ่นฉุนเมื่อขยี้ใบ ดอกเล็กกลิ่นหอม
สีครีมถึงเหลืองน้ําตาล ผล (berries) สีแดง เมล็ดสีน้ําตาล รูปไข (2,6)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
พืชสกุล Sambucus มีประมาณ 20 ชนิด (species) สวนใหญพบในเขตอบอุนและเขตกึ่งรอนชื้น
S. nigra พบทั่วไปในยุโรป เอเซียตะวันตกและอาฟริกาเหนือ เปนพืชพื้นเมืองแถบตะวันออกของอเมริกา
เหนือและยุโรป

สรรพคุณพื้นบาน :
เอลเดอรเปนยาที่ใชรักษาอาการไมสบายทั่วไปสวนใหญ สมัยกอนใชทุกสวนของเอลเดอรเปนยา
ปจจุบันนิยมใชเฉพาะดอก เอลเดอรเปนพืชรสขม กลิ่นฉุนและเย็นจึงมีสรรพคุณลดไข บรรเทาอาการ
อักเสบ ลดการระคายเคือง ขับปสสาวะ บรรเทาหวัด (ดอก,ผล) ดอกใชขับปสสาวะ ชวยระบาย เปนยา
ฝาดสมาน ขับ เหงื่อ บรรเทาอาการไขหนาวสั่น โดยใชในรูป ชงเปนชา หรือยาทาภายนอก มี การใช
เปลือก ใบ ดอก ราก ผล รักษามะเร็ง ประเทศใชจีนใชดอก ขับเหงื่อ ขับปสสาวะ ใชกิ่งกาน ใบ
ราก รักษาโรคปวดขอเรื้อรัง (rheumatoid arthritis) มักใชเปนยาภายในในรูปของยาแช ยังใชในรูปยาชง
กลั้วปาก หรือใชบวนรักษาความผิดปกติของทางเดินหายใจ (1,5,6)
ผลและดอก : ใชภายในแกไขหวัด หวัด น้ํามูกไหล ไซนัสอักเสบ ไข
-25-

ผล : ใชบรรเทาอาการปวดขอ เปลือกผลแกทองผูกและปวดขอ
: ใชทาํ ไวน ซอสมะเขือเทศ
ใบ, เปลือก : ใชภายนอกสําหรับแผลไฟไหม แผลที่เกิดจากอากาศเย็นจัด
ดอก : ใชบรรเทาตาอักเสบ ผิวอักเสบ ปากอักเสบ และบาดแผลเล็กนอย
: ใชในโลชั่นทาผิว (elderflower water) น้ํามันและขี้ผึ้ง
: ใชเตรียมไวนขาวและ elderflower champagne
ใบ : มีสรรพคุณรักษาบาดแผล ฆาแมลงและตานจุลินทรีย
: ตมและกรองใชพนฆาแมลง
ราก, เปลือก, ลําตน : บรรเทาอาการปวดขอ ขับปสสาวะและเพิ่มน้ํานมในมารดา
ใบ, ดอก : นํามาเตรียมชาใชบรรเทาอาการหวัดและขับเหงื่อ
ผล/น้ําคั้นจากผล : ชวยระบาย ขับปสสาวะ และขับเหงื่อ ชวยบรรเทาอาการหวัด มี
รายงานการใชในอาการปวดขอ ปวดศีรษะ ปวดฟน โรคหัวใจ และปวดปลายประสาท (3,7)

สวนที่ใช :
ใบ เปลือกจากกิ่งกานที่เก็บเกี่ยวในฤดูใบไมผลิและลอกเปลือกชั้นนอก (cork) ออก ดอก และผล

องคประกอบทางเคมี
เอลเดอรมี ก รด (plant acid) ซึ่ ง คาดวา มี คุ ณ สมบั ติ ยั บ ยั้ งการอั ก เสบ ฟลาโวนอยด เช น รูติ น
(rutin) และน้ํามันไมระเหย (fixed oil)
ราก, เปลือก : ไทรเทอรปนส เชน อัลฟา-อะมัยริน (α-amyrin), เบทูลิน (betulin), กรดอัวโซลิก
(ursolic acid) นอกจากนี้มีเบตา-ซิโตสเตียรอล (β-sitosterol) แทนนิน น้ํามันหอมระเหยเล็กนอยและ
กลัยโคไซดไซยาโนติก ชื่อ แซมบูไนกริน (sambunigrin)
ใบ, ดอก : น้ํ า มั น หอมระเหยประมาณ 0.1 %, สเตี ย รอล ได แ ก แคมเพ สเตี ย รอล
(campesterol) และเบตา-ซิโตสเตียรอล (β-sitosterol), ไตรเทอรปนส ประมาณ 1.0% ไดแก อัลฟา-และ
เบตา-อะมัยริน (α-และβ-amyrin), กรดโอเลียโนลิก (oleanolic acid) และกรดอัวโซลิก (ursolic acid)
ฟลาโวนอยด เชน เคมเฟรอล (kaempferol), เคอรเซติน (quercetin), แอสตรากาลิน (astragalin), นีโอ
ทิ ฟ ลอริน (nieotiflorin) รู โทไซด (rutoside) และอนุ พั น ธ ก รดไฮดร็ อ กซี ซิ น นามิ ก (hydroxy-cinnamic
acid) เช น กรดพาราคู ม าริ ก (p-coumaric acid) กรดเฟรู ลิ ก (ferulic acid) กรดแคฟเฟอิ ก (caffeic
acid)
ผล : ฟลาโวนอยด เชน ไฮเปอโรไซด (hyperoside) ไอโซเคอรซิทริน (isoquercitrin), รูโท
ไซด (rutoside) แอนโทไซยานิน น้ํามันหอมระเหย กลัยโคไซดไซยาโนติก วิตามิน เกลือแร
-26-

CN
HO

H2C OH O

OH OH

sambunigrin
สารสกัดเอลเดอร (Sambucus extract) :
เปนสารสกัดจาก S. nigra และ Sambucus ชนิดอื่น
น้ํามันแซมบูคัส (Sambucus oil) : น้ํามันจาก Sambucus nigra และ Sambucus ชนิดอื่น

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ทุกสวนของพืชมีประโยชนดานเครื่องสําอาง เชน ทําใหผิวนุม (softening skin) ลดจุดดาง กระ ที่
ใบหนา (4) น้ําที่ไดจากการกลั่นดอกใชเปนกระสายยาในโลชั่นสําหรับผิวและตา ดอกใชแตงกลิ่นและรส
ในอาหาร (1)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
สารแซมบู คู ลิ น เอ (sambuculin A) อั ล ฟาและเบต า -อะมั ย ริน พั ล มิ เตท (α- และ β- amyrin
palmitate) แสดงคุณสมบัติปกปองตับจากสารคารบอนเตตราคลอไรด (carbon tetrachloride) ในเยอรม
นีใชดอกขับ เหงื่อเพื่ อบรรเทาอาการไอ ลดไขและไขหวัด (1,5,6) ดอกเอลเดอรใชแตงกลิ่นในผลไม
เยลลี่ และแยม ผลใชทําซอส น้ําผลไมจากเอลเดอรน้ํามาตมกับน้ําตาล ใชเปนเครื่องดื่มบํารุงหัวใจที่
แตงกลิ่นดวยขิงและกานพลู

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. Albert YL, Steven F. Encyclopedia of Common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley&son Inc., 1996: 220-1.
2. Ayensu ES. Medicinal Plants of the West Indies. Michigan: Reference Publications, Inc.,
1981: 121.
3. Bown D. Encyclopedia of herbs and their uses. RD Press. Australia.1995.
-27-

4. D’ Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic desk reference. New York: CRC Press, 1999:
100.
5. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2000:
204.
6. Gruenwald J, Brendler T, Jaenicke C. PDR for Herbal Medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, 2000: 287-8.
7. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipalanzen and Drogen. Spektrum Akademischer
Verlag Heidelberg, 1999.


-28-

Elder (Sambucus nigra L.)


-28-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : English Ivy, อิงลิช ไอวี่


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Gum Ivy, True Ivy, Woodbind, Efeu, Baumtod,
Eppig, Immergruen, Wintergreen, Totenranke,
Mauerranke (4)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Hedera helix L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Hedera caucasigena, H. chrysocarpa, H. taurica
(4)
วงศ (Family) : Araliaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Ivy (Hedera helix)
Ivy (Hedera helix) Extract (7)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมตนสีเขียว รากเลื้อยไดถึง 3-15 ม. ลําตนแตกกิ่งกาน ใบออกสลับ ใบเปนมันเหนียว คลาย
แผนหนัง ใบออนมีลักษณะเปน 5 พู สวนใบแกเปนรูปไข ชอดอกรูปรม สีเขียวเหลือง ปลายกลีบเลี้ยง
สั้น โคงงอลง รูปสามเหลี่ยม มีขนสั้นหนานุม กลีบดอก 5 กลีบ รูปขอบขนาน ขอบกลีบมวนขึ้น เกสร
ตัวผู 5 อัน รังไขแบบ inferior ovary กานเกสรตัวเมียเชื่อมกัน ผลรูปกลมประกอบดวยเมล็ด 3-5 เมล็ด
(3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
ไอวี่มีถิ่นกําเนิดในบริเวณยุโรป เอเชียกลางและเหนือ ปจจุบันมีการเพาะปลูกในอเมริกาและยุโรป
(3,4)

สรรพคุณพื้นบาน :
ไอวี่มีรสขม มีกลิ่นหอม มีฤทธิ์ตานแบคทีเรีย ทําใหอาเจียน ชวยลดไข คลายการเกร็งตัวของ
กลามเนื้อ ขับเสมหะ และทําใหหลอดเลือดดําหดตัว (1) ในตํารายาพื้นบาน ใชภายในในความผิดปกติ
ของตั บ ม า ม และถุ ง น้ํ า ดี โรคเกาต ปวดข อ และในโรคคล า ยวั ณ โรคของต อ มน้ํ า เหลื อ งและ
กระดู ก (scrofulosis) ใชภ ายนอกรักษาแผลไฟไหม แผลเป น การอั ก เสบของเซลล ในโฮมี โอพาที ใช
บรรเทาอาการไอ ไข การติดเชื้อของเยื่อบุ ไอกรน ถุงลมโปงพองและ โรคหืด (3,6) ตํารายาสมุนไพร
ของเยอรมัน (HAB 1) ใชเถาออนและสด ในอาการไมสบายเกี่ยวกับตอมไทรอยด อาการอักเสบรุนแรง
-29-

ของระบบทางเดินหายใจตอนบนและตอนลาง, อาการไมสบายเกี่ยวกับกระเพาะอาหาร-ลําไส, ตับ, น้ําดี,


ตับออน และในสวนที่เกี่ยวกับการทรงตัวและการเคลื่อนไหว (4)
คําวา hédra มาจากภาษากรีก แปลวา นั่ง อาจเพราะพืชนี้ยึดจับ คําวา helix มาจากภาษากรีก
หมายถึง หมุนวน (coil, wind) ไอวี่เปนสมุนไพรและไมประดับ เปนสัญลักษณของมนุษยสัมพันธ, ความสด
ใส, มิตรภาพ (4)
ใบไอวี่เตรียมเปนยาบรรเทาอาการไมสบายเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โดยเฉพาะชวยละลายเสมหะ
และคลายการเกร็งตัวของหลอดลม ใชในอาการหวัดเรื้อรัง

สวนที่ใช :
ใบและลําตนออน (1)

องคประกอบทางเคมี :
- ไทรเทอรปนซาโปนิน ที่มีเฮเดราซาโปนิน ซี (hederasaponin C) และ เฮเดราโคไซด ซี
(hederacoside C) เปนองคประกอบหลัก (4) อะกลัยโคน ไดแก เฮเดราเจนิน, กรดโอเลียโนลิก
(oleanolic acid), บาโยเจนิน (bayogenin)
- น้ํามันหอมระเหย : มีปริมาณเล็กนอย ประกอบดวย เมทิลเอทิลคีโตน (methylethyl
ketone), เมทิลไอโซ-บิวทิลคีโตน (methyliso-butylketone)
- โพลีอีน (Polyines) : ฟลคาริโนน (falcarinone), ฟลคารินอล (falcarinol) และ11,12-ได
ดีไฮโดรฟลคารินอล (11,12-didehydrofalcarinol)
- สเตียรอล (Sterols) : เบตา-ซิโตสเตียรอล (β-sitosterol), แคมเพสเตอรอล
(campesterol)
- ฟลาโวนอยด (Flavonoids) : รูติน (rutin) (3), เคมเฟรอล-3-รูติโนไซด (kaempferol-3-
rutinoside) (4)
- อื่นๆ : สโคโพลิน (scopolin), อนุพันธกรดแคฟเฟอิก (4)

CO (1) Glc (6 1) Glc (4 1) Rha

Rha (1 2 ) Ara (1) O


H
HOH2C
-30-

hederasaponin C (4)

R
CH3

H2C
OH
falcarinol (C17H24O) (5)

R = H : falcarinol
R = OH : falcarindiol

สารสกัด :
Ivy เปนสวนของลําตนออนและใบแหงของ Hedera helix
Ivy extract เปนสารสกัดที่ไดจากใบและลําตนออนของ Hedera helix (8)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
เปนสวนประกอบในแชมพูและครีมนวดผมที่ใชขจัดรังแค นอกจากนี้ยังใชพอกหนา อยางไรก็ตาม
อาจทําใหผิวหนังอักเสบ (2)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
ไอวี่มีคุณสมบัติขับเสมหะและตานการเกร็งตัวของกลามเนื้อ ใชลางแผลบรรเทาอาการเจ็บปวดและ
ลดการบวม การทดลองในสัตวพบวาทําใหแผลแหง (anti-exudative) และเปนพิษตอเซลล (cytotoxic)
สาร hedera saponin C แสดงฤทธิ์ตานไวรัส แบคทีเรีย ฆาพยาธิ หนอน ตานโปรโตซัวพวกแฟลกเจลลา
(3)
-31-

ขอควรระวัง :
ใบสดอาจทําใหผิวหนังและเยื่อบุออนระคายเคือง และอาจทําใหแพ (3,7)

เอกสารอางอิง :
1. Bown D. Encyclopedia of Herb & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 292.
2. D’Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic Desk Reference. New York: CRC Press, 1999: 134-
5.
3. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 275-6.
4. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
5. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 223.
6. Vermeulen N. Encyclopaedia of herbs. The Netherlands: Rebo Productions Ltd., 1999: 143-4.
7. Weiss RF. Weiss’s Herbal Medicine. New York: Georg Thieme Verlag, 2001: 211-2
8. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 374-5.
-32-

English Ivy (Hedera helix L.)


-32-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Evening Primrose, อีฟนิ่ง พริมโรส


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Fever plant, King’s cureall night herb, scabish,
sundrop (4)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Oenothera biennis L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Oenothera communis, O. gravcolens, Onogra
biennis, O. vulgaris (6)
วงศ (Family) : Onagraceae
INCI Name ( International Nomenclature Cosmetic Ingredient ) :
Evening primrose (Oenothera Biennis) extract
Evening primrose (Oenothera Biennis) oil (10)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมดอกขนาดใหญ อายุ 1-2 ป สูง1-3 ม. ใบมีลักษณะกระจุกแบบกุหลาบซอน (rosette) ใบ รูป
หอก เสนกลางใบมีสีแดง ดอกมีสีเหลือง บานเฉพาะตอนเย็น มีกลิ่นหอม ปกคลุมดวยขนออนๆ ผลมี
ลักษณะเปนฝกยาว 4 ซม. ภายในประกอบดวยเมล็ดขนาดเล็กจํานวนมาก มีสีเทาเขมถึงดํา มีขอบแหลม
(1,3,4)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดในแถบอเมริกาเหนือมีการเพาะปลูกและพบขึ้นเองในยุโรป (6)

สรรพคุณพื้นบาน :
สวนเหนือดิน นํามาตมเปนยาชงดื่ม เปนยาฝาดสมาน ยาสงบประสาท ระงับอาการชักเกร็ง แกไอ
หอบหืด แกอาการผิดปกติของทางเดินอาหาร โรคไอกรน ใชเปนยาแกทองรวง และฟอกเลือด (6)
ชาวอินเดียนแดงนําทุกสวนของตนมาตมเปนอาหาร ทําเปนยาพอกสมานแผล บรรเทาอาการปวด
(7)
ตําราโฮมีโอพาที (HAB 34) ใชพืชสดที่เก็บเกี่ยวขณะกอนมีดอก บรรเทาอาการทองรวง (6)

สวนที่ใช :
- น้ํามันจากเมล็ด ใบ และเปลือกตน (1,2,11)
- สวนเหนือดิน (6)
-33-

องคประกอบทางเคมี :
- น้ํ ามั น ในเมล็ ด มี ไทรกลี เซอไรด ซึ่ งประกอบด วย linoleic acid 65-80% และที่ พิ เศษ คื อ γ-
linolenic acid (GLA) 8-14% (6) อื่นๆ ไดแก cis–6,9,12-octadecatrienoic acid และกรดโอเลอิก (oleic
acid) 6-11% ก ร ด พั ล มิ ติ ก (palmitic acid) 10%, ก ร ด ส เตี ย ลิ ก (stearic acid), เค ม เฟ อ ร อ ล
(campesterol), เบตา - ซิโตสเตียรอล (β-sitosterol) (1,2,4,6,7,8)
- สวนเหนือดิน (herb) ประกอบดวยแทนนิน, ไฟไตสเตียรอล เรซิน และน้ําตาล (6)

H3C COOH

gamma-linolenic acid (GLA)

สารสกัด :
- Evening primrose (Oenothera biensis) extract สกัดจากสวนเหนือดินของ Evening
primrose
- น้ํามันจากเมล็ด Evening primrose (10)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
น้ํามันอีฟนิ่งพริมโรส ชวยใหผิวหนังชุมชื้น บํารุงและรักษาผิว ชวยใหผิวไมแหง จึงเปนสวนผสมใน
ผลิตภัณฑโลชั่น สบู แชมพู และ ลิปสติก มีการใชผสมกับวิตามินอี เพื่อปองกันการเกิดอนุมูลอิสระ
( 2,5,7,10,11)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- ลดระดับโคเลสเตอรอล ลดอุบัติการในการเกิดโรคหัวใจ หลอดเลือด และโรคอวน ชวยใน
การทํางานของระบบประสาท บรรเทาอาการหอบหื ด ชวยให ผิวหนังชุมชื่น รักษาผิวที่ อักเสบ ผมรวง
เพราะอีฟนิ่งพริมโรส มีกรดไขมันจําเปนจํานวนมาก ปองกันและรักษาโรคมะเร็งเตานม ชวยลดอาการ
ตางๆที่เกี่ยวของกับวัยหมดประจําเดือน บรรเทาอาการไมเกรน ชวยลดอาการปวดขอกระดูกกลามเนื้อ
เสริมในเด็กทารกและเด็กที่กําลังโตใหเลี้ยงงาย รักษาโรคเบาหวาน และอาการหมดแรงหลังการติดเชื้อ
ไวรัส (1,2,5,9,11)
- น้ํามันจากเมล็ด บรรจุในแคปซูล ใชปองกันเสนเลือดอุดตัน ขนาดที่ใช 0.1-6 ก./วัน น้ํามันไม
ระเหย (fixed oil) ใชภายนอกบรรเทาอาการโรคผิวหนัง (neurodermatitis)(6)
-34-

ขอควรระวัง :
มีรายงานพบวา 2% ของคนที่ไดรับ Evening primrose oil เปนระยะเวลานาน อาจพบอาการ
คลื่นไส อาเจียน ปวดหัว (5)

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพ ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 212-215.
2. Bown D. Encyclopedia of Herb & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 167.
3. Duke J.A. Handbook of edible weeds. CRC Press. INC., 1992: 138-139.
4. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 298-299.
5. Herbal Prescriptions for better health: 79-89.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer
Verlag Heidelberg, 1999.
7. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 235-236.
8. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 362.
9. Vermeulen N. Encyclopaedia of herbs. The Netherlands: Rebo Productions Ltd., 1999: 206-
2.
10. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 286.
11. Wilkinson J. Herbs and flowers of the cottage garden. Inkata press, Melbourne. Sydney. 45-
6.
-35-
-36-

Evening Primrose (Oenothera biennis L.)


-36-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Goldenseal, โกลเดน ซีล


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Yellow root, Jaundice root (6), Orange root, Indian
turmeric, Eye root, Eye balm, Kanadische Gelbwurz,
Goldsiegelwurz, Orangenwurz, Blutkrautwurzel (4,6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Hydrastis canadensis L.
ชื่อพอง (Synonyms) : -
วงศ (Family) : Ranunculaceae (4,6)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Goldenseal root extract

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พืชลมลุกอายุหลายป ลําตนเปนไมเนื้อออน สูง 20-38 ซม. เหงามีสีเหลืองบิดเปนเกลียวและ มี
ปุมปม ลําตนตั้งตรงทรงกระบอกและมีขน งอกจากเหงา (rhizome) บริเวณยอดมีใบ 2 ใบ ลักษณะกลม
(palmate) และขอบใบหยัก 5-9 lobe ใบมีสีเขียวเขมและมีขน เสนใบชัดเจน ที่ยอดมีดอกเดี่ยวขนาดเล็ก
สีขาว-เขียว ผลชนิด berries ลักษณะคลายผล raspberry รับประทานได มีสีแดงขนาดเล็ก เมล็ดสีดํา
เปนมัน แข็ง 1-2 เมล็ด (2,3,5)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนพืชพื้นเมืองของอเมริกา พบในปาที่อุดมสมบูรณแถบหุบเขาแมน้ําโอไฮโอและบริเวณอื่นๆ
ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอเมริกา ปจจุบันมีการเพาะปลูกในมลรัฐวอชิงตัน นิวยอรค อินเดียนา
มินเนโซตา เคนตัคกี จอรเจีย north Carolina และบางสวนในยุโรปกลาง (4,6)

สรรพคุณพื้นบาน :
เหงาชวยหามเลือดบริเวณทางเดินปสสาวะ ใชทดแทน ergot หรือใชรวมกับ ergot สรรพคุณ
พื้นบานใชบรรเทาอาการอักเสบ โกโนเรีย และแผลอักเสบมีหนอง ไลแมลง ฆาเชื้อ หามเลือด ขับปสสาวะ
เปนยาระบาย ยาบํารุง รักษาอาการอักเสบของเยื่อบุชองคลอดและมดลูก ริดสีดวงทวาร คัดจมูก เหงือก
อักเสบ รักษาสิว รังแคและกลาก รักษาแผล ใชลางตาที่เจ็บและอักเสบ สมุนไพรนี้เปนสมุนไพรที่เกาแก
ของอินเดีย ใชเปนยา สียอมทาผิว ยาแผนโบราณของยุโรป (homeopathy) ระบุสรรพคุณใชบรรเทาการ
อักเสบในชองปาก คอ ทางเดินหายใจสวนบนและสวนลาง ทางเดินอาหาร ตับ น้ําดี ตับออน และอวัยวะสืบ
พันธุของสตรี ชาวพื้นเมืองในอเมริกา เชน เชอโรคี ผสมรากกับไขมันหมีทําเปนขี้ผึ้งทาไลแมลง ทํายาตม
ใชรักษาตาเจ็บและอาการไมสบายเกี่ยวกับระบบยอยอาหาร (1,4,6)
-37-

สวนที่ใช :
รากและเหงา
องคประกอบทางเคมี :
- เหงา (แห ง) มี แ อลคาลอยด ไอโซควิโนลีน ซึ่งประกอบด วย ไฮดราสที น (hydrastine, 1.5-4%),
เบอรบีรีน (berberine) และเตตราไฮโดรเบอรบีรีน เมโคนิน (meconin) เบอรบีราสติน 0.5-
6% คานาดีน (canadine) ไฟโตสเตียรอล น้ําตาล เรซิน ไขมัน แปง น้ํามันหอมระเหยเล็กนอย
กรดคลอโรจีนิก (chlorogenic acid) (4,6)
- แอลคาลอยด ซึ่ งมี ป ริ ม าณน อ ย ได แ ก คานาดาลี น (canadaline) กรดคานาไดนิ ก (canadinic
acid) เอสเตอร ข องกรดควิ นิ ก (quinic acid ester) (6) 1-อั ล ฟ า–ไฮดราสที น (1–alpha–
hydrastine) 5–ไฮดร็อกซีเตตราไฮโดรเบอรบีรีน (5– hydroxytetrahydroberberine) (1)

N
O CH3
H H

O
OCH3
O OCH3

(-)-β-hydrastine

สารสกัด Goldenseal (Goldenseal extract) :


เปนสารสกัดจากรากของ H. canadensis

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ใชในผลิตภัณฑสําหรับผิวหนัง มีคุณสมบัติฝาดสมาน เปนสวนประกอบในน้ํายาบวนปาก ผลิต
ภัณฑสําหรับเสนผมรักษารังแค และเปนสียอมผมสีเหลือง (2)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
ใชทาภายนอกรักษาอาการติดเชื้อและใชเปนยาลางตา (4)

ขอควรระวัง :
-38-

- หามใชในหญิงมีครรภและผูปวยความดันโลหิตสูง
- ไมคอยพบผลขางเคียงกรณีที่ใชตามขนาดปกติ (4)

เอกสารอางอิง :
1. Albert YL, Steven F. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wilson&Sons Inc., 1996: 282-3.
2. Bown D. Encyclopedia of herbs and their uses. RD Press. Australia. 1995.
3. D’Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic desk reference. New York: CRCPress, 2000: 118-9.
4. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2000:
259-60.
5. Gruenwald J, Brendler T, Jaenicke C. PDR for Herbal Medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, 2000: 355-7.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
-39-

โกลเดน ซีล (Hydrastis canadensis L.)


-39-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Gromwell, กรอมเวลล


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Common Gromwell, Tzu-tan, Ti-hsueh, Ya-hsien-
ts’ao, Murasaki, Red-rooted gromwell (3-6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Lithospermum erythrorhizon Sieb.et Zucc.
ชื่อพอง (Synonyms) : Lithospermum officinale spp.erythrorhizon,
L. officinale var. japonicum, L. albiflorum,
L. murasaki (1)
วงศ (Family) : Boraginaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Lithospermum extract

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
เปนพืชมีเหงา อายุหลายป ลําตนตั้งตรงมีขนปกคลุมหยาบๆ สูงประมาณ 50 ซม. ดอกขนาด
เล็ก สีขาวปนเขียว มีกลีบดอก 5 กลีบ ออกเปนชอราวเดือนมิถุนายน–กรกฎาคม ผลเรียบเปนมันคลาย
มุกออกที่ซอกใบ รากแกวหนามีสีมวงเมื่อแหง (1,4,5)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
พืชสกุลนี้มีประมาณ 59 ชนิด (species) พบในเขตอบอุนทั่วไปยกเวนออสเตรเลีย เปนพืชในจีน
ทางเหนือ เกาหลี ญี่ปุนและมีการเพาะปลูกในบริเวณดังกลาว (1)

สรรพคุณพื้นบาน :
พืชสกุลนี้มีสรรพคุณดานการรักษาโรคผิวหนังและคุมกําเนิด สารสกัดจากรากใชเปนสียอมให
สีมวง (2)
ยาจีนใชรากรักษาฝดาษและอาการติดเชื้อ ลดไข บรรเทาอาการคออักเสบ ทองผูก ตับอักเสบและ
โรคผิวหนัง ญี่ปุนใชเตรียมสียอมขี้ผึ้ง (ointment) ลิปสติกและยอมสีผาไหม ในเยอรมนีไมอนุญาตใหใช
เปนสีผสมอาหาร (1)

สวนที่ใช :
ราก

องคประกอบทางเคมี :
ราก : มีแอลคาลอยดพัยรโรลิซิดิน ประมาณ 0.02% เชน อินเตอรมีดิน (intermedin),
-40-

มัยโคสคอรปน (mycoscorpin), เฟอรฟูริลไฮโดรควิโนน (furfuryl hydroquinone) และเฟอรฟูริลควิโนน


เชน ชิโคโนฟู แรน (shikonofuran) อนุ พั น ธกรดแคฟเฟอิก แนพโทควิโนนประเภทชิโคนิน (shikonin
type) และโพลีแซคคาไรด (1)
COOH OH
HO R

O
HO O
O
HOOC

OH

OH

lithospermic acid

สารสกัด Lithospermum (Lithospermum extract) :


เปนสารสกัดจากรากของ Lithospermum

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ใชเปนสีแตงสีเครื่องสําอาง เชน ลิปสติก (2) ทําความสะอาดผิว

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- ชิโคนินตานการเจริญเติบโตของรา (antimycotic) และตานการเกิดเนื้องอก (antitumor) (2)
- สารสกัดจากรากมีประโยชนทางการแพทยโดยออกฤทธิ์ตอเลือด ซึ่งสารสําคัญจากรากสามารถดูด
ซึมผานทางรางกายไดโดยเฉพาะที่ทางเดินอาหารแะทางเดินปสสาวะ (3) มีการเตรียมสารสกัด
จากรากในรูปแบบขี้ผึ้งเพื่อประโยชนในการรักษาแผลพุพองหรือแผลไฟไหม เนื้องอก และแผล
พุพองจากความเย็นจัด (frost bites) (4) นอกจากนี้มีการใชในรูปสมุนไพรแหงในรูปแบบยาชง
(infusion) รักษาอาการทางไตและตับ โรคหัดและดีซาน (5)

ขอควรระวัง :
- ชาวพื้นเมืองในอเมริกา (เผาโชโชนิ, Shoshoni) ใชพืชสกุล Lithospermum ทําใหเปนหมันถาวร
หลังจากที่ใชนาน 6 เดือน
- ควรใชอยางระมัดระวังเพราะในรากมีแอลคาลอยดพัยรโรลิซิดินซึ่งเปนสารกอมะเร็ง

เอกสารอางอิง :
-41-

1. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
2. Steglich W, Fugmann B, Lang-Fugmann S. ROMPP Encyclopedia: Natural Products. New
York: Georg Thieme Verlag, 1997: 585.
3. Stuart Rev GA. Chinese Materia Medica Vegetable Kingdom. Taipei: Southern materials
center INC., 1979: 245-6.
4. Takatori J. Medicinal Plants of Japan. Japan: Hirokawa Publishing Company, 1966.
5. Veumeulen N. Encyclopaedia of Herbs. Slovenia: Rebo Production Ltd., 1999: 173-4.
6. Weiss RF. Weiss’s Herbal Medicine. New York: Thieme New York, 2001: 320-1.
-42-

Gromwell (Lithospermum erythrorhizon Sieb.et Zucc.)


-42-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : English hawthorn, อิงลิช ฮอวทอรน


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Haw, Maybush, Whitethorn (4), Weissdorn (6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Crataegus monogyna Jacq.emend. Lindm.
ชื่อพอง (Synonyms) : Crataegus apifolia, Mespilus elegans, M. monogyna,
M. moogyna (6)
วงศ (Family) : Rosaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Crataegus
Crataegus extract

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมพุม มีหนาม สูงไดถึง 7.5 ม. ใบเวา 3-5 หยัก (lobe) ใบของ C. monogyna เวาลึกกวา C.
laevigata กานดอกมีขน (7) ดอกเปนชอสีขาวหรือชมพูมีกลิ่นแรง ออกดอกเดือนเมษายนถึงมิถุนายน (4)
ผลสีแดงเขม (berries) รูปทรงกลมมีเมล็ด 1 เมล็ด (3,4,5,7) อาจพบพันธุผสมของ C. monogyna กับ C.
laevigata (syn: C. oxycantha)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
พืชสกุล Crataegus มีถิ่นกําเนิดทางเหนือของเอเชีย ยุโรปและอเมริกา ปจจุบันมีการเพาะปลูก
ในยุโรปใต เอเชียและอเมริกาเหนือ (1,3,5,7)

สรรพคุณพื้นบาน :
ผล : ใชภายในรักษาการไหลเวียนโลหิตผิดปกติและโรคหัวใจทุกชนิด มีคุณสมบัติที่แตกตางจาก
สมุนไพรอื่นที่ใชรักษาโรคหัวใจตรงที่ฮอวทอรนคอนขางปลอดภัย สมุนไพรนี้มีรสหวานอมเปรี้ยวและให
ความรอน ชวยเพิ่มการไหลเวียนโลหิตสวนปลาย ควบคุมการเตนของหัวใจ ความดันโลหิตและการไหล
เวียนโลหิตผานหัวใจ (2)
ผล ดอกและใบมีคุณสมบัติฝาดสมาน คลายการเกร็งตัวของกลามเนื้อ บํารุงหัวใจและขับปสสาวะ
(1)

สวนที่ใช :
ผล ดอก และ/หรือใบ
-43-

องคประกอบทางเคมี : (5)
- ฟ ล า โ ว น (apigenin, luteolin) ที่ มี น้ํ า ต า ล เก า ะ เช น vitexin, vitexin rhamnoside,
monoacetyl vitexin rhamnoside
- flavonol glycosides เช น quercetin-3-galactoside (หรื อ hyperoside), rutin, quercetin-
4′-glucoside (หรือ spiraeoside พบมากในดอก)
- คาเทชิน ไดแก (+)-catechin และ (-)-epicatechin
- oligomeric procyanidins (ประกอบดวย catechin และ epicatechin 2-8 หนวย)
- มี dimeric procyanidin B-2 (1-3%)
- aromatic carboxylic acids สวนใหญคือ chlorogenic- และ caffeic acids
- pentacyclic triterpenes ส ว นใหญ คื อ ursolic acid , oleanolic acid และ 2-α-hydroxy-
oleanolic acid (หรือ crataegolic acid) ปริมาณในใบ 0.5-1.4% ดอก 0.7-1.2% ผล
0.3-0.5%
- สารอื่น ๆ จํานวนมากแตมีปริมาณนอย ไดแก simple amines (choline , acetylcholine ,
alkylamine) และ polyamine (spermidine)

OH
OH

HO O

OH
OH
OH
OH

HO O

OH
OH

dimeric procyanidin B-2


(epicatechin-4β-8′-epicatechin) (5)

สารสกัด Crataegus :
สารสกัดคราเทกัสเปนสารสกัดจากผล (berries) ของ C. monogyna

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
-44-

ดอกและผล มีคุณสมบัติฝาดสมาน สมุนไพรนี้มีฟลาโวนอยดจึงเปนสวนผสมในผลิตภัณฑที่ทํา


ความสะอาด บรรเทาอาการคัน ผิวอักเสบ ใชผสมในน้ํายาโกนหนวด (3)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
ตํารายาของเยอรมันฉบับที่ 10 (DAB10) ไดบรรจุสมุนไพรชนิดนี้ สวนที่ใช ไดแก ใบที่มีดอก ใบ
ดอก และผล สวนตางๆ ที่ใชถูกนํามาสกัดดวยน้ํายาตางๆ เชน น้ํา น้ํา-เอทานอล และเมทานอล หากใช
น้ําสกัดสารสกัดน้ําจะมี proanthocyanidin (di-, hexameric-, oligomeric) เล็กนอย หากเติม เอทา
นอล สารสกัดจะมี polymeric proanthocyanidins และ triterpenic acid
สารสกัด คราเทกั สชวยเพิ่ ม ความต านทานของกลามเนื้ อหั วใจตอภาวะขาดออกซิเจน เพิ่ มการ
ไหลเวียนโลหิตผานหัวใจและกลามเนื้อหัวใจ ชวยเพิ่มการบีบตัวของกลามเนื้อหัวใจ (5)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. Albert YL, Steven F. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nd ed. New York: John Wilson & Sons Inc., 1996: 295-6.
2. Bown D. Encyclopedia of herbs and their uses. RD Press. Australia. 1995.
3. D’ Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic desk reference. New York: CRC Press, 2000:
125-6.
4. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2001:
285-6.
5. Haensel R, Hoelzl J. Lehrbuch der pharmazeutischen Biologie.Springer-Verlag
BerlinHeidelberg ,1996.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipalanzen and Drogen. Spektrum Akademischer
Verlag Heidelberg , 1999.
7. Weiss RF. Weiss’s Herbal Medicine. New York: Thieme New York, 2001: 162-4.
-45-

English hawthorn (Crataegus monogyna Jacq.emend. Lindm.)


-46-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Horsetail grass, ฮอรเทล กราสส


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Shave grass, Horsetail, Bottlebrush, Field horsetail,
Common horsetail, Scouring rush (1,2,4,5)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Equisetum arvense L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Equisetum hymale L.
วงศ (Family) : Equisetaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Horsetail (Equisetum arvense) extract

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
เปนพืชชนิด pteridophyte (เฟรน) อายุหลายป เหงามีขนปกคลุม สูง 20-80 ซม. ลําตนตั้งตรง มักแตกกิ่ง
ซึ่งมีสีเขียว ลําตนที่ไมขยายพันธุ (sterile stem) มีเปลือกสีดํา มีใบเกล็ด (scale-like leaf) หุมลักษณะเปนซี่ฟนและแตก
เปนวงรอบ (whorl) สปอรสุกในฤดูใบไมผลิ (2-5)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
พื ช สกุ ล นี้ มี 29 ชนิ ด (species) เนื้ อ ไม แ ข็ ง สื บ พั น ธุ ด ว ยสปอร พบทั่ ว โลกในที่ ชื้ น และเย็ น
E. arvense พบในยุโรป อเมริกาเหนือและเอเซีย horsetail grass เปนพืชยุคกอนประวัติศาสตรไมคอย
เปลี่ยนแปลงและยอยสลายกลายเปนถานหิน (1-3) ปจจุบันมีการเพาะปลูกในอัลบาเนีย ฮังการี โป
แลนด

สรรพคุณพื้นบาน :
- สมุนไพรนี้มีคุณสมบัติฝาดสมานและเปนยารักษาอาการไมสบายของระบบทางเดินอาหาร
และควบคุมการไหลของโลหิตทั้งภายในและภายนอก (3)
- ในยุ โ รปสมั ย โรมั น และกรี ก มี บั น ทึ ก โดยหมอชาวกรี ก ชื่ อ Claudius Galenus ในคริ ส ต
ศตวรรษที่ 19 มีการใช horsetail เพื่อรักษาตอมลูกหมากอักเสบ อาการกลั้นปสสาวะไมอยู
(2) กระเพาะป สสาวะอักเสบ มั กใชรวมกับ Hydrangea arborescens เพื่ อบรรเทาอาการ
ตอมลูกหมากผิดปกติ ใชภายนอกสําหรับหามเลือด สมุนไพรนี้ระคายเคืองจึงควรใชรวมกับ
สมุนไพรที่ลดความระคายเคือง (demulcent herbs) และใชในระยะเวลาสั้น (3)
- ใชน้ํ าคั้ น หรือ ยาต ม ใช ห ามเลื อ ด รักษาแผลในทางเดิ น อาหาร แผลเป ด ผิ วหนั งอั ก เสบ
นิ่วในไตอาการปสสาวะขัดและกระปริบประปรอย
-47-

- ในการแพทยอายุรเวทของอินเดีย ฮอสเทลกราสสใชรักษาอาการอักเสบหรือการขยายของตอม
ลูกหมาก กลั้นปสสาวะไมอยู ปสสาวะไหลโดยไมรูตัวของเด็ก
- ชนเผาพื้นเมืองในอเมริกาเตรียมเปนยาชงเพื่อขับปสสาวะและกระตุนการทํางานของไต ยาตม
บรรเทาอาการไมสบายเกี่ยวกับระบบทางเดินปสสาวะ (2,5)
- ในยุโรปใชสมุนไพรที่เก็บเกี่ยวในปลายฤดูรอน ใชสมุนไพรสดบรรเทาอาการไมสบายเกี่ยวกับ
ไตและทางเดินปสสาวะ (1,6)
- ชานพื้นเมืองในอเมริกาชงเปนชารักษาอาการเกี่ยวกับไตและกระเพาะปสสาวะบรรเทาอาการ
ทองผูก (1)
- อินเดียใชเปนยาขับปสสาวะ ยาหามเลือด รากใชเปนยาแกปวดฟนสําหรับเด็ก (1)
- มีรายงานการใชพื้นบานรักษาปสสาวะเปนเลือด เกาท หนองใน กระเพาะอาหารทํางานผิด
ปกติและใชเปนยาพอกรักษาแผล

สวนที่ใช :
ลําตน สวนเหนือดิน (herb)

องคประกอบทางเคมี :
horsetail มีองคประกอบทางเคมีที่พิเศษ คือ มีแอลคาลอยด ไดแก นิโคตีน (nicotine) และเกลือ
แรตางๆ มีทราย (silica) มากจึงทําใหมีคุณสมบัติขัดผิว (abrasive) horsetail บางชนิดมีทองในเนื้อเยื่อ
แมวาจะไมมากพอที่จะนํามาสกัดแตก็มีประโยชนใชเปนตัวชี้วัดแหลงที่มีทอง (3)
- ลําตนประกอบดวยทรายและกรดซิลิซิก (silicic acid) 5-8% ทั้งตนมีซาโปนินประมาณ 5% มี
ชื่อวาอีควิเซโทนิน (equisetonin) รวมถึงฟลาโวนกลัยโคไซด ชื่อ ไอโซเคอรซิทริน (flavone
glycosides isoquercitrin), อีควิเซทริน (equisetrin) และกาลูทีโอลิน (galuteolin) สเตียรอล
ของ E. arvense ไดแก เบตาซิโตสเตียรอล (β-sitosterol), แคมเพสตรอล (campestrol), ไอ
โซคูโอสเตียรอล (isocuosterol), บราสสิโนสเตียรอยด (brassinosteroids), ไอโซฟูโค สเตีย
รอล (isofucosterol) และโคเรสเตอรอลเล็กนอย มีนิโคตินนอยกวา 1 ppm., ไซโต ไคนิน
(cytokinin), ไอโซเพนทีนิลอะดีโนซีน (isopentenyladenosine), พาลูทรีนแอลคา-ลอยด
(palutrine alkaloid) และกรดอีควิสโทลิก (equistolic acid) (1,4,5)
- E. arvense ประกอบด ว ยฟลาโวนอยด 0.3-1% (1,2,4) รวมถึ ง เคอเซติ น -3-กลู โ คไซด
(quercetin-3-glucoside), luteolin-5′-glucoside, protogenkwanin-4′′-O-glucoside, เคม
เฟอรอล (kaempferol), อะพิ เจนิน (apigenin) (1,4), ไอโซเคอรซิทริน (isoquercitrin) และ
อื่นๆ ขึ้นกับชนิด โดยชนิดจากยุโรปจะมี quercitin-3-O-sopheroside, protogenkwanin-4′-
-48-

O-β-D-glucopyranoside และ genkwanin-4′-O-β-D-glucopyranoside ชนิ ด จากอเมริ ก า


เหนือและเอเชียจะมี flavone-5-glucosides และ 6′′-malonyl esters อื่นๆ โดยเฉพาะลูทีโอ
ลิน (luteolin) ทั้งสองชนิดมี quercetin-3-O-β-D-glucopyranoside และ 6′′-malonyl esters
เปนฟลาโวนอยดสวนใหญ (1)
- กรดฟ โ นลิ ก (phenolic acids) จาก E. arvense มี di-caffeoyl-meso-tartaric acid กรด
อะราบิ โ นอิ ก (arabinoic acid) และกรดเทรโอนิ ก (threonic acid) (1,4) เกลื อ อนิ น ทรี ย
(minerals) ซึ่งละลายในน้ําไดมากกวา 80%, โปตัสเซียม, อะลูมิเนียม และแมงกานีส รวมถึง
กรดซิลิซิก (silicic acid) และซิลิเคท (silicates, 5-8%) (1,4)

O
N
H
H

N N
H
H

H CH3
OH

palustrine, C17H31N3O2

สารสกัด Horsetail :
เปนสารสกัดจากลําตนสีเขียว (sterile stem) ของ Equisetum arvense (3)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
สารสกัดฮอรสเทล กราส ใชเปนสวนผสมในแชมพูและครีมนวดผม ผลิตภัณฑถนอมผิว (1,4)
รวมทั้งใชเปนสวนผสมในผลิตภัณฑเสริมอาหาร (3,4) และชวยเพิ่มความแข็งแรงและความมันเงาของ เสน
ผม (4)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- ใชเปนยาขับปสสาวะ ยาฝาดสมาน รักษาแผล รักษาอาการผิดปกติที่ผิวหนัง แผลในทาง
เดิ น อาหารที่ เนื้ อ เน าตาย ทางเดิ น ป ส สาวะผิ ด ปกติ แ ละใช เป น ยาพอกเพื่ อ สมานแผลเป ด
(1,2,4,5)
-49-

- ชวยเพิ่ มการทํางานและกําจัด ของเสียของไต รักษาการติดเชื้อและการอักเสบของทางเดิน


ปสสาวะสวนลางและกรวยไต (1,2)
- ชวยรักษาบาดแผลหลังจากไดรับบาดเจ็บและอาการบวม (1,2)
- ในฝรั่งเศสไดแยกสารประกอบซิลิกาจาก E. arvense และนํามาใชรักษากระดูกหัก กระดูก
พรุน รักษาอาการผิดปกติของฟนและเล็บ (1)
- ประโยชนอื่น ๆ ใช horsetail ขัดหมอ, กะทะเพราะมีคุณสมบัติขัดผิว (abrasive) โดยเฉพาะ
พิวเตอร (pewter, ดีบุกผสมเงิน) (3)

ขอควรระวัง :
เมื่อใชภายนอกอาจทําใหระคายเคือง อาจทําใหเกิดอาการพิษไดโดยเฉพาะกับเด็ก (5)
เอกสารอางอิง :
1. Albert YL, Steven F. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wilson & Sons Inc., 1996: 306-8.
2. Bhumenthal M, Goldberg A, Brinckmann J, et al. Herbal Medicine.Expanded Commission E
Monograph. Newton: Integrative Medicine Communication, 2000: 208-9.
3. Bown D. Encyclopedia of herbs and their uses. RD Press. Australia. 1995.
4. D’ Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic desk reference. New York: CRC Press, 1999:
130-1.
5. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2000:
302.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
-50-
-51-

Horsetail grass (Equisetum arvense L.)


-51-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Huangbai, ฮวงบาย


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Amur Cork tree, Whang-byeuk-na-moo, Cork tree
(1,4,5), Korkbaum (3)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Phellodendron amurense Rupr.
ชื่อพอง (Synonyms) : -
วงศ (Family) : Rutaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Phellodendron amurense Extract (6)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมตน สูงไดถึง 15 ม. ตนตัวผูและตัวเมียแยกกัน (dioecious) เปลือกลําตนมีชั้นคอรคหนา
เนื้อในลําตนสีสมเหลือง ใบเปนมันประกอบขนนกออกตรงกันขาม มีจุดน้ํามัน มีใบยอย 3-13 ใบ รูปไข
หรือหอก ยาวประมาณ 10 ซม. สีเขียวคล้ํา ดอกชอกลับดอกสีเขียวขนาน 6 มม. 5-6 กลีบ ดอกแยกเพศ
ผลสีดํา ฉ่ําน้ําแบบเบอรี่ (5)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
ถิ่นกําเนิดในเอเชียตะวันออกตอนเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของจีน ญี่ปุนและรัสเซีย (4 3)

สรรพคุณพื้นบาน :
huangbai เปนพืชรสขมเย็น ชวยระบายความรอน ขับพิษ ใชในโรคบิดแบคทีเรียแบบเฉียบพลัน
ลําไสอักเสบเฉียบพลัน ดีซาน การติดเชื้อในทางเดินปสสาวะ เหงื่อออกตอนกลางคืน ใชภายนอกสําหรับ
โรคผิวหนังหลายชนิด (1,4)
จีนใช huangbai มานานกวา 200 ป และเมื่อเร็วๆ นี้มีการนําสารสกัดหรือผงสมุนไพรมาใชเปน
สวนผสมในตํารับหลายตํารับ ที่ใชรักษาอาการไหม สิว และจุดดําบนใบหนา (4)
นอกจากนี้ยังมีการใชเพื่อลดไข ลดความดันโลหิต ลดระดับน้ําตาลในเลือดอีกดวย (1)
ญี่ปุนใชเปลือกตนเปนยาขับปสสาวะ และลดไข (3)
น้ํามันจากผลผสมกับอะซีโตน ใชเปนยาฆาแมลง (3)

สวนที่ใช :
เปลือกตน น้ํามันจากผล (1)
-52-

องคประกอบทางเคมี :
เปลือกตน
- แอลคาลอยด โดยมีสารหลักเปน เบอรบีรีน (berberine, 0.6-2.5 %) เฟลโลเดนดรีน
(phellodendrine) แมกโนฟลอรีน (magnoflorine) จาโทรไรซีน (jatrorrhizine) แคนดิซีน
(candicine) และพาลมาทีน (palmatine)
- สารขมลิโมนิน (limonin)
- แกมมาซิโตสเตียรอล (γ-sitosterol) เบตา-ซิโตสเตียรอล (β-sitosterol) 7-ดีไฮโดรสติ๊กมา
สเตียรอล (7-dehydrostigmasterol) สติ๊กมาสเตียรอล (stigmasterol) และสารเมือก
(mucilage)
น้ํามันจากผล
- น้ํามันหอมระเหย (volatile oil)
- น้ํามันไมระเหย (fixed oil)

O
+
N
O

OCH3

OCH3

berberine

สารสกัด :
Phellodendron amurense extract เปนสารสกัดที่ไดจากเปลือกลําตนของ Phellodendron
amurense (6)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ใชเปนสวนผสมในผลิตภัณฑแปงเด็ก ครีมรักษาสิว และมีคุณสมบัติเปนสารกันบูด (4)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
-53-

สารสกั ด ด ว ยน้ํ าจากเปลื อ กลํ า ต น มี คุ ณ สมบั ติ ต า นอนุ มู ล อิ ส ระ เบอรบี รีน มี คุ ณ สมบั ติ ต า นเชื้ อ
แบคที เรียและรา เบอรบีรีน เฟลโลเดนดรีน พาลมาทีน มีฤทธิ์ลดความดันโลหิ ตในสัต วทดลอง ลด
น้ําตาลในเลือด ลดโคเลสเตอรอล และปองกันการเกาะกลุมของเกร็ดเลือด (4)

ขอควรระวัง :
เบอรบีรีนมีความเปนพิษปานกลาง คา LD50 ในคน 27.5 มก./กก.นน.ตัว เปนอันตรายตอหัวใจทํา
ใหหายใจขัด (2)

เอกสารอางอิง :
1. Bown D. Encyclopedia of Herb & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 326.
2. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
3. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
4. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 547-8.
5. Natural Products Research Institute Seoul National University. Medicinal Plants in the
Republic of Korea. Manila: World Health Organization, 1998: 199.
6. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 542.
-54-
-55-

Huangbai (Phellodendron amurense Rupr.)


-55-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Jojoba, โจโจบา


ชื่อไทย (Thai name) :-
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Sohneeid, Goatnut, Pignut, Deernut
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Simmondsia chinensis (Link) C.K. Schneider
ชื่อพอง (Synonyms) : Buxus chinensis, Brocchia dichotoma,
Simmondsia californica, S. chrysophylla, S.
pabulosa (5)
วงศ (Family) : Buxaceae (Simmondsiaceae)
INCI NAME (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Jojoba alcohol
Jojoba butter
Jojoba (Buxus chinensis) Extract
Jojoba (Buxus chinensis) Oil
Jojoba (Buxus chinensis) Powder
Jojoba esters
Jojoba wax (8)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมพุมสีเขียว แตกกิ่งกานสาขามาก สูง 1-2 ม. ใบออกตรงขาม ขอบใบเรียบรูปไขยาว 2-
4 ซม. สีเขียวดํา ดอกชอโดยแตละดอกเปนดอกเพศเดียวขนาดเล็กสีเหลือง ไมมีกลีบดอก ผลเปนแบบ
nut มีเมล็ด 1-3 เมล็ด เมล็ดประกอบดวยไขเหลว (waxy liquid) อยูภายใน (4,6)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
โจโจบามีถิ่นกําเนิดในอเมริกาเหนือ-กลาง แถบอริโซนา ตอนใตของคาลิฟอรเนีย ทางตอนเหนือ
ของเม็กซิโก ซึ่งมีภูมิอากาศคลายคลึงกับอเมริกาเหนือ-กลาง และดินที่มีเกลือสูง ปจจุบันมีการเพาะปลูก
ตามบริเวณตางๆทั่วโลก ในอินเดียและอิสราเอล (5) โดยเฉพาะอยางยิ่งในคาตามาริกา (Catamarica) และ
อารเจนตินา (3,6)

สรรพคุณพื้นบาน :
ชาวอินเดียนพื้นเมืองที่อาศัยในประเทศเม็กซิโก ใชน้ํามันโจโจบามาเปนเวลานานเพื่อบํารุงและ
ปรับสภาพเสนผม ใชรักษามะเร็ง ใชภายนอกบรรเทาอาการเจ็บเสียวที่ศีรษะ(head sores) (3,6)
-56-

สวนที่ใช :
น้ํามันหรือไข (wax) จากเมล็ด (2) โดยการบีบ (cold press), เมล็ดสด (5)

องคประกอบทางเคมี :
- เมล็ดโจโจบาสามารถผลิตน้ํามันได 50% โดยน้ําหนัก น้ํามันที่ไดไมมีสีและกลิ่น 97% ของ
น้ํามันที่ไดเปนเอสเตอรของกรดไขมันไมอิ่มตัวที่มีคารบอน-20 และคารบอน-22 กับอัลกอฮอล ที่
มีพันธะคู 2 แหง อัลกอฮอลมีจํานวน C 38-44 โดยมี C 42 เดน กรดไขมันเปนสวนผสมของ
cis-11-eicosenoic acid (C-20:1) และ cis-13-docosenoic acid (C-22:1, erucic acid) อัล
กอฮอลเปนสวนผสมของ cis-11-eicosenol, cis-13-docosenol และ cis-15-tetracosenol
(C-24) นอกจากนั้นยังมีสเตียรอลอีกเล็กนอย (นอยกวา 5% ซึ่งเปนสวนผสมของ
campesterol, stigmasterol และ sitosterol) น้ํามันโจโจบาคลายน้ํามันจากปลาวาฬตรงที่ไมใช
ไทรกลีเซอไรดแตเปน liquid wax ester น้ํามันโจโจบามีความคงตัวสูง ไมถูกออกซิไดซ
สามารถทนตอความรอนมากกวา 285 ๐C นาน 4 วัน และที่ความดันสูง เมื่อวางทิ้งไวนานๆ จะ
ระเหย หรือเหม็นหืน (3,6,7)
- โปรตีนมากกวา 30 %
H3C (CH2)7 (CH2)n COOH
C C
H H

erucic acid (Z)-13-docosenoic acid , n = 11

สารสกัด :
Jojoba alcohol เปนสวนของอัลกอฮอลที่ไดจากการ saponification ของน้ํามันโจโจบา
Jojoba butter เปนสวนที่ไดจากการเปลี่ยนคุณสมบัติทางเคมี และฟสิกส เกิดการ
isomerization ของน้ํามันโจโจบา
Jojoba extract เปนสารสกัดที่ไดจากผลโจโจบา (Buxus chinensis)
Jojoba oil เปนน้ํามันที่ไดจากการบีบหรือการสกัด จากเมล็ดโจโจบา (Buxus
chinensis)
Jojoba powder เปนผงแปงที่ไดจากเมล็ดที่หลนจากตนโจโจบา(Buxus chinensis)
Jojoba ester เปนเอสเตอรที่ไดจากการ trans-esterification ของน้ํามันโจโจบา และการ
hydrogenated Jojoba wax
-57-

Jojoba wax เปนสวนของของเหลวกึ่งแข็งของน้ํามันโจโจบา (8)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
หลังจากมีการหามขายน้ํามันหรือไขจากปลาวาฬในป ค.ศ. 1973 อุตสาหกรรมเครื่องสําอางก็ได
หันมาใชน้ํามันโจโจบาแทน โดยใชน้ํามันโจโจบาเปนสารบํารุงผิวและผม เปนสวนประกอบในเครื่องสําอาง
หลายชนิด เชน แชมพู ลิปสติก ครีมกันแดด แปงแข็ง ผลิตภัณฑทําความสะอาด ครีมและโลชั่นสําหรับ
หนา รางกายและมือ ครีมและโลชั่นที่ชวยเพิ่มความชุมชื้น jojoba wax ใชเปนสารลอกผิวในผลิตภัณฑ
เพื่อขัดผิวหนาและผิวตัว สบู และเจลอาบน้ํา น้ํามันโจโจบายังทําใหครีมและโลชั่นมีความลื่นและนุม
ชวยเพิ่มความหนืด สามารถสรางรางแหกับไขอื่นๆ ทําใหเก็บสีและน้ํามันไดในลิปสติก (3,6,1)
ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
น้ํามันโจโจบา ใชในผลิตภัณฑดูแลผิว เพื่อเปนตัวนําพาสารที่ถูกออกซิไดซไดงาย เชน วิตามินเอ
(4) น้ํามันหรือไข (wax) จากโจโจบาชวยรักษาสิวและโรคสะเก็ดเงิน (psoriasis) บรรเทาอาการระคายเคือง
ที่ผิวตางๆ เชน ไหมจากแดด รอยแตกที่ผิว (3)
มีการทดลองในกระตาย โดยใหน้ํามันโจโจบา 2% รวมกับอาหารที่ทําใหผนังหลอดเลือดแดงแข็ง
พบวา 40% มีการลดปริมาณโคเลสเตอรอลในเลือด โดยยังไมทราบกลไกที่เกิด เมื่อปอนน้ํามันแกหนู
ทดลอง (mice) พบวา ถูกขับออกเปนสวนใหญ มีเพียงสวนนอยเทานั้นที่ถูกดูดซึม อวัยวะภายในและเซลล
ไขมันถูกทําลาย เร็วๆนี้มีการศึกษาฤทธิ์การตานอนุมูลอิสระของโจโจบาพบวาสัมพันธกับสารอัลฟา-โทโค
ฟรอล (α-tocopherol) ที่พบในใบ (3,6)

ขอควรระวัง :
หามรับประทานน้ํามันโจโจบา และเมล็ดเพราะมีพิษ กรดอีรูซิค (erucic acid) ในน้ํามันโจโจบามี
สวนทําใหเกิดพังผืดที่กลามเนื้อหัวใจ (myocardial fibrosis) ผูที่แพโจโจบาจะมีอาการอักเสบที่ผิวหนังเมื่อ
สัมผัสกับน้ํามัน (3)

เอกสารอางอิง :
1. กิตติมา กิติศักดิ์ไชยกุล และฉวีวรรณ นุนสิงห. สมุนไพรที่ใชในเครื่องสําอาง. โครงการพิเศษ ปการ
ศึกษา 2538. คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล, 90-1.
2. ชยันต พิเชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ ฉบับ
เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร พริ้น
ติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด. 2544: 353.
3. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2001:
315-6.
-58-

4. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 439.
5. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
6. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 322-3.
7. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 333.
8. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 376.
-59-

โจโจบา (Simmondsia chinensis (Link) C.K. Schneider)


-59-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Lavender, ลาเวนเดอร


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Garden lavender, Tree lavender, Common lavender,
English lavender, Lavande femelle (1,2,4,5)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Lavandula angustifolia Mill.
ชื่อพอง (Synonyms) : Lavandula officinalis Chaix., L. spica L., L. vera DC. (1,2,4,5)
วงศ (Family) : Lamiaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Lavender extract
Lavender oil

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมพุมเตี้ยมีกลิ่นหอม สูงประมาณ 60 ซม. ใบมีลักษณะแคบและมีขนสั้นและนุม ใบมีสีเทาเมื่อ
ยังออนและเปลี่ยนเปนสีเขียวเมื่อแก ดอกขนาดเล็กออกเปนชอสีฟาหรือสีมวงออน ดอกออกในชวงเดือน
มิถุนายน-สิงหาคม (4,6)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนไมพื้นเมืองแถบเมดิเตอรเรเนียนตะวันตก ปจจุบันมีการเพาะปลูกเปนการคาในบัลกาเรียและ
ประเทศตาง ๆ ในแถบเมดิเตอรเรเนียน สวนใหญทางตอนใตของฝรั่งเศส อิตาลี สเปญ รัสเซีย สหราช
อาณาจักร ออสเตรเลีย (1,3,4)

สรรพคุณพื้นบาน :
ยาชง ยาตม หรือน้ํามันหอมระเหยใชรับประทานหรือทาภายนอกบรรเทาอาการปวดศีรษะและ
วิงเวียนศีรษะ บรรเทาความเครียด ความกังวลและนอนไมหลับ ใชในอาการทองอืด ปวดทอง ใชขับลม
แกเจ็บคอ ขับประจําเดือน (2,4) ดอกบรรเทาอาการไมสบายเกี่ยวกับระบบประสาท เชน กระวนกระวาย
นอนไมหลับ การทํางานของลําไสผิดปกติ การรักษาโรคดวยวิธีอาบอบ (balneotherapy) ใชลาเวนเดอร
บรรเทาอาการไหลเวียนโลหิตผิดปกติ (3)

สวนที่ใช :
ดอกหรือสวนเหนือดินที่มีดอก เก็บเกี่ยวในชวงตนเดือนพฤษภาคมซึ่งอากาศแหง มีน้ํามันหอม
ระเหยมากที่สุด และนํามาตากในรมใหแหง

องคประกอบทางเคมี :
-60-

- ดอกลาเวนเดอร มี น้ํ า มั น หอมระเหย 1-3% ประกอบด ว ย ได แ ก ลิ น าลิ ล อะซี เตท (linalyl
acetate) 30-40% ลิ น าโลออล ((-) linalool) 20-50% 1,8-ซี นี อ อล (1,8-cineole) 1-2% แคม
เฟอร (camphor) ลิโมนีน (limonene) ซิส-ออคซิมีน (cis-ocimene) 3-7% เพอริล อัลดีไฮด
(perillaldehyde) เพอริลลิล อัลกอฮอล (perillyl alcohol) เทอรปนีน-4-ออล (terpinene-4-ol) 3-
5% (5) ในน้ํามันหอมระเหยยังประกอบดวยสารกลุมแลคโตน (lactones) ไดแก 4-บิวทาโนไลด
(4-butanolide) ไดไฮโดรคูมาริน (dihydrocoumarin) เซสควิเทอรปน (sesquiterpenes) ไดแก
เบตา-คาริโอฟลลีน (β-caryophyllene) คาดินีน (cadinene) กรด ไขมัน (fatty acids) ไดแก
กรดคาโปรอิก (caproic acid) เปนตน กรดพาราคูมาริก (para-coumaric acid)
- แทนนิน (tannins)
- คู ม าริ น ส (coumarins) ได แ ก คู ม าริ น (coumarin) อั ม เบลลิ เฟอโรน (umbelliferone) เฮอร นิ -
อะริน (herniarin)
- ฟลาโวนอยด (flavonoids) ไดแก ลูทีโอลิน (luteolin)
- ไทรเทอรปนอยด (triterpenoids) ไดแก กรดอัวโซลิก (ursolic acid)

H3C OR

CH 2

H3C CH 3

Linalool : R= H
Linalyl acetate : R = COCH3

สารสกัด :
สารสกัดลาเวนเดอร (Lavender extract) : สารสกัดจากลาเวนเดอร
น้ํามันลาเวนเดอร (Lavender oil) : น้ํามันหอมระเหยจากดอกลาเวนเดอร

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ลาเวนเดอรเปนพืชหอมที่เปนที่นิยม คําวา “lavare” เปนภาษาอิตาเลียน หมายถึง อาบน้ํา/ทําความ
สะอาด ดอกลาเวนเดอรเปนสวนผสมในน้ําที่ใชอาบตั้งแตสมัยโรมัน น้ํามันลาเวนเดอรนิยมใชแตงกลิ่นสบู
น้ําสําหรับเช็ดผิว ครีม ผลิตภัณฑผสมน้ําอาบ สเปรยดับกลิ่น สวนผสมในน้ําหอมและโคโลญจน ไมควร
-61-

ใช mask (ครีมพอกหนา) ที่มีสวนผสมของลาเวนเดอรบอยเพราะจะทําใหผิวระคายเคือง นอกจากนั้นยังใช


ผลิตน้ําหอมที่มีราคาแพง (1,2,4)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- ทําใหจิตใจสงบ รักษาอาการนอนไมหลับ ลดอาการออนเพลีย ทําใหอารมณดีคลายกังวล
- บรรเทาอาการปวดทองที่มีสาเหตุมาจากอาการผิดปกติของระบบประสาท
- perillyl alcohol ใหผลขั้นตนในการปองกันและรักษามะเร็งเตานม มะเร็งรังไข และมะเร็ง
ตอมลูกหมาก ปจจุบันกําลังอยูระหวางการศึกษาขั้นคลินิก (2,4)
- น้ํามันลาเวนเดอร เปนสวนผสมในยาเตรียมที่ชวยใหหลับ บรรเทาอาการไมสบายเกี่ยวกับ
ทางเดินอาหารสวนบน และใชภายนอกในการรักษาโรคดวยวิธีอบอาบ
- ไลแมลง

ขอควรระวัง :
- โดยทั่วไปน้ํามันดอกลาเวนเดอรไมกอระคายเคืองและไมกอการแพตอผิวหนัง อาจพบอาการ
แพไดบางแตนอย สารสกัดในรูป absolute กอใหเกิดอาการแพได (2,4)
- ระมัดระวังการใชรวมกับยาที่มีฤทธิ์กดระบบประสาทสวนกลางเนื่องจากอาจมีผลเสริมฤทธิ์
(5)

เอกสารอางอิง :
1. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย. Prosea: ทรัพยากรพืชในภูมิภาคเอเชียตะวัน
ออกเฉียงใต 19: พืชน้ํามันหอมระเหย. นนทบุรี: สหมิตรพริ้นติ้ง, 2544:160-3.
2. Albert YL, Steven F. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nd ed. New York: John Wilson&Sons Inc., 1996: 339-42.
3. Bown D. Encyclopedia of herbs and their uses. RD Press. Australia. 1995.
4. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2000:
347-9.
5. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer
Verlag Heidelberg, 1999.
6. Hlava B., Pospisil, Stary F. Pflanzen fuer dee natuerliche Schoenheit. Verlag Werner
Dausilen. Hanau. 1983.
-62-
-63-

ลาเวนเดอร (Lavandula angustifolia Mill.)


-63-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Common Mallow, คอมมอน มอลโลว


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Mallow, Blue Mallow, High Mallow, Mauls,
Cheeseflower (2,5,6), Grosse Kaesepappel,
Rosspappel, Wilde Malve (4)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Malva sylvestris L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Malva ambigua, M. elata, M. erecta, M. glabra,
M. mauritiana, M. obtusa, M. ruderalis, M. vulgaris
(4)
วงศ (Family) : Malvaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Mallow (Malva sylvestris) Extract (7)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมผลัดใบ อายุหลายป สูง 0.3-1.2 ม. ลําตนแตกกิ่งกาน คอนขางจะอวบน้ํา ใบออกสลับ มีกานชู
ใบยาว ใบเรียงสลับคอนขางกลม หูใบยาวมี 5 lobe และขอบใบหยัก ดอกสีมวง มีริ้วประดับ (ใบประดับที่
มีลักษณะคลายกลีบเลี้ยง 3 กลีบ) กลีบดอกและกลีบเลี้ยง 5 กลีบ ผลเกลี้ยงหรืออาจมีขนเล็กนอย เปน
เหลี่ยม (2)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนพืชที่มีถิ่นกําเนิดทางตอนใตของยุโรป และบริเวณทวีปเอเชีย ปจจุบันมีการเพาะปลูก ทั่วไปในเขตรอนและ
เขตอบอุนของทั้ง 2 บริเวณ (2)

สรรพคุณพื้นบาน :
มอลโลวเปนพืชที่มีสารเมือก มีฤทธิ์ฝาดสมาน ใชขับเสมหะ และบรรเทาอาการอักเสบ (5)
ใบและดอกแหง เปนสวนผสมในชาดื่มเพื่อแกไอ และบรรเทาอาการผิดปกติของระบบทางเดิน
หายใจ เชน หลอดลมอักเสบ หืด และโรคถุงลมโปงพอง ชาใชกลั้วคอรักษาการติดเชื้อของลําคอ รักษาโรค
ทองรวง ทางเดินอาหารอักเสบ น้ําดีผิดปกติและผสมน้ําอาบเพื่อรักษาบาดแผล (2,4,6) ขนาดที่ใชชงชา 3-
5 ก.
ดอกใชเปนยาภายในเพื่อรักษาหลอดลมอักเสบ อาการอักเสบของระบบทางเดินอาหาร ความผิด
ปกติของถุงน้ําดี ใชภายนอกรักษาบาดแผลโดยผสมน้ําอาบ (2)
-64-

สวนที่ใช :
ใบ ดอก และผล (5)

องคประกอบทางเคมี :
ใบ
- ฟลาโวนอยด ประกอบดวย ฟลาโวน (flavone) ซึ่งเป น สารสีเหลื อ ง มี ชื่อ วา hypolaetin-3-
glucoside, gossypetin-3-glucoside, gossypetin-3-O-β-D-glucuronide-3-sulfate
(flavonoid sulfate)
- สารเมือก (mucilage) 6-8% ประกอบดวย กาแลคทูโรโนราเมน (galacturonorhamane), อะ
ราบิโนกาแลคเเทน (arabinogalactan)
- แทนนิน
ดอก
- ฟลาโวนอยด เชน แอนโทไซยานิดิน (anthocyanidin) ไดแก มาลวิดิน (malvidin) และแอนโท
ไซยานิน ไดแก มาลวิน (malvin) ในรูปมาโลเนท (malonate)
- สารเมือก มีไดถึง 10% ไดแก กาแลคทูโรโนราเมน, อะราบิโนกาแลคแทน (2,3)

OCH 3

OCH 3 OH

OH +
HO O
+ OCH3
HO O
OCH3 OH
CH2OH O HO
O OH
HO O CH2OH
OH O
HO
OH OH

malvidin (1,3) malvin (3)

สารสกัด :
Mallow (Malva sylvestris) extract เปน สารสกัด ที่ ได จากดอกและใบของตน Malva sylvestris
(7)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
-65-

เนื่องจากมีสารชวยทําใหผิวเรียบและนุม ใชในผลิตภัณฑปรับสภาพผิวเหมาะสําหรับผิวที่แพงาย
(1)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
สารเมือกมีคุณสมบัติปกปองเยื่อบุออน (mucous membrane) และบรรเทาอาการระคายเคือง (2)
ใชภายในรักษาการอักเสบของหลอดลม แกไอ การติดเชื้อของลําคอ เยื่อมูกอักเสบ โรคหืด โรคถุงลม
โปงพองและกระเพาะอาหารอักเสบ ปริมาณมาก ๆ ใชเปนยาระบาย ใชภายนอกรักษาโรคผิวหนัง ฝ และ
แมลงสัตวกัดตอย (5) แอนโทไซยานินจากกลีบดอก ซึ่งมีสีมวงน้ําเงินใชแตงสีอาหาร

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. D’Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic Desk Reference. New York: CRC Press, 1999:
147-8.
2. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 395-6.
3. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
4. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
5. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 308.
6. Vermeulen N. Encyclopaedia of herbs. The Netherlands: Rebo Productions Ltd., 1999: 180-1.
7. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 411.
-66-
-67-

Common Mallow (Malva sylvestris L.)


-67-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Meadowsweet, มีโดวสวีท


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Queen of the meadow, Dropwart, Bridewort, Lady of
the meadow, Meadosweet, Meadow Queen,
Meadow-Wort (2), Maedesuess, Johanniswedel,
Wurmkraut, Ziegenbart, Wiesenkoenigin (5)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Filipendula ulmaria (L.) Maxim.
ชื่อพอง (Synonyms) : Spiraea ulmaria L., Ulmaria palustris, U. pentapetala
(5)
วงศ (Family) : Rosaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Meadowsweet (Spiraea ulmaria) Extract (8)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมผลัดใบ สูงประมาณ 50-200 ซม. ลําตนตั้งตรงมีสีแดง แตกกิ่งกานบริเวณยอด ลําตนมี
เหลี่ยมมุม เรียบหรือมีขน ใบออกสลับ มีกานชูใบยาวหรือไมมี ใบประกอบขนนก รูปไข ฐานใบกลม
ขอบใบหยัก หลังใบสีเขียวดําและเรียบ ทองใบสีเทาถึงขาวและมีขน ออกสมมาตรซาย-ขวา ดอกเปน
กลุม สีครีมถึงขาว มีกลีบดอก 5 กลีบ และมีกลิ่นคลายกับตนน้ํามันระกํา (wintergreen) (2,3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เป น พื ช ที่ ขึ้ น ในทุ ง หญ า ชื้ น และป า ดิ บ บริ เวณชื้ น แฉะในยุ โ รป มี ก ารเพาะปลู ก ในโปแลนด
ยูโกสลาเวีย และบูลกาเรีย (5) ตอนเหนือและใต, อเมริกาเหนือ, ไซบีเรีย, เอเซียไมเนอร, มองโกเลีย (3,5)

สรรพคุณพื้นบาน :
สมุนไพรนี้มีกลิ่นหอม มีคุณสมบัติฝาดสมาน ชวยสมานแผล บรรเทาอาการปวด โดยเฉพาะอาการ
ปวดขอและใชในโรคระบบทางเดินอาหาร (1) สรรพคุณพื้นบาน ใชมีโดสวีทขับปสสาวะ รักษาโรครูมา
ตอยด, เกาท, ไตและถุงน้ําดี บรรเทาอาการปวดศีรษะ ปวดทอง และทองเสียในเด็ก (2,3)
ในตํารายาสมุนไพรของเยอรมัน (HAB1) ใชรากของพืชที่มีดอก (สด) รักษาอาการปวดขอ และ
อาการอั ก เสบของเยื่ อ บุ อ อ น (mucous membrane) ส วนเหนื อ ดิ น ใช บ รรเทาอาการไม ส บายเกี่ ย วกั บ
กระเพาะอาหาร (5) ดอกใชบรรเทาอาการไมสบายเกี่ยวกับกระเพาะปสสาวะ, ไต และชวยใหแผลหายเร็ว
(5)
-68-

สวนที่ใช :
สวนเหนือดิน (herb), ราก, ดอก (1,5)
องคประกอบทางเคมี :
ดอก
- น้ํามันหอมระเหย (volatile oil, 2%) : ซาลิซิลอัลดีไฮด (salicylaldehyde), เมทิลซาลิไซเลท
(methyl salicylate), วานิลลิน (vanillin) และเฮลิโอ
โทรปน (heliotropine)
- ฟลาโวนอยด (flavonoids) : สปเรโอไซด (spiraeoside หรือ quercetin-4′-O-glucosides,
3-4%), kaempferol-4-O-glucosides, ไฮเปอโรไซด
(hyperoside), รูติน (rutin), เคอรเซติน (quercetin และกลัย
โคไซด, ฟนอลกลัยโคไซด (primveroside ของ
salicylaldehyde)
- แทนนิน (tanins) : เอลลาจิก แทนนิน (ellagic tannins) 10%

สวนเหนือดิน (herb) มีองคประกอบเคมีคลายดอกแตกตางกันที่ปริมาณและชนิดของฟลาโว -


นอยด ประกอบดวย
- น้ํามันหอมระเหย : ประกอบดวย salicylic acid ester
- ฟลาโวนอยด (flavonoids) : รูติน(rutin), ไฮเปอโรไซด (hyperoside), quercetin-3-0-
glucuronide, quercetin-3-0-arabinoside แตไมพบสปเรโอ
ไซดและเคมเฟรอล กลัยโคไซด (5)
- แทนนิน (tannins) : เอลลาจิกแทนนิน (ellagic tannins) (3)

OH

COOH O
HO OH
OH
OH
HO
O
O CH2OH
OH
OH O

salicylic acid hyperoside, hyperin หรือ


(2-hydroxybenzoic acid) (6) quercetin-3-galactoside (4)
-69-

สารสกัด :
Meadowsweet (Spiraea ulmaria) Extract เปนสารสกัดจากสวนเหนือดินของ Spiraea ulmaria
(8)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
เนื่องจากสมุนไพรชนิดนี้มีกลิ่นหอม จึงนิยมใชในการผลิตน้ําหอม สารแทนนินมีคุณสมบัติฝาด
สมาน นิยมนํามาเปนสวนผสมในผลิตภัณฑทําความสะอาดผิวและบํารุงผิว

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
ดอก
- มีฤทธิ์ตานการอักเสบ และฝาดสมาน การทดลองในสัตวพบวาสารสกัดฟลาโวนอยดใหผล
รักษาแผลในกระเพาะอาหารและมีฤทธิ์เพิ่มความตึงตัวของกลามเนื้อเรียบ (3)สารสกัดจาก
ดอกสาม ารถยั บ ยั้ ง เชื้ อ Staphylococcus aureus, S. epidermidis, Escherichia coli,
Proteus vulgaris, Pseudomonas aeruginosa กรดซาลิไซลิกเปนสารฆาเชื้อใชในการรักษา
โรคผิวหนังและโรคทางเดินปสสาวะ
- ใชบรรเทาอาการหวัด ขับเหงื่อ และขับปสสาวะ (5)
สวนเหนือดิน (herb)
- ประกอบดวยซาลิไซเลท ซึ่งมีฤทธิ์ตานจุลชีพ ลดไขและขับปสสาวะ (3)
- ใชบรรเทาอาการหวัด (5)
สารแทนนินในพืชมีฤทธิ์ฝาดสมาน จึงมีผลิตภัณฑที่เตรียมจากรากใชรักษาอาการทองรวง (2)

ขอควรระวัง :
หามใชในผูปวยที่แพซาลิไซเลท หรือซัลไฟท ควรระมัดระวังการใชในผูปวยโรคหืด (2)

เอกสารอางอิง :
1. ชยันต พิเชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ ฉบับ
เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร พริ้น
ติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด. 2544: 283.
2. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2001:
398-9.
-70-

3. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 511-2.
4. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
5. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
6. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 567.
7. Vermeulen N. Encyclopaedia of herbs. The Netherlands: Rebo Productions Ltd., 1999:125-6.
8. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 416.
-71-

Meadowsweet (Filipendula ulmaria (L.) Maxim.)


-71-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Medlar, เมดลาร


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Mespilum, Musluna Agaci (2), Mispel (1)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Mespilus germanica L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Pyrus germanica ((L.) Hook.f.)
วงศ (Family) : Rosaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมตน ผลัดใบ สูงไดถึง 6 ม. ดอกเพศผูและเพศเมียอยูบนตนเดียวกัน (hermaphrodite)
ดอกออกในเดือน พ.ค.-มิ.ย. (2)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
พบในแถบยุโรปใตและตะวันออกเฉียงใต จนถึงแถบตะวันตกของประเทศจีน (2)

สรรพคุณพื้นบาน :
สมัยยุคกลางในฝรั่งเศสตอนเหนือ และเยอรมนีตะวันตกเฉียงใต ปลูกพืชนี้เปนไมผล โดยจะทิ้งผล
ไวระยะเวลาหนึ่งกอนรับประทาน (1) เมดลารเปนยาบํารุง เสริมธาตุหยาง ลดความรอนและความชื้น
ภายในรางกาย ทําใหอายุยืน (3)

สวนที่ใช :
เปลือกตน, ใบ, ผลและเมล็ด (2)

องคประกอบทางเคมี :
ใบมี เ มลาโวไซด (melavoside) ซึ่ ง เป น กลู โ คไซด ข อง mevalonolactone (1) ในธรรมชาติ
mevalonolactone ปรากฎในรูปของ mevalonic acid ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงเปน δ-lactone ไดทันที

HO CH3 O
HOH2C
OH
-72-

mevalonic acid

สารสกัด :
สารสกัดจากใบ

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
มีคุณสมบัติฝาดสมาน (3) ทําความสะอาดและบํารุงผิว

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
เนื้อผล : ยาระบาย
ใบ : มีฤทธิ์ฝาดสมาน แกทองเสีย
เมล็ด : มีฤทธิ์สลายนิ่ว (2)

ขอควรระวัง :
เมล็ด มีกรดไฮโดรไซยานิก (hydrocyanic acid) ซึ่งเปนสารพิษ ไมควรรับประทานสด (2)

เอกสารอางอิง :
1. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer
Verlag Heidelberg, 2000.
2. Morris R. Plants for a Future, The field, Penpol, Logtwithiel, Cormwall, PL22 ONG, UK.
3. http://www.xixiaking.com/english/docc/gouqi/chuan shuo.jsp.
-73-

Medlar (Mespilus germanica L.)


-74-

ชื่อสามัญ (Common or English name) Oat, โอต


:
ชื่อไทย (Thai name) :
ขาวโอต
ชื่อทองถิ่น (Local names) Groats (1), Wild Oats, Oat Bran, Oatstraw (5),
:
Biwen, Gemeiner Hafer (7)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Avena sativa L. (7)
ชื่อพอง (Synonyms) : Avena cinerea, A. dispermis, A. fatua, A. flava,
A.orientalis (7)
วงศ (Family) : Poaceae (Gramineae)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Oat bran
Oat bran extract
Oat extract
Oat flour
Oatmeal
Oatmeal extract

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พืชลมลุก สีเขียวออน รากเปนพุม ลําตนสูง 60-100 ซม. ลื่นและเรียบ ใบรูปหอกยาว ขอบ
เรียบยาว 45 ซม. กวาง 5-15 ซม. ดอกออกเปนชอมีดอกเล็ก 2-3 ดอก ผลมีลักษณะยาวรี ยาว 7-12 มม.
(4,5)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดในอะบิสซิเนีย เมดิเตอรเรเนียน และจีน ปจจุบันมีการเพาะปลูกขาวโอตทั่วไปใน
อเมริกา แคนาดา รัสเซีย และเยอรมนี ( 4 )

สรรพคุณพื้นบาน :
สงบประสาท ใชรักษาอาการนอนไมหลับ คลายกังวลลดความตึงเครียด ลดระดับกรดยูริกใน
รางกาย ใชรักษาอาการติดฝน ยาตมจากลําตนแหงที่สับละเอียดใชผสมน้ําอาบรักษาขออักเสบรูมาตอยด
เกาทและโรคผิวหนัง (1,2,4,5,7)

สวนที่ใช :
สวนเหนือดิน ผล
-75-

องคประกอบทางเคมี :
สวนเหนือดินแหง (herb, straw)
- คารโบไฮเดรท ไดแก แซคคาโรส (saccharose), คีโทส (kestose), นีโอเคสโทส (neokestose),
ไบเฟอร โ คส (bifurcose), เบตา-กลู แ คน (beta–glucans), กาแลคโตอะราบิ โ นไซแลนส
(galactoarabinoxylans)
- กรดซิลิซิก (silicic acid)
- สเตียรอยดซาโปนิน (steroid saponins)
- กรดอะมิโน ไดแก อะวีนาโคไซดเอ,บี (avenacoside A, B)
- ฟลาโวนอยด (flavonoids) ได แ ก ไวเทซิ น (vitexin), ไอโซไวเทซิ น (isovitexin), อะพิ เจนิ น
(apigenin), ไอโซริเอนทิน (isorientin), ไทรซินกลัยโคไซด (tricin glycoside)
ผล (fruit)
- คารโบไฮเดรท เชน แปง (50 - 60%) แปงขาวโอตละลายน้ํา ประกอบดวย
β-glucans, arabinoxylans และ lichenin โปรตี น (7-23%) ที่ ป ระกอบด ว ย gliadin, avenin,
avenalin น อ ก จ า ก นี้ มี ส เตี ย ร อ ล เช น β-sitosterol แ ล ะ steroidal saponins เช น
avenacoside และ avenacin (7) มีรายงานสารอื่นเพิ่มเติม ดังนี้
- เปปไทด ได แ ก อั ล ฟา-อะเวนาไทโอนี น (α–avenathionine), เบตา-อะเวนาไทโอนี น (β-
avenathionine)
- สเตียรอล ไดแก เดลตา-5-อะเวนาสเตียรอล (∆5 – avenasterol)
- วิตามินบี
- อะมีน เชน spermine (6)

CH 3

H
H3 C CH 3

H3 C H
CH 3
H3C
H

H H
HO
H
-76-

5
∆ – avenasterol
(29-isofucosterol) (6)

สารสกัดโอต (Oat extract) :


สารสกัดจากเมล็ดขาวโอต

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
- ใชในผลิตภัณฑสําหรับผิวโดยใชกับผิวที่แหงและคัน เชนผลิตภัณฑสําหรับอาบน้ํา (สบู, เจล),
แปง (4)
- สารเมือก (mucilage) จากโอตใชเปนสวนผสมในโลชั่นกันแดด โดยทําหนาที่ดูดซับรังสีอุลตรา
ไวโอเลต (7)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- สารสกั ด จากส วนเหนือดิ น แหง (straw) ใชภ ายนอกรักษาอาการอักเสบของผิ วหนังและหู ด
(5,9)
- ผลิตภัณฑจากรําขาวโอต (oat bran) ใชรับประทานเพื่อลดระดับไขมันในเลือด
- ยาตมจากตนสดใชรักษาอาการติดฝน (4)
- เมล็ดขาวโอตบด หรือ oat flake ใชผสมในน้ําอาบชวยผอนคลาย ลดความระคายเคืองและทํา
ใหสงบ น้ําอุน 1 อางอาบน้ําตอ oat flake 1 กก. บรรจุในถุงผาแชในน้ําอุนนาน 20-30 นาที
oat paste ใชพอกหนา โดยพอกที่หนานาน 10 นาที ลางออกดวยน้ําอุน oat flake แชในน้ํา
(นน. 3 เทาของ oat flake) นาน 12 ชม. เติมน้ําผึ้ง น้ํามะนาว โยเกิรตหรือผลไมรับประทานจะ
ชวยใหผมเปนประกาย นุม ผิวเนียนเรียบ (8)

ขอควรระวัง :
- ไมพบอันตรายหรือผลขางเคียงของสวนของลําตน (oat herb) ผล ( fruit) และสวนเหนือดิน
แหง (straw) เมื่อใชอยางถูกตองเหมาะสมตามขนาดที่กําหนด (5,9)
- รําขาวโอตเพิ่มความถี่ของการถายอุจจาระ อาจทําใหทองอืดและปวดทอง (4)

เอกสารอางอิง :
1. Albert YL, Steven F. Encyclopedia of Common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nd ed. New York: John Wiley & son Inc., 1996: 61.
-77-

2. Bhumenthal M, Goldberg A, Brinckmann J, et al. Herbal Medicine. Expanded Commission E


Monograph. Newton: Integrative Medicine Communication, 2000: 281-2.
3. D’ Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic desk reference. New York: CRC Press, 1999: 159-
60.
4. Der Marderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2000:
436-7.
5. Gruenwald J, Brendler T, Jaenicke C. PDR for Herbal Medicines. 2nd ed. Montvale: Medical
Economics Company, 2000: 551-3.
6. Harborne JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nded. Taylor&Francis Ltd.,
1999.
7. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akadeonischer
Verlag Heidelberg, 1999.
8. Hlava B, Pospisil, Stary F. Pflanzen fuer die natuerliche Schoenheit. Verlag Werner Dausilen.
Hanau, 1983.
9. Mark B, Werner RB, Alicia G, et al. The Complete German Commission E Monographs.
Austin: American Botanical Council, 1998: 176.
-78-

ขาวโอต (Avena sativa L.)


-78-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Pansy, แพนซี


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Heartsease, johny-Jump-up, Wild pansy, European
wild pansy, Love - in – idleness,
Feldstiefmuetterchen, Jesus-Bluemchen (1,2,3,5)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Viola tricolor L.
ชื่อพอง (Synonyms) : -
วงศ (Family) : Violaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Pansy (Viola tricolor) extract (2)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พืชลมลุก สูงประมาณ 30 ซม. ยอดออนมีสีเขียวเหลือง เรียบเกลี้ยง หรือมีขนเล็กนอย ลําตนตั้ง
ตรง เปนเหลี่ยม ใบออกสลับ ใบที่อยูดานลางมีลักษณะเปนรูปหัวใจ สวนใบที่อยูดานบนเปนรูปไข ดอก
เปนดอกเดี่ยว มีสีมวงเดนแซมดวยเหลืองและขาว มีกลีบเลี้ยงรูปรางคลายหอก ปลายแหลม ขนาดไม
เทากัน 5 กลีบ กลีบที่ใหญที่สุดลักษณะคลายเดือย (spur) เกสรตัวผู 5 อัน มีระยางที่ยอด รังไขเชื่อม
ติดกัน ผลรูปไข เมล็ดลักษณะยาวรีสีเหลือง (1,2,3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนพืชพื้นเมืองของยุโรป แพรกระจายในแถบเมอรดิเตอเรเนียนตลอดถึงประเทศอินเดียและ
ไอรแลนด ปจจุบันมีการเพาะปลูกในยุโรปกลาง เนเธอรแลนด และฝรั่งเศส (3)

สรรพคุณพื้นบาน :
ใชภายนอกในโรคผิวหนังของเด็กที่เกิดจากตอมไขมัน หิด และสะเก็ดน้ํานม (milk crust) ใชภาย
ในสมั ยกอนบรรเทาอาการหวัด หลอดลมอักเสบ ไอ ไขจากหวัด ทางเดิ น ป สสาวะอักเสบ ผิ วหนั ง
อักเสบ ขับเหงื่อ ในโฮมีโอพาทีใชสวนเหนือดินรักษาโรคผิวหนัง ไต และทางเดินปสสาวะอักเสบ (2,3,5)

สวนที่ใช :
สวนเหนือดินแหง (dried herb) เก็บเกี่ยวขณะมีดอก (5)

องคประกอบทางเคมี :
สวนเหนือดินมีฟลาโวนอยด 0.41% โดยเฉพาะกลัยโคไซดของเคอรเซติน (quercetin) และลูที
โอลิน (luteolin) คาโรทีนอยดซึ่งมีไวโอลาแซนทิน (violaxanthin) เปนองคประกอบหลัก, แอนโทไซยานิน
-79-

ซึ่งประกอบดวยสารสีไวโอนิน (violanin), phenol carboxylic acid (เชน cis- และ trans-coumaric acid)
และสารเมือก (ประมาณ 9.5%) (5) มีรายงานสารในแพนซีเพิ่มเติม ดังนี้
- ฟลาโวนอยด (flavonoids) ไดแก รูติน (rutin) ลูทีโอลินกลูโคไซด (luteolin-7-O-glucosides)
สโคพ าริ น (scoparin) ซาโป น ารี น (saponarine) ไวโอแลน ทิ น (violanthin) ไวซิ เ น อิ น
(vicinein-2) ไวเท็กซิน (vitexin)
- กรดฟ น อลคารบ อกซิ ลิก (phenol carboxylic acid) ได แ ก กรดซาลิไซลิก (salicylic acid)
ไวโอลูโทไซด (violutoside)
- สารเมือก (mucilage)
- แทนนิน (tannins)
- ไฮดรอกซีคูมารินส (hydroxycoumarins) ไดแก อัมเบลลิเฟอโรน (umbelliferone)
- ซาโปนิน (saponins) (3)
- น้ํามันหอมระเหย (essential oil) (2)

H3C
CH3 OH
CH3 CH3
H3C O

O H3C CH3
CH3 CH3
HO CH3

violaxanthin

สารสกัด Pansy (Pansy extract) :


สารสกัดจากสวนเหนือดินของ Viola tricolor

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
เปนสวนผสมในผลิตภัณฑที่ใชสําหรับผิว หรือหนังศีรษะที่ตอมไขมันผลิตไขมันมากเกินไป และ
เปนสวนผสมในผลิตภัณฑที่ใชกับมือ และผลิตภัณฑโกนหนวด (2,3)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- เปนสวนผสมในน้ํายากลั้วคอเพื่อบรรเทาอาการคออักเสบ (2)
-80-

- ใชรับประทานหรือใชภายนอกเพื่อบรรเทาอาการอักเสบของผิวหนัง (4)
- ใชรับประทานในรูปยาชง (infusion) หรือยาตม (decoction) โดยสามารถใชในทารก
จนถึงผู ใหญ (4)
- ใชทาภายนอกในรูปของขี้ผึ้ง, ครีม, แชมพู (1-3)
- ชุบผากอซดวยยาชงจนเปยกแลวปดบนผิวหนังบริเวณที่มีอาการ (4)
ขอควรระวัง :
ยังไมมีรายงานความเปนพิษหรืออาการขางเคียง (3)

เอกสารอางอิง :
1. Albert YL, Steven F. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wilson & Sons Inc., 1996: 307-8.
2. D’ Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic desk reference. New York: CRC Press, 2000:
165.
3. Gruenwald J, Brendler T, Jaenicke C. PDR for Herbal Medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, 2000: 282-3.
4. Hewall CA, Anderson LA, Phillipson JD. Herbal medicines: A guide for health care
professional. London: the Pharmaceutical Press, 1996: 331-2.
5. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
-81-
-82-

Pansy (Viola tricolor L.)


-82-

ชื่อสามัญ (Common or English name) Passionflower, แพชชั่นฟลาวเวอร


:
ชื่อไทย (Thai name) - :
ชื่อทองถิ่น (Local names) Passion fruit, Granadilla, Water lemon, Maypop,
:
Apricot Vine, Wild Passion flower, Passion vine,
Passiflora (1,2,4), Passionblume (6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Passiflora incarnata L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Granadilla incarnata, Grenadilla incarnata,
Passiflora kerii
วงศ (Family) : Passifloraceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Passionflower extract

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พื ช ในสกุ ล Passiflora มี ป ระมาณ 500 ชนิ ด (species) ส วนใหญ เป น ไม เลื้ อ ย (tendril climber) หรือ ไม พุ ม
เลื้อย อายุหลายป ใบเวาลึก ขนาดใบยาว 15 ซม. มีลักษณะเดน คือ ดอกสีขาวออกในฤดูรอน ขนาดใหญไดถึง 6 ซม.
มีโคโลนา (corona) สีแดง ผลสีเหลืองรูปไข 5 ซม. มีเมล็ดเล็กๆ หลายเมล็ด (4)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
พืชพื้นเมืองแถบเขตรอนของอเมริกา เอเซียและออสเตรเลีย ปจจุบันมีการเพาะปลูกในฟลอริดา
กัวเตมาลา อิตาลี สเปน และอินเดีย (1-5)

สรรพคุณพื้นบาน :
P. incarnata เปนสมุนไพรรสขม เย็น ชวยใหหลับจึงมีคุณสมบัติระงับปวด คลายการเกร็งตัวของ
กลามเนื้อและลดความดันโลหิต ชาวพื้นเมืองในอเมริกาดื่มน้ําที่เตรียมจาก P.incarnata เพื่อบํารุงรางกาย
ป 1783 ชาวยุโรปในอเมริกาอางวามีสรรพคุณรักษาโรคเรื้อน ตอมานิยมใชรักษาอาการนอนไมหลับ ใน
ศตวรรษที่ 19 สมุนไพรนี้ไดรับการบรรจุไวใน U.S.National Formulary (1916-36) P. incarnata ใชภาย
ในบรรเทาอาการอาการเครียด นอนไมหลับ กระวนกระวาย ปวดศีรษะเนื่องจากความเครียด หืด หัว
ใจเตนเร็ว ความดันโลหิตสูงและงูสวัด สตรีมีครรภไมควรใช (3) ในประเทศเยอรมนีใชบรรเทาอาการ
กระวนกระวาย ชวยใหหลับ (sedation) โดยผสมกับมะนาว (lemon leaf) และรากวาเลอเรียน (valerian
root) ใชเปนยาบํารุงหัวใจ (cardiotonic) โดยผสมกับฮอวทอรน (hawthorn) เปนเครื่องดื่มชาสําหรับเด็ก
ชวยใหหลับ บรรเทาอาการไมสบายทองและลําไสอันเนื่องจากระบบประสาททํางานผิดปกติ ขนาดสมุนไพร
แหงที่ใช 4-8 ก./วัน สําหรับเตรียมชาสมุนไพร (6)
-83-

สวนที่ใช :
สวนเหนือดิน (herb หรือ aerial parts)

องคประกอบทางเคมี :
สวนที่นํามาใชเปนยา คือ สวนเหนือดิน ซึ่งมีสารกลุมตางๆ ดังนี้
- ฟลาโวนอยด (flavonoids) : ไอโซไวเท็กซิน (isovitexin 2’’-β-D-glucoside), ไอโซริเอนติน กลู
โคไซด (isorientin-2′′β-D-glucoside), ชาฟโฟไซด (schaffoside), ไอโซชาฟโฟไซด (iso-
schaffoside), ไอโซริเอนติ น (isorientin), วิเซนิ น-2 (vicenin-2), ลูซินิ น-2 (lucinin-2), ซาโปนา
เรติ น (saponaretin), ซาโปนาริ น (saponarin), อะพิ เจนิ น (apigenin), ลู ที โอลิ น กลั ยโคไซด
(luteolin glycosides), ไวเท็กซิน (vitexin), เคมเฟรอล (kaempferol), เคอรเซติน (quercetin), รู
ติน (rutin)
- แอลคาลอยด ก ลุ ม อิ น โดล (indole alkaloids, 0.01-0.09%) : ฮาร แ มน (harman), ฮาร ม อล
(harmol), ฮาร มาลี น (harmaline หรือ 3,4-dihydroharmine), ฮาร มี น (harmine), ฮาร มาลอล
(harmalol)
- ไซยาโนเจนิก กลัยโคไซด (cyanogenic glycosides) : ไกโนคาดิน (gynocadin, 0.01%)
- กรดไขมัน (fatty acids) : กรดลิโนเลอิก (linoleic) กรดลิโนเลนิก (linolenic)
- น้ําตาล : ซูโครส, ราฟฟโนส
- ไฟโตสเตอรอล : สติ๊กมาสเตียรอล (stigmasterol), ซิโตสเตียรอล (sitosterol)
- อื่นๆ : คู มารินส (coumarins) เชน อัมเบลลิเฟโรน (umbelliferone); กัม (gum); มอลต ทอล
(maltol); น้ํามันหอมระเหย (volatile oil) (1,2,5,7)

4
3

N N
CH 3O N N
H H
CH 3 CH 3

harmine harman

OH

CH2OH HO O
O
HO
HO
OH
OH O
-84-

isovitexin (apigenin-6-C-glucoside)
สารสกัด Passionflower :
สารสกัดจากสวนเหนือดินของ Passiflora incarnata (7)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
เปนสวนผสมในผลิตภัณฑทําความสะอาดและบํารุงผิว เนื่องจากสารฟลาโวนอยดมีรายงานคุณ
สมบัติตานเชื้อจุลินทรียและตานอนุมูลอิสระ

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
ชวยให ห ลับ (sedative) ระงับ ปวด (analgesic) เพิ่ มอัตราการหายใจ ลดความดัน โลหิ ต คลาย
กังวล (anxiolytic) คลายการเกร็งตัวของกลามเนื้อ (antispasmodic) ดานการใชเปนยาชวยใหหลับควรใช
รวมกับยาชวยใหหลับอื่น (1,2,9) ในประเทศสหรัฐอเมริกาใชเปนสวนประกอบในผลิตภัณฑเสริมอาหารที่
ชวยใหหลับ
มีรายงานการใชเปนยาชวยใหหลับเพื่อรักษาโรคลมชัก (epilepsy)(5) นอกจากนี้แลวสารสกัดจาก
passionflower ยังใชในการแตงกลิ่นและรสในเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล เครื่องดื่มที่ไมมีแอลกอฮอล ผลิต
ภั ณ ฑ อ าหารนมแช แ ข็ ง มี ก ารเตรี ย มในรู ป แบบต า งๆ เช น ชา ทิ งเจอร fluidextract, solid extract,
sedation chewing gum (4)
passionflower มีแอลคาลอยดและฟลาโวนอยดซึ่งมีคุณสมบัติทางเภสัชวิทยา ชวยใหหลับโดย
ไมทําใหเสพติดและไมทําใหเวียนศีรษะ ฟลาโวนอยดชื่อ อะพิเจนิน (apigenin) มีคุณสมบัติคลายการเกร็ง
ตัวของกลามเนื้อ (antispasmodic) และตานการอักเสบ (antiflammation)

ขอควรระวัง :
ยังไมมีการรายงานถึงอาการไมพึงประสงคจากการใชสมุนไพรตัวนี้แตการใชในปริมาณมากๆ อาจ
มีผลกดการทํางานของระบบประสาทสวนกลาง

เอกสารอางอิง :
1. Albert YL, Steven F. Encyclopedia of Common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nd ed. New York: John Wiley&son Inc., 1996: 408-10.
-85-

2. Bhumenthal M, Goldberg A, Brinckmann J, et al. Herbal Medicine.Expanded Commission E


Monograph. Newton: Integrative Medicine Communication, 2000: 293-5.
3. Bown D. Encyclopedia of herbs and their uses. RD Press. Australia. 1995.
4. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2000:
455-7.
5. Gruenwald J, Brendler T, Jaenicke C. PDR for Herbal Medicines. 2nd ed. Montvale: Medical
Economics Company, 2000: 573-4.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
7. Schulz, Hansel, Tyler. Rational Phytotherapy. Germany, 2001: 41,100.
8. Veumeulen N. Encyclopaedia of Herbs. Slovenia: Rebo Production Ltd, 1999: 222.
9. Weiss RF. Weiss’s Herbal Medicine. New York: Thieme New York, 2001: 287.
-86-

Passion flower (Passiflora incarnata L.)


-86-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Rose hips, โรส ฮิพส


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Hip tree, Wild grier, Dog Rose, Hipberries Hagrose,
Wilderose (1,3-6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Rosa canina L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Rosa armata, R. caucasica, R.frondosa, R. glauca,
R. lutiana, R. tourica (6)
วงศ (Family) : Rosaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Rose hips extract

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมพุมสูงประมาณ 1-3 ม. กิ่งกานโคงงอมีหนามโคง ใบยอยรูปไขขนาดยาวไดถึง 5 ซม. ขอบ
เรียบ เงา ดอกเดี่ยวหรือดอกชอ 1-4 ดอก กลีบดอกสีขาวหรือสีชมพู 5 กลีบ กลิ่นหอมฐานรองดอก
รูปถวย ดอกออกชวงตน-กลางฤดูรอน เกสรตัวผูจํานวนมาก มีขนยาวสีขาว รังไขจํานวนมาก (5) ผล
รูปไขยาว 2 ซม. สีแดง (3) ภายในเมล็ดรูปเหลี่ยม สีน้ําตาลออน (2,4)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
พื ช สกุ ล Rosa มี ป ระมาณ 100 ชนิ ด (species) เป น ไม พุ ม ผลั ด ใบและกึ่ ง ไม ผ ลั ด ใบ (semi-
evergreen) เปนพืชพื้นเมืองแถบยุโรป แอฟริกาเหนือ และบางสวนของเอเชีย (4) พบทั่วไปในเขตอบอุน
ทางเหนือ มีการเพาะปลูกพืชสกุลกุหลาบมานานนับพันป ปจจุบันมีการเพาะปลูกโรสฮิพอยางกวางขวาง
เพื่อนําผลมาใชเปนยา (2,4)

สรรพคุณพื้นบาน :
โรสฮิพมีคุณสมบัติเปนกรดและฝาดสมาน อุดมดวยวิตามิน ผลโรสฮิพนําไปทําไวน น้ําสมสายชู
ผลไมดองหรือกวน (2) สรรพคุณพื้นบาน ไดแก รักษาอาการหวัด อาการติดเชื้อเล็กนอย เลือดออกตาม
ไรฟน ทองรวงและกระเพาะอาหารอักเสบ ไขหวัด ขับปสสาวะ (7) ประเทศตุรกีใชเปลือกผลและดอก
รักษาอาการทอง-รวง โรคไต หลอดลมอักเสบใชผลรักษาโรคริดสีดวงทวาร ปวดทอง อาการไอ ใชราก
รักษาอาการคัน ประเทศฝรั่งเศสใชผลบรรเทาอาการปวดทอง ขับลม รักษาอาการลําไสอักเสบ แกทอง
รวง ประเทศเปรูใชผลแหงเปนยาฝาดสมานภายนอก ยาขับพยาธิไสเดือน ประเทศอิตาลีใชผลรักษาโรค
เบาหวานและไขหวัด ใชใบแหงแกทองรวง นิ่วในไต ประเทศซาอุดิอะราเบียใชดอกแหงแกไข เปนยา
บํารุง ฝาดสมานภายนอก ขับปสสาวะ (2,7)
-87-

ผลและเมล็ ด : น้ํ ามัน จากเมล็ด ใช รักษาโรคผิวหนั ง ลบรอยแผลเป น ลดรอยเหี่ ยวยน ชา


สมุนไพร รักษานิ่วและอาการไมสบายที่ทางเดินปสสาวะ และอาการขออักเสบ (2)
เปลือกผล : สวนใหญใชเปนยาสมุนไพร บรรเทาอาการหวัด ไขหวัด ทําแยม น้ําผลไม (2)
สวนที่ใช :
ผลและเมล็ด (fruits หรือ hips)

องคประกอบทางเคมี :
- เมล็ ด ประกอบด ว ย น้ํ า มั น ไม ร ะเหย (fatty oil, 8-10%) น้ํ า มั น หอมระเหยเล็ ก น อ ย (0.3%),
วิตามินอี (tocopherol) โปรตีนและฟอสโฟไลปดส สารเมือกและแทนนิน (2)
- เปลื อกผล ประกอบด วย คาโรที น อยด (carotinoids) ฟลาโวนอยด (flavonoids) กรดผลไม
(fruit acids) ไดแก กรดมาลิก (malic acid) กรดซิตริก (citric acid) น้ําตาลโมโน-โอลิโก แซค
คาไรด (mono-oligosaccharides) 12-15% ไดแก invert sugar แซคคาโรส (saccharose) เพ
คติน (pectin) แทนนิน (tannins) และวิตามินซี (vitamin C, 0.2-2.4%) (5)

CH 3 CH 3 CH 3 CH 3
CH 3
H3C
CH 3 CH 3 CH 3 CH 3

lycopene
(Ψ, Ψ-carotene), C40H56 MR 536.88

สารสกัดโรสฮิพ (Rose hips extract) :


เปนสารสกัดจากผลกุหลาบปาชนิดตางๆ เชน Rosa canina (6)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
- โรสฮิพ (rose hips) มีวิต ามิ น ซีเปน องคป ระกอบปริมาณมาก นํ ามาเปน ส วนผสมในผลิต -
ภัณฑสําหรับเสนผมหลายชนิดเพื่อเพิ่มความเงางามแกเสนผม ใชเปน fixative ในผลิตภัณฑ
สมุนไพร (3)
- น้ํามันโรสฮิพ ลดรอยเหี่ยวยน (6)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
-88-

- เป น แหล งของวิ ต ามิ น ซี เพื่ อ รัก ษาโรคลั ก ป ด ลั ก เป ด การเจริญ ของกระดู ก ที่ ผิ ด ปกติ ในเด็ ก
(osteogenesis imperfecta)
- ชวยระบาย (laxative activity) จากสารมาลิก (malic) กรดซิตริก (citric acid) เพคติน(pectin)
- ขับปสสาวะ (diuretic)
- บรรเทาอาการกระเพาะอาหารอักเสบ (gastric inflammation) (4)
- น้ํามันโรสฮิพ ชวยลดรอยแผลเปน
- ชวยบรรเทาอาการไข กระหายน้ํา เปนยาฝาดสมานออน ๆ และขับปสสาวะ (3) ใชในรูปอาหาร
เสริมวิตามินซีโดยทําเปนเม็ดหรือแคปซูล (1)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. Albert YL, Steven F. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nd ed. New York: John Wilson & Sons Inc., 1996: 443-4.
2. Bown D. Encyclopedia of herbs and their uses. RD Press. Australia. 1995.
3. D’Amelio FS. Botanicals: A phytocosmetic desk reference. Florida: CRC Press, 2000: 186.
4. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2000:
510-1.
5. Gruenwald J, Brendler T, Jaenicke C. PDR for Herbal Medicines. 2nd ed. Montvale: Medical
Economics Company, 2000: 254-5.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag Heidelberg,
1999.
7. Weiss RF. Weiss’s Herbal Medicine. New York: Thieme New York, 2001: 232-3.
-89-
-90-

Rose hips (Rosa canina L.)


-90-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Rose pelargonium, โรส เพลารโกเนียม


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Algerian geranium, Bourbon geranium, Moroccan
geranium (1), Rosenpelargonie (3)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Pelargonium graveolens L’ Herit. ex Ait.
ชื่อพอง (Synonyms) : -
วงศ (Family) : Geraniaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมพุม สูงประมาณ 2 ม. มีขนและตอมน้ํามัน ดอกมีกลิ่นหอม มีทั้งดอกเพศผูและดอกเพศเมีย
บนตนเดียวกัน (hermaphrodite) (7)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
พบพืชนี้ในประเทศอาฟริกาใต ปจจุบันปลูกกันทั่วไปในแถบอาฟริกา (อัลจีเรีย แองโกลา มาดา-
กัสคาร โมรอคโค) ยุโรป (สเปญ อิตาลี ฝรั่งเศส) (3,7) และบราซิล (3)

สรรพคุณพื้นบาน :
เปนพืชที่มีกลิ่นหอมของกุหลาบ ใชในอุตสาหกรรมน้ําหอม และใชทดแทนน้ํามันกุหลาบ (rose
oil) ในอาฟริกาใชเปนยาฝาดสมานบรรเทาอาการทองรวง บิด (2,3) มีการชงเปนชาเพื่อบํารุงรางกาย
กระตุนระบบหมุนเวียนโลหิต กากจากการชงใชพอกบนผิว รักษาโรคผิวหนังและสิว (7)

สวนที่ใช :
ใบสด ดอก และน้ํามันหอมระเหยจากดอกและใบ (geranium oil) (4)

องคประกอบทางเคมี :
น้ํามันเจอราเนียมมีสีเหลืองถึงเขียว กลิ่นคลายกุหลาบ ไดจากวิธีการกลั่นใบสดและดอกดวยไอน้ํา
มีปริมาณ 0.08-0.4% (4) น้ํามันเจอราเนียมมีหลายชนิดไดจาก P. graveolens และ Pelagonium species
ที่ สํ า คั ญ มี 3 ชนิ ด คื อ Algerian ห รื อ African geranium, Reunion ห รื อ Bourbon geranium และ
Moroccan geranium สวนประกอบหลักของน้ํามันเจอราเนียมจากพืชทั้ง 3 ชนิด คือ แอลกอฮอล 60-
70% (l - citronellol, geraniol, linolool และ phenethyl alcohol) เอสเตอร 20-30% (geranyl tiglate,
-91-

geranyl- acetate, citronellyl formate และ citronellyl acelate) อั ล ดี ไฮด และคี โตน (l - isomentnone,
citronellal, citral, decyl aldehyde) สัดสวนของชนิดแอลกอฮอลก็ขึ้นกับชนิดของน้ํามัน (4) ปริมาณของ
สาร (-)-6,9- guaiadiene และ 10 - epi - γ - eudesmol ใชแยกความแตกตางระหวาง Bourbon type และ
African type โดยที่ (-) - 6,9 - guaiadiene เป น ลั ก ษณะเฉพาะของ Bourbon type และ 10-epi- γ-
eudesmol เปนลักษณะเฉพาะของ African type (6)
น้ํ ามั น จาก P. graveolens ประกอบด วย geraniol ประมาณ 40%, citronellol ประมาณ 40%
และสารอื่นๆ เชน linalool, phenyl ethyl alcohol, pelargonic acid (6)

CH3
H CH3
9
1 10
CH3
6 OH
H 3C H CH3
CH3 CH3
CH3

(-)- 6,9 –guaiadiene 10-epi-γ-eudesmol (6)

CH3 CH3
CH2OH
H3C

geraniol

สารประกอบอื่น ๆ ที่พบไดในน้ํามันเจอราเนียม คือ


- เซลควิเทอรปนส ไฮโดรคารบอน (sesquiterpene hydrocarbons) ไดแก อัลฟา, เบตา-เบอรโบ
นีน (α-, β-bourbonene) อัลฟา-แซนทาลีน (α-santalene) เบตา-อีเลมีน (B-elemene) คารี
โอฟลลีน (caryophyllene) แกมมา-มัวโรลีน (γ-muurolene) ฮูมูลีน (humulene) เดลตา-
คาไดนีน (δ-cadinene), ar-curcumene, selina–3,7 (11)-diene, selina–4(14), 7(11)-
diene, เจอมาคราไทรอีน (germacratriene)
- เซสควิเทอรปนส แอลกอฮอล (sesquiterpene alcohols) ไดแก 10-epi-γ-eudesmol จูเนนอล
(junenol)
- กรดอิ น ทรี ย ได แ ก กรดมด (formic acid) กรดน้ํ า ส ม (acetic acid) กรดโพรพิ โ อนิ ก
(propionic acid) กรดคาพรัยลิก (caprylic acid) กรดทิกลิก (tiglic acid)
-92-

- อื่ น ๆ ไ ด แ ก dimethyl sulfide, ซิ ส ,ท ร า น ส -ดี ไ ฮ โ ด ร ซิ โ ท ร เน ล ล อ ล (cis-, trans-


dehydrocitronellol) เม น ท อ ล (menthol) ซิ โ ท ร เน ล ลิ ล ไ ด เม ท ทิ ล เอ มี น (citronellyl
diethylamine) (4)

สารสกัด :
น้ํามันหอมระเหยที่ไดจากการกลั่นใบสดและลําตน P. graveolens ดวยไอน้ํา
ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
- น้ํ ามั น เจอราเนี ย ม ใช เป น สารแต งกลิ่ น หอมในเครื่อ งสํ าอางหลายชนิ ด เช น สบู ผลิ ต ภั ณ ฑ
ทําความสะอาด ครีม โลชั่น และน้ําหอมซึ่งปริมาณที่ใหใชไดสูงสุด คือ 0.1 % (1,2,4-6)
- ใชแทนน้ํามันกุหลาบ ในตํารับน้ํามันที่ใชนวด (massage oil) (4)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- น้ํามันเจอราเนียม ที่ประกอบดวยแอลกอฮอลชนิด l-citranellal มีรายงานในหลอดทดลอง ถึง
ฤทธิ์การเชื้อราหลายชนิดที่กอโรคในคน (4)
- ใชในอะโรมาเทอราป (aromatherapy) ชวยใหสงบ (calming) ผอนคลาย และชวยลดอาการ
กอนมีประจําเดือน (premenstrual tension) (7)
- ใชภ ายในรักษาอาการกอนมี ป ระจําเดือน และอาการหมดประจําเดื อน ใชภ ายนอกรักษาสิว
ริดสีดวงทวาร ผิวหนังอักเสบ กลาก (2)

ขอควรระวัง :
อาจเกิดการอักเสบของผิวหนังจากปฏิกิริยาภูมิไวเกิน ซึ่งแลวแตบุคคล (4)

เอกสารอางอิง :
1. กิตติมา กิติศักดิ์ไชยกุล และฉวีวรรณ นุนสิงห. สมุนไพรที่ใชในเครื่องสําอาง. โครงการพิเศษ ปการ
ศึกษา 2538. คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล., 2538: 86-7.
2. Bown D. Encyclopedia of Herb & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 323-
4.
3. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
4. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 269-70.
5. Plants For A Future: Database Search Results.
-93-

6. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 257-8.
7. Vermeulen N. Encyclopaedia of herbs. The Netherlands: Rebo Productions Ltd., 1999: 223.
-94-

Rose pelargonium (Pelargonium graveolens L’ Herit. ex Ait.)


-94-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Rosemary, โรสมารี่


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Garden rosemary, Rosmarin, Kranzenkraut
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Rosmarinus officinalis L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Rosmarinus angustifolius, R. flexuosus, R. latifolius,
R. laxiflorus, Salvia rosmarinus (5)
วงศ (Family) : Lamiaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Rosemary extract
Rosemary oil (2)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมพุมขนาดเล็ก ไมผลัดใบ สูงประมาณ 1 ม. ใบหนามีกลิ่นหอม ดอกสีน้ําเงินออนออกที่ซอกใบ
ดอกบานชวงปลายฤดูหนาวและตนฤดูใบไมผลิ (มิ.ย.-ส.ค.) (3,6)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนพืชพื้นเมืองแถบเมดิเตอรเรเนียน ปจจุบันมีการเพาะปลูกทั่วไป เชน ในยุโรปใต เอเชีย
อาฟริกาใต ออสเตรเลีย และสหรัฐอเมริกา (3,4)

สรรพคุณพื้นบาน :
น้ํามันโรสมารี : สวนมากใชภายนอก บรรเทาอาการปวดขอ มักผสมในน้ําอาบหรือใชทาถูนวด
ใชในอาการไหลเวียนโลหิตผิดปกติ ชวยเพิ่มการไหลเวียนโลหิตมาที่ผิวหนัง บรรเทาอาการเคล็ดและแผล
ถลอก
ใบ : เก็บ เกี่ ยวขณะที่ มี ด อกหรือ ภายหลังมี ด อก นํ ามาทํ าให แ ห ง ใช ภ ายในบรรเทาอาการ
อาหารไม ยอ ย ใชภ ายนอกบรรเทาอาการปวดข อ การไหลเวียนโลหิ ต ผิ ด ปกติ การเตรียมชาจากใบ
ใชใบที่บด 1 ชอนชา (2 ก.) ตอน้ํารอน 250 มล. การใชภายนอก ใหเตรียมโดยใชใบ 50 ก. น้ํา 1 ล. ตมให
เดือดสักครูและตั้งทิ้งไว 15-20 นาที จึงผสมใชน้ําสําหรับอาบ
ในยาแผนโบราณของยุโรป ใชใบแหง บรรเทาอาการไมสบายเกี่ยวกับระบบประสาทสวนกลางและ
ระบบอวัยวะสืบ พั น ธุของสตรี ใบสดใชบ รรเทาอาการทองอืด -เฟ อ โรคผิวหนัง โรคไต และทางเดิ น
ปสสาวะ
สารสกัดโรสมารีเปนสวนผสมในน้ําอาบและใสผมชวยใหสดชื่น ฆาเชื้อ
-95-

สารสกัดและน้ํามันหอมระเหยใชแตงกลิ่นสบู น้ํายาโกนหนวด น้ํายาเช็ดหนาและแชมพู เปน


สวนประกอบในน้ําหอม ไมใชพอกหนาเพราะอาจเกิดผื่นบวมและอักเสบ (3,5,6)

สวนที่ใช :
น้ํามันหอมระเหยจากใบและลําตน, ใบ, ดอก (flowering tops)

องคประกอบทางเคมี :
น้ํามันหอมระเหย : ไดจากการกลั่นไอน้ําจากใบและกิ่งกานที่มีใบ น้ํามันหอมระเหยมีเทอรปน
เปนสารหลัก ไดแก แคมเฟอร (camphor) ซิเนออล (1,8-cineol) และอัลฟา-ไพนีน (α-pinene) นอกจาก
นี้มีแคมฟน (camphene) และบอรนีออล (borneol) สัดสวนของสารหลักขึ้นกับแหลงผลิต
ใบ : ใบที่เก็บเกี่ยวขณะที่มีดอกหรือหลังจากออกดอก ทําใหแหง มีน้ํามันหอมระเหย 1-2.5%,
สารไดเทอร ป น ฟ น อล เช น กรดคาร โ นโซลิ ก (carnosolic acid) หรื อ เป น tricyclic triterpene ชนิ ด
ferruginol type นอกจากนี้ มี เดพไซด (depsides) เชน กรดโรสมารินิ ก (rosemarinic acid); ฟลาโวน
เชน เจนกวานิน (genkwanin) และลูทีโอลิน (luteolin), ฟลาโวนกลัยโคไซด เชน ไดออสมิน (diosmin)
ไทรเทอรปน เชน กรดโอเลียโนลิก (oleanolic acid) และกรดอัวโซลิก (ursolic acid)
ดอกแหง : มีน้ํามันหอมระเหย
นอกจากนี้ยังมีรายงานสารอื่น ๆ เพิ่มเติมดังนี้
ใบ : ลิโมนีน (limonene) ลินาโลออล (linalool) เวอรบินอล (verbinol)
ฟลาโวนอยด ไดแ ก ไดออสเมติ น (diosmetin) ฮิสพิ ดู ลิน (hispidulin) อะพิ เจนิน (apigenin)
เฮสเพอริดิน (hesperidin) เซอรซิมาริน (cirsimarin) โฮโมแพลนติเจนิน (homoplantigenin) ฟโกโพลิน
(phegopolin) และฟลาโวนอยดกลูคิวโรไนด (flavonoid glucuronide)
ไดเทอรปนส (diterpenes) ไดแก คารโนซอล (carnosol) กรดคารโนสิก (carnosic acids) กรด
คารโนโซลิก (carnosolic acids) ไอโซโรสมานอล (isorosmanol) โรสมาไดอัล(rosmadial)
ฟนอลส (phenols) ไดแก กรดแคฟเฟอิก (caffeic acid) กรดคลอโรเจนิก (cholrogenic acid)
กรดลาบริ อ ะติ ก (labriatic acid) กรดนี โ อคลอโรเจนิ ก (neochlorogenic acid) กรดโรสมาริ นิ ก
(rosmarinic acid) ซาลิไซเลท (salicylates)

O
HO OH
O
H
HO OH
HOOC
-96-

rosmarinic acid (C18H16O8)

สารสกัด :
สารสกัดโรสมารี (Rosemary extract) : เปนสารสกัดจากใบ R. officinalis
น้ํามันโรสมารี (Rosemary oil) : เปนน้ํามันหอมระเหยที่กลั่นจากดอก (flowering tops)
ของ R. officinalis

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
- เปนสวนผสมสําหรับโลชั่นใสผมเพื่อบํารุงผมและหนังศีรษะ เปนสวนผสมในผลิตภัณฑสําหรับ
ผมอื่นๆ เชน แชมพู ครีมและน้ํายาปรับสภาพเสนผม
- เปนสวนผสมในน้ํายาบวนปากและกลั้วคอ และน้ําหอม (2)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- สารสกัด จากโรสมารีมี คุ ณ สมบั ติต านเชื้อ แบคที เรีย (antibacterial) ต านรา (antifungal and
antimold) ต านไวรัส (antivirus) ต านมะเร็ง (anticancer) ต านออกซิ เดชั่น (antioxidation)
คลายการเกร็งตัวของกลามเนื้อเรียบและกลามเนื้อหัวใจ รักษาหอบหืด ใชในสุคนธบําบัด
(aromatherapy) เปน สวนประกอบของยาทาถูน วด (rubefacient) สารสกัดในรูป ทิงเจอร
(5%) ใชรับประทานเพื่อกระตุนการทํางานของระบบหลอดเลือดและหัวใจ น้ํามันหอม ระเหย
ขนาดวันละ 10-20 หยด ใชรับประทานเพื่อบรรเทาอาการทองอืด (dyspeptic complaints)
(1,3,4,7)
- กรดโรสมารินิก (rosmarinic acid) มีคุณ สมบัติต านการอั กเสบ ตานจุลิน ทรียที่ เป น โรคพื ช
ยั บ ยั้ ง การหลั่ ง gonadotrophin และเอนไซม adenyl cyclase และต า นไวรั ส herpes
simplex
- สารสกัดจากโรสมารีใชไลแมลง (insect repellent)

ขอควรระวัง :
- อาจเกิดอาการแพ (allergic contact dermatitis)
- หากรับประทานในปริมาณสูงจะทําใหระคายเคืองทางเดินอาหาร เปนพิษตอไต ทําใหชัก
ทําใหแทง ไมควรใชระหวางตั้งครรภ (3,4)

เอกสารอางอิง :
-97-

1. Chadiva YR. The wealth of India: Raw materials vol ix: Rh-So Calculta: Sree Saraswaty Pxss
Ltd., 1972: 78-9.
2. D’Amelio F. Botanicals: A phytocosmetic desk reference. New York: CRC Press, 1999: 186-7.
3. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: A Woeters Klluwer Company,
2000: 512-4.
4. Gruenwald J, Brendler T, Jaenicke C. PDR for Herbal Medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, 2000: 645-6.
5. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer
Verlag Heidelberg , 1999.
6. Hlava B, Pospisil, Stary F. Pflanzen fuer die natuerliche Schoenheit.. Verlag Werner
Dausisienen. Hanau. 1983.
7. Mark B, Werner RB, Alica G, et al. The Complete German Commission E Monographs.
Austin: American Botanical Council, 1998: 197.
-98-

Rosemary (Rosmarinus officinalis L.)


-98-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Saffron, ซาฟฟรอน


ชื่อไทย (Thai name) : หญาฝรั่น
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Saffran (6), Saffron crocus (3,5), Azafran, kuma -
kuma, sapran, romiet (6), crocus
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Crocus sativus L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Crocus officinalis, C. autumnalis (4) Safran naturalis
S. officinarum
วงศ (Family) : Iridaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Saffron crocus extract

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
เปนพืชหัว อายุหลายป สูงประมาณ 10-30 ซม. ใบเรียว (linear) เสนกลางใบสีขาวปรากฏในฤดู
ใบไมรวง มีดอกคลายดอกลิลลี่สีมวงสด ดอกมีกานชูเกสรตัวผูสีมวง อับละอองเกสรตัวผูสีเหลือง กานชู
เกสรตัวเมีย (style) สีแดง เกสรตัวเมีย (stigma) สีสมแดง ยาว 2.5-3.5 ซม.

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เชื่อวาหญาฝรั่นมีถิ่นกําเนิดในยุโรปใตและเอเชียตะวันตกเฉียงใต (4) เชน กรีซ เอเชียไมเนอร
เปอรเซีย และแคชเมียร (6) ในศตวรรษที่ 10 ชาวอาหรับไดนําเขาไปในประเทศสเปน ตอมามีการเพาะ
ปลูกในประเทศตางๆ เชน อิหราน อินเดียตอนเหนือ จีน ฝรั่งเศส อิตาลี ตุรกี ผลผลิตสวนใหญมา
จากประเทศสเปน ฝรั่งเศส ตุรกีและอินเดีย (3,5,7)
หญาฝรั่นเจริญเติบโตไดดีในเขตหนาวและอบอุนหรือกึ่งรอนชื้น (sub-tropical) การเพาะปลูกใช
หัว (bulb) ปลูกในชวงเดือนสิงหาคม-กันยายน (7) ออกดอกในเดือนตุลาคม-ธันวาคม (6,7)

สรรพคุณพื้นบาน :
หญ าฝรั่น (ดอก) เปนสวนประกอบในยาจีน ที่ใชรักษาอาการซึมเศรา ช็อค เลือดไหล ปวด
ประจําเดือน ประจําเดือนมาไมปกติ ยาหลังคลอด คลายการเกร็งตัวของกลามเนื้อ (5) ในอารเจนตินาใช
ทําใหแทงบุตร ในโฮมีโอพาทีทิงเจอรหญาฝรั่นชวยใหหลับ สรรพคุณพื้นบานอื่นๆของหญาฝรั่น (ดอก) ได
แก ขับ เสมหะ ขับ เหงื่อ กระตุน กําหนัด บรรเทาปวด ระงับ ไอ บรรเทาอาการหอบหืด (1,3,5,7)
นอกจากนี้หญาฝรั่นยังใชแตงกลิ่นและสีอาหาร ขนม เปนตน (6,7)
-99-

คําวา ซาฟฟรอน มาจากภาษาอารบิค za′fa′n แปลวา สีเหลือง หญาฝรั่นเปนเครื่องเทศราคาแพง


ชาวจีนไดรับหญาฝรั่นจากเปอรเซียและอินเดียและใชเปนยาในป ค.ศ.1280-1368 มีการใชสีจากหญาฝรั่น
มากวา 4,000 ป และในศตวรรษที่ 11 หญาฝรั่นไดแพรหลายในยุโรป
หญาฝรั่นเปนทั้งเครื่องเทศ ยา และสียอม สมัยโบราณใชยอมผม เล็บ และเสื้อผา ชาวออสเตรเลีย
ใชเปน aqueous extract ของตนใตดิน (corm) กับสวนผสมอื่นๆ ใชรักษาหัวลาน (1)
สวนที่ใช :
ดอก (flower pistil)

องคประกอบทางเคมี :
- เกสรตัวเมี ย (stigmas) มีวิต ามิน บี2 (riboflavin) มาก สารสีเหลือง (yellow pigment) (3) ใน
หญาฝรั่นประกอบดวย crocin - 1 (เอสเตอรของ crocetin กับ 2 molecules ของ gentiobiose)
2% ซึ่งทําใหหญาฝรั่นมีสีเหลือง-แดง (3,5) และพิโครโครซิน (picrocrocin) 2% ซึ่งใหรสขมและ
มีกลิ่นหอม (aroma), crocin-2 เล็กนอย (เอสเตอรของโครเซติน (crocetin) กับเจนติโอไบโอส
(gentiobiose) และกลูโคส) crocin-3 (เอสเตอรของโครเซตินกับเจนติโอไบโอส) และ crocin-4
(เอสเตอรของ monomethyl crocetin กับ glucose) โครเซตินอิสระหรือ อัลฟา-โครเซติน (α-
crocetin), methylcrocetin หรือ β-crocetin, trans- dimethylcrocetin (γ - crocetin) และ cis
- dimethyl crocetin นอกจากนี้ มี แป ง vitamins B1และ B2 น้ํ า มั น ไม ร ะเหย (fixed oils) 8-
13% คาโรทีนอยด เชน ไลโคปน (lycopene) เบตา-คาโรทีน (β - carotene) แกมมา-คาโร
ทีน (γ - carotene) ซีแซนทิ น (zeaxanthin) และน้ํ ามั น หอมระเหย 0.4-1.3% ในน้ํามั น หอม
ระเหยประกอบดวยซาฟรานาล (safranal) ออกซีซาฟรานาล(oxysafranal) ไพนีน (pinene), ซิ
เนออล (cineole) ไอโซฟอโรน (iso - phorone) แนพทา ลี น (naphthalene) 2-butenoic
acid lactone 2 – phenylthanol 3,5,5 - trimethly - 4 - hydroxy - 1 - cyclohexanone - 2 -
ene (3, 5-7)

CH3 CH3
COOR

ROOC

CH3 CH3

crocetin : R = H
crocin : R = β - gentiobiosyl
-100-

สารสกัดซาฟฟรอน (Saffron extract) :


เปนสารสกัดจากดอกของ Crocus sativus

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
- สารสกัดหญาฝรั่น เปนสวนผสมในน้ําหอม เปนสวนผสมในผลิตภัณฑตานอนุมูลอิสระ แตงสี
ในเครื่องสําอาง
- หญาฝรั่น ใชแตงสีอาหารและยอมเสื้อผา มีรายงานวาในเอเซียใชหญาฝรั่นรวมกับไมจันทนเปน
น้ํามันสําหรับทาผิวแหง (3)
ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
มีรายงานดานเภสัชวิทยาเกี่ยวกับโครเซติน (crocetin) ดังนี้
- รักษาเนื้องอกที่ผิวหนัง (skin papilloma) บรรเทาอาการบาดเจ็บของกระดูกสันหลัง ลดความ
ดันโลหิตสูง ลดน้ําคั่งในสมอง (3,5)
- สารสกัดหญาฝรั่นยับยั้งการสรางกรดนิวคลิอิก ทําใหลดการเจริญเติบโตของเนื้องอก
- เพิ่มการซึมผานของออกซิเจนในพลาสมา
- ชวยลดระดับโคเลสเตอรอล ยับยั้งการสังเคราะห RNA, DNA และโปรตีน
- ตานอนุมูลอิสระ ยับยั้งการแข็งตัวของเลือดและการจับตัวของเกร็ดเลือด (3,5,7)
- ใชแตงสีอาหาร และยอมเสื้อผา

ขอควรระวัง :
ขนาดที่ใชรับประทาน ไมควรใชเกิน 1-5 ก. ขนาด 5 ก. จะทําใหเกิดผลขางเคียง ไดแก คลื่นไส
อาเจียน เลือดออกมากับอุจจาระ มีเลือดกําเดา เวียนศีรษะ หากใชดอกแหงขนาด 10 ก. จะทําใหแทง
บุตร ขนาดที่เปนพิษจะทําใหหมดสติ (narcotic)

เอกสารอางอิง :
1. Boulos L. Medicinal Plants of North Africa. USA, 1983: 97.
2. Bown D. Encyclopedia of herbs and their uses. RD Press. Australia. 1995.
3. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2001:
520-1.
4. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
5. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 456-7.
-101-

6. Prosea Plant Resources of South - East Asia 3 Dye and tannin-producing plant. Bogor:
Indonesia, 1992: 67-9.
7. Prosea Plant Resources of South - East Asia 10 Cereals. Indonesia, 1996: 370-2.
-102-

Saffron (Crocus sativus L.)


-102-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Silver terminalia, ซิลเวอร เทอรมินาเลีย


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : ndjao (ndschau) (3)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Terminalia brosigiana
ชื่อพอง (Synonyms) : Terminalia sericea Burch. Ex Dc.
วงศ (Family) : Combretaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Terminalia sericea extract (2)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมพุม หรือไมตนขนาดเล็ก สูงไดถึง 5 ม. เปลือกตนมีสีเทาและมักหลุดลอน เนื้อไมดานในมี สี
น้ําตาล ใบ เปนใบประกอบสีเขียวแกมน้ําเงิน มีขนสีเงินปกคลุม ดอก ออกเปนชอตามซอกใบเปนชอ
เชิงลด (spike) สีเขียวเหลือง ออกดอกชวงเดือน ต.ค.-พ.ย มีกลิ่นเหม็น ผล เปนผลเดี่ยวมีปก สีน้ําตาล
แดง (3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดในอาฟริกา

สรรพคุณพื้นบาน :
ใบ : ตมน้ําชงดื่ม แกไอและทองเสีย ดื่มวันละ 3 ครั้ง หากทองเสียรุนแรง ใชรากโดยยาตม
จากรากใชแกปวดทอง
ราก : เปนปลาสเตอรธรรมชาติใชปดแผลสด รากนํามาปอกเปลือกออกและตมจนเปนของ
เหลวเหนียว ใชปดแผลสด หรือเปลือกรากใชปดบาดแผล
นอกจากนี้ เนื้อไมแข็งมีสีเหลืองใชเปนวัสดุกอสราง รากใชทําเชือกและยาง (gum) รับประทานได
(3)

สวนที่ใช :
เปลือกตน รากและ เนื้อไม (2,3)

องคประกอบทางเคมี :
พื ชสกุ ล Terminalia มีกลุม สารแทนนิ น เชน เทอรมิ น าลิน (terminalin) ซึ่งเป น เอลลาจิแทนนิ น
(ellagitannin) และ pentagalloyl-β-D-glucose ซึ่งเปน gallotannin (1)
-103-

OH
OH

O
OH
OH O
O CH2
HO O
O
O
OH
O O O
HO
O
OH
O
OH
HO OH
OH
OH

HO OH

pentagalloyl-β-D-glucose (gallotannin)
มีคุณสมบัติตานไวรัสเอชไอวี และยับยั้ง induced peroxidation
ใน rat liver mitochondria และ microsomes (1)

สารสกัด :
Terminalia sericea. เปนสารสกัดจากเปลือกลําตนและรากของ T. sericea.

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
เปนสวนผสมในผลิตภัณฑทําความสะอาดผิวเพราะมีคุณสมบัติฝาดสมาน

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
ยังไมพบรายงาน

ขอควรระวัง :
ชาวพื้นเมืองบางเผาไมรับประทานเพราะกลัววา ยางอาจทําใหหลอดอาหารอุดตัน (3)

เอกสารอางอิง :
-104-

1. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
2. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 728.
3. www.Sigridleger.de. Sigrid Leder, Forsthaus 1, D-85290 Geisenfeld, Germany.

Silver terminalia (Terminalia brosigiana)


-105-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Skin Tree, สคิน ทรี


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Tepescohuite, Tepescohuite
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Mimosa tenuiflora
ชื่อพอง (Synonyms) : -
วงศ (Family) : Leguminosae-Mimosaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Mimosa tenuiflara bark extract
Mimosa tenuiflara leaf extract (4)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมตน สูง 6-8 ม. มีหนามแหลม ใบประกอบขนนกรูปไข ดอกออกเปนชอเชิงลด (spike) อยูกันหนาแนนสีขาว
ผลเปลือกแตกแตกกึ่งกลาง เมล็ดแบน (1,2)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดทางใตและตอนกลางของอเมริกา (1)

สรรพคุณพื้นบาน :
ในศตวรรษที่ 10 ชาวมายาใชผ งจากเปลือกตน รักษาบาดแผลบริเวณผิวหนังและไดชื่อวาเปน ‘tree for the
skin’ รักษาบาดแผลจากไฟไหมจากเหตุการณแกสระเบิดในประเทศเม็กซิโกเมื่อป 1984 ทําใหเนื้อเยื่อบริเวณบาดแผล
คืนสภาพ ภายใน 90 วัน (1)

สวนที่ใช :
เปลือกตน ใบ

องคประกอบทางเคมี :
เปลือกตน
- สารประกอบฟ นอลิ ก (phenolic compound) ได แ ก กรดฟ นอลิ ก (phenolic acid), ฟ ลาโวนอยด
(flavonoid) ไดแก รูติน (rutin) และ เคอรซีทอล (quercetol)
- เทอรปนอยด (terpenoids)
- ซาโปนินส (saponins)
- แอลคาลอยด (alkaloids) ไดแก ไดเมทิลทริพทามีน (dimethyltryptamine) และเซโรโตนีน (serotonin)
- แทนนิน (tannins)
- แรธาตุ ทองแดง เหล็ก แมกนีเซียม แมงกานีส สังกะสี
OH

HO O
OH

O
O
O CH2 OH
OH
O

H3C
-106-

rutin
(quercetin-3-rutinoside; rutoside)

สารสกัด :
Mimosa tenuiflora bark extract สกัดจากเปลือกตนของ ตน Mimosa tenuiflora
Mimosa tenuiflora leaf extract สกัดจากใบของตน Mimosa tenuiflora (4)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
- ชวยปรับสภาพผิว ทําใหผิวนุมชุมชื้น ตานริ้วรอย (anti-aging) เชน day cream, tonic lotion, cleansing
lotion
- ใชเปนแชมพูและโลชั่นบํารุงผมเสีย
- ใชเปนสวนผสมในผลิตภัณฑลดริ้วรอยรอบดวงตา
- After-sun lotion (1)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- รักษาแผลไฟไหม ทําใหผิวหนังที่ถูกทําลายกลับสูสภาพเดิมเนื่องจากคุณสมบัติเรงอัตราการแบงตัวของ
เซลล
- ตานแบคทีเรีย และตานรา
- ตานการอักเสบ
- มีคุณสมบัติจับอนุมูลอิสระ ตานไวรส ยับยั้งแบคทีเรีย ทางยาใชรักษาเสนเลือดฝอยเปราะและหลอดเลือด
ดําขอด (3)

ขอควรระวัง :
หากไดรับเปนระยะเวลานาน อาจเสี่ยงกับฤทธิ์กอกลายพันธุจากสารเคอรซีทอล (quersetol) เนื่องจากพบวามี
การเหนี่ยวนําการกอกลายพันธุในเซลลของหนูแฮมสเตอร (2)

เอกสารอางอิง :
1. Aloban Muller international.
2. Guillerault L. Phytomedica 1997.
-107-

3. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis Ltd. London.
1999.
4. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rd ed. Washington: The
Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995 : 434.

Skintree (Mimosa tenuiflora)


-108-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Skullcap, สคัลแคพ


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Baikal skullcap, Whang-geum, Huanggoin (1,5)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Scutellaria baicalensis Georgi
ชื่อพอง (Synonyms) : Scutellaria macrantha
วงศ (Family) : Lamiaceae (Labiatae)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Skullcap (S. baicalensis ) extract

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พืชลมลุกอายุ 1-2 ป สูง 20-60 ซม. ลําตนสี่เหลี่ยม แตกกิ่งกานตั้งแตโคนตน รากขนาดใหญและ
ยาว ใบเดี่ยวรูปหอก ขอบใบเรียบ มีขนปกคลุม เรียงตรงขามกัน กานใบยาว 2 มม. ดอกชอแบบ one-
side raceme ออกที่ปลายหรือซอกกิ่ง กลีบเลี้ยงรูป campanulate (ชอน) มี 2 lobe กลีบดอกรูปทอ สี
มวงน้ําเงิน มีริ้ว ยาว 2-3 ซม. ผลแข็งขนาดเล็กแบบ nutlets รูปรีหรือกลม (1,5)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนพืชพื้นเมืองของเอเชียตะวันออก ปจจุบันมีการเพาะปลูกและแพรกระจายในประเทศจีนตอน
เหนือ เวียตนาม ญี่ปุน เกาหลี มองโกเลีย รัสเซีย (1,2) พืชสกุลนี้มีมากกวา 220 ชนิด (species) พบ
มากในเขตอบอุนและแถบภูเขา หลายชนิดใชเปนไมประดับ (2)

สรรพคุณพื้นบาน :
ประมาณ 1,000 ป ก อ นคริ ส ตศั ก ราชมี ก ารใช ส มุ น ไพรในรู ป ขี้ ผึ้ ง รั ก ษาบาดแผลและตะคริ ว
200 ป กอนคริสตศักราช–ค.ศ.100 สมุนไพรนี้ไดรับการบรรจุไวในตํารายาจีน Shen Nong Ben Cao Jing
รากของสมุนไพรนี้มีรสขมเย็นจึงใชเปนยาแผนโบราณมีสรรพคุณลดไข ลางพิษ หามเลือด บรรเทาอาการ
ไอ สงบ (calm) ทารกในครรภจึงปองกันการแทงบุตร บรรเทาอาการแนนหนาอก รักษาอาการบวม ออน
เพลีย ทองมาน ปวดตา ตาบวม ตาแดง ฝฝกบัว อาเจียนเปนเลือด บาดแผลตางๆ ดีซาน อาการ
อักเสบของระบบยอยอาหาร ตอมาใชรวมกับสมุนไพรชนิดอื่น ไดแก Phellodendron, Giant knotweed
และ Garden burnet สําหรับ รักษาแผลไฟไหม แผลติดเชื้อตางๆ และความดัน โลหิต สูง (1,3,5) ใบ
skullcap ครึ่งถวย (สําหรับผูใหญ) หรือ 1 ชอนโตะ (สําหรับเด็ก) นําไปทําเปนยาตมชวยบรรเทาอาการ
ปวดทองและทองเสีย (2)
สคัลแคพชนิดอื่น ๆ ซึ่งไดมีการกลาวถึงใน Encyclopedia of herbs and their uses (3) มีดังนี้
-109-

S. lateriflora (Virginian skullcap) ชาวอินเดียนพื้นเมืองเผาเชอโรคีใชขับประจําเดือน ดร.Van


Deveer ไดสํารวจพืชนี้ในป 1773 พบวามีประโยชนในการรักษาโรคพิษสุนัขบา จึงเรียกพืชนี้วา mad dog
skullcap Virginian skullcap ใช ทั้ งต น รั บ ป ระท าน รั ก ษ าอ าก ารท างป ระสาท ชั ก น อน ไม ห ลั บ
กระสับกระสาย คลุมคลั่ง ปวดปลายประสาท ถอนพิษยานอนหลับบารบิทูเรท (barbiturate) และ ยา
กลอมประสาท หากใชสมุนไพรนี้เกินขนาดจะทําใหงุนงง เซื่องซึม สับสน ชักเกร็ง หามใชสมุนไพรนี้
ในหญิงมีครรภ Virginian skullcap ไดรับการบรรจุไวใน U.S.Pharmacopoeia ในป 1863 มีสรรพคุณ
สงบประสาท และคลายการเกร็งตัวของกลามเนื้อ (antispasmodic) ปจจุบันนักสมุนไพร (herbalists)
ยังยอมรับพืชนี้วามีสรรพคุณ
S. galericulata (European skullcap) มีองคประกอบเคมีคลายคลึงกับ S. baicalensis สามารถ
ใชทดแทนกันได
S. barbata (barbed skullcap) ใช เป น ยาถอนพิ ษ ซึ่ งส วนมาก ได แ ก มะเร็งบางชนิ ด โรคตั บ
สัตวมีพิษกัดตอย หลอมลมอักเสบ (3)

สวนที่ใช :
ราก เก็บเกี่ยวจากพืชอายุ 3-4 ป ในฤดูใบไมผลิและฤดูใบไมรวง นํามาทําความสะอาด ปอก
เปลือก และทําใหแหง (2)

องคประกอบเคมี :
ราก skullcap มีองคประกอบทางเคมีหลักเปนกลุมสารฟลาโวนอยด โดยมีบายคาลิน (baicalin)
เปนสารหลัก (major compound) มีปริมาณ 3.6-6.2% และมีกรดเบนโซอิก (benzoic acid) และเบตา- ซิ
โตสเตียรอล (β-sitosterol)
ฟลาโวนอยดใน skullcap ไดแก
- baicalein (5,6,7-trihydroxyflavone)
- wogonin (5,7-dihydroxy-8-methoxyflavone)
- skullcapflavone I (5,6’-dihydroxy-7,8-dimethoxyflavone)
- skullcapflavone II (2’,5-dihydroxy-6,6’,7,8-tetramethoxyflavone)
- oroxylin A (5,7-dihydroxy-6-methoxyflavone)
- koganebanain (5,7-dihydroxy-6,8,2’,3’-tetramethoxy-flavone)
- (2S),2’,5,6’,7-tetrahydroxyflavanone
- (2R,3R),2’,3,5,6’,7-pentahydroxyflavanone
- 2’,5,5’,7-tetrahydroxy-6’,8-dimethoxyflavone
-110-

- baicalin (5,6,7-trihydroxyflavone-7-O-D-glucuronide)
- wogonoside (5,7-dihydroxy-8-methoxyflavone-7-O-glucuronide)
- ozoxylin A glucuronide

OH
O
O
HO
O O
HO
OH

OH O

baicalin (baicalein 7-O-glucuronide) เปน flavone O-glucoside)


มีคุณสมบัติขับปสสาวะ, ตานการแพ (antiallergenic), ทําใหเลือดแข็งตัวชา (4)

สารสกัดสคัลแคพ (skullcap extract) :


เปนสารสกัดจากรากของ Scutellaria baicalensis

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
สารสกัดสคัลแคพเปนสวนผสมในผลิตภัณฑบํารุงผิว (skin freshener) และเปนสวนผสมใน ยา
สีฟน ( 1 )

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- ยาตมและสารสกัดแอลกอฮอลจากรากสคัลแคพซึ่งมีสารบายคาไลน (baicalein) เปนสาร
หลัก มีคุณสมบัติตานเชื้อแบคทีเรีย เชื้อราและไวรัสหลายชนิด เชน influenza สายพันธุ PR8
และ Asian A ในหลอดทดลอง
- สาร (2S),2’,5,6’,7-tetrahydroxyflavanone มีคุณสมบัติตานแบคทีเรียชนิดกรัมลบ
-111-

- สารบายคาไลน (baicalein), บายคาลิน (baicalin), โวโกนิน (wogonin), สคัลแคพฟลาโวน


(skullcap flavone II) แ ละ 2’,5,5’,7-tetrahydroxy-6’,8-dimethoxyflavone แ ส ด ง คุ ณ
สมบัติยับยั้งอาการอักเสบและการแพในสัตวทดลอง
- skullcap flavone II แสดงคุณสมบัติเปนพิษตอเซลลมะเร็งชนิด L1210 (1)
มีรายงานคุณสมบัติทางเภสัชวิทยาของสารสกัดสคัลแคพซึ่งมีฟลาโวนอยดเปนสารออกฤทธิ์
หลัก ไดแก ตานเชื้อแบคทีเรีย ตานมะเร็ง บรรเทาอาการขออักเสบ ยับยั้งการอักเสบ
ลดไขมั น ในเลื อ ด ขั บ น้ํ า ดี (choleretic) ระบาย ยั บ ยั้ ง เอนไซม aldose reductase,
bradykinin antagonist คลายการเกร็งตัวของกลามเนื้อมดลูก ตานอนุมูลอิสระ สงบประสาท
ลดไข ลดความดันโลหิต ขับปสสาวะ (1,2,5)
จากการศึกษาดานพิษวิทยาพบวาสมุนไพรชนิดนี้มีความเปนพิษตอ เมื่อใหยาตมขนาด
10 ก./กก.นน.ตัว ทางปาก (p.o.) หรือฉีดสารสกัดแอลกอฮอลขนาด 2 ก./กก.นน.ตัว เขาเสน
เลื อ ดดํ า ของกระต า ย ทํ า ให ก ระต า ยหลั บ แต ไ ม ทํ า ให ต าย ค า LD50 ของบายคาไลน
(baicalein) ในหนู (mice) 3.081 ก./กก.นน.ตัว (i.v.) อยางไรก็ดีเมื่อฉีดบายคาลิน (baicalin)
ขนาด 15 มก./กก.นน.ตัวเขาเสนเลือดดํา (i.v.) ของกระตายจะทําใหกระตายตายภายใน 24
ชม. (1)
- ใชในผลิตภัณฑรักษาสิว บรรเทาอาการอักเสบ และยับยั้งจุลินทรีย

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. Albert YL, Steven F. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wilson & Sons Inc., 1996: 554-5.
2. Ayensu ES. Medicinal Plants of the West Indies. Michigan: Reference Publications, Inc.,
1981: 221.
3. Bown D. Encyclopedia of herbs and their uses. RD Press. Australia. 1995.
4. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
5. Natural Products Research Institute Seoul National University. Medicinal Plants in the
Republic of Korea. Manila: World Health Organization, 1998: 267.
-112-
-113-

Skullcap (Scutellaria baicalensis Georgi)


-113-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Spirulina, สไปรูลินา


ชื่อไทย (Thai name) : สาหรายเกลียวทอง
ชื่อทองถิ่น (Local names) : dihe, tecuitlatl, blue-green algae
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Spirulina spp.
ชื่อพอง (Synonyms) : -
วงศ (Family) : Phormidiaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Spirulina maxima Extract (4)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
สไปรูลินาเปนสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงิน (cyanophyta) สายหนึ่ง (trichome) ประกอบดวยเซลล
เดี่ยวรูปเกลียว มีการเคลื่อนไหวแบบสกรู (corkscrew) พบไดท้งั ในน้ํากรอยและน้ําจืด (1)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนที่รูจักครั้งแรกตั้งแตศตวรรษที่ 16 พบทั่วโลกบนผิวน้ํา ของน้ําจืดและน้ําเค็ม

สรรพคุณพื้นบาน :
ใชเปนสารอาหาร อาหารลดน้ําหนัก อุดมดวยสารบํารุงผิวซึ่งมีประโยชนของเครื่องสําอาง (3)

สวนที่ใช :
สาหรายทั้งสดและแหง (3)

องคประกอบทางเคมี :
สไปรูลินาประกอบดวยโปรตีน 55-70% สวนประกอบของโปรตีนเปนกรดอะมิโน 22 ชนิด คาร
โบไฮเดรท 15-25% ไขมัน 4-7% และเกลือแร 5-10% วิตามินอี กรดไขมันไมอิ่มตัว คาโรทีนอยด(3)
จากการวิเคราะหสไปรูไลนาที่ปราศจากน้ํา (dehydrated Spirulina) 10 ก. พบวามีสวนประกอบ
ดังนี้
- เบตา-เเคโรทีน (โปรวิตามินเอ) 14 มก.
- วิตามินอี (อัลฟา –โทโคฟรอล 0.40) บี1 บี2 บี3 บี6 บี12
- โฟลาซิน (folacin) ไบโอทิน (biotin) กรดแพนโททีนิก 2300 IU
(pantothenic acid)
- คลอโรฟลล (chlorophyll) - 1100 มก.
-114-

ไฟโคไซยานิน (phycocyanin) 1500 มก.


- คาโรทีนอยด (carotenoids) 37 มก.
- กรดแกมมา-ลิโนเลนิก (γ-linolenic acid, GLA) 100 มก.
- กรดลิโนเลอิก (linoleic acid) 80 มก.
- enzyme activity (superoxide dismutase 22500 units) และ
แรธาตุ คัลเซียม Ca, ฟอสฟอรัส P, แมกเนเซียม Mg, เหล็ก Fe,
โซเดียม Na, โปตัสเซียม K, สังกะสี Zn, ทองแดง Cu, แมงกานิส
Mn, เจอมาเนียม Ge, โครเมียม Cr, เซลีเนียม Se (2)

CH 3
CH 3

CH 2CH 3
H3 C N N

Mg

H3C N N
CH 3
H
H2C H

CH2 H
O
O OCH 3
O O CH 3

H CH 3 H CH 3
CH 3 CH 3

chlorophyll a
เปน universal green pigment พบรวมกับ chlorophyll b ในอัตราสวน 3:1 อยูในคลอโรพลาสต
ใชเปนdeodorant แตงสีอาหาร และน้ําหอม และยอมหนังสัตว (3)

สารสกัด :
Spirulina maxima extract เป น สารสกั ด ที่ ได จาก ส ว น fronds ของสไป รู ลิ น า (Spirulina
maxima) (4)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
เปนสวนประกอบในผลิตภัณฑเพื่อบํารุงผิวและบํารุงผม เนื่องจากมีโปรตีนสูง มีแรธาตุ วิตามิน
คาโรทีนอยด เปนตน (1)
-115-

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
สไปรูลินา เปนผลิตภัณฑเสริมอาหารที่ดีในสัตวทดลอง ปริมาณสารอาหารในสาหรายขึ้นอยูกับวิธี
การผลิต การผลิตที่ใชกรรมวิธีทําใหเซลลแตกใหปริมาณโปรตีนมากกวากรรมวีธีเตรียมจากทั้งเซลล
เมื่อฉีดสารสกัดสไปรูลินาใหกับสัตวทดลองที่ถูกชักนําใหเปนเนื้องอกพบวามีผลทําใหกอนเนื้องอก
มีขนาดลดลง เนื่องจากสไปรูลินาทําใหเกิดการสราง tumer mecrosis factor (TNF) ซึ่งเชื่อวาเปนกลไก
การทําลายเนื้องอก
องค ป ระกอบที่เป น โพลีแ ซคคาไรด “Calcium spirulan” มีฤทธิ์ยับ ยั้ งการเพิ่ มจํานวนของไวรัส
หลายชนิ ด เช น herpes simplex I, cytomegalovirus, mumps และ measles virus, inflvenz A virus
และ HIV-1 โดยมีกลไกการยับยั้งโดยยับยั้งการผานของไวรัสเขาสู host cells
มีรายงานวาสไปรูลินาชวยเพิ่มจํานวนแอนติบอดี้ ลดการหลั่งกรดของกระเพาะอาหาร ลดระดับ
ไขมันในเลือดและในตับ (2)

ขอควรระวัง :
ไมมีพิษในมนุษย แตอาจเสี่ยงจากการปนเปอนจากโลหะหนักหรือจุลชีพ (2)

เอกสารอางอิง :
1. D’ Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic desk reference. New York: CRC Press, 1999:
293-4.
2. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons,
2001:566-7
3. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
4. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 698.
-116-

Spirulina (Spirulina spp.)


-116-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Strawberry, สตรอเบอรรี่


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Fraisier sauvage, Fraisier des bois, Fraisier (2), Wild
Strawberry, Mountain Strawberry, Wood Strawberry,
Alpine Strawberry (5), Walder beere (8)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Fragaria vesca L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Fragaria botry formis, F. hortensis, F. minor,
F. nemoralis, F. portentosa, F. silvestris (7)
วงศ (Family) : Rosaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Strawberry (Fragaria vesca)
Strawberry (Fragaria vesca) extract
Strawberry (Fragaria vesca) juice
Strawberry (Fragaria vesca) leaf extract
Strawberry (Fragaria vesca) seed (9)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พืชลมลุก อายุหลายป สูง 20-30 ซม. รากทรงกระบอกออกในแนวราบปกคลุมดวยใบและหูใบที่
แหง ลําตนตั้งตรง ใบประกอบ 1 ใบใหญ มี 3 ใบยอย ใบยอยยาว 3-8 ซม. รูปไขขนมเปยกปูน ขอบ
หยัก ใบบาง เรียบทั้งดานบนและลาง หูใบรูปหอก ขอบเรียบ สีน้ําตาลแดง ดานบนเรียบ ดานลางมีขน
ดอกสีขาวขนาดเล็ก มักเปนดอกเพศผู มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอกอยางละ 5 กลีบ กลีบดอกรูปไข เรียบ
สีขาวลวน มีเกสรตัวผู 20 อันและรังไขจํานวนมาก หลังจากมีดอก ฐานรองดอกจะกลายเปนผลสด ฐาน
รองดอกยาว 2 ซม. รูปไข เมื่อสุกจะมีสีแดง รสหวานกลิ่นหอม (4,5,8)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
สตรอเบอรรี่มีถิ่นกําเนิดในยุโรปและเขตอบอุนในเอเชีย มีการเพาะปลูกมากในบริเวณระหวางเขต
หนาวกับเขตอบอุนของยุโรปและเอเชีย (5)

สรรพคุณพื้นบาน :
สตรอเบอรรี่เปนพืชที่เย็น มีฤทธิ์ฝาดสมาน ขับปสสาวะออนๆ และชวยระบาย (3) ใบสตรอเบอรรี่ใชภายนอก
รักษาผื่นบนผิวหนัง ใชภายในรักษาอาการเยื่อมูกทางเดินอาหารอักเสบ ทองรวง โรคตับ ดีซาน เยื่อบุออน (mucous
membrane) ทางเดินหายใจอักเสบ เกาต ขออักเสบ นิ่วในไต การอักเสบของปากและคอ (5)
-117-

ใบเก็บเกี่ยวในขณะที่มีดอก โดยเฉพาะใบออนและทําใหแหงในที่รม (8) ตําราสมุนไพร (7) ใช ใบที่เก็บเกี่ยว


ขณะมีดอก (พ.ค.-มิ.ย.) และทําใหแหง รากทําใหแหงแกทองรวง กลั้วคอและชองปาก ทําใหสุขภาพของชองปากดี ใช
บรรเทาอาการหอบหืดและอาการผิดปกติเกี่ยวกับระบบทางเดินปสสาวะ (7) โฮมีโอพาที (HAB 34) ผลสุกใชบรรเทา
อาการลมพิษ (7) ใบเตรียมเปน น้ํายากลั้วคอ แกคออักเสบ, เลือดออกบริเวณลําไส, อาการผิดปกติ เกี่ยวกับทางเดิน
ปสสาวะ, ปวดขอ, เกาท, โรคตับ
เตรีย มเป น ยาชง โดยใช ใบแห ง 50 ก. น้ํ าเดื อ ด 200 ก. ตั้ งทิ้ ง ไว 30 นาที นํ ามาล างหน าเพื่ อ ทํ าความ
สะอาดและกระชับรูขุมขน น้ําคั้นจากผลเปนสวนผสมในครีมทาผิวมีคุณสมบัติบํารุงและทําใหผิวสดชื่น เนื้อผลนํามาพอก
หนา (8)

สวนที่ใช :
ใบ ราก และผล (3)

องคประกอบทางเคมี :
ใบ : มี แ ทนนิ น (5-11%) ฟลาโวนอยด กรดอิ น ทรี ย แ ละวิ ต ามิ น ซี (7,8) แทนนิ น ได แ ก
ellagitannins และ oligomeric proanthocyanidins กรดซาลิไซลิก, กรดซินนามิก, กรด
แคฟเฟอิก, กรดคลอโรเจนิก (7, 3)
ผล : มี pelargonidin ซึ่งเปนสารสีมวง (scarlet plant pigment, มีคุณสมบัติตานไวรัส
ฟลาโวนอยด (flavonoid) : รูติน (rutin), เคอรเซทิน (quercetin), kaempferol glucoside,
zuercitrin และ คาเทชิน (7)
กรดไขมัน fatty acids และ phenolic acids (5)
ราก : มีแทนนิน (oligomeric proanthocyanidins), salicylic acid, cinnamic acid, caffeic
acid, chlorogenic acid, ratin (0.9%)

HO

HO OH

caffeic acid
(3,4-dihydroxycinnamic acid)
มีคุณสมบัติตานแบคทีเรีย รา และไวรัส, ตานอนุมูลอิสระและบรรเทาอาการอักเสบ (6)

สารสกัด :
Strawberry เปนสวนของพืชที่ไดจากผลแหงของ F. vesca
-118-

Strawberry Extract เปนสารสกัดของผลของ F. vesca


Strawberry Juice เปนน้ําคั้นจากผลสดของ F. vesca
Strawberry Leaf Extract เปนสารสกัดจากใบของ F. vesca
Strawberry Seed เปนเมล็ดของ F. vesca (9)
ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ผลสตรอเบอรรี่ใชพอกหนา ผลสตรอเบอรรี่ที่บดจนละเอียดจะขัดผิวหนาทําใหผิวเรียบจึงเปนสวน
ประกอบของผลิตภัณฑขัดหนาและครีมทําความสะอาดผิว นอกจากนี้สตรอเบอรรี่จะยังทําใหฟนขาว (4)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
ใบสตรอเบอรรี่มีฤทธิ์มีฤทธิ์ฝาดสมานและขับปสสาวะ (5) ใบและรากใชภายในรักษาโรคทองรวง
การยอยอาหารที่ผิดปกติและโรคเกาต น้ําคั้นสดใชภายนอกบรรเทาการผิวเกรียมและอักเสบระบมเนื่องจาก
กรําแดด (3) ผลชวยระบายและกระตุนความอยากอาหาร
ชาใบสตรอเบอรรี่แกทองเสีย ขับปสสาวะ เปนสวนผสมหนึ่งในชาสุขภาพ (heath tea) ชาสตรอ
เบอรรี่ใชแทนชาสําหรับผูที่ไมตองการแคฟเฟอีน

ขอควรระวัง :
การรับประทานผลสตรอเบอรรี่อาจทําใหแพ (8)

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 245.
2. Boulos L. Medicinal plants of North Africa. Michigan: Reference Publications, Inc., 1983:
153.
3. Bown D. Encyclopedia of Herb & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 284.
4. D’Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic Desk Reference. New York: CRC Press, 1999:
196-7.
5. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 735-6.
6. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
7. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
-119-

8. Hlava B, Pospisil F, Stary’ F. Pflanzen fuer dee natuerliche Schoenheit. Werner DauSilen-
Hanau. 1983.
9. Wenninger JA, McEwen G.N. Interbational Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 294.
-120-

Strawberry (Fragaria vesca L.)


-120-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Tormentil, ทอรเมนทิล


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Bloodroot, Cinquefoil, Septfoil, Thormantle, Biscuits,
Earthbank, Ewe Daisy, Flesh end Blood, Shepher’s
Knapperty, Shepherd’s Knat, English Sarsaparilla,
Blutwurz (4) Fingerkraut (4)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Potentilla erecta (L.) Raeusch. (3,4)
ชื่อพอง (Synonyms) : P. tormentilla Stokes., Fragaria tormentilla,
Potentilla officinalis, P.tetrapetala, P. tormontilla,
Tormentilla erecta, T. officinalis (4)
วงศ (Family) : Rosaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Tormentil (Potentilla erecta) Extract (6)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมพุมสูงประมาณ 30 ซม. ลําตนตั้งตรง เหงาแข็งรูปทรงกระบอกหรือกระสวย ยาว 2.5-8 ซม.
หนา 0.5-1.5 ซม. ภายนอกสีน้ําตาลเขม ภายในสีแดงเลือด แตกกิ่งกาน ใบประกอบขนนก มีใบยอย 3-5
ใบ ฐานใบเปนรูปหัวใจไมมีกานชูใบ ดอกมีขนาดเล็ก สีเหลือง กานชูดอกยาว ออกตรงขามกับใบหรือออก
ที่จุดที่แตก กิ่งกาน ผลมีเปลือกแข็ง (nut) มีเมล็ด 1 เมล็ด รูปไข มีรองและผิวเรียบ (3,4)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
พบไดทั่วยุโรป ตอนเหนือของสแกนดิเนเวีย (scandinavia) และบอลขานทางเหนือและทางใตของอาฟริกา ไซบี
เรียตะวันตก อิตาลี ตอนกลางของสเปญ และอเมริกาเหนือ (3,4)

สรรพคุณพื้นบาน :
ทอรเมนทิลเปนพืชรสขม มีฤทธิ์ฝาดสมาน หามเลือด ลดการอักเสบและชวยสมานแผล ในตํารายา
พื้นบาน ใชเปนยาภายในบรรเทาอาการทางเดินอาหารอักเสบเฉียบพลัน และกึ่งเฉียบพลัน ใชภายนอกเพื่อ
รักษาบาดแผล แผลจากความเย็น แผลไหมและริดสีดวง (3) สารสีแดงที่ไดจากรากมีฤทธิ์ตานเชื้อ จุลชีพ
โดยเตรียมเปนยากลั้วคอรักษาการติดเชื้อในชองปากและคอ บรรเทาอาการทองรวง (5)
ตํารายาสมุนไพรของเยอรมัน (HAB1) ใชเหงาสดที่เก็บในฤดูใบไมผลิ หรือ สารสกัดเอทานอลจาก
เหงา มีคุณสมบัติฝาดสมาน ใชบรรเทาอาการอักเสบเล็กนอย ของเยื่อบุออนในชองปากและคอ ยาแกทอง
-121-

เสียที่มีอาการรุนแรง ในบาดแผลที่หายยาก แผลที่เกิดจากความเย็นจัด แผลไฟไหม ริดสีดวงทวารและ


อาการไมสบายทอง (4)

สวนที่ใช :
ราก (1,2)

องคประกอบทางเคมี :
- แทนนิน 17-22% ประกอบดวย คาทีชิน (catechins) เชน (-)-gallocatechin gallate, (-)-
epigallo catechin gallate, dimeric และ trimeric ของคาที ชิ น , gallo-และ ellagitannins
แกลโลแทนนิน (gallotannins, 3.5%) ไดแก อะกริโมนิน (agrimonin) อะกริโมนิน
- เมื่อละลายน้ํา มีสีแดง (phlalaphenes) สีแดงของเหงาเปนสารฟลอบาฟน (phlobaphene)
- ฟ ลาโวน อยด (flavonoids) ได แก เค ม เฟ อ รอล (kaempferol), procyanidins, phenol
carboxylic acid (3,4)
- ไทรเทอรปน ไดแก ทอรเมนโทโซด (tormentoside), กรดอัวรโซลิก (ursolic acid), กรดมาลิก
(malic acid) (3)

OH OH
OH
HO HO
O OH
O O
HO O HO
O OH
O
HO O O O O
O HO
O OH
O
O O O
HO O O O
O O O
OH OH OH
O OH
HO OH HO OH

HO HO HO OH HO HO HO OH

agrimonin (2)

สารสกัด :
Tormentil (Potentilla erecta) extract เปนสารสกัดที่ไดจากเหงาของ Patentilla erecta (6)
-122-

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ทอรเมนทิลมีคุณสมบัติฝาดสมานอยางแรงใชเปนสวนประกอบในครีม โลชั่น ผลิตภัณฑบํารุงเสน
ผม โคลนพอกหนา น้ํายาบวนปากและผลิตภัณฑที่ตองการ การฝาดสมาน โดยใชในปริมาณ 0.5-10%
(2,5)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- คุ ณ สมบั ติ ฝ าดสมาน ต านเชื้ อ จุล ชีพ การทดลองในสั ต ว พ บว าสามารถลดความดั น โลหิ ต
กระตุนภูมิคุมกันและตานไวรัส (3)
- ใชเปนสียอมผาซึ่งจะใหสีเหลืองถึงน้ําตาล

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. Bown D. Encyclopedia of Herb & Their Uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995:334.
2. D’Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic Desk Reference. New York: CRC Press, 1999: 202-
203.
3. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 192.
4. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
5. Vermeulen N. Encyclopaedia of herbs. The Netherlands: Rebo Productions Ltd., 1999: 237-8.
6. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 737-8.
-123-
-124-

Tormentil (Potentilla erecta (L.) Raeusch.)


-124-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Walnut, วอลนัท


ชื่อไทย (Thai name) : -
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Caucasian walnut, English walnut, Circassian
walnut, Persian walnut (4), Walnussbaum (6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Juglans regia L.
ชื่อพอง (Synonyms) : -
วงศ (Family) : Juglandaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Walnut (Juglans regia) extract
Walnut (Juglans regia) leaf Extract
Walnut (Juglans regia) leaves
Walnut (Juglans regia) oil
Walnut (Juglans regia) seed
Walnut (Juglans regia) shell Powder (9)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมตนสูง 25-45 ม. เมื่อยังออนเปลือกตนมีสีเทาและเรียบ และเปลี่ยนเปนสีดํา มีรอยแยกเมื่อ โต
ขึ้น ใบขนาดใหญ มีกานชูใบยาว ใบประกอบขนนก ซึ่งประกอบดวยใบยอยรูปไข 7-9 ใบ ขอบใบเรียบ
ใบออนมีจุดซึ่งเปนตอมน้ํามัน ใบยอยที่อยูที่ปลายมีขนาดใหญที่สุด ดอกสีเขียว แยกเพศ ดอกตัวผูยาว
ประมาณ 10 ซม. ไมมีกานชูดอก เปนทรงกระบอก ยาวหอยคลายหางแมว ดอกตัวเมียเปนดอกชอ
กลีบเลี้ยงมีตอมน้ํามันและอวบน้ํา ผลกลมเรียบสีเขียว มีจุดสีขาวที่เปลือกดานนอก เปลือกดานในลักษณะ
เปนไมและมีรอยยน (4,6)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
วอลนัทมีถิ่นกําเนิดในปาภูเขาของบอลขานและเอเซียตะวันออก (5) อิหราน เอเซียไมเนอร
ปจจุบันมีการเพาะปลูกในยุโรปกลาง อาฟริกาเหนือ อเมริกาเหนือ (4,6)

สรรพคุณพื้นบาน :
วอลนัท (ใบและเปลือกผล) ใชเปนสียอมผมเฉดน้ําตาล และเปนสวนผสมในน้ํามันหรือครีม กัน
แดด อาจเตรียมสียอมผมเองจากน้ําคั้นสดจากเปลือกผลสีเขียว ดังนี้ เปลือกสีเขียว 20 ก. บดใหละเอียด
น้ํา 50 มล., สารสม 25 ก. น้ํามันมะกอก (หรือน้ํามันสลัด) 75 ก. และผสมใหเขากัน นําสารผสมไปอุนจน
ไดสีที่ตองการจึงนําไปยอมผม น้ําคั้นที่ไดไมควรทิ้งไวนานเพราะจะทําใหคุณสมบัติเปนสียอมลดลง (5)
-125-

หรือใชเปลือกผล 10 ก. ผสมกับแอลกอฮอล 60% 100 มล. (5) วอลนัทมีสารแทนนินจึงใชในอาการทอง


รวงเรื้อรัง ภายนอกใชผสมน้ําอาบ บรรเทาอาการคัน โรคผิวหนัง และแผลจากความเย็นจัด เมล็ดมีน้ํา
มันที่มีรสชาติดี เนื้อไมใชสรางเรือ เฟอรนิเจอร เปนตน (5)
วอลนัทเปนพืชรสขม มีคุณสมบัติฝาดสมาน ใชขับเสมหะและชวยระบาย ทําใหเนื้อเยื่อเกิดการ
ระคายเคืองและละลายนิ่วในไต (2)
ยาจีนใชวอลนัทรักษาโรคหืด การปวดหลัง โรคเหน็บชาจากการขาดวิตามิน บี1 การเสื่อมสมรรถภาพ
ทางเพศ และอาการทองผูก อายุรเวทใชรักษาโรคปวดขอ น้ํามันจากเมล็ดขับพยาธิตัวตืด เมล็ดมีฤทธิ์ขับ
เหงื่อและใชรักษาโรคบิด (4)
ใบวอลนัทมีคุณสมบัติฝาดสมานใชภายนอกโดยผสมน้ําอาบ ชะลาง และใชพอกผิวหนังที่เปนสิว
แผลพุพอง มีเหงื่อออกมา
เปลือกตนมีคุณสมบัติฝาดสมานใชยับยั้งเหงื่อ ผสมน้ําอาบ ยาพอก ใชในยารักษาสัตว เปนสวน
ผสมในเครื่องดื่มที่มีอัลกอฮอล และใชเปนยายอมผม
เนื้อในเมล็ด ใชเปนอาหาร ของขบเคี้ยว
น้ํามันจากเนื้อในเมล็ด ใชเปนน้ํามันปรุงอาหาร สวนผสมในเครื่องสําอาง เปนสียอมและน้ํามัน
ขัดเงา (6)

สวนที่ใช :
ใบ เปลือกตน เปลือกของผลดิบ น้ํามันจากเปลือกผล (6) เนื้อในเมล็ดและน้ํามัน (2)

องคประกอบทางเคมี :
ใบที่เก็บในฤดูรอนและเปลือกผลดิบมักใชเปนวัตถุดิบสมุนไพร ใบมีแทนนิน น้ํามันหอมระเหย
เล็กนอย และกลัยโคไซดเมื่อขยี้ใบจนเนื้อเยื่อเสียหาย จะเปลี่ยนเปนสารสีน้ําตาล มีชื่อวาจูโกลน สวน
เปลือกผลมีวิตามินซี คอนขางสูง (5) ใบวอลนัทมีแทนนินประมาณ 10% ไดแก เอลลาจิแทนนิน
(ellagitannins); อนุพันธแนทโทควิโนน เชน จูโกลน, ไฮโดรจูโกลน; ฟลาโวนอยด (ประมาณ 3.4%) เชน
ไฮเปอโรไซด (hyperoside) เคอรซิตริน (quercitrin) เคมเฟอรอล กลัยโคไซด; อนุพันธกรดแคฟเฟอิก;
น้ํามันหอมระเหย (ประมาณ 0.01-0.03%) ซึ่งมี germacrene เปนสารหลัก และวิตามินซี (0.85-1%)
เปลือกลําตนมี α - และ β - hydrojuglone (glycosides), แทนนิน, วิตามินซี
เนื้อในเมล็ด มี น้ํามันประมาณ 40-60%, ไลปดส
น้ํามันที่ไดจากการบีบเนื้อในเมล็ด มีไทรกลีเซอไรดของกรด linolic-, linolenic-, myristic- และ
laurie acids
ตําราสมุนไพรของเยอรมัน (HAB34) ใชใบสดและเปลือกผลสดใชบรรเทาอาการโรคผิวหนัง
อาการอักเสบ ตับผิดปกติ ปวดศรีษะ อาการผิดปกติของระบบประสาทสวนกลาง (6)
-126-

Juglone (5-hydroxy-1,4-naphthalene), อัลฟา-ไอโดรจูโกลน (α-hydrojuglone, (1,4,5-


trihydroxynaphthalene), β-hydrojuglone, กรดเอลลาจิก (ellagic acid), โปรตีน, แทนนิน, แรธาตุ, กรด
แคฟเฟอิก, ไฮเปอรริน(hyperin), เคมเฟรอล (kaempferol) (3)

OH O

Juglone (7)

สารสกัด :
Walnut extract เปนสารสกัดที่ไดจากเปลือกนอกและเปลือกในของวอลนัท
Walnut leaf extract เปนสารสกัดจากใบของวอลนัท
Walnut leaves เปนใบแหงของวอลนัท
Walnut oil เปนน้ํามันที่ไดจากผลของวอลนัท
Walnut seed เปนเมล็ดที่รวงจากตนวอลนัท
Walnut shell powder เปนผงละเอียดที่ไดจากเปลือกในของผลวอลนัท (9)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
น้ํามันจากเปลือกผลวอลนัท เตรียมโดยใชน้ํามันถั่วลิสงอุนกับเปลือกผล และใชเปนสวนผสมใน
เครื่องสําอาง (5)
เปลือกผล (shells) ใหสีน้ําตาลเขมและเปลือกตนใหสีน้ําตาลหลายเฉด เมื่อมีการยอมผมดวยสาร
สกัดวอลนัทเปนครั้งแรกจะไดสีคอนขางเหลือง เมื่อ 2-3 วันผานไปสีจึงเปลี่ยนเปนสีน้ําตาล (3,8) เปลือก
ผลยังใชเปนสารชวยขัด (abrasive) นิยมใชในผลิตภัณฑขัดผิว และสารเพิ่มปริมาณ (bulking agent) ผล
ใชเปนสารปองกันแสงแดด (sunscreen agent) อีกดวย (1)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
-127-

วอลนัทมีคุณสมบัติฝาดสมานและยับยั้งรา เนื่องจากมีแทนนินและสารจูโกลน (juglone) มีการใช


เปลื อ กผลในการรั ก ษาเฉพาะที่ ในโรคมะเร็ง ของลิ้ น และแผลในช อ งปากและริ ม ฝ ป าก (leukoplakia
smoker patek) มีคุณสมบัติฝาดสมานเนื่องจากแทนนินและฤทธิ์ตานรา เนื่องจากสารจูโกลนและน้ํามันหอม
ระเหย (4)
ใบวอลนัทใชภายในรักษาอาการทองผูก ไอเรื้อรัง โรคหอบและนิ่วในกระเพาะปสสาวะ เปลือกผล
ใชรักษาอาการทองเสียและภาวะเลือดจาง (anaemia) น้ํามันใชรักษาความผิดปกติตางๆ ของการมีประจํา
เดือนและภาวะผิวแหง วอลนัทใชภายนอกรักษาโรคผิวหนังตางๆ เชน หิด งูสวัด บรรเทาอาการปวดขอ
และลดอาการระคายเคืองที่เปลือกตา (2)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. กิตติมา กิติศักดิ์ไชยกุล และฉวีวรรณ นุนสิงห. สมุนไพรที่ใชในเครื่องสําอาง. โครงการพิเศษ ปการ
ศึกษา 2538. คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล, 2538: 101.
2. Bown D. Encyclopedia of Herb & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 298-
9.
3. D’Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic Desk Reference. New York: CRC Press, 1999:
209-10.
4. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 793-4.
5. Hlava B, Pospisil F, Stary’ F. Pflanzen fuer die natuerliche Schoenheit. Werner DauSilen-
Hanau. 1983.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
7. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 334.
8. Vermeulen N. Encyclopaedia of herbs. The Netherlands: Rebo Productions Ltd., 1999: 161.
9. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 377.
-128-
-129-

วอลนัท (Juglans regia L.)


-129-

ชื่อสามัญ (Common or English name) Willow, วิลโลว


:
ชื่อไทย (Thai name) -:
ชื่อทองถิ่น (Local names) :Rose Bay Willow, Fireweed (1,3),
Schmalblaettriges, Feuerkraut (2)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Epilobium angustifolium L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Chamaenerion augustifolium, Epilobium
gesneri, E. persicofolium, E. salicifolium, E.
spicatum, Lysimachia chamaenerion (2)
วงศ (Family) : Onagraceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พืชลมลุกอายุหลายป สูงไดถึง 2 ม. มีเหงา ลําตนตั้งตรงแข็งแรงผิวเกลี้ยงหรืออาจปกคลุมดวยขน
หรือตอมขน ใบเรียงสลับ รูปหอกแคบยาว 3-6 นิ้ว ดอกออกเปนชอเชิงลด (spike) ดอกยอยมีขนาดใหญ
กลีบดอก 4 กลีบ บานจากดานลางขึ้นดานบน ผลยาว 1-7 ซม. สีเขียว มีเมล็ดจํานวนมาก เมล็ดมีขนคลาย
ไหม (6,9)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
พบทั่วไปในยุโรป เอเชีย อาฟริกา อเมริกาเหนือ ออสเตรเลีย กรีนแลนด คานารี (2) ทาสมาเนีย
และนิวซีแลนด (1) เปนพืชชนิดแรก ๆ ที่เจริญเติบโตหลังจากเกิดไฟไหม (6)

สรรพคุณพื้นบาน :
สวนเหนือดิน บรรเทาอาการกระเพาะอาหาร-ลําไสผิดปกติ และแผลในปาก ชาวพื้นเมืองอเมริกัน
ใชรัก ษา rectal bleeding จีน ใชรักษาอาการประจําเดือ นผิด ปกติ นอกจากนี้น้ํ าคั้ น ใชภ ายนอกมีคุ ณ
สมบัติสมานแผลไดดี
รากและใบนํามาทํายาพอกรักษาแผลและรักษาโรคขออักเสบ (7)
ตําราสมุนไพร (2) ใชสวนเหนือดินเปนยาภายใน บรรเทาอาการปสสาวะขัดที่เนื่องมาจากตอมลูก
หมากโต ซึ่งไดมีศึกษาทางคลินิก สรรพคุณพื้นบาน ใชบรรเทาอาการกระเพาะอาหาร-ลําไสอักเสบ และ
แผลที่เยื่อบุ (mucous membrane) นอกจากนี้ใชสมานแผล (2)

สวนที่ใช :
-130-

สวนเหนือดิน(herb), ราก (1,3)

องคประกอบทางเคมี :
สวนเหนือดินซึ่งเก็บเกี่ยวในชวงเวลากอนออกดอกเล็กนอย และนํามาทําใหแหง ประกอบดวย
ฟลาโวนอยดประมาณ 1.5%, กลัยโคไซดของฟลาโวนอล (แคมเฟรอล, มัยริเซติน และเคอรเซทิน) ลิวโค
แอนโทไซยานิน แทนนิน (ประมาณ 12%) สารผสมของ polygalloyl glucose และ allagitannin, เล็คติน,
สเตี ยรอล (β-sitosterol และอนุ พั น ธเอสเตอร) กรดไทรเทอรป น ส (1.5%) เชน oleanolic acid, ursolic
acid และอนุพันธ (2)
รากซึ่งเก็บเกี่ยวขณะมีดอกและทําใหแหง ประกอบดวย สารตางๆ เชนเดียวกับสวนเหนือดินและ
สารอื่นๆ ไดแก เพคติน และสารเมือก

OH

OH

O
OH
OH
O O
HO CH2
O
O O O
O
HO OH
O
O
O
OH
HO OH
OH OH
OH

OH OH

pentagalloyl-β-D-glucose
(gallotannin)
มีคุณสมบัติตานไวรัส HIV

สารสกัด :
สารสกัดจากสวนเหนือดินของ Epilobium angustifolium L.
-131-

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
เปนสวนผสมในเครื่องสําอางใชบํารุงผิว (1)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
สารสกัดน้ําจากสวนเหนือดิน ใชรักษาอาการตอมลูกหมากโต (benign prostate hyperplasia) มี
ฤทธิ์ ต า นการอั ก เสบ สารสกั ด เอทานอลจากพื ช สดมี ผ ลต า นเชื้ อ จุ ล ชี พ ได แ ก Pseudomonas
pyocyanea, Candida albicans, Staphylococcus albas และ S. aureus นอกจากนั้ น ยั งพบฤทธิ์ ต า น
เนื้องอก (Tumor) ที่ปลูกถายในหนูทดลอง (1) น้ําตมรากมีฤทธิ์ฝาดสมานลําไสรักษาอาการทองเสีย ใบใช
พอกแผลในปาก ขี้ผึ้งที่เตรียมจากใบใชรักษาผิวหนังอักเสบในเด็ก (8)

ขอควรระวัง :
มีรายงานวายาชงจากใบอาจทําใหมึนเมาได (1)

เอกสารอางอิง :
1. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 818-9.
2. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
3. Morri ‘s R. Plants for a future, The Field Penpol, Logtwithiel, Cornwall, PL 22 ONG, UK.
4. Weiss RF. Weiss’s Herbal Medicine. New York: Georg Thieme Verlag, 2001: 256.
5. http://www.borealforest.org
6. http://www.botanical.com
7. http://www.collection.ic.gc.cal
8. http://www.nutritionfocus.com
9. http://www.rook.com
-132-

Willow (Epilobium angustifolium L.)


-133-
-133-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Wintergreen, วินเทอรกรีน


ชื่อไทย (Thai name) : ตนน้ํามันระกํา
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Checkerberry, Teaberry, Gaultheria oil, Boxberry,
Deerberry, Mountain tea, Canada tea,
Americanishes Immergruen (5) Partridgeberry
(2,4,7)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Gaultheria procumbens L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Gaultheria humilis (5)
วงศ (Family) : Ericaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Wintergreen (Gaultheria procumbens) Extract (9)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ตนน้ํามันระกํามีสีเขียว ลําตนตั้งตรงผอม สูงประมาณ 15 ซม. เจริญเติบโตดีภายใตไมยืนตน
และไมพุม ใบคลายแผนหนัง รูปไข ยาว 3-5 ซม. ดอกเดี่ยวยาวประมาณ 7.5 มม. ออกจากใตใบ สี
ขาวหรือชมพู รูประฆัง ผลมีกลีบเลี้ยงขนาดใหญ ผลสดสีแดง มีเมล็ดสีขาวจํานวนมาก (4)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนพืชที่มีถิ่นกําเนิดจากอเมริกา และชายฝงแอตแลนติกของแคนาดา จนถึงจอรเจีย คาโรไลนา
อะลาบามา (4,5)

สรรพคุณพื้นบาน :
ตนน้ํามันระกํามีสรรพคุณฝาดสมาน เปนพืชที่มีกลิ่นหอม มีฤทธิ์ตานการอักเสบ ขับปสสาวะ
และขับเสมหะ ชาชงจากใบตนน้ํามันระกําใชแกไข ปวดศีรษะ ปวดทอง และความผิดที่ไต ใชทาภายนอก
เพื่อรักษาโรครูมาตอยดและปวดกลามเนื้อ สรรพคุณ แผนโบราณใชบรรเทาอาการหอบหืดและเปนยา
ฆาเชื้อ (1,4,7)
ตํารายาสมุนไพรของเยอรมัน (HAB 1) ใชพืชสด ในอาการผิดปกติเกี่ยวกับระบบประสาทสวน
ปลาย การทรงตัวและการเคลื่อนไหว (5)
ในอเมริกาเหนือซึ่งเปนถิ่นกําเนิดของตนน้ํามันระกํา ใชสมุนไพรนี้เปนยากระตุน (aromatic
stimulant) และยาบํารุง (tonic) มานานแลว (5)

สวนที่ใช :
-134-

ใบ น้ํามันจากใบ (1)

องคประกอบทางเคมี :
ในตนน้ํามันระกํา ประกอบดวยน้ํามันระกํา (wintergreen oil) ปริมาณน้ํามันที่ไดจากใบ 0.55-
0.8% ซึ่งประกอบดวยเมทิลซาลิไซเลท (methyl salicylate), อารบิวติน (arbutin), กัวเทอริน (gaultherin)
หรือเรียกวาเมทิลซาลิไซเลท-พริมเวโรไซด (methylsalicylate-primveroside) หรือโมโนโทร พิโทไซด
(monotropitoside) ซึ่งจะถูกไฮโดรไลซดวยเอนไซมเปนเมทิลซาลิไซเลท, เอริโคลิน (ericolin), แทนนิน,
กัม, เรซิน, สารเมือก, ขี้ผึ้ง (wax) นอกจากนั้นยังมีกลูโคส (D-glucose) และไซโลส (D-xylose ) (2,4-6)
น้ํามันระกํา ประกอบดวยเมทิลซาลิไซเลท (96-99%), ไทรอะคอนทาน (triacontan), เอสเตอร
แอลกอฮอล, คีโตนเล็กนอย

O OCH3
C

OH

methyl salicylate

สารสกัด :
Wintergreen (Gaultheria procumbens) extract เปนสารสกัดที่ไดจากใบของวินเทอรกรีน
Gaultheria procumbens (10)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ปจจุบันนิยมใชในผลิตภัณฑพวก aromatharapy ผลิตภัณฑนวดผิวกาย น้ํามันวินเทอรกรีนสามารถ
ใชทดแทนน้ํามันสวีทเบิรค (sweet birch oil) หรือสารเมทิลซาลิไซเลทและใชในอุตสาหกรรมน้ําหอม (7,9)
ใชในยาสีฟน น้ํายาบวนปากและใชบาํ รุงผม ( 6 )

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
-135-

U.S. Pharmacopoeia (1820-94) ระบุวา ใบตนน้ํามันระกําและน้ํามันระกําเปนแหลงสําคัญของ


สารเมทิลซาลิไซเลท ซึ่งมีฤทธิ์ตานการอักเสบคลายกับแอสไพริน ปจจุบันเมทิลซาลิไซเลทไดจากการ
สังเคราะห (1,3)
การรับประทานน้ํามันระกําขนาดนอยชวยกระตุนการยอยและการหลั่งสารจากกระเพาะอาหาร ใช
ภายนอกเปนยาถูนวด (counterirritant) และเปนยาชาเฉพาะที่ ใชทาแกอาการปวดขอและกลามเนื้อ ยาชง
จากใบชวยขับเสมหะและขับปสสาวะ (2,9)
ใบมีสรรพคุณเปนยาฆาเชื้อ, ขับลม, ยาบํารุง (tonic) และใชในรูปชาชง (6) น้ํามันระกําใช รับ
ประทานและทาภายนอก บรรเทาอาการปวดขอ, ฆาเชื้อ และใชในอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม และน้ําหอม
ขอควรระวัง :
มีรายงานวาการรับประทานน้ํามันระกํา 4-10 มล. ทําใหอาเจียน ตับ ไตถูกทําลาย และเสียชีวิต
ไมควรใชในผูที่แพแอสไพริน (1,2,8) ไมควรใชในเด็ก

เอกสารอางอิง :
1. Bown D. Encyclopedia of Herb & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 286.
2. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2001:
626.
3. Duke J.A. Handbook of edible weeds. CRC Press. INC., 1992: 102-3.
4. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 820-1.
5. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
6. Krochmal C. A guide to natural cosmetics. Quadrangle / The New York times book
company., 1973: 214.
7. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 512.
8. Tisserand R, Balacs T. Essential Oil Safety: A Guide for Health Care Professionals. Glasgow:
Bell and Bain Ltd, 1995: 54-5.
9. Vermeulen N. Encyclopaedia of herbs. The Netherlands: Rebo Productions Ltd., 1999: 133.
10. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 767.
-136-
-137-

วินเทอรกรีน (Gaultheria procumbens L.)


-137-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Night blooming jasmine, ไนท บลูมมิ่ง จัสมิน
ชื่อไทย (Thai name) : กรรณิการ
ชื่อทองถิ่น (Local names) : ก ณิ ก าร ก รณิ ก าร ส ะบั น งา Coral jasmine, Night
jasmine, Harsinghar (1-3)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Ncytanthes arbor – tristis L.
ชื่อพอง (Synonyms) : -
วงศ (Family) : Verbenaceae (3)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไม พุ ม สู งได ถึ ง 15 ม. กิ่ งรูป สี่ เหลี่ย ม เปลือ กหยาบและมี ขนแข็งสี ขาว ใบเดี่ ยว เรีย งตรงข าม
ใบสากรูปไขหรือรูปหอก ดอกออกเปนชอที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง กลีบดอกสีขาว มีกลิ่นหอม โคนกลีบ
ดอกเปนหลอดสีสมแดง ผลแบนรูปไขกลับ ปลายมีติ่งแหลม เมื่อแหงแตกได 2 ซีก (1,2)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
อินเดีย (1) ปากีสถาน ศรีลังกา และชวา (3)

สรรพคุณพื้นบาน :
ในตําราสมุนไพรของเยอรมัน (HAB) ใชใบสดแกทองผูกในเด็ก บรรเทาอาการเกี่ยวกับน้ําดี (3)
ยาพื้นบานในเอเซีย ใชใบและดอกเปนยาฆาเชื้อ
ราก : แกอุจจาระเปนพรรดึก บํารุงธาตุ บํารุงผิวหนังใหสดชื่นสดใส แกไอ สําหรับสตรี
คลอดบุตรใหมๆ บํารุงกําลัง แกผมหงอก แกออนเพลีย
ตน : แกปวดศีรษะ แกไข แกไอสําหรับสตรีคลอดบุตรใหมๆ
ใบ : บํารุงน้ําดี ขับน้ําดี แกไอ แกปวดตามขอ เปนยาระบาย เปนยาขมเจริญอาหาร แก
ตานขโมย แกปวดทอง แกไข แกไขจับสั่นชนิดจับวันเวนวัน
ดอก : แก ไข แก ล มวิ งเวี ย น บํ า รุ งหั วใจ แก พิ ษ ทั้ งปวง แก โลหิ ต ตี ขึ้ น แก ไข ผ อม
เหลือง แกตาแดง (2)
เมล็ด : นํามาบดกับน้ํามันมาสตาด (mustard oil) ใชขจัดรังแค (4)

สวนที่ใช :
ราก, เปลือกตน, ใบและดอก (1)
-138-

องคประกอบทางเคมี :
ใบและดอกมีน้ํามันหอมระเหย, สารสีแดงชื่อนิคแทนทิน (nyctanthin), โลกานิน (loganin)(2,3)
อารบอรไซด เอ (arborside A), อารบอรไซด บี (arborside B), อารบอรไซด ซี (arborside C),
อารบอรทริสโตไซด เอ (arbortristoside A), อารบอรทริสโตไซด บี (arbortristoside B), อารบอรทริสโต
ไซด ซี (arbortristoside C), อารบอรทริสโตไซด ดี (arbortristoside D), อารบอรทริสโตไซด อี
(arbortristoside E), กรดนิคแทนทิก (nyctanthic acid), กรดโอเลียโนลิก (oleanolic acid), เบตา-ซิโต
สเตียรอล (β-sitosterol), แอสตากาลิน (astragalin), สารสีเหลืองซึ่งเปนคาโรทีนอยดที่ละลายน้ําได มี
ชื่อวา โครซิน (crocin)(2)

O OCH3
H
HO

H O
CH2OH H H
O CH3 H
HO
HO O
OH

loganin
(iridoid glucoside)

สารสกัด :
น้ํามันหอมระเหยจากดอก

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
น้ํามันหอมระเหยจากใบและดอกใชทําน้ําหอม (1,3)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
มี ฤทธิ์ ต านมาลาเรีย, ต านปรสิ ต Leishmania, ขั บ พยาธิ , ต านเชื้ อบิ ดมี ตั ว, ต านรา, บรรเทาการ
อักเสบ, แกปวด, ตานไวรัส และฆาแมลง (2) เปนยาอายุวัฒนะ แกไขลมวิงเวียน สารสีแดงใชยอมผาไหม (3)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน
-139-

เอกสารอางอิง :
1. คณิตา เลขะกุล และคณะ. ไมดอกและไมประดับเฉลิมพระเกียรติ. บริษัท ดานสุทธาการพิมพ จํากัด.,
2536: 129.
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชา
ชน จํากัด, 2542: 6-8.
3. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen.
Spektrum Akademischer Verlag Heidelberg, 1999.
4. Schultes R.E. & Reis S.V. Ethnobotany evolution of a discipline.
Dioscorides, Portland oregon., 1995: 70.

กรรณิการ (Ncytanthes arbor – tristis L.)


-140-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Boesenbergia, เบอเซนเบอรเกีย


ชื่อไทย (Thai name) : กระชาย
ชื่อทองถิ่น (Local names) : กะแอน จี๊ปู ซีพ เปาะซอเราะ เปาสี่ระแอน วานพระ-
อาทิตย ขิง ทราย ระแอน (2,3)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Boesenbergia pandurata (Roxb.) Schlechter
ชื่อพอง (Synonyms) : Boesenbergia rotunda, Gastrochilus panduratus,
Kaempferia pandurata (8)
วงศ (Family ) : Zingiberaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พื ชล มลุ ก มีลําต น ใตดิ น เรียกวาเหงา มีรากติ ด เป น กระจุกเป น ที่ สะสมอาหาร รูปทรงกระบอก
ปลายเรียวแหลม ผิวสีน้ําตาลออน เนื้อสีเหลืองมีกลิ่นหอมยาว 6-10 ซม. สวนที่อยูเหนือดินประกอบดวย
โคนกานใบที่เปนกาบหุมซอนกันสูง กาบใบมีสีแดงเรื่อๆ ใบเดี่ยวออกสลับรูปรีปลายแหลม โคนแหลมหรือ
มน ขอบเรียบ ดอกออกเปนชอที่ยอดชอดอกมีใบประดับเรียงทะแยงกันสีมวงแดง ดอกสีขาวหรือขาวอม
ชมพูโดยจะทยอยบานทีละ 1-2 ดอก จากปลายชอสูโคน (1,3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต จีน ชอบพื้นที่ชื้นตามชายปา (1,8)

สรรพคุณพื้นบาน :
เหงา : แกทองอืด ทองเฟอ จุกเสียด ปวดทอง เจริญอาหาร (stomachic) และเปนยาบํารุง
(8) แกบิด บํารุงกําลัง แกกลากเกลื้อน ขับปสสาวะ แกโรคในปาก แกไอเรื้อรัง
แกออนเพลีย แกปวดเมื่อย กระตุนหัวใจใหเตนสม่ําเสมอ ขับระดู นอกจากนี้ยังใช
แตงกลิ่นอาหาร (1,3)
ใบ : แกแผลในปากและคอ แกโลหิตเปนพิษ ถอนพิษตางๆ บํารุงธาตุ แกปากเหม็น
แกโลหิตระดูสตรี (3)

สวนที่ใช :
เหงาใตดินและราก (1,5)
-141-

องคประกอบทางเคมี :
ในเหงามี น้ํ ามั น หอมระเหย (volatile oil) ประมาณ 0.06-0.32% ซึ่งมี ซิ นี อ อล(cineol) ประมาณ
25%, เม ทิ ล ซิ น น า เม ท (methyl cinnamate) ป ร ะ ม า ณ 4%, แ ค ม เฟ อ ร (campher), borneol
boesenbergin A, dl-pinostrobin, camphor (1,3,5,8)

H3C CH3
O

CH3

1,8-cineol (eucalyptol, cajeputol)


มีคุณสมบัติขับพยาธิ ขับเสมหะ และฆาเชื้อ นอกจากนี้ใชไลแมลงสาบ และแตงกลิ่น

สารสกัด :
น้ํามันหอมระเหย (volatile oil) จากเหงาและราก (1)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ใชแตงกลิ่น เปนสวนผสมในน้ําหอม ทําความสะอาดผิว (3,5)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
1. แกทองอืด ท องเฟ อ ชวยขับ ลม โดยสารสําคัญ ในน้ํ ามั น หอมระเหยเปน ตัวออกฤทธิ์ทําให
กระเพาะอาหารและลําไสเคลื่อนไหวดีขึ้น
2. แกทองรวง ทองเดิน ที่ไมไดสาเหตุจากบิดหรืออหิวาต
3. อื่นๆ เชน คลายกลามเนื้อเรียบ ตานรา ตานแบคทีเรีย เชน Bacillussubtitis แบคทีเรียใน
ลําไส แบคทีเรียที่ทําใหเกิดหนอง ยับยั้งเนื้องอก แกไข ลดการอักเสบ ละลายนิ่ว ชวยให
เจริญอาหาร ( 3, 5)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
-142-

1. คณิตา เลขะกุล และคณะ. ไมดอกและไมประดับเฉลิมพระเกียรติ. บริษัท ดานสุทธาการพิมพ จํากัด.,


2536: 280.
2. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 78-79.
3. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (1). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 22-23.
4. พรอมจิต ศรลัมพ. รุงระวี เต็มศิริฤกษกุล. วงศสถิตย ฉั่วสกุล. อาทร ริ้วไพบูลย. สมุนไพรและยาที่ ควร
รู. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ อาร ดี พี, 2532: 111-2.
5. ยุวดี จอมพิทักษ. รักษาโรคดวยสมุนไพร. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพหอสมุดกลาง 09, 2541: 154.
6. วันดี กฤษณพันธ. สมุนไพรนารู. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ จุฬาฯ, 2541: 97-8.
7. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
8. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
-143-

กระชาย (Boesenbergia pandurata (Roxb.) Schlechter)


-143-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Sweet acacia, สวีท อะเคเซีย


ชื่อไทย (Thai name) : กระถินเทศ กระถิน กระถินหอม คําใต ดอกคําใต
ถิ น บุ ห งาเซี ย ม บุ ห งาละสะมะนา บุ ห งาอิ น โดนี เซี ย
มอนคํา (1)
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Huisache, Pepinae absolute, Fragrant acacia,
Sponge tree, Cassie (1,7), Cassiestrauch (5)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Acacia farnesiana (L.) Willd
ชื่อพอง (Synonyms) : Mimosa farnesiana L., Vachellia faresiana (L.)
Wight & Arn.
วงศ (Family) : Fabaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Acacia extract (7)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมพุมผลัดใบ กิ่งกานมีขนและหนาม ใบเปนใบประกอบ ใบยอยเรียงตรงขาม ปลายใบแหลม
ใบมีขนทั้งดานหนาและหลัง ดอกชอสีเหลือง-สม มีกลิ่นหอม มีใบประดับ ดอกเปน head ออกเปน
กระจุกที่ซอกกิ่ง ไมมีกานดอก ทั้งกลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีขน ผลเปนฝกสีน้ําตาล ยาว 5-9 ซม. เมื่อแหงจะ
แตกออก มีเมล็ด 7-8 เมล็ด (1)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
กระถินเทศเชื่อวาเปนไมเกาแกของโลก พบในหมูเกาะอินเดียตะวันตก (5) ปจจุบันไดแพรกระจายและเพาะปลูก
อยูใตเสนศูนยสูตร และพบไดทั่วไปในทางเหนือของชายฝงเมดิเตอรเรเนียน ตลอดถึงเสนศูนยสูตร ในประเทศอินเดีย
มักพบขึ้นอยูเปนกลุมบนพื้นดินรวน ดินปนทราย ดินแมน้ํา ตลอดทั้งประเทศและมักจะปลูกเปนไมสวน (6)

สรรพคุณพื้นบาน :
อายุรเวท ใชเปลือกตนและเนื้อไมทดแทน Acacia catechu รักษาโรคเรื้อน บาดแผลหอบหืด
เบื่ออาหาร และกระเพาะอาหารอักเสบ (6) เปลือกตนมีฤทธิ์ฝาดสมานเตรียมเปนยาตมใชรักษาอาการ
ป สสาวะม าก (polyurea) (6) ด อกใช ล ด การบี บ ตั วของลํ า ไส (antispasmodic) กระตุ น กํ า ห นั ด
(aphrodisiac) (2) และฆาแมลง ยาชงและผสมน้ําอาบใชรักษาโรคผิวหนัง อินเดียใชใบออนตมกับน้ํารักษา
โรคหนองใน (gonorrhea) รากใช เคี้ ยวรักษาอาการเจ็บ คอ (2) ยางไม ใชเป น ยาบํ ารุงกํ าลั งและกระตุ น
กําหนัด (6) และเมื่อนํายางไมแหงมาบด (2) เปนผงใชรักษาอาการทองรวง (diarrhea) ในเวเน-ซูเอลา
(Venenzuela) มีรายงานการใชรากรักษามะเร็งกระเพาะอาหาร จีนใชรักษาโรคขออักเสบ (rheumatoid
-144-

arthritis) วัณโรคปอด (tuberculosis) (2,3) ในเม็กซิโกใชกิ่งและเปลือกไมตมรักษาอาการปวดฟน (7) ในยุ


โรปใชดอกเพื่อกระตุนกําหนัด (7) ในอียิปตใชผลแหงชงดื่มรักษาโรคเบาหวาน (diabetes mellitus) และ
ใชสวนเมล็ดและผล (pod) เปนยาคุมกําเนิด (7)

สวนที่ใช :
ดอก, เปลือกตน

องคประกอบทางเคมี :
กระถินเทศประกอบดวยน้ํามันหอมระเหยประมาณ 25% ซึ่งประกอบดวยสารสวนใหญ คือ เบน
ซิลแอลกอฮอล (benzyl alcohol) (1,2) ซาลิไซเลท (salicylate) ฟารเนซอล (farnesol) และเจอรา นิรอล
(geraniol) (4) และมีสารสวนนอยอีกกวา 40 ชนิด ไดแก อัลฟาไอโอโนน (α-ionone) เจอรานิลอะซีเตท
(geranyl acetate) ลินาลิลอะซีเตท (linalyl acetate) เนโรลิดอล (nerolidol) ไดไฮโดรแอคทินิ ไดโอไลด
(dihydroactinidiolide), cis-3-methyl-dec-3-en-1-ol, cis-3-methyl-dec-3-en-oic แ ล ะ trans-3-
methyl-dec-4-en-oic ซึ่งเปนสารสําคัญที่ใหกลิ่นหอม (2,3) สวนประกอบที่ไมระเหยมีประมาณ 75% เปน
ของเหลวที่มีน้ําหนักโมเลกุลสูง เชน ไฮโดรคารบอน (hydrocarbons) และขี้ผึ้ง (waxes)(2,3) นอกจากนี้มี
สารประกอบอื่น ๆ เชน เบนโซอิกอัลดี ไฮด (benzoic aldehyde) กรดเจนโคลิก (djenkolic acid) เอนจี
นอล (engenol) แทนนิน (tannins) และนารินเจนิน (naringenin หรือ 5,7,4′-trihydroxyflavanone) (4)

O O
HO
OH
OH
CH2 S CH2 S CH2 H
H
NH2 NH2

benzyl alcohol L-djenkolic acid

สารสกัดอะคาเซีย (Acacia extract) :


เปนสารสกัดจากลําตนและดอกของ Acacia farnesiana Willd. (7)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
-145-

แคเซีย แอบโซลูท (Cassie absolute) เปนสารสกัดแอลกอฮอลจาก concrète concrète เตรียม


โดยการสกัดน้ํามันหอมระเหยจากดอกกระทินเทศดวยเปโตรเลียมอีเทอร ใชเปนสวนประกอบของเครื่อง
หอม ในน้ําหอมราคาแพงบางชนิด (2) เปนวัตถุดิบที่มีคาในน้ําหอม
สารสกัดจากดอกหรือเปลือกตนมีคุณสมบัติทําความสะอาดผิว

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
เพิ่มอัตราและความแรงในการเตนของหัวใจ ตานแบคทีเรีย ตานยีสต ตานรา ลดน้ําตาลในเลือด
ตานเชื้อมัยโคแบคทีเรียม (Mycobacterium) เสริมฤทธิ์ยานอนหลับ ลดความดันโลหิต คลายกลามเนื้อ
เรียบ ลดการอักเสบ ขยายหลอดลม ทําใหหลอดเลือดคลายตัว ยับยั้ง trypsin บรรเทาอาการระคาย
เคือง อักเสบ ลดไข กระตุนกระเพาะปสสาวะ (urinary stimulant)
ในดานอาหารใชสารสกัดอะคาเซียในรูปแอบโซลูทแตงกลิ่น (fruit flavors) ผลิตภัณฑอาหาร รวม
ถึงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลและไมมีแอลกอฮอล ขนมหวานประเภทนมแชแข็ง ลูกอม ผลิตภัณฑขนมปง
และ เจลาตินกับพุดดิ้งสโดยใชอยางมากที่สุดไมเกิน 0.002% (2)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน(1). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2543: 50-1.
2. Albert YL, Steven F. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nd ed. New York: John Wiley&son Inc., 1996: 131-2.
3. D’ Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic desk reference. New York: CRC Press, 1999:
151-2.
4. Harborne JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary A Handbook of Bioactive
Compounds from Plants. UK, 1999: 420.
5. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Anzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer
Verlag Heidelberg, 1999.
6. Parrotta JA. Healing Plants of peninsular India. Singapore: MRM Graphics Ltd., 2001: 349.
7. Wenninger JA, McEwen GN,Jr. CTFA Cosmetic Ingredient Handbook, Second Edition.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, 1992: 1.
-146-
-147-

กระถินเทศ (Acacia farnesiana (L.) Willd)17


-147-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Bitter cardarmom, บิตเตอร คารดามอม


ชื่อไทย (Thai name) : กระวาน
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Sharp - leaved galangal, Yashi (3), Yakuchi, Yizhi
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Alpinia oxyphylla Miq. (3)
ชื่อพอง (Synonyms) : -
วงศ (Family) : Zingiberaceae (3)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Cardamom oil

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พืชลมลุกอายุหลายป สูง 1-3 ม. ลําตนเหนือดินมีใบรูปหอกหอหุม ใบมีขนาดยาว 17-33 ซม.
กวาง 3-6 ซม. ดอกชอ (inflorescence) แบบ raceme ออกที่ยอด กลีบเลี้ยงมีขนปกคลุม กลีบดอกสีขาว
มีขีดสีแดงซึ่งเปนทอลําเลียงของกลีบดอก ผลเปนแคปซูลรูปไข เปลือกผลสีน้ําตาลเขม มีรองหรือสัน
ตามยาวประมาณ 18 รอง เมล็ดเชื่อมติดกัน ผลมีกลิ่นออนๆและรสขม คลายมดยอบ (myrrh) (1,3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
พบในประเทศจีน เจริญเติบโตไดในเขตรอนที่ชุมชื้น (3)

สรรพคุณพื้นบาน :
ยาจีนใชบิตเตอร คารดามอม บํารุงธาตุ เจริญอาหาร บรรเทาอาการกลั้นปสสาวะไมอยู น้ําอสุจิ
เคลื่อน ขนาดที่ใช 3-6 ก. (3)

สวนที่ใช :
- ผล
- สารสกัดจากผลแหง
- น้ํามันหอมระเหยจากผล

องคประกอบทางเคมี :
ในผลมีเซสควิเทอรปนส คือ นูทคาโทน (nootkatone), นูทคาทอล (nootkatol) (1) และกวัยอะคอล
(guaiacol) ใชภายนอกเพื่อรักษาโรคผิวหนัง ปจจุบันใชขับเสมหะ (2)

OH

OCH 3
-148-

guaiacol
(2-methoxyphenol) (2)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
น้ํามันหอมระเหยจากผลใชแตงกลิ่นผลิตภัณฑ สารสกัดจากผลใชเปนสวนผสมในผลิตภัณฑทํา
ความสะอาดและบํารุงผิว

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
ยับยั้งการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร ลดการขับปสสาวะ (3) เพิ่มจํานวนและการเคลื่อนไหวของ
สเปรม (1) ยับยั้งการเกิดเนื้องอก ยับยั้งเอนไซมไทโรซิเนส (tyrosinase) ตานไวรัส (virus-herpes type-
1)
มีรายงานจากการศึกษาสรรพคุณของพืชสกุล Alpinia พบฤทธิ์ตานเชื้อรา ฤทธิ์ตานการเกิดแผลใน
กระเพาะอาหาร กระตุนหัวใจ ลดความดันโลหิต ตานการแข็งตัวของเลือด (1) ตานการเกิดเนื้องอกและ
ตานการทําลายการสังเคราะห prostagladin (1)
ในสวนของ Alpinia oxyphylla นั้นพบฤทธิ์ปองกันการทําลายเนื้อเยื่อกระเพาะอาหารได 57% เมื่อ
ศึกษาในหนู คาดวาเนื่องมาจากสาร sesquiterpenois ที่พบ คือ nootkatone สวนสาร guaiacol เปนสารที่
ชวยกระตุนการทํางานของหัวใจ ผลของ A. oxyphylla หรือที่เรียกวา Alpinia fructus พบฤทธิ์ตานการขับ
ปสสาวะ ตานการเกิดแผลในกระเพาะอาหารและตานการเกิดภาวะความจําเสื่อม เมื่อศึกษาในหนู (1)
สารสกัดจากผลแหงดวยน้ํารอนรักษาโรคระบบทางเดินอาหาร (gastrointestinal disorders)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2000:
25-6.
2. Harborne JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd.ed. Taylor&Frencis Ltd. 1999:
502.
3. World Health Organization Regional Office for Western Pacific Manila. Medicinal plants
in China. 1997: 23.
-149-
-150-

กระวาน (Alpinia oxyphylla Miq.)


-150-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Banana, บานานา


ชื่อไทย (Thai name) : กลวย
ชื่อทองถิ่น (Local names) : กลวยไข กลวยหอม กลวยหักมุก กลวยเล็บมือ ยะไข
สะกุย (1,2,3), Banane, Pisang, Planten (6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Musa paradisiaca L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Musa acceminata
วงศ (Family) : Musaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Banana extract
Banana leaf extract (8)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พืชลมลุกอายุหลายป มีลําตนใตดิน ลําตนบนดินรูปทรงกระบอก เปนลําตนปลอม ซึ่งเกิดจาก
กาบใบหอหุมซอนกัน ใบออกเวียนสลับกัน รูปขอบขนาน ขนาดใหญ มีเสนใบจํานวนมาก ดอกออก
เปนชอหอยลง ดอกยอยแยกเพศ รองรับดวยใบประดับขนาดใหญสีมวงแดง ผลสดรูปทรงกระบอกหรือ
สี่เหลี่ยมอยูเรียงกัน (3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
ทรินิแดด จาไมกา (4) เอเซียตะวันออกเฉียงใต มีการเพาะปลูกในเขตรอนและกึ่งเขตรอน (6)

สรรพคุณพื้นบาน :
ราก : แกไขรากสาด แกไขตัวรอน ขับน้ําเหลืองเสีย แกทองเสีย
เหงา : ตําปนทาทองนอยคนคลอดบุตร ทําใหรกลอกภายหลังการคลอดบุตร
ตน : ทากันผมรวง และทําใหผมขึ้น
ใบ : รักษาโรคทองเสีย หามเลือด แกบิด แกผื่นคันตามผิวหนัง
ดอก : รักษาโรคเบาหวาน
ผล : บํ ารุ งกํ าลั ง บํ ารุ งเลื อ ด บํ ารุงเนื้ อ หนั ง เป น อาหาร หล อ ลื่ น ยาระบาย รัก ษา
อาการอาหารไม ยอ ย ท อ งขึ้น มี ก รดมาก สมานแผล แก บิ ด มู ก เลื อ ด แก บิ ด
แกทองรวง แกทองอืดเฟอ
ผงกลวย : เตรียมโดยนํากลวยดิบมาฝานเปนแผน ทําใหแหง และบดเปนผง มีสรรพคุณ
พื้นบานใชบรรเทาอาการผิดปกติเกี่ยวกับกระเพาะอาหาร ลําไส ทองอืด-เฟอ
และทองรวง (6)
-151-

เปลือกผล : แกริดสีดวง
ยาง : หามเลือด (3)

สวนที่ใช :
ตน ใบ ผล ยาง (1)

องคประกอบทางเคมี :
- ผลกล ว ยมี (-)-salsolinol (simple isoquinoline) มี คุ ณ สมบั ติ ต า นโดปามี น (5) ฮิ ส ตามี น , L-

noradrenaline, phenethylamine, 3,4- เบนโซไพรี น (3,4-benzopyrene), 5-ไฮดรอกซิ ท ริพ ตา


มี น (5-hydroxytryptamine ห รื อ serotonin), ค า ร โบ ไฮ เด ร ท (carbohydrate), ค า โร ที น
(carotene), วิตามินบี2(riboflavin), วิตามินบี1 (thiamine), แอสคอรเบท ออกซิเดส (ascorbate
oxidase), เอนไซม (enzyme), ไฮอะซิน (hiacin), กรดออกซาลิก (oxalic acid) (1,3)
- เปลือกกลวยมีโดปามีนปริมาณสูง (6-12 µmol ตอ ก.นน.สด) (5)

H OH H OH

CH2OH
H OH
H3C N N O

NH
H3C N
O

riboflavin, vitamin B2
เปน flavoprotein coenzyme ซึ่งจําเปนตอการ oxidation ของคารโบไฮเดรท
กรดอะมิโน อัลดีไฮด และสารอื่นๆ

สารสกัด :
Banana (Musa sapientum) Extract : เปนสารสกัดจากผลกลวย Musa sapientum
Banana (Musa sapientum) Leaf Extract : เปนสารสกัดจากใบกลวย Musa sapientum (8)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
เปนสวนผสมในเครื่องสําอางที่ใชบํารุงผิว (1)
-152-

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- ลดการบวม ลดโคเลสเตอรอล ทําใหอัตราการเตนของหัวใจชาลง (3)
- ใชหามเลือด และตานเชื้อแบคทีเรีย
- ชวยใหแผลหายเร็ว รักษาแผลน้ํารอนลวก (1)
- แปงกลวยไดจากเนื้อผลกลวย ใชเปนสารชวยในการตอกยาเม็ด (6)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. กิตติมา กิติศักดิ์ไชยกุล และฉวีวรรณ นุนสิงห. สมุนไพรที่ใชในเครื่องสําอาง. โครงการพิเศษ ปการ
ศึกษา 2538. คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล., 2538: 104.
2. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 368.
3. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (1). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 137-138.
4. Ayensu ES. Medicinal Plants of the West Indies. Michigan: Reference Publications, Inc.,
1981: 131.
5. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
7. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 195.
8. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 439,55-56.
-153-
-154-

กลวย (Musa paradisiaca L.)


-154-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Wild yam, ไวลด แยม


ชื่อไทย (Thai name) : กลอย
ชื่อทองถิ่น (Local names) : กลอยขาวเหนียว กลอยนก กลอยหัวเหนียว กอย กลอย
น ก มั น ก ล อ ย ค ลี้ Intoxicating yam, Nami, Wild
yam, Asiatic bitter yam (1,4,7)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Dioscorea hispida Dennst. (2)
ชื่อพอง (Synonyms) : Dioscorea hirsuta Blume, D. daemona Roxb.,
D. triphylla Blanco.
วงศ (Family) : Dioscoreaceae (2)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมเถา ลําตนกลม มีหนาม หัวใตดินมักกลม บางทีเปนพูหรือยาว สีฟางหรือเทาในเนื้อขาวหรือ
เหลืองออนอมเขียว เปนพิษ ใบเรียงสลับกัน มีใบยอย 3 ใบ ใบยอยใบกลางรูปรีหรือรีแกมขอบขนาน
ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบ โคนใบแหลม เสนใบเรียงตามยาว ดานลางตามเสนใบใหญๆ มีหนาม
ใบยอย 2 ขาง รูปไขหรือไขกลับหรือคอนขางเปนรูปหัวใจ ปลายแหลม โคนกลมสั้นกวาใบกลางมีเสนใบ
ตามยาว 4-6 เสน ใบออนดานบนมีขน ใบแกเกลี้ยง ดอกเล็ก สีเขียว ออกเปนชอตามงามใบ ดอกเพศผู
และเพศเมียอยูตางตนกัน ดอกเพศผูออกเปนชอซอน 2-3 ชั้น ดอกตั้งขึ้นมีใบประดับติดอยูที่ฐาน ลักษณะ
คลายถุง ปลายแหลม ดานนอกมีขน ดอกเพศเมียออกเปนชอชั้นเดียวเดี่ยวๆ ดอกชี้ลงดิน ผลรูปคลาย
น้ําเตาคอชะลูด กวางประมาณ 2 ซม. ยาว 5.5 ซม. ผิวเกลี้ยงสีน้ําผึ้ง มีปก เมล็ดมีปก (2,4)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มาเลเซีย ประเทศไทย (1,7)

สรรพคุณพื้นบาน :
ราก : บดใหละเอียด (โดยผสมกับน้ํามันมะพราว ใบยาสูบ ใบลําโพง หรือพริก)
ใชทาพอกแผล
หัวใตดิน (tuber) : หัวสดเปนพิษมาก ถาหั่นเปนแผนบาง ๆ แลวแชทิ้งเอาไวในทางน้ําไหลสัก
2-3 วัน ลางใหสะอาด ทําใหสุกแลวกินได น้ําตมหัวกินแกน้ําเหลือง-เสีย
ขั บ ป ส สาวะ แก ป วดตามข อ ฝ ม ะม ว ง ใช ร ว มกั บ หั ว ข า วเย็ น เหนื อ และ
-155-

ขาวเย็นใต รักษาโรคซิฟลิส เจริญอายุ แกไอ หัวสดใชใสแผลสด กัดฝา


กัดหนอง หั่นเปนแผนบางๆ ใชปดแกบวมอักเสบ (3,4)
หัวสด : ใชกัดฝา
ในเอเซียตะวันออกเฉียงใตใชพืชสกุล Dioscorea ฟอกแผลทําใหมีคุณภาพดีเพราะมีแทนนิน และ
ใช รับประทานเปนอาหาร โดยตองนําไปผานน้ํานานหลายวันเพื่อชะลางสารพิษ (กรดไฮโตรไซทนิก) และ
ผลึกคัลเซียมออกซาเลท (calcium oxalate) (6)

สวนที่ใช :
ราก ลําตนใตดิน (หัว, tuber) (8)

องคประกอบทางเคมี :
- ไดออสบัลบิน ดี (diosbulbin D)
- ไดออสคอรีน (dioscorine)
- 4-epidioscorine
- ไดออสเจนิน (diosgenin)
- พราซีริเจนิน เอ (prazerigenin A) (2)

CH3
N
O O

CH 3

dioscorine (9)

สารสกัด :
-

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
คุณสมบัติฝาดสมาน ชวยทําความสะอาดผิวและสมานผิว (6)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
-156-

กดระบบประสาทสวนกลาง กระตุนการหลั่ง 5-HT เพิ่มความดันโลหิตเพิ่มการหายใจ เปนพิษอาจ


ทําใหชักและตายได รักษาโรคขออักเสบ และปวดกลามเนื้อ (2, 8)

ขอควรระวัง :
อาจทําใหชักและตายได หากรับประทานมากเกินไป (2, 8)
- ตองนําไปแชใหน้ําไหลผานหลายวันกอนนําไปปรุงอาหาร
- น้ําจากหัวมีสีเหลือง ใชผสมกับ Antiaris toxicaria ทําเปนยาพิษอาบลูกศร
- ไดออสคอรีนเปนแอลคาลอยดที่มพี ิษคลายพิโครท็อกซิน (picrotoxin)

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 192-194.
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (1). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 138-194.
3. พรรณิ ภา ชุมศรีและคณะ. สวนนานาพฤกษสมุน ไพร. โครงการวิจัยและรวบรวมพั น ธุพืชสมุน ไพร
เภสัช-มหิดล, 2545: 168.
4. ลีนา ผูพัฒนพงศ. สมุนไพรไทย ตอนที่ 5. กรุงเทพฯ: ห.จ.ก.ชุติมาการพิมพ, 2530:592.
5. Ayensu ES. Medicinal Plants of the West Indies. Michigan: Reference Publications, Inc.,
1981: 93.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
7. McMAKIN PD. A Field Guide to the Flowering Plants of Thailand. Bangkok: White Lotus Co.,
Ltd., 1998: 70.
8. Quisumbing E. Medicinal Plants of the Philippines. Katha Publishing Co., INC. 1978: 180-1,
1027.
9. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 190.
-157-
-158-

กลอย (Dioscorea hispida Dennst.)


-158-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Arabica coffee, อะราบิกา คอฟฟ


ชื่อไทย (Thai name) : กาแฟ
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Arabica-Kaffee, Kaffeebaum (6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Coffea arabica L.
ชื่อพอง ( Synonyms) : Coffea laurifolia, C. mauritiana, C. valgaris,
lasminum arabicum laucifolia (6)
วงศ (Family) : Rubiaceae (1)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Coffee (Coffea arabica) bean extract
Coffee (Coffea arabica) extract
Coffee (Coffea arabica) oil (10)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมพุ มหรือไม ตน ขนาดเล็ก ใบสีเขียวเขม เปน มัน ออกตรงกัน ขาม มีหูใบอยูระหวางกานใบ
ดอกสีขาวออกที่ซอกใบกับลําตน จัดเรียงตัวเปนกระจุก ผลขนาดเล็กรูปรางคอนขางกลม ในผลหนึ่งมี
เมล็ดอยู 2 เมล็ด ผลสุกสีแดง (2)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
ถิ่นกําเนิดของกาแฟอยูในแถบภูเขาทางตะวันตกเฉียงใตของเอธิโอเปย มีการเพาะปลูกทั่วไปใน
เขตรอนและเขตกึ่งรอนชื้น เชน บราซิล เม็กซิโก โคลัมเบีย (5,6)

สรรพคุณพื้นบาน :
เมล็ด : กระตุนประสาทสวนกลาง กระตุนหัวใจ กระตุนไต ขับปสสาวะ กระตุนกลามเนื้อ (10)
เมล็ดกาแฟมีรสขม กลิ่นหอม มีฤทธิ์ขับปสสาวะ ใชภายในแกอาการคลื่นไส อาเจียน ใชถอนพิษ
ยานอนหลับ ใชภายนอกในผิวหนังที่ไหมและน้ํารอนลวก ในตํารายาพื้นบานใชกาแฟแกออนแรง เพิ่มกําลัง
ในโรคโลหิตจาง, ตับอักเสบและภาวะบวม อินเดียใชเมล็ดดิบแกไมเกรน แกไข เมล็ดสุกรักษาโรคทองรวง
กาแฟเขมขนใชรักษาอาการเมาจากกัญชาและแอลกอฮอล (3,5)

สวนที่ใช :
เมล็ด ซึ่งเอาเปลือกหุมเมล็ดออกและทําใหแหง (3,6)

องคประกอบทางเคมี :
-159-

กาแฟสีเขียว (green coffee) ประกอบดวยพิวรีนแอลคาลอยด ไดแก แคฟเฟอีน (caffeine) 0.6-


1.7% ที โอฟ ลลี นและที โอโบรมี นเล็ กน อยสารอื่ นๆ ได แก ทริโกเนลลี น (trigonelline); กรดคลอโรจีนิ ก
(chlorogenic acid 5.5-7.6%, อะแทรกไทลิเจนิน catractyligenin) ซึ่งเปน diterpene และกลัยโคไซด,
diterpene alcohols, น้ํามันกาแฟ (coffee oil) ประมาณ 15% เปนน้ํามันไมระเหย, คารโบไฮเดรต (กา
แลกโตแมนแนน), โปรตีน, กรดอะมิโน (กรดกลูตามิก, กรดแอสปาติก, แอสปาราจีน), โพลีอะมีน (พูเทรส
ซีน (putrescine), สเปอรมีน (spermine), สเปอรมิดีน (spermidine)), แทนนิน, วิตามินบี
น้ํามันกาแฟประกอบดวยกลีเซอไรดของกรดไขมัน (กรดลิโนเลอิก, กรดพัลมิติก, กรดโอเลอิก,
กรดสเตียริก) สควาลีน (squalene), โนนาโคเซน (n-nonacosane), ลาโนสเตียรอล (lanosterol), คา
เฟสตอล (cafestol), คาวีออล (cahweol), ซิโตสเตียรอล (sitosterol), สติ๊กมาสเตียรอล (stigmasterol), เม
ทิลสเตียรอล (methylsterols), วิตามินอี (tocopherols)
เมล็ดกาแฟที่อบแลวจะมีปริมาณคาเฟอีนนอยกวาเมล็ดกาแฟเมล็ดสด (เขียว) เล็กนอย และมี
ปริมาณทริโกเนลลีน, กรดคลอโรจีนิก, แทนนิน, โพลีอะมีน, โปรตีนและน้ําตาล นอยกวามาก เนื่องจาก
สารเหลานี้จะถูกทําลายและเกิดกลิ่นขึ้นระหวางการอบหรือทําใหแหง สารที่ทําใหกาแฟมีกลิ่นหอม ไดแก
ทริโกเนลลีน, น้ําตาล, กรดอะมิโนและเปปไทด นอกจากนี้กาแฟที่อบแลวจะมีปริมาณไนอะซินสูงขึ้นดวย (7)

O CH 3
H3C
N
N

O N N

CH 3

caffeine, C8H10N2O2 (8)

สารสกัด :
Coffee bean extract เปนสารสกัดจากเมล็ดกาแฟ
Coffee extract เปนสารสกัดจากเมล็ดและใบกาแฟ
Coffee oil เปนน้ํามันจากเมล็ดกาแฟ (10)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
คุ ณ สมบั ติ ฝาดสมานของกาแฟช วยทํ าความสะอาดและกระชับ ผิ ว เป น ส วนผสมในผลิต ภั ณ ฑ
ยอมผม
-160-

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
สารแคฟเฟอีนเปนสวนประกอบในผลิตภัณฑหลายชนิด เชน ยาแกปวดที่ใชภายใน, ยาลดไขและ
แกแพ ผลิตภัณฑควบคุมน้ําหนัก (7)
สารแคฟเฟอีนมีฤทธิ์กระตุนประสาทสวนกลาง กระตุนการหายใจและกลามเนื้อลาย นอกจากนั้น
ยังกระตุนการทํางานของหัวใจ การขยายตัวของหลอดเลือดโคโรนารี การคลายตัวของกลามเนื้อเรียบ ขับ
ปสสาวะ เพิ่มการหลั่งในกระเพาะอาหารและการปลดปลอยสารคาเทโคลามีน (catecholamine)
กาแฟชวยใหกระปรี่กระเปราขณะออนเพลียทั้งรางกายและจิตใจ
coffee charcoal มีแคฟเฟอีน 0.8-1% เปนเมล็ดกาแฟที่คั่วจนกลายเปนสีน้ําตาลดํา มีคุณสมบัติ
ดูดซับ (absorbent) และชวยฝาดสมานใชรักษาอาการทองรวง อาการอักเสบของเยื่อบุชองปากและคอ (6)
สารสกัดคาเฟอีนใชแตงกลิ่นและรสในผลิตภัณฑหลายชนิด เชน เครื่องดื่มที่มีและไมมีแอลกอฮอล,
ลูกอม, เจลาตินและพุดดิ้งส ปริมาณที่ใหใช คือ ไมเกิน 2.8%
แคฟเฟอีนเปนสารที่ใชกันมากในเครื่องดื่มไมมีแอลกอฮอล ปริมาณที่ใหใชมากที่สุด คือ 0.014%
(4,5,7,9)

ขอควรระวัง :
ปริมาณแคฟเฟอีนที่เปนอันตรายถึงแกชีวิต คือ 10 ก. ปริมาณแคฟเฟอีน 1 ก.หรือมากกวาทําให
เกิดอาการพิษ เชน ปวดศีรษะ คลื่นไส นอนไมหลับ ไมมีแรง ตื่นตัว กลามเนื้อสั่น หัวใจเตนเร็ว (7)
สตรีมีครรภควรหลีกเลี่ยงสารแคฟเฟอีน ไมควรไดรับปริมาณแคฟเฟอีนเกิน 300 มก./วัน (3
ถวย) มีรายงานวาบุตรของหญิงที่ดื่มกาแฟระหวางตั้งครรภอาจมีความผิดปกติในการนอนหลับ (5)

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 143.
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรพื้นบาน (1). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 225-31.
3. Bown D. Encyclopedia of Herb & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 264.
4. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2001:
667.
5. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 202-4.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
-161-

7. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 187-9.
8. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 100.
9. Vermeulen N. Encyclopaedia of herbs. The Netherlands: Rebo Productions Ltd., 1999: 91.
10. Wenninger JA, McEwen G.N. Interbational Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 182.
-162-

กาแฟ (Coffea arabica L.)


-162-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Camphor, แคมเฟอร


ชื่อไทย (Thai name) : การบูร การบูน พรมเส็ง อบเชยญวน (2)
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Camphor tree, Camphora, Kusa-no-ki, Long nã o,
dã huong, Churong não, May kháo chuông(Tày)
Kampherbaum, Campherbaum, Kampferlorbeer (3-
6,8,11)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Cinnamomum camphora (L.) J.S. Presl. (2,8)
ชื่อพอง (Synonyms) : Camphora officinarum Nees, C. camphora, Cinnamomum
camphoziferum, Laurus camphora L., L.camphorifera Persea camfora
(8)
วงศ (Family) : Lauraceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมตนขนาดกลาง สูง 10-15 ม. ลําตนและกิ่งเรียบ ทุกสวนมีกลิ่นหอมการบูร โดยเฉพาะที่ราก
และโคนตน ตาใบมีเกล็ดซอนเหลี่ยมหุมอยู เกล็ดชั้นนอกเล็กกวาเกล็ดชั้นในตามลําดับ ใบเปนใบเดี่ยว
เรียงสลับรูปไข รูปไขกวางหรือรูปรี ปลายเรียวแหลม โคนใบสอบ มีเสนใบเห็น 3 เสนชัดเจน ขอบใบ
เรียบ แผนใบคอนขางเหนียว ดานบนเปนมัน ดานลางมีสีนวล มีตอม 2 ตอม ที่งามใบคูลาง ดอกเปน
ดอกชอแบบแยกแขนงออกตามซอกใบ ใบประดับเรียวยาว รวงงาย มีขนออนนุม ดอกยอยเล็ก สีเหลือง
ออน กานดอกสั้นมาก กลีบรวมมี 6 กลีบ รูปรี ปลายมน โคนติดกันเปนหลอดสั้นๆ ดานใน มีขนออน
นุมปกคลุม เกสรตัวผูมี 9 อัน เรียงเปน 3 วง ผลเปนผลมีเนื้อขนาดเล็ก คอนขางกลม สีเขียวเขม แต
จะเปลี่ยนเปนสีดําเมื่อแก มีเมล็ด 1 เมล็ด (1,3)
การบูรขึ้นในปา evergreen เขตอบอุน บางตนอายุหลายรอยป สูงไดถึง 50 ม. และมีเสนผาศูนย
กลาง 5 ม. ลําตนตั้งตรงในสวนลางและกิ่งแตกแขนงเปนกลุมดานบน (6,11)
ในฤดูรอน florets (ดอกยอย) มีสีขาวในตอนแรก และจะเปลี่ยนเปนสีเหลือง การบูรธรรมชาติเปน
ผลึกเล็กๆ ที่เกิดอยูทั่วไปทั้งตน มักจะอยูตามรอยแยกของเนื้อไม มีมากที่สุดในแกนของราก รองลงมาที่
แกนของตน สวนที่อยูใกลโคนตนจะมีการบูรมากกวาสวนที่อยูสูงขึ้นมาตามลําดับ ดังนั้นในใบและยอดออน
จึงมีการบูรอยูนอย ในใบออนจะมีนอยกวาใบแก ปจจุบันนี้การบูรเกือบทั้งหมดไดจากการกึ่งสังเคราะหจาก
สารตั้งตน คือ อัลฟา-ไพนีน (α-pinene) ซึ่งไดจากน้ํามันสน (turpentine oil) (1,6,11)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
-163-

ตนการบูรเปนพืชพื้นเมืองของจีน ญี่ปุน เวียดนาม และไตหวัน ปจจุบันมีการเพาะปลูกในหลาย


ประเทศ (1,6)
กอนสงครามโลกครั้งที่สอง การบูรที่ใชกันเกือบทั้งหมดไดมาจากธรรมชาติ รอยละ80 ผลิตจาก
ไต ห วัน ที่ เหลื อมาจากจีน และญี่ ปุ น เมื่อญี่ ปุ น ได ยึด ครองไต ห วัน ญี่ ปุ น จึงกลายเป น ประเทศที่ ผูกขาด
การผลิตการบูรที่ไดจากธรรมชาติ (1) นอกจากนั้นยังมีการเพาะปลูกเปนไมใหรม (shade-tree) หรือเพื่อ
ประโยชนทางการแพทย

สรรพคุณพื้นบาน :
โบราณใชการบูรแกเคล็ด บวม ขัดยอก แพลง แกพิษแมลงตอยและโรคผิวหนังเรื้อรัง ยังใชเปน
ยาระงับเชื้ออยางออน เปนยากระตุนหัวใจ ขับลม ขับเสมหะ ขับปสสาวะ แกปวด แกปวดหัว ผสมใน
ยาทาถูนวดแกปวดตามขอ (2) ทําใหเลือดมาเลี้ยงมาก แกปวดทอง ทองเสีย แกธาตุพิการ บํารุงธาตุ ปอง
กั น หวัด แก ค ลื่น ไส อ าเจีย น ชวยย อ ยอาหาร ใช ผ สมลงในอาหารให ท หารรับ ประทานเพื่ อ ลดความ
ตองการทางเพศ ทําใหหัวใจและระบบประสาทแข็งแรง และยังใชเปนยาปองกันการติดเชื้อจากการไอ-จาม
แตเนื่องจากความเปนพิษในปจจุบันทําใหมีการใชกันนอย จึงใชเปนยาภายนอกในรูป Camphor oil spirit
รักษาอาการปวดกลามเนื้อ อาการปวดขอ (rheumatism) ปองกันและรักษาอาการนิ้วมือและนิ้วเทาบวม
และปวดเนื่องจากความเย็นจัด เป นยากระตุนประสาทสมองสวนกลาง (analeptic) ต านเชื้อแบคทีเรีย
ทําใหชุมชื้น (demulcent) และบรรเทาอาการปวด (anodyne) (1,3,10,11)
น้ํามัน หอมระเหยมีฤทธิ์กระตุ น เปน ยาขับ เหงื่อ สงบประสาท (4) คลายการเกร็งตัวของกลาม
เนื้ อ(antispasmodic) เพิ่ ม สมรรถภาพทางเพศ ถายพยาธิ บรรเทาอาการทางประสาทและไขอ อกผื่ น
(eruptive fevers) (3,4)
แพทยพื้นบานใชเปนยาภายนอกบรรเทาอาการปวดขอและกลามเนื้อ (muscular rheumatism)
และอาการเกี่ยวกับหัวใจ สวนการใชภายนอกชวยกระตุนการไหลเวียนโลหิต และอาการเกี่ยวกับระบบยอย
อาหาร (digestive complaints) อาการอักเสบบริเวณทางเดินหายใจ (Inflammation of respiratory-tract
mucous membranes) บรรเทาไดโดยใชทั้งแบบภายในและภายนอก (5,6)
ในการแพทย ของชาวอิ น เดี ย ใชรักษาอาการปวดกล ามเนื้ อ หั วใจทํ างานบกพรองและโรคหื ด
(3,4,6)

สวนที่ใช :
เนื้อไม รากและใบ (8)

องคประกอบทางเคมี :
-164-

น้ํ า มั น การบู รเป น น้ํ ามั น หอมระเหยจากต น การบู ร ประกอบด วย cineol, borneol, carvacrol,
eugenol, limonene, phellandrene, α-pinene และ safrol มีรายงานองคประกอบเคมีเพิ่มเติมอีก ดังตอ
ไปนี้ คือ 2-bornanone หรือ camphor (4) เทอรปนีออล (terpineol) คารีโอฟลลีน (caryophylline) (12)
แคมโฟรีน (camphorene) อะซูลีน (azulene) (12) อัลเคนฟอร (alcanfor) บอรนีออล (borneol) บอร
นีออลอะซีเตท (borneol acetate) บิวไทโรแลคโตน (butyrolactone), (+)-คาดินีออล ((+)- cadinenol),
แคมฟ น (camphene) แคมเฟรีน อล (campherenol) แคมเฟรี โนน (campherenone) กรดซิ น นามิ ก
(cinnamic acid) กรดคูมาริก (coumaric acid) ครีซอล (cresol) คูบีนอล (cubenol) ไซโคลเพนเทน
(cyclopenten-2-one) เดาโคสเตียรอล (daucosterol) ไดเพนเทนยูจีนอล (dipentane eugenol) กรดเจน
ทิ ซิ ก (gentisic acid) จู นี นอล (junenol) มู ยู โรลอล (muurolol) อนุ พั น ธ แ นฟทาลี น (napthlene, 2-3-
methylenedioxy) เน โรลิ ด อ ล (nerolidol) ป เป อ ริ ท อ ล (piperitol) โป รแ อ น โท ไซ ย านิ ดิ น เอ -1
(proanthocyanidin A-1) เรติคูลีน (reticuline) เซซามิน(sesamin) เบตาซิโตสเตียรอล (β-sitosterol) อัล
ฟาเทอพินีออล (α - terpineol) แซนโทไซลอล (xanthoxylol) (8)

H3C CH3

1
O
CH3
4

(1R, 4R)-(+)-camphor C10H16O (MR 152.24)


หรือ (1R, 4R)-2-bornanone (แยกไดจากตนการบูร) (7)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
- แคมเฟอรเปนสวนผสมในครีมนวดผม ครีมทาผิวที่ทําใหสดชื่น (9) เมื่อทาผิวจะรูสึกเย็น
- มักใชเปนสวนผสมในน้ําหอม สบู ผลิตภัณฑระงับกลิ่น (deodorant)
- ใชในผลิตภัณฑนวดผิวและผลิตภัณฑพวก aromatheraphy

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
แคมเฟอรชวยกระตุนการไหลเวียนโลหิต ทําใหเย็นและฆาเชื้อจุลินทรีย
ใชเตรียมผลึกการบู รโดยสกัดแกน ของรากและแกนของตน การบูรจะละลายอยูในน้ํามั นหอม
ระเหย การบูรในไตหวันใชการกลั่นจากตน โดยใชทั้งเนื้อไมและรากของตนที่มีอายุเกิน 40 ป นํามาหั่นและ
สับเปนชิ้นเล็กๆ กลั่นโดยใชไอน้ําในเครื่องกลั่นพิเศษที่ทําดวยไม การบูรในน้ํามันหอมระเหยจะตกผลึก
-165-

แยกออกมา กรองผลึกการบูรนํามาทําใหบริสุทธิ์โดยการระเหิด การบูรที่ไดนี้เรียกวา “refined camphor”


หรือ ’’resublimed camphor’’ เนื่องจากการบูรไดจากพื ชที่มีอายุ 40 ปขึ้นไป ในสหรัฐ-อเมริกาจึงใชวิธี
กลั่นจากใบและยอดออนของตนที่มีอายุตั้งแต 5 ปขึ้นไปแทน มีปริมาณการบูรนอยกวาแตสามารถกลั่นได
ทุก 2 เดือน (1)
น้ํามันการบูรใชภายนอกบรรเทาอาการขออักเสบ (cineol เปนตัวออกฤทธิ์) (3,6) ใชเปนยาภาย
นอก กระตุนตอมในหลอดลมมีผลชวยขับเสมหะ การใชภายในชวยการหายใจ (respiratory analeptic)
และ ตานการหดเกร็งของปอด (6) รักษาอาการหอบหืด ไอ ปอดอักเสบ รักษาอาการความดันโลหิตต่ํา
อาการปวดตามขอ ลดโคเลสเตอรอล ตานเชื้อรา สรางภูมิคุมกัน (3) เมื่อสูดดมจะกระตุนการหายใจ ขับ
เสมหะ

ขอควรระวัง :
การบูรจัดอยูในพวกที่มีพิษอยางสูง (12) เมื่อสัมผัสอาจเกิดภาวะอักเสบของผิวหนังมีลักษณะเปน
ผื่นแดงและอาจเปนตุมพุพองตกสะเก็ด คันแสบ (5,6) เปนพิษตอระบบประสาท เปนสารกอมะเร็ง และ
เปนพิษตอตับ ในเด็กเมื่อใชเกินขนาดจะเกิดภาวะเปนพิษเกิดการเกร็งและระบบการหายใจถูกรบกวน
(delirium) หามใชในระหวางการตั้งครรภ และทารกแรกเกิด (6)
ในป ค.ศ.1924 มีรายงานวา เด็กผูชายอายุ 16 เดือน รับประทานน้ํามันการบูร (camphorated oil)
1 ชอนชา ทําใหเสียชีวิต โดยอาการพิษ คือ มานตาหด ชีพจรเตนเร็วและมีอัตราการหายใจสูง โดยที่เด็ก
ตายเมื่อเวลาผานไป 7 ชั่วโมงหลังรับประทานน้ํามันการบูรและเมื่อมีการตรวจผาศพพบระบบประสาทสวน
กลางถูกทําลายโดยเฉพาะที่สมอง (12) และเมื่อหญิงตั้งครรภรับประทาน 60 กรัม จะทําใหทารกในครรภ
เสียชีวิต (6)
สมุ น ไพรนี้ โดยเฉพาะ camphorated oil บางประเทศไม อ นุ ญ าตให ใช การบู รจัด เป น สารพิ ษ
ขนาดนอยที่สุดที่ทําใหเด็กเล็กเสียชีวิต คือ 1 ก. (เมื่อรับประทาน) และ 20 ก. ในผูใหญ ทารกหรือเด็ก
ออน มักเกิดอาการพิษโดยผานทางผิวหนังหรือสูดดม อาการพิษ ไดแก การเกร็ง (spasm) ของชองคอ
(larynx) และชองเสียง (glottis) ทําใหหายใจไมได (7)

เอกสารอางอิง :
1. ชยันต พิเชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิต และ วิเชียร จีรวงส. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ ฉบับ
เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: สายธุรกิจ โรงพิมพ
บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง จํากัด(มหาชน), 2544: 213-6.
-166-

2. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,


2544: 386-7.
3. นั น ทวัน บุ ณ ยะประภั ศ ร, อรนุ ช โชคชัยเจริญ ผล, เสริม สิ ริ วินิ จฉั ย กุล และคณะ. สมุ น ไพรไม พื้ น
บาน(1). กรุงเทพฯ: บริษัท ประชาชน จํากัด, 2539: 253-5.
4. Ayensu ES. Medicinal Plants of the West Indies.Michigan: Reference Publications, Inc.,
1981: 112.
5. Bhumenthal M, Busse WR, Goldberg A, et al. The Complete German Commission E
Monographs. Texas: American Botanical Council, 1998:101.
6. Gruenwald J, Brendler T, Jaenicke C. PDR for Herbal Medicines. 2nd ed. Montvale: Medical
Economics Company, 2000: 143.
7. Haensel R, Hoelzl J. Lehrbuch der pharmazeutischen Biologie. Springer-Verlag Berlin
Heidelberg, 1996.
8. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
9. Hlava B., Pospisil, Stary F. Pflanzen fuer die natuerliche Schoenheit. Verlag Werner
Dausilen. Hanau. 1983.
10. Steglish W, Fugmann B, Lang-Fugmann S. ROMPP encyclopedia: Natural Products.
Stuttgart: Georg Thieme Verlag, 2000: 105.
11. Takatori J. Medicinal Plants of Japan. Japan: Hirokawa Publishing Company, 1966.
12. Tisserand R,Balacs T.Essential Oil Salfty A Guide for Health Care Professionals.New York:
Churchill Livingstone,1995:50-1,126-8,185-6,204.
-167-

การบูร (Cinnamomum camphora (L.) J.S. Presl.)


-167-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Indian chrysanthemum, อินเดียน คริแซนทีมุม


ชื่อไทย (Thai name) : เบญจมาศสวน (3)
ชื่อทองถิ่น (Local names) : เกกฮวย Cua hoa vang, kim cuc
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Chrysanthemum indicum L. (3)
ชื่อพอง (Synonyms) : Dendranthema indicum
วงศ (Family) : Compositae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Chrysanthemum extract

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมลมลุก อายุหลายปหรือสองป สูง 20-50 ซม. ลําตนตรง เปนรอง คอนขางเกลี้ยง ใบออก
สลับรูปไข ปลายแหลม (1) ขอบใบเวาลึก (3) และหยักเปนซี่ สีคอนขางเขียวทั้งสองดาน ดอกชอสีเหลือง
ออกเปนกระจุกที่ปลายยอดหรือตามงามใบ กานชอดอกสั้นริ้วประดับรูปขอบขนานแกมรูปไขกลับ ขอบบาง
กลีบดอกวงนอกเปนรูปรางน้ํา ยาว 5 มม. กลีบดอกวงในเปนรูปทอยาว 2.5 มม. ปลายเปนแฉก รูป
สามเหลี่ยมปลายแหลม มี 5 แฉก เกสรตัวผูมี 5 อัน ทอเกสรตัวเมียมี 2 แฉก เล็ก ปลายตัด ผลเรียบ สี
เหลืองแหง รูปไขกลับ (1)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนพืชพื้นเมืองเขตอบอุนในทวีปเอเชีย นําเขามาปลูกทางภาคเหนือ ของประเทศไทย (1)

สรรพคุณพื้นบาน :
ทั้งตน ผสมกับพริกไทยดําแกโรคหนองใน ใบแกปวดศีรษะ (1) ดอกแกรอนในกระหายน้ํา ชู
กําลัง แกออนเพลีย แกไข บํารุงหัวใจ (3) ชวยเจริญอาหาร ชวยยอยและระบาย (1) ในตํารายาจีนใชแก
ไข แกรอนใน ขับลม ถอนพิษ บํารุงสายตา (2)

:
สวนที่ใช
ดอกซึ่งเก็บเกี่ยวในเดือนตุลาคมและธันวาคม นําไปอบกํามะถันนาน 2-3 ชั่วโมง และนํามาปน
แยกของเหลวสีดําออก จากนั้นนําดอกมาแผเปนชั้นบางๆ ทําใหแหงในตูอบที่อุณหภูมิต่ํา (6)

องคประกอบทางเคมี แบงเปนกลุมสาร ดังนี้


1. ก ลั ย โค ไซ ด (glycosides) : ค ริ แ ซ น ทิ นิ น (chrysanthinin) ค ริ แ ซ น ที ม าแ ซ น ทิ น
(chrysanthemaxanthin) เยจูฮัวแลคโตน ( yejuhualactone) (5)
-168-

2. น้ํามันหอมระเหย (essential oils) : ประกอบดวย อัลฟาไพนีน (α–pinene) ลิโมนีน (limonene)


คารโวน (carvone) ซินีออล (cineol) แคมเฟอร (camphor) บอรนีออล (borneol)

3. เซสควิเทอรปนแลคโตน : อารเทกลาซิน เอ (arteglasin A)


4. วิตามินเอ

CH 2 O
CH3
O
H H
H
O H
H
CH3 CH2
O

กวัยอะโนไลด (guaianolide) ซึ่งมีชื่อวา อารเทกลาซิน เอ (arteglasin A) (4)

สารสกัดคริแซนทีมุม (Chrysanthemum extract) :


เปนสารสกัดจากดอกเบญจมาศสวน

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
เปนสวนผสมในผลิตภัณฑทําความสะอาดและบํารุงผิว

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
ดอก มีคุณสมบัติตานเชื้อแบคทีเรีย ลดความดันโลหิต โดยออกฤทธิ์ที่หลอดเลือด ใชแกอาการ
เวียนศีรษะ ลดไข โรคตา คลายการบีบเกร็งของกลามเนื้อเรียบ คลายกลามเนื้อมดลูก ลดปริมาณไขมัน
เลือด ยับยั้งการเกาะตัวของเกร็ดเลือด (3) ขนาดที่ใชตอวัน ดอก 8-16 ก. นํามาเตรียมเปนยาชง ซึ่งอาจนํา
มาใชอาบน้ําหรือพอกเพื่อบรรเทาอาการโรคผิวหนัง เชน ฝ สิว (3,4)

ขอควรระวัง :
มีรายงานการแพทําใหผิวหนังอักเสบ เนื่องจากสารเซสควิเทอรปนแลคโตน ที่มีชื่อวาอารเทกลาซิน
เอ (arteglasin A)

เอกสารอางอิง :
-169-

1. กองกานดา ชยามฤต. สมุนไพรไทย ตอนที่ 4. กรุงเทพฯ: ห.จ.ก.ชุติมาการพิมพ, 2528: 404.


2. ดรุณ เพ็ชรพลาย. ชื่อพฤกษศาสตรสมุนไพรจีนในประเทศไทย. โรงพิมพองคการสงเคราะหทหาร ผาน
ศึก, 33.
3. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน(1). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2543: 285-6.
4. Harborne JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd.ed. Taylor&Frencis Ltd.
1999.
5. Huang KC. The pharmacology of Chinese herbs. CRC Press. Inc. 1993: 74.
6. WHO regional office for the western pacific. Medicinal Plants in Viet Num. Series No.3 1990.
-170-

เบญจมาศสวน (Chrysanthemum indicum L.)


-170-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Sandalwood, แซนเดิลวูด


ชื่อไทย (Thai name) : แกนจันทน (1)
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Santol, East Indian sandalwood, White or Yellow
sandalwood (1,2,4,5), Bois santal, Cendana, Chendand,
San-ta-ku (1), Sandelbaum (6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Santalum album L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Sirium myrtifolium L., Santalum ovatum R. Br.,
S. myrtifolium (L.) Roxb. (1), Sandalum album (6)
วงศ (Family) : Santalaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Sandalwood
Sandalwood extract
Sandalwood oil

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมตนสีเขียวตลอดป ขนาดเล็กสูง 8-12 ม. แตกกิ่งกานมาก เนื้อไมมีกลิ่นหอม ใบรูปไขหรือใบหอก ขนาดยาว
2.5-8 ซม. กวาง 1.5-4 ซม. เนื้อใบเหนียว ผิวใบดานบนสีเขียวออน ดานลางนวล เสนใบเปนรางแหใบเรียงตรงกัน
ขาม ดอกออกเปนชอ (panicle) ที่ยอดหรือซอกใบ กลีบดอกรูปไขแกมรูปสามเหลี่ยม มีสีเหลืองในระยะแรกตอมา
เปลี่ยนเปนสีแดงแกมน้ําตาล ผลรูปรีมีเมล็ดเดียว ยาวประมาณ 1 ซม. ผลมีสีแดงคล้ํา-สีดํา เนื้อผลฉ่ําน้ํา (1,3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนพืชพื้นเมืองและมีการเพาะปลูกในเขตรอนในที่สูง 700-1200 ม.ของทวีปเอเชีย (2) เชนอินเดีย ศรีลังกา
มาเลเซีย อินโดนีเซีย ไตหวัน มีการแพรกระจายจากอินโดนีเซียจนถึงตอนเหนือของ ออสเตรเลีย ปจจุบันพบมากในติ
มอรเทานั้น แกนจันทนจัดเปนไมหายาก มีการปลูกทดลองที่อาฟริกา และหมูเกาะในมหาสมุทรปาซิฟก (1,2,4,5)

สรรพคุณพื้นบาน :
แกนจันทนใชเปนยา ทําธูปหอมและน้ําหอมของตะวันออกมานาน 4,000 ป ไมจันทนใชในงานเผาศพของชาว
พุทธ sandalwood oil มีสรรพคุณในการฆาเชื้อและมีฤทธิ์ฝาดสมานใชบรรเทาอาการ ปวดหัว ปวดทอง สมัยกอนใช
รักษาการติดเชื้อของทางเดินปสสาวะ รักษาบาดแผล บรรเทาอาการอักเสบที่ไตและตอมลูกหมากและหนองใน การรับ
ประทานเพียง 2-3 หยด มีผลชวยใหอาการของโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังทุเลา (1,3,4,5,)
แกนจันทนเริ่มเขาสูยุโรปในป 1880 ตอมาใชในน้ําหอม น้ํามันแกนจันทนรักษาอาการปวด แกไข และชวย
บํารุงหัวใจ (2) น้ํามันแกนจันทนมักถูกเจือปนดวยน้ํามันละหุง น้ํามันชีดาร (cedar oil) น้ํามันแกนจันทนออสเตรเลีย
(S. spicatum, Australian sandalwood) เปนตน เนื้อไมใชรักษาการติดเชื้อและบรรเทาอักเสบที่ทางเดินปสสาวะ (6)
ยาจีนใชสมุนไพรนี้รักษาอาการปวดทอง อาเจียนและหนองใน (1,2)
ในอินโดนีเซียใชกระพี้ไมบดละเอียดผสมน้ํารับประทานแกโรคหนองใน (1)

สวนที่ใช :
-171-

แกนไม รากและน้ํามันหอมระเหย

องคประกอบทางเคมี :
น้ํามันหอมระเหยกลั่นจากแกนไมและราก อาจมีปริมาณมากถึง 10% ลําตน 4-8% และกิ่งกานเล็ก ๆ 2-4%
ตนแกนจันทนอายุ 20-40 ปจึงมีแกนเพียงพอที่จะนํามากลั่นน้ํามันหอมระเหย น้ํามันหอมระเหยมีความหนืดปานกลาง
เป น ของเหลวสี เ หลื อ งอ อ น-สี เ หลื อ ง (1) มี อ งค ป ระกอบเป น เซสควิ เ ทอป น ไฮโดรคาร บ อน (sesquiterpene
hydrocarbon) 6% ซึ่งสวนใหญเปนอัลฟา-และเบตา-แซนทาลีน (αและ β-santalenes) อิพิ-เบตา-แซนทาลีน (epi-β-
santalene) สวนนอยคือ อัลฟา-และเบตา-เคอรคิวมีน (αและβ-curcumenes) เบตา-ฟารเนสซีน (β-farnescene) เดน
โดรลาซิน (dendrolasin) ไดไฮโดร- เบต า-อะกาโรฟู แ รน (dihydro-β-agarofuran) แซนที น (santene) เทเรแซนทอล
(teresantol) บอร นี อ อล (borneol) กรดเทเรแซนทาลิ ก (teresantalic acid) ไทรไซโคลเอคาแซนทาลาล
(tricycloekasantalal) แซนทาโลน (santalone) แซนทานอล (santanol) (2) และอื่น ๆ เชน เซสควิเทอรปน อัลกอฮอล
(sesquiterpene alcohol) คือ อิพิ-เบตา-แซนทาลอล (epi-β-santalol, 4%) เบตา-แซนทาลอล ((E)-β-santalol) อัล
ฟา-เบอรกาโมทอล (α-bergamotol, ประมาณ 4%) อัลฟา-เบอรกาโมทาล (α-bergamotal, ประมาณ 3%) ทรานส-เบ
ตา-แซนทาลอล (ประมาณ 1.5%) เบตา-แซนทาลีน (β-santalene, ประมาณ 14%) สะปโรแซนทาลอล (spiro-santalol)
นอกจากนั้นยังมี ซิส-นูซิเฟรอล (cis-nuciferols) และซิสแลนซีออล (cis-lanceol) (1) ทั้งนี้สารที่ใหกลิ่นเฉพาะ ไดแก อัล
ฟา-แซนทา ลอล (α-santalol)(45-47%) และเบตา-แซนทาลอล (β-santalol) (20-30%) และอัลฟา-เฟอรฟูริลไพรโรล
(α-furfuryl pyrrole) ชวยเสริมกลิ่นเฉพาะมากขึ้น (1,5,6) เนื้อไมมีน้ํามันหอมระเหย 3-5% นอกจากนี้มีแทนนินและเร
ซิน

CH 3 CH 3

CH 3
CH 3
CH 3 OH CH 2 OH

(+)-(Z)-α-santalol (-)-(Z)-β-santalol

สารสกัด :
สารสกัดแกนจันทน (sandalwood) : เปนสารสกัดจากสวนลําตน (เนื้อไม) กิ่งขนาดใหญ และราก
น้ํามันแกนจันทน (sandalwood oil) : เปนน้ํามันหอมระเหยที่กลั่นจากเนื้อไมของแกนจันทน
ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
น้ํามันแกนจันทน (sandalwood oil) จัดเปนสารหอมที่มีความสําคัญในการผลิตเครื่องหอม เพราะมีคุณสมบัติ
fixative ที่ดีและมีความคงทน สามารถรวมตัวกับสารอื่นๆไดดี และมีกลิ่นที่ดึงดูดใจ จึงมีการนํามาใชประโยชนเปนองค
ประกอบหลักของน้ําหอม เครื่องสําอาง และผลิตภัณฑตางๆ เชน สบู body oil ครีม และโลชั่น

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
-172-

ใชเปนยาขับปสสาวะ (diuretic) มีคุณสมบัติตานเชื้อบริเวณทางเดินปสสาวะ (urinary antiseptic properties)


และมีฤทธิ์ตานเชื้อรา สารสกัดจากเปลือกลําตนแสดงคุณสมบัติฮอรโมน สามารถยับยั้งพัฒ นาการของแมลง (1,2,4,5)
นอกจากนั้นยังใชแตงกลิ่นอาหารและเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลและไมมีแอลกอฮอล ผลิตภัณฑนมแชแข็ง ขนมปง เจลา
ติน และพุดดิ้ง โดยใชปริมาณต่ํากวา 0.001% (1-5)

ขอควรระวัง :
- ไมควรใชในผูที่ผิวแพงายเนื่องจากอาจทําใหผิวหนังอักเสบ (contact dermatitis)
- หามใชในรายที่เปนโรคไตรุนแรง (6)

เอกสารอางอิง :
1. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย. Prosea: ทรัพยากรพืชในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต
19: พืชน้ํามันหอมระเหย. นนทบุรี: สหมิตรพริ้นติ้ง, 2544: 228-32.
2. Albert YL, Steven F. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and cosmetics.
2nded. New York: John Wilson & Sons Inc., 1996: 460-1.
3. Bown D. Encyclopedia of herbs and their uses. RD Press. Australia. 1995.
4. D’Amelio FS. Botanicals: A phytocosmetic desk reference. Florida: CRCPress, 2000: 190.
5. DerMarderosian A. The review of natural products. Missoure: Facts and Comparisons, 2000: 527.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag Heidelberg,
1999.
-173-

แกนจันทน (Santalum album L.)


-174-

ชื่อสามัญ (Common or English name) Cacao, คาเคา


:
ชื่อไทย (Thai name) โกโก :
ชื่อทองถิ่น (Local names) โคโค (1), Cocoa, Chocolate tree (3), Kakao (6)
:
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) Theobroma cacao L.
:
ชื่อพอง (Synonyms) Cacao guianensis, C. minus, C. sativa, Theobroma
:
caribaea, T.interregima, T. kalagua, T. leiocapa, T.
saltzmanniana, T. sapidum, T. sativa, T.
s p h a c r o c a r p a ( 6 )
วงศ (Family) : Sterculiaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Cocoa (Theobroma cacao) Butter
Cocoa (Theobroma cacao) Extract (9)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมตน สูง 4-6 ม. ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปขอบขนานแกมไขกลับหรือรูปขอบขนาน ดอกเดี่ยวหรือ
ออกเปนกระจุกที่ลําตนและกิ่งกาน กลีบดอกสีขาวแกมเหลือง เกสรตัวผูที่เปนหมันสีมวงเขม ปลายยอด
สีขาว ผลสดรูปไขแกมกระสวย ผิวยน เมื่อสุกสีมวงหรือเหลือง เมล็ดรูปกระสวย สีน้ําตาล (2,5)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
โกโกพบในเขตรอนชื้นของอเมริกา และมีการเพาะปลูกในเขตรอนชื้นอื่นๆ (6)
โกโกมี 3 พันธุ คือ forastero, criollo และ trinitario โดยพันธุที่ปลูกกันมากที่สุดถึง 90% คือ พันธุ forastero
ปลูกกันมากในประเทศแถบอาฟริกาตะวันตก เชน กานา ไนจีเรีย คามารูน พันธุ criollo ปลูกกันมากในเวเนซูเอลาและ
อเมริกากลาง พันธุ trinitario เชื่อกันวาเปนลูกผสมของทั้ง 2 พันธุ ปลูกกันมากใน เวเนซูเอลา ทรินิแดด ศรีลังกา
โดยพันธุ criollo และ trinitario มีกลิ่นและรสดีกวาพันธุ forastero (7)

สรรพคุณพื้นบาน :
- โกโกเปนพืชรสขม ชวยขับปสสาวะจึงชวยลดความดันโลหิต ชวยขยายหลอดเลือดโคโรนารี
(coronary arteries) (3)
- ตํารายาพื้นบานใชเมล็ดโกโกรักษาโรคติดเชื้อในลําไสเล็ก ทองรวง ปรับสภาพการทํางาน
ของตอมไทรอยดใหเปนปกติ ใชเปลือกหุมเมล็ดรักษาโรคตับและไต เบาหวาน เปนยา
บํารุง แกทองรวง (5)
-175-

- น้ํามันเมล็ด (cocoa butter) ใชรักษารอยยนรอบคอ, ดวงตาและมุมปาก ในประเทศแถบ


ยุ โรปใช ร ว มกั บ สารอื่ น รั ก ษาการติ ด เชื้ อ ในลํ า ไส เล็ ก ท อ งร ว ง ช ว ยขั บ เสมหะในโรคหื ด
หลอดลมอักเสบ ไอ และการคั่งของโลหิตในปอด ปรับการทํางานของตอมไรทอโดยเฉพาะ
ตอมไทรอยด (7)
- เมล็ด ทําใหกลามเนื้อมดลูกหดรัดตัว ขับปสสาวะ กระตุนประสาทสวนกลาง (2)

สวนที่ใช :
เปลือกหุมเมล็ด เมล็ดที่เอาเปลือกหุมออก ไขมันที่บีบจากเมล็ด (3)

องคประกอบทางเคมี :
เมล็ดที่เอาเปลือกหุมออก
- พิวรีนแอลคาลอยด (purine alkaloids, 3-4%) : ทีโอโบรมีน (theobromine 2.8-3.5%) แคฟ
เฟอีน (caffein, 0.1-0.4%)
- ไขมัน (50%) : กรดโอเลอิก (oleaic acid, 33-39%) กรดสเตี ยริก (stearic acid, 30-37%)
กรดพัลมิติก (palmitic acid, 24-31%)
- สารประกอบโปรตีน (protein substances, 10-16%)
- แปง (5-9%)
- โมโน-, โอลิโกแซคคาไรด (2-4%) : แซคคาโรส (saccharose) กลูโคส (glucose) ฟรุค
โตส (fructose)
- biogenic amines : ฟนิลเอทิลเอมีน (phenylethylamine) ไทรามีน (tyramine) ทริพตามีน
(tryptamine) เซโรโตนิน (serotonin)
- ไอโซควิโนลีนแอลคาลอยด (isoquinoline alkaloids) : ซัลโซลินอล (salsolinol)
- คาเทชิน แทนนิน (catechin tannins, 10%) : โอลิโกเมอริก โปรแอนโทไซยานิดิน
(oligomeric proanthocyanidins, 8%)
เปลือกหุมเมล็ด
- พิวรีนแอลคาลอยด (purine alkaloids) : ทีโอโบรมีน (theobromine, 0.4-1.2%) แคฟเฟอีน
(caffein, 0.02%)
- ไขมัน (5%)
- (biogenic amine) : ฟนิลเอทิลเอมีน (phenylethylamine) ไทรามีน (tyramine) ทริพทามีน
(tryptamine) เซโรโตนิน (serotonin)
- คาเทชิน แทนนิน (catechin tannins) : โปรแอนโทไซยานิดิน (proanthocyanidins)
ไขมันเมล็ด
-176-

- ไทรกลี เ ซอไรด (triglycerides) ของกรดโอเลอิ ก (oleic acid, 33-39%) กรดสเตี ย ริ ก


(stearic acid, 30-37%) กรดพัลมิติก (palmitic acid, 24-31%)
- กรดไขมันอิสระ (free fatty acid)
- สเตียรอยด : เบตา-ซิโตสเตียรอล (β-sitosterol)
- พิวรีนแอลคาลอยด (purine alkaloids, 0.001-0.1%) (5)
O CH3
6
. H
1N
5 N7

O N3 4 N9

CH3

theobromine (C7H8N4O2) (9)

สารสกัด :
- ไขมั น จากเมล็ ด (cocoa butter) ได จ ากการบี บ โดยใช hydraulic pressing หรือ extrusion
และการสกัดเมล็ดโกโกดวยตัวทําละลาย (solvent extraction)
- สารสกัดโกโก (cocoa extract) ไดจากการสกัดเมล็ดโกโกที่อบแลว ดวยน้ําผสมแอลกอฮอล
(hydroalcoholic solvent) (7)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
- ไขมันจากเมล็ด (cocoa butter) ใชในการทําขี้ผึ้ง เปนสวนประกอบในเครื่องสําอางที่ใชภาย
นอกหลายชนิด เชน ครีม โลชั่น ลิปสติก สบู โดยชวยใหผิวเรียบ นุมและชวยปกปองผิว
(4,7)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- ทีโอโบรมีน (thiobromine) เปนแอลคาลอยดหลัก ซึ่งออกฤทธิ์กระตุนประสาทสวนกลาง การหายใจ และ
กลามเนื้อลายนอยกวาแคฟเฟอีน แตกระตุนหัวใจ ทําใหหลอดเลือดและกลามเนื้อเรียบคลายตัว และขับ
ปสสาวะไดมากกวาแคฟเฟอีน
- ผงโกโก (cocoa powder) ใชเปนยาภายในรักษาอาการหายใจไมออกและความดันโลหิตสูง ไขมันจาก
เมล็ด (cocoa butter) ใชภายนอกรักษาผิวหนังไหม (3)
- ผงโกโก (cocoa powder) ใชแตงกลิ่นและรสในผลิตภัณฑตาง ใชเปนสวนประกอบในอาหารหลาย
ชนิด เชน เครื่องดื่มไมมีแอลกอฮอล ไอศครีม เคก
- น้ํามันเมล็ดเปนสวนประกอบหลักในการผลิตช็อกโกแลต (chocolate)
-177-

- สารสกัดโกโกเปนสวนประกอบหลักในเครื่องดื่มที่มีและไมมีแอลกอฮอล ลูกอม ขนมหวานตางๆ (4,7)


- ไขมันจากเมล็ดมีรายงานวาเปนแหลงของสารตานอนุมูลอิสระ (4)

ขอควรระวัง :
- ไมใชภายในกับผูปวยโรคเกี่ยวกับสําไส (irritable bowel syndrome)
- ช็อกโกแลตอาจทําใหเกิดการแพหรือไมเกรน (3)
- มีรายงานการทดลองในสัตววาไขมันจากเมล็ดอาจทําใหแพและเกิดสิว (7)
- มีรายงานวาโกโกมีสารซาฟรอล (safrole) ปริมาณเล็กนอยซึ่งซาฟรอลเปนสารกอมะเร็ง
(caricnogen) (4)

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 525.
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรพื้นบาน (1). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 302-6.
3. Bown D. Encyclopedia of Herb & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 361.
4. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2001:
161-2.
5. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 199-200.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
7. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 181-4.
8. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 646-7.
9. Wenninger JA, McEwen G.N. Interbational Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 731.
-178-
-179-

โกโก (Theobroma cacao L.)


-179-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Mugwort, มักวอรท


ชื่อไทย (Thai name) : โกฐจุฬาลําพา
ชื่อทองถิ่น (Local names) : จิงจูฉาย, ผักเหี่ย, จิงเหีย, โกฐจุฬาลําพาจีน, Felon herb,
St. John’s plant, Wormwort, Chinese moxa
(2,6,9), Gewuerzbeifuss, Gemeiner Beifuss (8)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Artemisia vulgaris L.
ชื่อพอง (Synonyms) : A. lactiflora, A. samamisica
วงศ (Family) : Asteraceae (Compositae)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Mugwort (Artemisia vulgaris) Extract (10)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พืชลมลุก อายุหลายป สูง 1-1.5 ม. ลําตนสีมวงแดง โคนตนมีราก เปนเหงาติดพื้นดินหรืออยู ใตดิน กิ่งกาน
แตกรากออกมาก รากมีกลิ่นหอม ใบประกอบแบบขนนก (pinnate) สีเขียวคล้ํายาวไดถึง 8 ซม. ออกเรียงสลับ ดอก
ออกเปนชอ (panicle) ที่ยอดหรือปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก สีเหลืองออน- น้ําตาลแดง ผลแหง รูปยาวรี ขนาดเล็กสี
ดํา เมล็ดรูปไข ผิวเกลี้ยง (1,3,4,9)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มี ถิ่น กํ าเนิ ด ในเอเชี ย และอเมริก าเหนื อ ป จ จุบั น มี การเพาะปลูกกั น ทั่ วไปในทวี ป ยุ โรป ยกเว น
บริเวณทางตอนใต (6)

สรรพคุณพื้นบาน :
ราก : ขับพยาธิ รักษาโรคลม
ลําตน : ขับเสมหะ แกหืด แกไขเจรียง ไขจับสั่น ไขเรื้อรัง ไอ
ใบ : แก หื ด ขั บ ลม แก ไ อ แก บิ ด แก ท อ งเสี ย ขั บ ระดู บี บ มดลู ก ขั บ เสมหะ
รักษากลากเกลื้อน ขับน้ําเหลือง บรรเทาอาการปวดศีรษะ แกไขเจรียง ไขที่มีผื่น
ขึ้นตามตัว แกไขรากสาด
ดอก : ขับเสมหะ แกหืด
ทั้งตน : แกไขเจรียง ไขที่มีผื่นขึ้นตามตัว เชน หัด สุกใส ฝดาษ ไขรากสาด แกหืดไอ แกไขเสมหะ
ไมระบุสวนที่ใช : แกไขเจรียง ไขจับสั่น บํารุงโลหิต ขับลม แกชัก ชวยทําใหสงบ
โกฐจุฬาลําพาเปนพืชที่มีรสขมและมีกลิ่นหอม บํารุงรางกาย ชวยกระตุนระบบยอยอาหาร ขับ
ปสสาวะ บํารุงประสาท เพิ่มการขับเหงื่อ กระตุนมดลูกและขับพยาธิในลําไส (1,3,5,6)
-180-

ตํารายาแผนโบราณโฮมีพาที (HAB1) ใหใชสวนใตดินที่เก็บเกี่ยวตนฤดูหนาว (สด) ใชขับพยาธิ


แกปวดทอง สมัยโบราณกรีกและโรมัน ใช mugwort เปนยาในโรคเฉพาะสตรี ในเยอรมนี มีความเชื่อ
วาสมุนไพรนี้ ชวยบรรเทาอาการเมื่อยที่เทา (8) ยาพื้นบานใชบรรเทาอาการจากระบบยอยอาหารทํางาน
ผิดปกติ เชน เบื่ออาหาร ทองอืดเฟอ ขนาดที่ใช 0.5-2 มก. ชงเปนชา ดื่มวันละ 3 ครั้ง
โกฐจุฬาลําพาใชภายใน บรรเทาอาการซึมเซา เบื่ออาหาร ทองอืดเฟอ ขับพยาธิเสนดายและพยาธิ
ตัวกลม อาการประจําเดือนมาไมปกติ (ในตะวันตกใชเรงประจําเดือน ในตะวันออกใชควบคุมการไหล
ของเลือดจากมดลูกและการแทงบุตร) ยาจีนใชใบแหงที่อัดเปนกอน (เรียกวา moxa) จุดไฟและมาลนที่ผิว
หนังชั่วครูเพื่อทําใหจุดที่ฝงเข็มรอนเพื่อบรรเทาอาการเย็นภายใน ในอายุรเวทมักใชรักษาระบบสืบพันธุ
ของสตรี อาการทางประสาท และใชลางแผลติดเชื้อรา หามใชในสตรีมีครรภ (5)

สวนที่ใช :
ทุกสวนของโกฐจุฬาลําพาซึ่งเก็บเกี่ยวในตนฤดูหนาว สวนเหนือดิน (herb)หรือกิ่งกาน สวนยอด
ที่เก็บเกี่ยวขณะมีดอกและนํามาทําใหแหง (8)

องคประกอบทางเคมี :
สวนเหนือดิน (herb)
- มีน้ํามันหอมระเหย (volatile oil) 0.03-0.2% ซึ่งประกอบดวย 1,8-ซินีออล (1,8-cineol), แคม
เฟอร (camphor), ลินาโลออล (linalool), ทูโจน (thujone), เทอรปนีน-4-ออล (terpinene-4-
ol), (+) และ(-)บอรนิออล (borneol), เมอรซีน (myrcene), เบตา-ไพนีน (β-pinene)
- เซสควิเทอรปนสแลคโตน (sesquiterpene lactones) ชนิดยูเดสแมน (eudesman) เชน วูล
การิน (vulgarin) พิโลสทาไคอิน (pilostachyin) พิโลสทาไคอินซ (pilostachyin C)
- lipophilic flavonoids เ ช น 5,3′–dihydroxy-3,7,4′–trimethoxyflavone แ ล ะ 7,8-
methylene-dioxy-9-methoxy coumarin
- polyynes
- coumarins เชน อัมเบลลิเฟอโรน (umbelliferone), เอสคูเลทิน (aesculetin) (6)

O
CH3

H H
CH3
HO CH3
O H
O
-181-

vulgarin (judaicin, tauremisin) C15H20O4 , MR 264.32


(eudesmanolide) (8)
สารสกัด :
สารสกัดจากทั้งตน Artemisia vulgaris (4)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
เปนสวนผสมในผลิตภัณฑทําความสะอาดผิว และเปนสียอมผม (สีเหลือง) (9)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- เพิ่มความอยากอาหาร ชวยยอย กระตุนการทํางานของตับและถุงน้ําดี ขับพยาธิเสนดายและพยาธิตัวกลม
ตานมาลาเรีย ทําใหกลามเนื้อมดลูกบีบตัว ตานจุลชีพ (แบคทีเรีย ไวรัสและเชื้อรา) ยับยั้งการกอกลาย
พันธุ แกชัก บํารุงหัวใจ ลดความดันโลหิต (3,5)
- มีรายงานวาวูลการิน (vulgarin) มีฤทธิ์เปนพิษตอเซลล และตานมะเร็ง (7)

ขอควรระวัง :
การใชภายนอกอาจกระตุนใหเกิดการแพ หารรับประทานไมควรใชในสตรีมีครรภและขณะที่ใหนม
บุตร (5,9)

เอกสารอางอิง :
1. ชยันต พิเชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ ฉบับ
เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร พริ้น
ติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด. 2544: 240-1, 243.
2. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 55-6.
3. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 340-2.
4. วงศสถิตย ฉั่วกุลและคณะ. สมุนไพรไทย มรดกไทย. กรุงเทพฯ: บริษัทสยามบุคสแอนดพับลิเคชั่น
จํากัด, 2540: 85.
5. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 244.
6. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 530-1.
7. Harborne JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd ed. Taylor&Frencis Ltd. 1999.
-182-

8. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
9. Vermeulen N. Encyclopaedia of herbs. The Netherlands: Rebo Productions Ltd.,1999: 55-6.
10. Wenninger JA, McEwen G.N. Interbational Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 438.
-183-

โกฐจุฬาลําพา (Artemisia vulgaris L.)


-184-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Chinese rhubarb, ไชนิส รูบารบ


ชื่อไทย (Thai name) : โกฐน้ําเตา
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Kanton-Rhabarber, Medizinalrhabarber,
ostindischer Rhabarber, Suedchinesischer
Rhabarber Tuerkischer Rhabarber (3)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Rheum officinale Baillon
ชื่อพอง (Synonyms) : -
วงศ (Family) : Polygonaceae (1)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมลมลุก เหงาอยูในแนวตั้ง และมีรากแตกแขนง ใบแตกออกจากกเหงาในฤดูใบไมผลิ ดอกชอ
ประกอบดวยดอกสีขาว เขียวแกมขาว หรือดอกสีแดง ใบรูปหัวใจ ขอบใบหยักเปนฟนเลื่อยหยาบๆ (2)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
โกฐน้ําเตามีถิ่นกําเนิดใน ตอนใต จีน อินเดีย พมาและตอนใตของไซบีเรีย ปจจุบันมีการเพาะปลูก
ในจีน และยุโรปกลาง(3,4) R. palmatum มีถิ่นกําเนิดในเขตภูเขาของตอนเหนือของธิเบตและจีน ตะวัน
ตกเฉียงเหนือ มีการเพาะปลูกในจีนและรัสเซีย (4)

สรรพคุณพื้นบาน :
จีนใชโกฐน้ําเตาเปนยามานานกวา 1,000 ป เพื่อรักษาอาการทองผูก (ใชในขนาดสูง) นอกจากนี้
ยังใชรักษาอาการทองรวงเรื้อรัง (ใชในขนาดต่ําๆ) ดีซาน มะเร็ง ปจจุบันใชรักษาภาวะเลือดออกในทางเดิน
อาหารสวนบน (4)
ราก : ขับลม บํารุงธาตุ แกตาอักเสบ กระจายลม ขับพยาธิ แกทองเสีย ระบายทอง
แกริดสีดวงทวาร แกโรคลม แกอาหารไมยอย
ไมระบุสวนที่ใช : แกริดสีดวงทวาร แกโรคตา ระบายทอง บํารุงธาตุ ขับพยาธิ (2)
ตําราโฮมีโอพาที (HAB1) ใชสวนใตดินของ R.palmatum และ R. officinale หรือพันธุผสมของ
โกฐน้ําเตาทั้งสองชนิด ใชบรรเทาอาการทองรวง อาการงอแงในเด็ก และปวดฟน (3)
ตําราสมุนไพร (3) ใชโกฐน้ําเตาเปนยาระบาย ขนาดที่ใช 1-2 ก. (crude drug) หรือเปนยาเจริญ
อาหาร (stomachic) ขนาดที่ใช 0.1-0.2 ก. (crude drug) โกฐน้ําเตาเปนสวนผสมในผลิตภัณฑที่เปนยา
ระบายและรักษาแผลในชองปาก (3)
-185-

สวนที่ใช :
เหงาและรากแหง ซึ่งเปนสวนใตดินของ R. officinale และ R. palmatum
องคประกอบทางเคมี :
สวนใตดินของ โกฐน้ําเตาทั้งสองชนิด (R. officinal และ R. palmatum, มีสารผสมแอนทราควิโนน
3-12% สวนใหญเปนแอนทราควิโนนกลัยโคไซดประมาณ 60-80% และ ไดแอนโทรนกลัยโคไซดประมาณ
10-25% นอกจากนี้เปนแอนโทรนกลัยโคไซดและอะกลัยโคน ซึ่งสวนใหญเปนเรอิน (rhein), คริโชฟานอล
(chrysophanol), อะโลอีโมดิน (aloe-emodin), ไฟซิโอน (physcion) และเรอุมอีโมดิน (rheumemodin)
องคประกอบอื่นๆ ไดแก แทนนิน ชึ่งเปนชนิดแกลโลแทนนิน โดยมี galloyl glucose, อนุพันธุ 1-
phenylbutanone และ galloyl saccharose เปนสารตั้งตน ; ฟลาโวนอยด (2-3%) และอนุพันธแนพทอล
(naphthol derivatives) (3)
โกฐน้ํ าเต าประกอบดวยสารหลัก ๆ 2 กลุม คือ แอนทรากลัยโคไซด และแทนนิน โดยมีแอน
ทราควิ โ นนหลั ก เป น กรดคริ ส โซฟานิ ก (chrysophanic acid) อี โ มดิ น (emodin) อะโลอี โ มดิ น (aloe
emodin) เรอิ น (rhein) ไฟซิ อ อน (physcion) และมี ก ลั ย โคไซด เป น O-glucosides (chrysophanol-1-
monoglucoside), emodin-6-monoglucoside, aloe-emodin-8-monoglucoside, rhein-8-
monoglucoside, physcione monoglucoside แต ป ริม าณสารเหลานี้แตกต างกัน ไปตามชวงเวลาที่เก็บ
เกี่ ย ว ป จ จุ บั น มี ก ารแยกสารที่ มี ฤ ทธิ์ เป น ยาระบายได จ ากโกฐน้ํ า เต า คื อ เรอิ โ นไซด เอ, บี , ซี แ ละดี
(rheinosides A,B,C,D)
แทนนินที่พบในโกฐน้ําเตามีทั้งชนิดคาทีชิน (cathechin) และกรดแกลลิก (gallic acid) ประกอบ
ดวย d-cathchin, d-epicatechin gallate, glucogallin (galloylglucose)
นอกจากนี้ยังมีน้ํามันหอมระเหยซึ่งประกอบดวยสารสําคัญกวา 100 ชนิด เชน กรดคริสโซฟานิก
(chrysophanic acid) และแอนทราควิ โ นนอื่ น ๆ ไดไอโซบิ ว ทิ ว พ ท าเลท (diisobutylphthalate), กรด
ซินนามิก (cinnamic acid) กรดฟนิลโพรพิโอนิก (phenylpropionic acid) กรดเฟรูลิก (ferulic acid)
สารกลุมอื่นๆ ที่พบได เชน คัลเซียมออกซาเลท (calcium oxalate) กรดไขมันตางๆ เชน กรดโอ
เลอิก กรดพัลมิติก น้ําตาล รูติน (rutin) ฟลาโวนอยด แปงและเรซิน (4)

HO O OH

R
O
-186-

rhein : R = COOH
chrysophanol : R = CH3
aloe-emodin : R = CH2OH (3)

สารสกัด :
สารสกัดจากเหงา (rhizome) ของ Rheum officinale
ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ใชในผลิตภัณฑทาผิวเนื่องจากมีฤทธิ์ฝาดสมาน เชน ผลิตภัณฑสมานผิว (toner) และผลิตภัณฑ
after sun (6)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
โกฐน้ําเตามีฤทธิ์ทั้งเปนยาฝาดสมานและคุณสมบัติเปนยาระบาย การใชโกฐน้ําเตาปริมาณนอยๆ
ในสภาวะที่เหมาะสมจะมีฤทธิ์ฝาดสมาน ใชรักษาโรคทองรวงขณะที่ปริมาณมากขึ้นใชภายใตสภาวะอื่นๆ
จะมีฤทธิ์ระบาย (4,6)
ฤทธิ์เปนยาระบายของโกฐน้ําเตาเนื่องมาจากสารแอนทราควิโนน กลัยโคไซด สวนฤทธิ์ฝาดสมาน
มาจากสารแทนนิน ฤทธิ์ระบายเกิดขึ้นเนื่องจากการยับยั้งการดูดกลับน้ําและเกลือแรในลําไสใหญซึ่งมีอิทธิ
พลตอการเคลื่อนไหวของลําไส
นอกจากนี้โกฐน้ําเตาและสารสกัดยังมีฤทธิ์ตานมะเร็ง ตานจุลชีพ และตานการอักเสบอีกดวย (4)
โกฐน้ําเตายังใชเปนสารแตงรสขมในผลิตภัณฑหลายชนิด เชน เครื่องดื่มที่มีและไมมีแอลกอฮอล
ลูกอม เจลาติน และพุดดิ้งส ปริมาณมากที่สุดที่ใช คือ 0.05%

ขอควรระวัง :
1. หามใชโกฐน้ําเตา (เหงา) ในสตรีมีครรภ ขณะใหนมบุตร หรือผูปวยลําไสอุดตน (6)
2. ใบของโกฐน้ําเตามีพิษ ทําใหอาเจียนอยางรุนแรง ทําลายตับและไต

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 450.
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรพื้นบาน (1). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 352-4.
3. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
-187-

4. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 438-40.
5. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 22-3, 42.
6. Weiss RF. Weiss’s Herbal Medicine. New York: Georg Thieme Verlag, 2001: 108-9.

โกฐน้ําเตา (Rheum officinale Baillon)


-188-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Iris, ไอริส


ชื่อไทย (Thai name) : โกษฐสอเทศ
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Florentine orris, White flag root (4), Schwertlilie (6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Iris florentina L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Iris germanica L. var. florentine Dykes
วงศ (Family) : Iridaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
เปนพืชขนาดเล็ก มีอายุหลายป มีเหงาขนาดใหญ ใบในระยะแรกจะเปนรูปใบดาบกวาง เมื่อใบมี
อายุมากขึ้นจะยาวขึ้น ปลายอาจพับหอยลง ดอกออกเปนชอ มีดอกยอย 2-3 ดอกอยูในกาบ ดอกสีขาว
ขนาดใหญ มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงมี 3 กลีบพับลง มีสีมวงเขม มีแตมสีเหลืองสดตรงโคนดานในกลีบเลี้ยง
กลี บ ดอกมี 3 กลี บ ขนาดเท าๆ กั บ กลี บ เลี้ ย ง เกสรตั วผู 3 อั น เกสรตั วเมี ย 1 อั น ผลเป น แบบกล อ งมี
3 เหลี่ยม

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดในยุโรปบริเวณมาเซโดเนียน เมดิเตอรเรเนียน เยอรมนี ตอนเหนือของอิตาลี และ
ฝรั่งเศส (6) ป จ จุบั น อิ ต าลี แ ละโมร็อ กโกเป น แหลงผลิต และสงออก โกษฐสอเทศจะได จ ากเหงาอายุ
2-3 ป เก็บเกี่ยวในระหวางเดือนมิถุนายน-กันยายน นํามาลางใหสะอาดและปอกเปลือกตากแดดใหแหง
เมื่อยังสดจะมีรสขมและไมมีกลิ่นหอม เมื่อทําใหแหงจะหอมมากขึ้น

สรรพคุณพื้นบาน :
รักษาอาการผิ ดปกติของระบบทางเดินหายใจ (4) ขับ เสมหะ บรรเทาอาการไอ (7) หลอดลม
อักเสบ (2) เปนยาระบายออนๆ เมื่อใชปริมาณนอย ขับปสสาวะ รักษาความผิดปกติของถุงน้ําดีและมาม
(2,3,5) ยาชงจากรากใชถูน วดบรรเทาอาการปวดขอ ปวดหลัง ใชภายในเปนยาตานพิ ษ (antidotes) (2)
บรรเทาอาการอักเสบเยื่อบุ และทองรวง (7)
ตํารายาโฮมีโอพาที (HAB34) ใชรากและเหงาสด บรรเทาอาการไมเกรน ปวดเสนประสาทที่ ใบ
หนา บรรเทาอาการอักเสบที่เยื่อบุกระเพาะอาหาร และตับออน (6)

สวนที่ใช :
เหงา (หรือเรียกวา orris root)
-189-

องคประกอบทางเคมี
เหงามีไอริดิน (iridin, irigenin-7-O-glucoside) เปนองคประกอบสําคัญของเหงาซึ่งใชในอุตสาห
กรรมเครื่องสําอาง นอกจากนี้มีไอริสแซนโทน (irisxanthone, อัลฟา-ไอโรน (α-irone) ซึ่งเปนกลิ่นหอม
หวานของดอกไวโอเล็ต (Viola spp.) และกรดมัยริสติก (myristic acid) ซึ่งใชสังเคราะหกลิ่นและน้ําหอม
เปนสวนประกอบในตัวหลอลื่น (lubricant) สบู ครีมโกนหนวด และใชกับหนังสัตวกันน้ํา (5) อาจแบงกลุม
สารสําคัญในเหงาโกษฐสอเทศได ดังนี้
- น้ํามันหอมระเหย : irone (alpha - , beta - , gamma-irone , ทําใหมีกลิ่นคลาย ดอก
ไวโอเล็ต)
- triterpenes : riigermanal
- isoflavonoids : irilon, irisolone, irigenine, tectorigenin, iridine
- flavonoids
- xanthones : magniferin
- แปง (4)

CH2OH
O
HO
O O
HO
OH
OCH3
H3CO
OH O
OCH3
OH

iridine (isoflavone-O-glucoside)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ใชทําความสะอาดฟน (7) เปนสวนผสมในน้ําหอม สบู ครีมโกนหนวด แปงผัดหนา (cosmetic
powders) และชุดแตงหนา (make-ups) (2)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
-190-

- ฤทธิ์ขับเสมหะออนๆ : สารฟลาโวนอยด (เชน isoflavon ที่มีชื่อวา irigenine) แสดงฤทธิ์


ยับยั้ง เอนไซม c – AMP phosphodiesterase
- สารสกัดจากรากมีฤทธิ์เคลือบกระเพาะ (ulcer – protective), คลายกลามเนื้อ(spasmolytic)
และตาน serotonin (serotonin – antagonistic effect) (4)

ขอควรระวัง :
น้ําที่ไดจากตนสด ทําใหเกิดการระคายเคืองตอผิวหนังและเยื่อบุออน (mucous membrane) ถา
ใชภายในอาจทําใหอาเจียน ปวดทอง และถายเปนเลือดได เมื่อสัมผัสกับเยื่อบุออนอาจเกิดอาการอักเสบ
อยางรุนแรง ควรระมัดระวังการใชในหญิงมีครรภ (4)

เอกสารอางอิง :
1. ชยันต พิเชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิตและวิเชียร จีรวงศ. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ
ฉบับเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: บริษัท
อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน). 2544: 251-2.
2. Boulos L. Medicinal Plants of North Africa. USA. 1983: 97.
3. Chopra RN, Chopra IC, Handa KL, et al. Chopra ’s Indigenous drugs of India.2nd ed. Calcutta-
6 Basu Printing Works. 1958: 676.
4. Gruenwald J, Brendler T, Jaenicke C. PDR for Herbal Medicines. 2nd ed. Montvale: Medical
Economics Company, 2000: 561-2.
5. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
7. Veumeulen N. Encyclopaedia of Herbs. Slovenia: Rebo Production Ltd, 1999: 158-9.
-191-

โกษฐสอเทศ (Iris florentina L.)


-192-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Jack fruit tree, แจ็ค ฟรุต ทรี
ชื่อไทย (Thai name) : ขนุน
ชื่อทองถิ่น (Local names) : ขะนู ขะเนอ ซีคึย ปะหนอย นะยวยซะ นากอ เนน
มะหนุน ลาง ลาง หมักหมี้ หมากลาง (1,2,4)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Artocarpus heterophyllus Lam.
ชื่อพอง (Synonyms) : Artocarpus integrifolia L. f.
วงศ (Family) : Moraceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมตนขนาดใหญ สูงประมาณ 10-25 ม. ลําตนตั้งตรง เนื้อไมเปนไมเนื้อออน มีสีเหลือง เปลือก
ลําตนมีผิวเรียบสีน้ําตาลดํา ไมผลัดใบ เมื่อเกิดแผลมียางขาว ใบ เปนใบเดี่ยวเรียงสลับ หูใบใหญ
ลักษณะคลายรูปไข ใบมันและหนาเหมือนแผนหนัง ใบจะเปลี่ยนเปนสีเหลืองและรวงหลนเมื่อแก ดอก
ออกเปนชอ ชอดอกตัวผูและตัวเมียแยกกันคนละดอกบนตนเดียวกัน (monoecious) สวนของเนื้อที่ รับ
ประทานเจริญมาจากกลีบดอก ผลเปนผลรวม (multiple fruit) ขนาดใหญ รอบผลมีหนามสั้นๆ ไมแหลม
คม (2,4)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนไมผลเขตรอน มีถิ่นกําเนิดในประเทศอินเดีย ลังกา มาเลเซีย และเขตที่มีความชื้นสูง (4)

สรรพคุณพื้นบาน :
ราก : รักษาโรคผิวหนัง โรคมะเร็ง แกทองเสีย บํารุงเลือด แกกามโรค
แกน : สมานแผล บํารุงกําลัง บํารุงเลือด ลดไข
ใบ : แกปวดหู หูน้ําหนวก นอกจากนี้ยังนําเถาจากใบรักษาแผลเปอยอักเสบ โรคผิว
หนัง
ผลดิบ : มีฤทธิ์ฝาดสมาน แกทองเสีย รักษาแผลในกระเพาะลําไส
ผลสุก : ใชรับประทานเพราะมีคุณคาทางอาหารสูง ยาระบาย กระตุนการทํางานของ
กระเพาะลําไส
เมล็ด : บํารุงน้ํานมในสตรีหลังคลอด, บํารุงรางกาย
ยาง : ทาแผลบวมอักเสบ แผลมีหนองเรื้อรัง แกตอมน้ําเหลืองอักเสบ รักษาแผลงูกัด
นอกจากสรรพคุณทางยาแลว เนื้อไมและขี้เลื่อยนํามาตมน้ําใชยอมผา (2,3,4,8)
-193-

สวนที่ใช :
ผล ราก ใบ เนื้อไม
องคประกอบทางเคมี :
- อาร โ ทคาร ป น (artocarpin) มอริ น (morin) ไซยาโนมาคลู ริ น (cyanomaclurin) เพคติ น
(pectin) เลคติน (lectin) กรดเพคตินิก (pectinic acid) (2,3,7)
- มีรายงานพบสารเรสเวราทรอล (resveratrol) ใน Artocarpus spp. (6)

OH

HO O

OH
OH
OH O

morin (flavonol) หรือ 3,5,7,2′,4′- pentahydroxyflavone

สารสกัด :
Artocarpus heterophyllum extract (7)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
สารสกัดจากขนุนมีฤทธิ์ตานจุลชีพ จึงมีการนํามาใชเปนสวนผสมในครีมทาผิวบริเวณที่เปนสิว (7)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- จากการวิจัยพบวา สารสกัดจากใบขนุนชวยลดน้ําตาลในเลือด กระตุนการเจริญเพิ่มของเม็ด
เลือดขาว (5)
- สารเรสเวราทรอล มีคุณสมบัติตานเชื้อแบคทีเรียและรา (6)
- สารมอรินมีคุณสมบัติตานไวรัส และตานจุลชีพ (6)

ขอควรระวัง :
สารบอรินอาจกระตุนการแพ (6)
-194-

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 56.
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (1). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 362-3.
3. นิจศิริ เรืองศิริ, พะยอม ตันติวัตน. พืชสมุนไพร. โรงพิมพจุฬาฯ., 2532: 189.
4. สุรีย ภูมิภมร, อนันต ดําดง. ไมอเนกประสงคกินได., 2540: 43-5.
5. Fernando M.E., Wickramsinghe N. thabrew M.I., Ariananda D.L. and Karunanayake E.H.
Effect of Artocarpas heterophyllus and Asteracanthus longifolia on glucose tolerancein
normal human subjects and in maturity - onset patients. J Ethnopharmacol 1991 Mar; 31 (3):
277-82.
6. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999
7. Hojima, Hiroyuki. Cosmetics, foods and pharmaceuticals containing antimicrobial
Artocarpas heterophyllum extract. Japan: Kokai Tokyo Koho JP., 19 Mar 1996: 559.
8. Quisumbing E. Medicinal Plants of the Philippines. Katha Publishing Co., INC. 1978: 228-30.
-195-
-196-

ขนุน (Artocarpus heterophyllus Lam.)


-196-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Maize, เมซ


ชื่อไทย (Thai name) : ขาวโพด
ชื่อทองถิ่น (Local names) : ขาวแข ขาวสาลี สาลี บือเคสะ โพด (1), Mais,
corn (6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Zea mays L. Off. (6)
ชื่อพอง (Synonyms) : -
วงศ (Family) : Poaceae (Gramineae)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Corn (Zea mays) cob powder
Corn (Zea mays) cob meal
Corn (Zea mays) extract
Corn (Zea mays) flour
Corn (Zea mays) germ extract
Corn (Zea mays) germ oil
Corn (Zea mays) gluten protein
Corn (Zea mays) meal
Corn (Zea mays) oil
Corn (Zea mays) oil unsaponifiables
Corn (Zea mays) silk Extract
Corn (Zea mays) starch (9)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พืชลมลุกในวงศเดียวกับหญา ลําตนตั้งตรง สูง 1-3 ม. ใบเรียวตรงปลายแหลม เสนกลางใบเห็น
ไดชัด ขอบใบมีขนออนสีขาว ดอกเพศผูและดอกเพศเมียอยูในตนเดียวกัน ชอดอกเพศผูอยูที่สวนยอด
ของลําตน ชอดอกเพศเมียจะอยูต่ําถัดลงมา ออกระหวางกาบของใบและลําตน ดอกยอยมีกานเกสรตัวผู
9-10 อัน และมีอับเรณูสีเหลืองสม ยอดเกสรตัวเมียเปนเสนบาง ๆ ยื่นออกมาจํานวนมาก ฝกหุมดวย
กาบบางหลายชั้น ฝกออนสีเขียว เมื่อแกจะเปลี่ยนเป น สีน วลเรียกวาเปลือกขาวโพด ผลเปนฝกทรง
กระบอก ใน 1 ฝกมีเมล็ดเกาะอยูประมาณ 8 แถว แถวหนึ่งๆ มีประมาณ 30 เมล็ดและมีสีตางๆ กัน เชน
สีนวล เหลือง ขาว หรือมวงดํา (2)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนพืชที่มีการเพาะปลูกทั่วโลก โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา คาดวามีถิ่นกําเนิดในเม็กซิโก (5)
-197-

สรรพคุณพื้นบาน :
ราก : ขับปสสาวะ แกนิ่ว แกอาเจียนเปนเลือด
ตน : แกนิ่ว แกไขทับระดู บํารุงกําลัง บํารุงธาตุ เจริญอาหาร
ใบ : แกนิ่ว
corn silk : ขั บ ป ส สาวะ ขั บ ร อ น บํ า รุ ง ตั บ ขั บ น้ํ า ดี แก ไ ตอั ก เสบ บวมน้ํ า ตั บ อั ก เสบ
แกความดันโลหิตสูง แกถุงน้ําดีอักเสบ นิ่วในถุงน้ําดี เบาหวาน อาเจียนเปน
เลือด โพรงจมูกอักเสบ เลือดกําเดาออกงาย รักษาโรคทางเดินปสสาวะ รักษา
โรคไตอักเสบเรื่อรัง นิ่ว ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ขับปสสาวะ พอกแผล
ทําใหเยื่อออนนุม ระงับอาการคลื่นไส อาเจียน รักษากามโรค ตําราโฮมีโอพาที
(HAB 34) corn silk (สด) ใชรักษาอาการไมสบายเกี่ยวกับไต ทางเดินปสสาวะและ
ผิวหนัง (6)
เมล็ด : ขับปสสาวะ บํารุงกระเพาะอาหาร ฝาดสมาน บํารุงหัวใจ ปอด ทําใหเจริญอาหาร พอกแผล
ทําใหเยื่อออนนุม ไมเกิดอาการระคายเคือง ระงับอาการคลื่นไส อาเจียน
ซัง :ถอนพิษรานและพิ ษยา แกปสสาวะขัดหรือนิ่ว บํารุงมาม แกบวมน้ํา แกบิด
ทองรวง
ไมระบุสวนที่ใช : แกพิษรอน ขับปสสาวะ (2)
ขาวโพดเปนพืชรสหวาน เย็น ชวยขับปสสาวะ ลดระดับน้ําตาลในเลือด กระตุนการไหลของน้ําดี
และชวยปองกันนิ่ว (3)
จีน ใชขาวโพดขับ ป สสาวะสําหรับ ผูที่บ วมน้ํา โดยใช corn silk เตรียมเป น ผงยาชง (decoction)
และใชในโรคเบาหวาน โดยใชรวมกับเปลือกผลเสวรส (waterkmon) และใชในโรคความดันโลหิตสูง (7)

สวนที่ใช :
เกสรตั ว เมี ย (stigma) และ ก านชูเกสรตั วเมี ย (style) ซึ่ งเรีย กว า corn silk, ผล, เมล็ด และน้ํ ามั น จากเมล็ ด
(3,6,7)

องคประกอบทางเคมี :
1. แปงขาวโพด ไดจากเมล็ดขาวโพดภายหลังจากแยกตนออน (seedling) ที่มีน้ํามันออก โดยการบด
เมล็ดกับน้ํา ผลขาวโพดมีแปงประมาณ 55-72% ซึ่งประกอบดวยเม็ดแปงกลมและเหลี่ยมขนาด
10-20 γm (6)
-198-

2. น้ํามันขาวโพดซึ่งไดจากบีบหรือสกัด seedling ขาวโพดและนําไปทําใหบริสุทธิ์ มีปริมาณน้ํามัน 30-


50% น้ํามันประกอบดวยกลีเซอไรด (ไดมากถึง 93%) ของกรดลิโนลิก (34-62%) กรดโอเลอิก (19-
49%) กรดพัลมิติก (8-12%) กรดสเตียริก (2-4%)และกรดลิโนเลนิก (ประมาณ 1%) และมีวิตามินอี
(6)
3. ไหมขาวโพด (corn silk) เปนเกสรตัวเมียและกานชู (stigma และ style) นํามาทําใหแหง มีน้ํามันหอม
ระเหย 0.1-0.2% ซึ่งมีประกอบดวย คารวาครอล (carvacrol) แทนนิน ฟลาโวนอยด เรซิน ซาโปนิน
สารเมือก และมีเกลือคัลเซียมสูง (6)

CH 3 H
CH 3 CH 3 OH
H 3C
CH 3

H3C CH 3
HO CH 3 CH 3
CH 3
H

zeaxanthin
(zeaxanthol, anchocyxanthin)
สารสีเหลืองใชแตงสีอาหาร (5)

สารสกัด :
Corn cob meal เปนแปงบดที่ไดจากจมูกขาวโพด
Corn cob powder เปนแปงที่ไดจากจมูกขาวโพด
Corn extract เปนสารสกัด จากเนื้อในเมล็ด (kernels)
Corn flour เปนแปงที่ไดจากการบดละเอียดเนื้อในเมล็ด
Corn germ extract เปนสารสกัดที่ไดจากเมล็ด
Corn germ oil เปนน้ํามันที่ไดจากเมล็ด
Corn gluten protein เปนโปรตีนจากเอนโดสเปรม (endosperm)
Corn meal เปนแปงหยาบที่ไดจากเนื้อของเมล็ดขาวโพด (kernels)
Corn oil เปนน้ํามันไมระเหย (fixed oil) ที่ไดจากการบดเมล็ดขาวโพด
Corn oil unsaponifiables เปนน้ํามันขาวโพดซึ่งไมผานการ saponified ของกรดไขมัน
Corn silk extract เปนสารสกัดจากเกสรตัวเมีย (stigma และ style)
Corn starch เปนแปงจากเมล็ดขาวโพด (7)
-199-

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
แปงขาวโพด (corn starch) ใชเปน powder base ในแปงผัดหนา (5), แปงฝุนโรยตัว
น้ํามันขาวโพดมีวิตามินอีธรรมชาติ ใชเปนสวนผสมในผลิตภัณฑบํารุงผิวหนาและรางกาย (6)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- แปงขาวโพดใชเปน powder base และสารยึด เกาะ (binder) ในการตอกยาเม็ ด ในผลิต
ภัณฑ อาหารเป นสารขัด (finishing substance) และใชเตรียมกลูโคส มอลโทส ไซรับและ
gum ซึ่งเปน product ที่ไดจากการอบแปงที่ประมาณ 200 oC (6)
- น้ํามันขาวโพด (corn oil) ใหวิตามินอีธรรมชาติ ใชปรุงอาหาร (6)
- ไหมขาวโพด (corn silk) มีสรรพคุณพื้นบานขับปสสาวะ ใชในรายที่มีอาการผิดปกติเกี่ยวกับ
การถ า ยป ส สาวะ กระเพาะป ส สาวะและนิ่ ว ที่ ไ ต อาจใช ใ นรู ป ชาชง ขนาดที่ ใ ช 1 ช อ นชา
(ประมาณ 0.5 ก.)/ครั้ง
- มีรายงานการทดลองในสัตววาเกสรตัวเมียชวยขับปสสาวะ ลดน้ําตาลในเลือดและลดความดัน
โลหิต (7)
- ใชภายในรักษาโรคกระเพาะปสสาวะอักเสบ ทอปสสาวะอักเสบ ตอมลูกหมากอักเสบ นิ่ว
ในกระเพาะปสสาวะ และการปสสาวะรดที่นอนในเด็ก
- มี ก ารใช ร ว มกั บ Elymus repens, Arctostaphylos uva-ursi รั ก ษาโรคกระเพาะป ส สาวะ
อั ก เสบ ใช ร ว ม กั บ Equisetum arvense ใน เด็ กที่ ป สสาวะรด ที่ น อน และใช ร ว ม กั บ
Eupatorium purpureum, Aphanes arvensis รักษานิ่วในกระเพาะปสสาวะ (3)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 562.
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรพื้นบาน (1). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 437-44.
3. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses.London: Dorling Kindersley Limited, 1995:
372-3.
4. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 224-5.
-200-

5. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
7. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 195-6.
8. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 159.
9. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 187-8, 770.
-201-

ขาวโพด (Zea mays L. Off.)


-201-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Celery, เซเลรี


ชื่อไทย (Thai name) : คื่นไฉ
ชื่อทองถิ่น (Local names) : ผักขาวปน ผักปน ผักปม (1), Root Celery, Turnip-
Rooted Celery (2), Echter Sellerie (6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Apium graveolens L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Apium celleri, A. decumbens, A. lobatum, A.
maritum, A. vulgare, Celeri graveolens, Selenium
graveolens, Seseli graveolens, Sison ruta, Sium
apium, Sium graveolens, Smyrium laterale (6)
วงศ (Family) : Apiaceae (Umbelliferae)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Celery (Apium graveolens) extract (10)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พืชลมลุก สูง 30-100 ซม. ลําตนตั้งตรง มีรองยาวอวบน้ํา ใบมัน สีเขียวเขม กานใบยาว มีกาบใบหุม
ลําตน ดอกชอแบบรมสีขาวเขียว มี 6-12 แฉก กานชูดอกสั้นหรือไมมี กลีบดอกสีขาวหรือเขียว ฐานรูปหัวใจ ผล
ขนาดเล็ก (2-4)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
พบในทวี ป ยุ โรปจากอั งกฤษจนถึ งตอนใต ข องรัส เซี ย ป จ จุ บั น มี ก ารเพาะปลู ก ทั่ วไปในเอเชี ย
ตะวันตก อเมริกาเหนือ อเมริกาใต เม็กซิโกและอารเจนตินา (4)

สรรพคุณพื้นบาน :
ราก : แกจุกเสียด ขับปสสาวะ
ตําราสมุนไพร (6) ใชขับลม บรรเทาอาการทองอืด-เฟอ ขับปสสาวะ น้ํา
คั้นจากรากนําไปตมและผสมกับน้ําตาลนําไปดื่มแกไอ นอกจากนี้หัว ใต
ดิน (tuber) ใชบํารุงสมรรถนะทางเพศ น้ําคั้นสดจากใบและรากชวยกระตุน
การทํางานของไต แกปวดขอ
ตน : ขับระดู ลดความดันโลหิต ขับปสสาวะ บรรเทาอาการปวดขอ ขับลม
แกอาเจียน ใชในโรคตับและไต
ใบ : ลดความดันโลหิต บรรเทาอาการตกเลือด และลมพิษ
ผล : ขับลม ขับระดู ขับปสสาวะ คลายการเกร็งของกลามเนื้อ เปนยาบํารุง บํารุงหัวใจ
ใชในหลอดลมอักเสบ โรคหืด โรคตับ และโรคมาม
-202-

ตําราสมุนไพร (6) ใชเปน ยาขับปส สาวะในอาการผิ ดปกติเกี่ยวกับไตและกระเพาะ


ปสสาวะ บรรเทาอาการปวดขอ
ทั้งตน : ลดความดันโลหิต ขับระดู ชวยเจริญอาหาร ขับลม ขับปสสาวะ บํารุง
รางกาย ตําราสมุนไพร (6) ใชขับปสสาวะในรายที่มีนิ่ว ใชในอาการผิด
ปกติเกี่ยวกับกระเพาะอาหาร-ลําไส ชวยเจริญอาหาร
น้ํามันหอมระเหย : บีบมดลูก
ไมระบุสวนที่ใช : ลดความดั น โลหิ ต ขับ ลม แก อ าเจีย น บรรเทาอาการฟกช้ํ า แก ชั ก
ชวยสงบประสาท แกปวดขอ (2)
คื่นไฉเปนพืชที่มีกลิ่น และรสขม ชวยลดความดันโลหิต บรรเทาอาการอาหารไมยอย กระตุน
มดลูก ขับปสสาวะ ขับเหงื่อ ชวยสงบประสาท น้ํามันลดการเกร็งตัวของกลามเนื้อ บรรเทาอาการขอ
อักเสบ ยาพื้นบานของยุโรปใชเมล็ดขับลม ขับประจําเดือน ขับปสสาวะ เปนยาระบาย แกโรคเกาต นิ่ว
กระตุ น การอยากอาหารและช วยเผาผลาญ ในการแพทย อ ายุรเวทใชแ ก หื ด หลอดลมอั ก เสบ สะอึ ก
บํารุงประสาท (3,7,9)
โฮมีโอพาที (HAB34) ใชเมล็ดแก รักษาอาการรังไขอักเสบและขออักเสบ (6)

สวนที่ใช :
สวนเหนือดิน (herb) ราก ผล (3)

องคประกอบทางเคมี :
ผล (เมล็ด)
- น้ํ า มั น หอมระเหย (1.9-3%) : กลิ่ น ของน้ํ า มั น หอมระเหยส ว นใหญ เนื่ อ งจาก butyl- และ
butylidenephthalides (6) สารอื่นๆ ในน้ํามันหอมระเหย ไดแก ลิโมนีน ((+)-limonene) β-selinene(5)
seselin (5)
- ฟลาโวนอยด : กราเวโอไบโอไซด เอและบี (gravaeobioside A and B) อะพิอิน (apiin) ไอ
โ ซ เ ค อ ร ซิ ท ริ น (isoquercitrin), luteolin-7-apiosylglucoside ป ร ะ ม า ณ 1-2%, chrysoeriol-7-
apioylglucoside 0.1-0.7% และ apiin (6)
- ฟูราโนคูมารินส : เบอรแกพเทน (bergapten) ไอโซพิมพิเนลลิน (isopimpinellin) ฟูราโนคู
มาริน กลัยโคไซด ชื่อ apiumoside
- น้ํามันไมระเหยซึ่งมี petroselinic acid เปนองคประกอบหลัก (40-60%) (6)
- สารประกอบฟนอล ไดแก กวัยอะคอล (guaiacol) (5)
สวนเหนือดิน
-203-

- น้ํามันหอมระเหย : ลิโมนีน ((+)-limonene) เมอรซีน (myrcene) เบตา-เซลินีน (β-selinene)


อัลฟา-เทอรพินีออล (α-terpineol) คารวีออล (carveol) ไดไฮโดรคารโวน (dihydrocarvone) เจอรานิลอะ
ซีเตท (geranyl acetate) บิวทิลิดีนพทาไลด (3-butylidene phthalide) ไอโซบิวทิลิดีนไดไฮโดรพทาไลด
(3-isobutylidene dihydrophthalide)
- ฟลาโวนอยด : อะพิอิน (apiin), luteolin-7-O-apiosyl glucoside, คริสโซเอริออล กลูโค
ไซด (chrysoeriol glucoside)
- ฟู ราโนคูมารินส : เบอรแกพเทน (bergapten) แซนโทน (xanthone) ไอโซพิมพิ เนลลิน
(isopimpinellin)
- อนุพันธกรดแคพเฟอิก (caffeic acid derivatives) : กรดคลอโรจีนิก (chlorogenic acid) กรด
เฟรูลิก (ferulic acid)
- สเตียรอยด : สติกมาสเตียรอล (stigmasterol) และซิโตสเตยรอล (sitosterol) (6)
ราก
- น้ํามันหอมระเหย (0.01-0.15%) (6) : ลิโมนีน ((+)-limonene) เบตา-ไพนีน (β-pinene) พทา
ไลด (phthalides)
- ฟลาโวนอยด : อะพิอิน (apiin), luteolin-7-O-apiosyl glucoside
- คูมารินส : เบอรแกพเทน (bergapten) (4)
นอกจากนี้นังมีอนุพันธกรดแคฟเฟอิก โพลีอิน (polyine) เชน ฟลาคาริโนน (falcarinone) และ
กรดอินทรีย (6)
ขณะเก็ บ รั ก ษา คื่ น ไฉ จ ะสร างสาร phytoalexin ในลํ า ต น สารนี้ มี ชื่ อ วา columbianetin มี คุ ณ
สมบัติตานรา (5) ใบคื่นไฉมีสาร phytoalexin มีชื่อวา herniarin มีคุณสมบัติตานแบคทีเรียและรา ลําตน
คื่ น ไฉ มี myristicin มี คุ ณ สม บั ติ เ สริ ม ฤท ธิ์ ฆ า แม ลง คื่ น ไฉ ส ร า ง phytoalexin ที่ มี ชื่ อ ว า 4,8,5′-
trimethylpsoralen และ xanthotoxin ซึ่งอาจทําใหเกิด dermatitis ตอคน (5)

OH O

O
CH 2OH O

O OH
CH 3 OH
CH3
HO

O
O O
O
CH2OH

O O OH OH
-204-

β-butylphthalide sesanenolide apiin (C26H28O14) (7)


(flavone-O-glycoside) (6)

สารสกัดคื่นไฉ (Celery extract) :


สารสกัดจากตน รากและเมล็ดของ A. graveolens
Celery seed oil เปนน้ํามันที่ไดจากการกลั่นเมล็ดของ A. graveolens (8,10)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ใชแตงกลิ่นในสบู ครีม โลชัน่ และน้ําหอม ปริมาณที่ใชในเครื่องสําอาง คือ 0.003%-0.4% (7)
ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- น้ํามันเปนยาบํารุง ชวยสงบประสาท เปนสวนประกอบในผลิตภัณฑเพื่อขับลม
- สารพทาไลด (phthalides) ที่พบในน้ํามันจากเมล็ดมีรายงานถึงฤทธิ์สงบประสาทในหนูทดลอง
- 3-n-butylphthalide มีฤทธิ์ตานการเกร็งตัวของกลามเนื้อในภาวะชัก ซึ่งมีความแรงนอยกวายา diazepam
แตความสามารถในการเรียนรูและฟนฟูความจําดีกวายา diazepam เนื่องจากไมทําลายเซลลสมอง
- สารสกัดจากเมล็ดดวยปโตรเลียมอีเทอร มีฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระ
- สารสกัดคื่นไฉมีฤทธิ์การลดความดันโลหิตในกระตายและสุนัขเมื่อฉีดเขาหลอดเลือดดํา (7) ในทางคลินิกมี
รายงานฤทธิ์ลดความดันโลหิตในผูปวยโรคความดันโลหิตสูง 14 คนจากผูทดลอง 16 คน โดยไดรับน้ําคั้นคื่น
ไฉผสมกับน้ําผึ้งปริมาณเทากัน รับประทานครั้งละ 40 มล. วันละ 3 ครั้งเปนเวลาหลายวัน
- ฤทธิ์ตานการอักเสบจากสารสกัดคื่นไฉดวยน้ําใชบรรเทาโรคไขขออักเสบ
- เมล็ดคื่นไฉมีฤทธิ์ขับปสสาวะในสัตวทดลอง
- น้ํามันเมล็ดและสารสกัดจากเมล็ด ใชเปนสารแตงกลิ่นและรสในอาหารหลายประเภท เชน เครื่องดื่มที่มีอัล
กอฮอลและไมมีอัลกอฮอล เจลาติน พุดดิ้งส ผลิตภัณฑจากเนื้อสัตว ซุป ของขบเคี้ยว ปริมาณที่ใชไม
เกิน 0.005 % (46.6 ppm) (7)

ขอควรระวัง :
- ไมควรใชในสตรีมีครรภในปริมาณสูงเนื่องจากน้ํามันหอมระเหยทําใหไตเกิดการระคายเคือง
การรับประทานมากอาจทําใหเปนหมันได (2,4)
- อาจทําใหแพ และกระตุนใหแพเมื่อถูกแสงแดด (photosensitizer) (6)

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 42.
-205-

2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน


จํากัด, 2542: 614-7.
3. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 240.
4. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 172-3.
5. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
7. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 141-3.
8. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thiem Verlag Stuttgart, 2000: 45, 120.
9. Vermeulen N. Encyclopaedia of herbs. The Netherlands: Rebo Productions Ltd., 1999: 47.
10. Wenninger JA, McEwen G.N. Interbational Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 45, 108.
-206-

คื่นไฉ (Apium graveolens L.)


-206-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Aztec marigold, แอซเทค มาริโกลด


ชื่อไทย (Thai name) : ดาวเรือง
ชื่อทองถิ่น (Local names) : คําปูจูหลวง ดาวเรืองใหญ พอทู Taget, Tagetes,
Marigold, Afican marigold, Big marigold
(3,4,10)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Tagetes erecta L.
ชื่อพอง (Synonyms) : T. glandulifera Schrank
วงศ (Family) : Asteraceae (Compositae)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Aztec marigold (Tagetes erecta) extract (9)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมลมลุก อายุปเดียว ลําตนตรง เกลี้ยง เปนสัน สูง 15-60 ซม. ใบประกอบแบบขนนก เรียง
ตรงขาม ใบยอยรูปวงรี ขอบใบหยักฟนเลื่อย ดอกชอออกที่ปลายกิ่ง ดอกยอยมี 2 ลักษณะ คือ ดอก ไม
สมบูรณเพศอยูรอบนอก จํานวนมากสีเหลือง หรือเหลืองสม ลักษณะคลายลิ้นบานแผออก ซอนกันหลาย
ชั้นปลายมวนลง ดอกสมบูรณเพศมีลักษณะเปนหลอดเล็กๆ จํานวนมาก รวมกลุมอยูบริเวณกลางชอดอก
ผลเปนผลแหงสีดํา ไมแตก (4,10)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดในเม็กซิโก และแพรกระจายในแถบอบอุนเกือบทั้งหมด (9,10)

สรรพคุณพื้นบาน :

ตน : ใชขับลมในลําไส แกปวดทอง แกจุกเสียด แนนทอง ขับปสสาวะ


ใบ : แกฝหนอง ทาแผลเปอยเนา อาการบวมไมรูสาเหตุตางๆ และโรคเกี่ยวกับเลือดลม
ดอก : แกไอกรน แกไอหวัด แกปวดฟน บรรเทาอาการริดสีดวงทวาร แกเจ็บตา บํารุงตับ
ละลายเสมหะ บรรเทาอาการตอมน้ํานมอักเสบ แกแผลมีหนอง ฆาพยาธิ ขับไลยุง
ขับของเสีย แกเวียนหัว แกตาแดงตาเจ็บเนื่องจากลมและไฟ (4,5,10)
นอกจากสรรพคุณทางยาแลวยังมีการนําดอกแหงบดเปนผงผสมอาหารไก ชวยใหไขแดงเขมขึ้น (2)

สวนที่ใช :
ตน ใบ ดอก (4)
-207-

องคประกอบทางเคมี :
ดอก : - น้ํามันหอมระเหย (volatile oil) มีองคประกอบหลัก คือ ทาเกโทน (tagetone) และฟูราโนคู
มารินส (furanocoumarins)
- อัลฟา-เทอรทีนิล (α-terthienyl)
- thiophene–containing acetylenes เช น 4-(5-penta-1,3-diynyl-2-thienyl)-3-butyn-1-
ol, 5-(3-buten-1ynyl) –2-2′-bithienyl หรือ BBT
- สารกลุมคาโรทีนอยดที่สําคัญ คือ ลูเทอิน (lutein) และอนุพันธเอสเตอร (dipalmitate,
dimyristate และ monomyristate)
- สารกลุมฟลาโวนอยด เชน เคมเฟรอล (kaempferol) (4) quercetagetin (5) ซึ่งเปนสาร
สีเหลืองของดอกมีคุณสมบัติยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย (5)

OH
S
S O
S HO OH

HO OH
OH O

α - terthienyl หรือ α-T quercetagetin (flavonol)


มีคุณสมบัติกําจัดวัชชพืช ฆาพยาธิ ตานจุลชีพ สารสีเหลืองในกลีบดอกดาวเรือง
แตทําใหเกิด photodermatitis ในคน (5)

H
H3C OH
CH3 CH3
H3C CH3

H3C CH3
CH3 CH3
HO CH3
H

lutein (xanthophyll)
พบในกลีบดอกของ Aztec marigold
-208-

สารสกัด :
สารสกัดดาวเรือง (Aztec marigold, T. erecta) เปนน้ํามันหอมระเหยหรือสารสกัดชนิด absolute
ที่ไดจากดอก (9)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
สารสกัดจากดาวเรืองมีกลิ่นหอม ใชเปนสวนประกอบในน้ําหอม (5) เปนสวนผสมในผลิตภัณฑทาํ
ความสะอาดและบํารุงผิว

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
ตานแบคทีเรีย รา ไวรัส ฆาพยาธิ และตัวออน (metatocide และ lauricide) ขับน้ําดี ปองกัน
การช็อค เพิ่มอัตราการเตนของหัวใจ กระตุนการบีบตัวของมดลูก และหลอดเลือด แกปวดไขขออักเสบ
แกไข หลอดลมอักเสบ รากใชเปนยาระบาย (4,6)

ขอควรระวัง :
เนื่องจากสารสกัดดอกดาวเรือง มีคุณสมบัติกอระคายเมื่อถูกแสง(phototoxic) การใชในผลิตภัณฑ
สําหรับผิวหนังบริเวณที่สัมผัสกับแสง กําหนดความเขมขนสูงสุดไวไมเกิน 0.25% ในสวนผสมของน้ําหอม
(ไมเกิน 0.05% ในผลิตภัณฑสําเร็จรูป) ยกเวนผลิตภัณฑที่ใชแลวลางออกดวยน้ํา เชน สบูและผลิตภัณฑ
อาบน้ํา การใชในขนาดสูงกวากําหนด ผิวหนังบริเวณที่ทาตองงดเวนการสัมผัสกับแสงแดดเปนเวลา 12
ชั่วโมง (5)

เอกสารอางอิง :
1. กองกานดา ชยามฤต. สมุนไพรไทย ตอนที่ 4. กรุงเทพฯ: ห.จ.ก.ชุติมาการพิมพ, 2528: 445-7.
2. คณิตา เลขะกุล และคณะ. ไมดอกและไมประดับเฉลิมพระเกียรติ. บริษัท ดานสุทธาการพิมพ จํากัด.,
2536: 213.
3. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 515.
4. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (2). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 7-9.
5. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
-209-

6. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 482-483.
7. Quisumbing E. Medicinal Plants of the Philippines. Katha Publishing Co., INC. 1978: 1000.
8. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 640.
9. Tisserand R, Balacs T. Essential Oil Safety: A Guide for Health Care Professionals. Glasgow:
Bell and Bain Ltd., 1995: 172.
10. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 53, 719.
-210-

ดาวเรือง (Tagetes erecta L.)


-210-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Lemon grass, เลมอน กราส


ชื่อไทย (Thai name) : ตะไคร คาหอม ไคร จะไคร เซิดเกราย หัวสิงโต หองอ
ตะโป เหละเกรย (1)
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Melissa grass, Madagascar lemongrass, Sereh- Grass,
Zitronengras (3,6,8)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Cymbopogon citratus (DC.) Stapf
ชื่อพอง (Synonyms) : Andropogon citratus DC., A. ceriferus, A.citriodorum, A.
roxburghii, A. schoenanthus (1,6)
วงศ (Family) : Poaceae (Gramineae)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Lemongrass (Cymbopogon citratus) Extract
Lemongrass (Cymbopogon citratus) Oil

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พืชลมลุก มีอายุหลายป ขึ้นเปนกอรวมกันเปนกระจุกแนน สูงไดถึง 120 ซม. ใบคลายใบหญา ขึ้น
มาจากลําตนใตดินที่มีลักษณะเปนหัว ใบรวมกันเปนกระจุกแนน ใบมีลักษณะเรียวจากโคนสูปลาย ความ
ยาวของใบยาวไดถึง 90 ซม. และกวาง 1.25 ซม. ออกดอกยาก ดอกเปนดอกชอ ชอดอกยาวประมาณ 30-
60 ซม. สวนตางๆของพืชมักหัก จะไดกลิ่นเฉพาะของตะไคร (1,4)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนพืชพื้นเมืองของเอเชียแถบศูนยสูตร เชน อินเดียและศรีลังกา (1,6,8) ปจจุบันมีการเพาะปลูก
ทั่วไปในเขตรอนชื้น เชน อเมริกากลาง อเมริกาใต และเอเชียใต (6)

สรรพคุณพื้นบาน :
สวนเหนือดินแหงใชในยาพื้นบานของอินเดียแกเบื่ออาหาร อาการไมสบายที่กระเพาะอาหาร-ลํา
ไสและทองอืด ในบราซิลใชบรรเทาอาการกระวนกระวาย มีไข ในเอเชียตะวันออกใชเปนเครื่องเทศ แก
ปวด ใชรักษาอาการผิดปกติของระบบประสาทและระบบทางเดินอาหาร แกไข แกอาเจียน แกไอ ฆา
เชื้อ และบรรเทาขออักเสบรูมาตอยด น้ํามันหอมระเหยจากใบใชขับลม รักษาอาการทองอืด ใชกันยุง
แกปวดทอง ในอินเดียใชแกทองรวง ภายนอกใชทาแกขออักเสบ ปวดสะเอว ปวดวิถีประสาท (neuralgia)
เคล็ดขัดยอก กลากเกลื้อน เชื้อราที่เทา เหา หิด (scabies) (1,2,6)

สวนที่ใช :
-211-

ใบสดหรือแหง

องคประกอบทางเคมี :
- ตะไครสดหรือแหง (สวนเหนือดิน, herb) มีน้ํามันหอมระเหย 0.2-0.4% องคประกอบหลัก
คือ ซิทรัล (citral*) 65-86% เมอรซีน (myrcene) 12-20%, ซิโทรเนลลอล (citronellol), ฟาร
เนซอล (farnesol), ลินาโลออล (linalool), เทอรปนีออล (terpeneol) เปนตน (6)
- องคประกอบที่ไมระเหย ไดแก
- ฟลาโวนอยด เช น ลู ที โ อลิ น (luteolin) และกลั ย โคไซด , โฮโม–โอเรี ย นติ น (homo -
orientin); กรดคลอโรจี นิ ก (chlorogenic acid), กรดแคฟเฟอิ ก (caffeic acid), กรด
พาราคูมาริก (ρ - coumaric acid) เปนตน (6)
- ไทรเทอรปนส เชน ซิมโบโพกอน (cymbopogon) ซิมโบโพโกนอล (cymbopogonol)

CH3 CH3

CHO

CHO

H3C CH3 CH3


H3 C

citral a citral b

สารสกัดตะไคร (Lemongrass extract) :


น้ํ า มั น ตะไคร (Lemon grass oil) เป น น้ํ า มั น หอมระเหยได จ ากการกลั่ น ไอน้ํ า ใบตะไคร (C.
citratus)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
- น้ํามันหอมระเหยจากพืชสกุล Cymbopogon เปนสวนผสมที่ขาดไมไดในน้ําหอม จัดเปนน้ํามัน
หอมระเหยที่มีคาและราคาแพง
- เปนสวนผสมในผลิตภัณฑทําความสะอาดผิวและผม คาดวามีผลปรับการทํางานของตอมไขมันที่มากเกินไปให
เปนปกติ ขจัดรังแคและปญหาเกี่ยวกับผิวหนัง
- ใชแตงกลิ่นสบู แชมพู ครีมและโลชั่น (3)
-212-

- น้ํามันตะไครใชเปนน้ํามันใสผม (hair oils), เปนสวนผสมในสบู, เครื่องสําอางและแตงกลิ่นใน


อุตสาหกรรมอาหาร (2)

* citral ในธรรมชาติ
ประโยชน ทางยาและอื :
เป่นนๆสารผสมระหว าง trans-isomer (citral a หรือ geranial) กับ cis-isomer (citral b
หรือ neral)
ซิทรัลมีคุณสมบัติตานเชื้อจุลินทรีย 5 เทาของฟนอล มีกลิ่นของตะไคร และใชแตงกลิ่นอาหารใน
น้ําหอมและเปนสารตั้งตนในการสังเคราะหวิตามินเอ น้ํามันหอมระเหยมีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อจุลินทรียในสัตว
ทดลอง ในขนาดสูงจะมีฤทธิ์สงบประสาท (sedative)และระงับปวด (analgesic) ยาชงของตะไครเมื่อฉีด
เขาเสนเลือดดํา ในหนูทดลองจะทําใหความดันโลหิตในหลอดเลือดแดงต่ํา และมีฤทธิ์ขับปสสาวะออนๆ
เมื่อใหสารสกัดทางปากในขนาดที่สูงจะชวยลดอุณหภูมิของรางกายและทําให intestinal passage time
เนิ่นนานขึ้น (5)

ขอควรระวัง :
- การทาน้ํามันตะไครบนผิวหนังอาจทําใหเกิดอาการแพแตพบไดนอย (6,7)
- การสูดดมน้ํามันตะไครอาจทําใหเกิดถุงลมอักเสบ (7)
- เบต า -เมอร ซี น (β–myrcene) ในน้ํ า มั น ตะไคร มี ผ ลรบกวนการทํ า งานในระบบเอนไซม
cytochrome P450 จึงอาจเกิดปฏิกิริยาสัมพันธ (interaction) กับยาชนิดอื่น (6)
- ไมควรใชระหวางตั้งครรภเนื่องจากมีฤทธิ์บีบมดลูกและขับประจําเดือน (6)

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัท ประชาชน จํากัด,
2544: 163-4.
2. Bown D. Encyclopedia of herbs and their uses. RD Press. Australia. 1995.
3. D’ Amelio FS. Botanicals: A phytocosmetic desk reference. New York: CRC Press, 1994:
141.
4. Der Marderosian A. The review of natural products. Missouri: A Wolters Kluwer Company,
2000: 359-61.
5. Gruenwald J, Brendler T, Jaenicke C. PDR for Herbal Medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, 2000: 551-3.
-213-

6. Hiller K, Melzig M. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg. Berlin, 1999: 234-5.
7. Mark B, Werner RB, Alicia G, et al. The Complete German Commission E Monographs. Austin:
American Botanical Council, 1998: 341.
8. Parrotta JA. Healing Plants of peninsular India. Singapore: MRM Graphics Ltd., 2001: 581-2.
-214-

ตะไคร (Cymbopogon citratus (DC.) Stapf)


-214-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Japanese angelica


ชื่อไทย (Thai name) : ตังกุย
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Touki, Tai-ku, Toki
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Angelica acutiloba Kitagawa
ชื่อพอง (Synonyms) : Ligusticum acutilobum Sieold & Zucc.
วงศ (Family) : Umbelliferae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Angelica acutiloba extract (8)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พืชลมลุกอายุหลายป ขนาดกลาง สูง 70-100 ซม. ลําตนตั้งตรง แข็ง ผิวเกลี้ยง รากเปน ราก
สะสมอาหารขนาดสั้น ใบประกอบเรียงสลับ กิ่งที่อยูดานลางของลําตนมีหใู บยาว มีกาบใบ แผนใบมี
ลักษณะ 3 แฉก ดอกออกเปนชอทรงรม กลีบดอกสีขาว ผลรูปขอบขนานยาว 4 - 5 มม. ( 2 )

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
ตังกุยมีถิ่นกําเนิดในญี่ปุน มีการแพรกระจายทั่วไปบริเวณเขตอบอุนทางตอนเหนือแถบภูเขา (2)

สรรพคุณพื้นบาน :
ญี่ปุนและจีนใชรากเปนยาบํารุงกําลัง ขับระดู รักษาอาการปวดระดู วัณโรคปอด อาการเลือดไหล
ไมหยุดอินโดจีนใชรากเปนยาขับลม ยาขับน้ํานม (2)

สวนที่ใช :
ราก

องคประกอบทางเคมี :
ราก : โพลีแซคคาไรด (polysaccharide) สารประกอบที่มีฤทธิ์ anticholinergic เชน ลิกุสติ
ไลด (ligustilide) และ butylidenephthalide (2,7)
เมล็ด : กรดไขมัน ไดแก กรดลิโนเลอิก (linoleic acid) กรดโอเลอิก (oleic acid)
ผล : ส า ร ก ลุ ม คู ม า ริ น ส (coumarins) เช น bergapten, xanthotoxin, isopimpinellin,
scopoletin (6,10)
-215-

OCH 3

HO O O

O O O H3CO

bergapten scopoletin
อาจกระตุนใหเกิดการแพ มีคุณสมบัติยับยั้งเชื้อแบคทีเรียและรา

สารสกัด :
สารสกัดจากรากตังกุย (Japanese angelica) (8)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
เปนสวนผสมในผลิตภัณฑบํารุงและปรับสภาพผิว (4,5) ผลิตภัณฑอาบน้ําเพิ่มความชุมชื้นแกผิว (3) และผลิต
ภัณฑปองกันแสงแดด (sunscreen)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
สารสกัดน้ําจากรากใชแกไข กดระบบประสาทสวนกลาง กระตุนการทํางานของหัวใจ ลดความ
ดันโลหิต ระงับอาการชักกระตุกหรือหดเกร็ง มีคุณสมบัติชวยปองกันรังสี แสงแดด โพลีแซคคาไรด
(polysaccharide) มีคุณสมบัติตานเนื้องอกและกระตุนภูมิคุมกัน (2)

ขอควรระวัง :
เบอรแกพเทนอาจกระตุนใหเกิดการแพ

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพ ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 36.
2. L.S. de Padua, N. Bunyapraphatsara and R.H.M.J. Lemmens. Plant Resources of South-East
Asia No (12)1. Medicinal and poisonous plant 1: Leiden, Backhuys Publishers., 1999: 123-
126.
-216-

3. Matsuda Seiji, Ishida Takao ( Kaneto Ltd ). Bath preparations containing lactose and plant
extracts. Jpn. Kokai Tokkyo Koho Jp 05, 339, 144 [93,339,144].
4. Sasaki chiro, Naito. Yumi (kosei kk) Cosmetics Containing eicosapentaenoale and
docosahenexaenoate and plant extracts Jpn. Kokai Tokkyo KohoJp 05, 279, 241, 93
[279,241] .
5. Shimigu Mitsuaki, Ozasa Yoshiji, Takavada Yukari (Sunstar,Inc.) Skin-ligthening preparation
Containing Luffa Cylindrica Extract. Jpn. Kokai Tokkyo Koho Jp 04 26.610 [9226 610].
6. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 187,188, 248, 249.
7. Tsuchida Takashi, Kobayashi Masaru, Kaneko Ko, Mitsuhashi Hiroshi. Studies on the
Constituents of Umbelliferae plants. XVI. Isolation and Structures of three new ligustilide
derivatives from Angelica acutiloba. Chem.Pharm.Bull.1987, 35(11), 4460-4 (Eng).
8. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 43,375.
9. Yang Tsai-I. Chemical components of tai-kui seeds. II. Lipids and fatty acids. Chung Kuo
Nung Yeh Hua Hsueh Hui Chih 1971, 9 (3-4) ,150-5 (Ch)
10. Yen Kun-Ying. Chemical constituents of Umbelliferous plants of Taiwan XII Coumarins of the
fruit of Angelica acutiloba. Tai-wan Yao Hsueh Tsa Chih 1967, 19 (12), 41-4 (Ch).
-217-

ตังกุย (Angelica acutiloba Kitagawa)


-217-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Green gram, กรีน แกรม


ชื่อไทย (Thai name) : ถั่วเขียว
ชื่อทองถิ่น (Local names) : ถั่วจิม ถั่วดําเม็ดเล็ก ถั่วมุม ถั่วทอง Golden gram,
Mung bean, Red gram (1,2)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Vigna radiata (L.) R. Wilczek
ชื่อพอง (Synonyms) : Phaseolus aureus Roxb.
วงศ (Family) : Leguminosae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พืชลมลุก มักแตกกิ่งกานออกจากโคนตน ใบที่งอกออกมาชุดแรก มี 2 ใบ เปนใบเดี่ยวเรียงตรง
กันขาม ใบตอๆ มาเปนใบประกอบมีใบยอย 3 ใบ เรียงสลับกัน ใบยอยรูปไขจนถึงสามเหลี่ยมดานเทา
ขอบใบเรียบ ดอกมีขนาดใหญ สีเขียวจนถึงเหลือง ออกเปนกระจุก ฝกเรียวยาวคอนขางตรง เมล็ดรูปรี
สีเขียวหรือเหลือง จนอาจถึงสีน้ําตาลหรือดํา (2)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดในประเทศอินเดีย ปจจุบันปลูกอยางกวางขวางแถบเอเซียตะวันออกเฉียงใต อาฟริกา
อเมริกาใต และออสเตรเลีย (4)

สรรพคุณพื้นบาน :
เมล็ด : แกขัดขอ บํารุงเนื้อและกระดูก บํารุงกําลัง บํารุงรางกาย แกรอนใน
กระหายน้ํา บํารุงไขขอ แกอาการช้ําในเนื่องจากตกจากที่สูงหรือถูก
กระแทกดวยของแข็ง แกเลือดออกตามไรฟน
เปลือกเมล็ด : แกพิษฝตางๆ แกรอนใน (2)

สวนที่ใช :
เมล็ดและเปลือกหุมเมล็ด (2)

องคประกอบทางเคมี :
พืชสกุล vigna มีองคประกอบเคมี ดังนี้
- 2-carboxyarabinitol 1-phosphate มีคุณสมบัติยับยั้งเอนไซมในกระบวนการสังเคราะหแสง (3)
-218-

- vignafuran เปน phytoalexin มีคุณสมบัติเปนพิษตอเชื้อรา


- robinin
- coumestrol ซึ่งมีคุณสมบัติฮอรโมนเพศหญิงเอสโตรเจน และตานเชื้อรา
- (-)-phaseollidin เปน phytoalexin มีคุณสมบัติตานราและแบคทีเรีย และไลแมลง
- (-)-phaseollidin มีคุณสมบัติเชนเดียวกับ (-)-phaseollidin
สําหรับถั่วเขียวมีรายงานองคประกอบเคมี ตอไปนี้
- กรดอะมิ โ น (amino acids) อั ล ลั น โตอิ น (allantoin) ไฟโตเอสโตรเจน เช น ดาอิ ด ซิ น
(daidzin), daidzein, genistein, 2- hydroxygenistein, วิ ต ามิ น , ฟลาโวนอยด เช น โรบิ นิ น (robinin)
(kaempferol 3 - O - (6 - O - rhamnosylgalactoside(= robinobioside))–7 - O– rhamnoside) (5)
และไฟโตรสเตียรอล (2)
OH

O O
OH
OH
H3C HO
O
O O CH2
HO
OH O
OH O

H3C O
HO
OH
OH

robinin (flavonol-O-glycoside) (3)

สารสกัด :
สารสกัดจากเมล็ดถั่วเขียว (Vigna vadiata)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ใชเปนสวนผสมในเครื่องสําอางบํารุงและทําความสะอาดผิว (2)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
แกเลือดออกตามไรฟน รักษาโรคฝ ตานราและแบคทีเรีย ทําใหเม็ดเลือดแดงเกาะกลุม ลด โค
เลสเตอรอลในเลือด ตานไวรัส HIV ยับยั้งภาวะระดับน้ําตาลในเลือดสูง ขับปสสาวะและคลายการเกร็งตัว
ของลําไส ตานออกซิเดชั่น (2,5)

ขอควรระวัง :
-219-

ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 550.
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 151-3.
3. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
4. Oplinger E.S., Hardman L.L.et al. Department of Agronomy and soil science, College of
Agricultural and life sciences and Cooperative extension service. University of Wisconsin-
Madison WI 53706.
5. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 555.
-220-

ถั่วเขียว (Vigna radiata (L.) R. Wilczek)


-220-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Pea, พี


ชื่อไทย (Thai name) : ถั่วลันเตา
ชื่อทองถิ่น (Local names) : ถั่วนอย Garden pea, Green pea, Sugar pea (1,3)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Pisum sativum L.
ชื่อพอง (Synonyms) : -
วงศ (Family) : Leguminosae - Papilionoideae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Pea (Pisum sativum) extract (7)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมเถา ใบประกอบรูปขนนก ยอดมีมือเกาะและที่ฐานใบมีหูใบ ใบยอยบางใบเปลี่ยนเปนมือเกาะ
ดอกออกดานขางเปนดอกชอ มีดอกยอย 1-2 ดอก กลีบรองกลีบดอกสีเขียว มี 5 กลีบ เชื่อมติดกัน กลีบ
ดอกสีขาว มวงหรือชมพู ผลเปนฝก มีเมล็ด 3-11 เมล็ด เมล็ดกลมหรือยน มีสีตางๆ (3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดในแถบตะวันออกใกลแถบเมดิเตอเรเนียนถึงธิเบต ปจจุบันปลูกมากในทวีปยุโรป จีน
อินเดีย และอเมริกาเหนือ (8,9,10)

สรรพคุณพื้นบาน :
ถั่วลันเตาพันธุดั้งเดิมรับประทานไดเฉพาะเมล็ดเทานั้น มนุษยรูจักเพาะปลูกถั่วลันเตาตั้งแตยุค
สมัยหินใหม ประมาณ 7,000 ปกอนค.ศ.ถัวลันเตาเปนอาหารหลักของชาวอินเดียโบราณ อียิปตโบราณ
และชาวยุโรป ชื่อถั่วลันเตา “pea” มาจาก pise ซึ่งมีรากคํามาจากภาษาละติน pisa (2) สวนเถาของถั่ว
ลันเตา แกตับทรุด ตับพิการ (3)

สวนที่ใช :
เถาออนและเมล็ด (3,4)

องคประกอบทางเคมี : (6)
ในเมล็ด ของพื ชสกุล pea หรือ bean (Pisum, Vicia Phaseolus spp.) มี γ-aminobutyric acid
(GABA) ใน seed และ seeding ของถั่วลันเตามี Isowillardiine (5) และมีสารอื่นๆ ดังนี้
- ถั่วลันเตา Isowillardiine (5)
O O
HN OH
N CH2 H
NH2
O
-221-

- อะลานีน (2–aminopropanoic acid)

H
H3C COOH

NH2

- 2-Aminoadipic acid (2-aminohexanedioic acid, homoglutamic acid)

HOOC COOH
NH2

- Homoserine (2–amino–4–hydroxybutanoic acid)

H
HO
COOH
NH2

- Pisatin (6a–hydroxy–3–methoxy–8, 9–methylenedioxy-pterocarpan)


O
9

O O
1 H 8

6a
OH
H3CO 3 O

สารสกัด :
Pea (Pisum sativum) extract (7)
-222-

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ใชเปนสวนผสมในผลิตภัณฑบํารุงผิว เนื่องจากในเมล็ดมีเปปไทด (peptides) สูง (4)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
pterocarpan ซึ่งพบในเถาของพืชสกุล Pisum เปน phytoalexin มีคุณสมบัติตานรา (5) นอกจาก
นี้มีรายงานคุณสมบัติของเภสัชวิทยาของถั่วลันเตา ดังนี้
ลดปริมาณโคเลสเตอรอล และไขมันในเลือด มีคุณสมบัติเอสโตรเจน (phytoestrogen) กระตุน
การบีบตัวของมดลูก ตอตานการกอกลายพันธุ ตานมาลาเรีย คุมกําเนิด ตานอนุมูลอิสระ (antioxidation)
ลดความดันโลหิต กระตุนกลามเนื้อเรียบ ยับยั้งคอหอยพอก ยับยั้งเอนไซม trypsin (3)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 417.
2. ทวีทอง หงษวิวัฒน. สารานุกรมผัก. สํานักพิมพแสงแดด จํากัด. กรุงเทพฯ. 2545
3. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (2). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 176-8.
4. Gilles P. Cosmetic and/or pharmaceutical products containing Pisum and Mediaceae
extracts. PCT Int. Appl. WO 98: 33, 475.
5. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
6. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 13, 28, 295, 497.
7. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 487,557-8.
8. http://www.floridata.com /ref/p/pisu_sat. cfm.
9. http://www.mpiz_koe.mpg.de/pr/garten/schau/Pisum sativum/Pea. html.
10. http://www.museums.org.za/bio/plants/fabaceae/pisum_sativum. html.
-223-
-224-

ถั่วลันเตา (Pisum sativum L.)


-224-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Tong phan chang, ทองพันชั่ง


ชื่อไทย (Thai name) : ทองพันชั่ง
ชื่อทองถิ่น (Local names) : หญามันไก (1,2,3) ทองคันชั่ง (2,3)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Rhinacanthus nasutus (L.) Kurz
ชื่อพอง (Synonyms) : Rhinacanthus communis Nees
วงศ (Family) : Acanthaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พืชลมลุกมีลักษณะเปนไมพุมสูง 2-3 ม. กิ่งออนมักเปนสี่เหลี่ยม ใบเดี่ยวออกตรงขามกันเปนคู รูป
ไขหรือวงรี โคนและปลายใบสอบเรียวแหลม ขอบใบเรียบหรือเปนคลื่นเล็กนอย ดอกสีขาวออกเปนชอ
สั้นๆ ตามงามใบ ยาวประมาณ 5-6 มม. (3) กลีบเลี้ยง 5 กลีบ โคนกลีบติดกันเปนหลอด ปลายแยกเปน
สองกลีบ กลีบบนปลายกลีบแยกเปนสองแฉก กลีบลางแผกวาง ปลายกลีบแยกเปน 3 แฉกโคนกลีบมีจุด
ประสีมวงแดง เกสรตัวผูมี 2 อัน ยื่นพนปากหลอดออกมาเล็กนอย มีรังไข 1 อัน รูปยาวรีมีหลอดทอรังไข
คลายเสนดาย (1,3) ผลเปนฝกยาว มีขน ยาวประมาณ 17-25 มม. (3) แตกได ภายในมี 4 เมล็ด (1,2,3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
ศรีลังกา อินเดีย อินโดจีน และทางตอนใตของจีน (3)

สรรพคุณพื้นบาน :
ราก : รักษาโรคผิวหนังชนิดกลากเกลื้อน โรคผิวหนังที่เปนน้ําเหลืองบางชนิด โรคผิวหนัง
ชนิดผื่นคัน รักษาโรคพยาธิวงแหวนตามผิวหนัง ขับปสสาวะ ดับพิษไข แกพิษตะขาบ
งู แมลงปอง ถอนพิษเบื่อเมา เปนยาฆาเชื้อ แกริดสีดวง
ตน : รักษาความดันโลหิตสูง
ใบ : ขับปสสาวะ แกปวดฝ ถอนพิษอักเสบ แกพิษงู พิษโลหิต ดับพิษไข แกโรค108
ประการ ทําใหมีสุขภาพอนามัยดี รักษาโรคพยาธิวงแหวนตามผิวหนัง แกโรคผิวหนัง
แกกลากเกลื้อน, แกมะเร็ง (บางจําพวก) แกผื่นคัน แกโรคเรื้อน รักษาโรคความดัน
โลหิตสูง ไสเลื่อน
ทั้งตน : รักษามะเร็งที่เตานมหรือมดลูก แกโรคปสสาวะบอยๆ และมีกลิ่นเหม็นผิดปกติ (1,3)

สวนที่ใช :
-225-

ใบ ราก (2,3)

องคประกอบทางเคมี :
ตน ใบ และรากมีเกลือโปตัสเซียมสูง และมีสารประเภทออกซิเมทิลแอนทราควิโน (oxy methyl-
anthraquinone) ซึ่งมีฤทธิ์ฆาเชื้อรา
ดอกพบสารจําพวกรูติน (rutin)
ตนและใบ มีสารจําพวกแนพโทควิโนนชื่อ ไรนาแคนโทน (rhinacanthone) ซึ่งมีฤทธิ์ตานเชื้อรา
ไดดี สารไรนาแคนทิน-ซี (rhinacanthin C) และไรนาแคนทิน-ดี (rhinacanthin D) ซึ่งมีฤทธิ์ตานไวรัสชนิด
CMV (cytomegalovirus) (1,2,3)
ราก พบสารไรนาแคนทิน-เอ (rhinacanthin A) และไรนาแคนทิน-บี (rhinacanthin B) (3)

O O

O
O

OH O

rhinacanthin D (5)

สารสกัด :
สารสกัดจากใบและรากสด

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ใชเปนสวนผสมในผลิตภัณฑทําความสะอาดผิวหนัง

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
แกโรคผิวหนังตางๆ โรคกลากเกลื้อน ตานเชื้อแบคทีเรีย ตานรา ตานไวรัส ลดความดันโลหิต
ขับลม ลดไข ลดฤทธิ์ของ alkylating agent ยับยั้งเอนไซม aniline hydroxylase ไมมีฤทธิ์กอกลายพันธุ
(1,2,3)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน
-226-

เอกสารอางอิง :
1. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (2). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 311-12.
2. วันดี กฤษณพันธ. สมุนไพรนารู. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ จุฬาฯ, 2541: 43-44.
3. L.S. de Padua, N. Bunyapraphatsara and R.H.M.J. Lemmens. Plant Resources of South-East
Asia No (12) 1. Medicinal and poisonous plant 1: Leiden, Backhuys Publishers., 1999: 431-
33.
4. Quisumbing E. Medicinal Plants of the Philippines. Katha Publishing Co., INC. 1978: 892-3.
5. Tian SW, Hua CH, Pei LW, Che MT and Yang CW. Rhinacanthin-Q, A Naphthoquinone from
Rhinacanthus nasutus and its Biological Activity. Phytochem 1998, 49(7): 2001-3.
-227-

ทองพันชั่ง (Rhinacanthus nasutus (L.) Kurz)


-227-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Dill, ดิล


ชื่อไทย (Thai name) : เทียนตาตั๊กแตน
ชื่อทองถิ่น (Local names) : เทียนขาวเปลือก ผักชีลาว Indian dill, Gurkenkraut,
Teufelsdill, Gemener Dill, Dilllfenchel, Bergkuemmel
(6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Anethum graveolens L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Anethum sowa Roxb. ex J. Fleming (2)
Peucedanum graveolens (9) Pastinaca graveolens,
Ferula graveolens, Angelica graveolens, Selinum
anethum, Pastinaca anethum, Peu cedanum
anethum, Anethum arvense, Selinum pastinaca,
Peucedanum sowa, Anethum Cenevolens (6)
วงศ (Family) : Apiaceae (Umbelliferae ) (6)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Dill (Peucedanum graveolens) Extract (10)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พืชลมลุกอายุปเดียวหรือสองป สูง 40-170 ซม. ลําตนตั้งตรง เรียบ แกนกลางกลวง แตกกิ่งกาน
ใบประกอบแบบขนนก ออกตรงขามกัน ขอบใบหยักลึกเปนแฉก ดอกชอ ทรงรม(umbel) ดอกยอยออก
จากฐานเดียวกัน กลีบดอกสีเหลือง มีกลิ่นหอม กลีบดอกโคงเขา ปลายกลีบหยักเวา ผลแหง รูปรีแบน
คลายตาตั๊กแตน มีขอบนูนเปน 3 แนวที่ดานหลัง (1,3,4,5)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนพืชพื้นเมืองแถบเมดิเตอรเรเนียน มีการเพาะปลูกมากทางยุโรปและอเมริกาเหนือ ปจจุบัน
แพรกระจายไปทั่วโลก (1,5)

สรรพคุณพื้นบาน :
ผลแก : ยาขับลม
เมล็ด : บํารุงกําลัง ใชขับลมในเด็กแรกเกิด แกศูนยทองพิการ แกชีพจรออน แก
นอนผวา บํารุงธาตุ แกเสมหะพิการ แกสะอึกในเด็ก แกตะคริวใน
กระเพาะอาหารทารก ขับปสสาวะ ขับน้ํานม
ยาจีน ใชเมล็ดและน้ํามันขับลมโดยเฉพาะในเด็ก ระงับอาการชักเกร็ง และใชสงบประสาท
-228-

ในอินเดียและอาฟริกา ใชรักษาริดสีดวงทวารหนัก หอบหืด ปวดระดู แกลมหายใจเหม็น ติดเชื้อ


ทางเดินหายใจ และซิฟลิส (3,4,7,9)

สวนที่ใช :
ผลแกแหง เมล็ด น้ํามันจากเมล็ดและสวนเหนือดิน (1,3,5)

องคประกอบทางเคมี :
ผลแหง : มีน้ํามันหอมระเหย ไดมากกวา 4% ซึ่งมี D-carvone เปนองคประกอบ
สําคัญ, คูมารินส เชน เอสคูเลติน (aesculetin), อัมเบลลิเฟโรน และสโค
โปเลติน ฟูราโนคูมารินส เชน เบอรแกพเทน และอนุพันธุกรดแคฟอิก
สวนเหนือดิน (herb) : มีน้ํามันหอมระเหย 0.5-1.5% ซึ่งมี D-carvone และphellandrene;
คูมารินส และอนุพันธุกรดแคฟอิก
น้ํามันหอมระเหย : คารโวน (carvone), ดิล อะพิโอล (dill apiol), อัลฟา-เฟลแลนดรีน
(α-phellandrene), ดี-ลิโมนีน(d-limonene), เทอรพินีน(terpinene), อัล
ฟา- ไพนีน (α - pinene)
ฟูราโนคูมารินส (furanocoumarins) : เบอรแกพเทน (bergaptene)
ไฮดรอกซิคูมารินส (hydroxycoumarins) : อัมเบลลิเฟอโรน (umbelliferone) (5,7,10)

CH3
O

H
H3C CH3

carvone หรือ carvol

สารสกัด :
Dill (Peucedanum graveolens) Extract (10)
- Dill seed oil : น้ํามันหอมระเหยที่ไดจากการกลั่นดวยไอน้ําจากผลแหงบดละเอียด
(crushed dried fruit)
- Dill weed oil (dill oil หรือ dill herb oil) : น้ํามันหอมระเหยที่ไดจากการกลั่นดวยไอน้ําจาก
สวนเหนือดินสด (7)
-229-

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
Dill weed oil (dill oil หรือ dill herb oil) ซึ่งเปนน้ํามันหอมระเหยที่ไดจากการกลั่นดวยไอน้ําจากสวนเหนือดิน
สด ใชแตงกลิ่นหอมในเครื่องสําอาง เชน สบู ครีม โลชั่น และน้ําหอม (7)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
ผล : ใชคลายการเกร็งของกลามเนื้อเรียบของทางเดินอาหาร และยับยั้งการเจริญ
เติบโตของแบคทีเรีย กระตุนการหลั่งน้ํายอยในกระเพาะอาหาร ขับลม ขับ
ปสสาวะ เจริญอาหาร ขับน้ํานม เปนสวนผสมในยาสมุนไพร (6)
น้ํามันในเมล็ด (Dill seed oil) : ทําใหกลามเนื้อเรียบคลายการหดเกร็ง เพิ่มปริมาตรปอด
และลดความดัน เลือด เมล็ดและน้ํามันใชขับลมในเด็ก ระงับ
อาการชักเกร็ง และใชสงบประสาท (9)
สวนเหนือดิน : คลายการเกร็งตัวของกลามเนื้อเรียบในระบบทางเดินอาหาร บรรเทาอาการ
ผิดปกติของไต และทางเดินปสสาวะ และนอนไมหลับ (5,7) ใชขับลม เจริญ
อาหารและในเครื่องเทศ (แหง สด) (9)

ขอควรระวัง :
- น้ําคั้นจากสวนเหนือดิน อาจทําใหแพ (photodermatitis)
- เบอรแกพเทน ทําใหเกิดการแพ

เอกสารอางอิง :
1. ชยันต พิเชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ ฉบับ
เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร พริ้น
ติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด. 2544: 412-413.
2. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 35.
3. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 412-414.
4. Ayensu ES. Medicinal Plants of the West Indies. Michigan: Reference Publications, Inc.,
1981: 185.
-230-

5. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 252-253.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
7. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 210-212.
8. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 115,189.
9. Vermeulen N. Encyclopaedia of herbs. The Netherlands: Rebo Productions Ltd., 1999:
43,44.
10. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 106,237.
-231-

เทียนตาตั๊กแตน (Anethum graveolens L.)


-231-

ชื่อสามัญ (Common or English name) Garden parsley, การเดน พารสเลย


:
ชื่อไทย (Thai name) :
เทียนเยาวภานี
ชื่อทองถิ่น (Local names) ผักชีกะเหรี่ยง, ผักชีฝรั่ง, Petersilie (9)
:
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) Petroselinum crispum (Mill.)A. W. Hill
:
ชื่อพอง (Synonyms) Apium hortense, A. laetum, A. petroselinum, A.
:
romanum, A. vulgare, Carum petroselinum, C.
vulgare, Helosciadium oppsitofolium, Ligusticum
levisiticum, Petrosellinum hortense, P. macedonicum,
P. sativum, P. vulgare, Selinum petroselinum,
Wydleria portoricensis (9)
วงศ (Family) : Apiaceae (Umbelliferae)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมลมลุก อายุ 2 ป ลําตนตั้งตรง แตกกิ่ง สูง 30-130 ซม. ใบประกอบ 1 ใบ มี 2-3 ใบยอย ใบ
ยอยรูปไขกลับ แยกเปนแฉก ดอกชอแบบกานซี่รม ติดที่ซอกใบและปลายกิ่ง กานชอดอกยาว 3-8
ซม. กลีบดอกสีเหลืองอมเขียว ผลแหง รูปไข มีกลิ่นหอม (1,3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
คาดวามีถิ่นกําเนิดในยุโรปตอนกลาง และแถบเมดิเตอรเรเนียน ปจจุบันมีการเพาะปลูกทั่วไป เชน คาลิฟอรเนีย
เยอรมนี ฝรั่งเศส เบลเยียม ฮังการี เปนตน (1,5,9)

สรรพคุณพื้นบาน :
ใบ : แกสะอึก
เมล็ด : แกโรคลม แกคลื่นไส แกอาเจียน แกจุกเสียด ขับลม
ไมระบุสวนที่ใช : แกคลื่นเหียน อาเจียน แกจุกเสียด ขับลม (3)
เทียนเยาวภานีเปนพืชรสขม มีกลิ่นหอม ใชขับปสสาวะ คลายกลามเนื้อ ลดการอักเสบ และขับ
พิษ ใชกระตุนการยอยอาหารและกระตุนมดลูก (4)
มีการใชสวนเหนือดินและรากปองกันและรักษานิ่วเล็ก ๆ ในไต ในตํารายาพื้นบานใชรักษาความผิดปกติของ
ทางเดินอาหาร ดีซาน การอักเสบของไตและถุงน้ําดี ขับปสสาวะและขับประจําเดือน ผลใชรักษาภาวะประจําเดือนผิด
ปกติ ความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร ไต ทางเดินปสสาวะสวนลางและชวยขับลม (9)
-232-

นอกจากนี้ยังมีรายงานการใชสวนเหนือดินและเมล็ดรักษาดีซาน ความผิดปกติของประจําเดือน
หืด แกไอ ภาวะไมยอย และภาวะบวม โดยใชในรูปชา ชาจากเทียนเยาวภานีใชรักษานิ่ว ปสสาวะขัด
และภาวะขออักเสบ ใบเทียนเยาวภานีเคี้ยวทําใหปากสดชื่น มีการใชเมล็ดเปนยาทําใหแทง (10)
น้ํามันหอมระเหยจากผลมีสรรพคุณพื้นบาน ขับปสสาวะ ใชในรายที่บวม แตมีการนําไปใชที่ผิด
ทําใหแทงบุตร (9)
ผลเที ยนเยาวภานี ใช ในรายที่ ระบบยอ ยอาหาร และไต ทํ างานผิ ด ปกติ ห ามใชในรายที่ แ พ
อะพิออล และในรายที่ไตอักเสบ
สวนเหนือดิน (herb) สดหรือแหง สรรพคุณชวยยอยอาหาร ขับปสสาวะ และในรายที่กระเพาะ
ปสสาวะและไตทํางานผิดปกติ
รากเทียนเยาวภานี (แหง) ใชในรายที่มีอาการบวมน้ํา ไต กระเพาะปสสาวะทํางานผิดปกติ นอก
จากนี้ใชขับลม และในรายที่ประจําเดือนไมปกติ ขนาดที่ใชชงชา 1 ชช. (ประมาณ 2 ก.) ตอครั้ง ขนาด/วัน
6 ก. ตําราโฮมีโอพาที (HAB 1) ใชเทียนเยาวภานีสด ซึ่งเก็บเกี่ยวทั้งตน (สวนเหนือดินและราก) ขณะออก
ดอก ใชรักษาอาการไมสบายเกี่ยวกับไต ทางเดินปสสาวะ และกระเพาะปสสาวะ
หมอพื้นบานยอมรับสรรพคุณของเทียนเยาวภานีที่ใชเปนยาขับปสสาวะ ขับประจําเดือน ขับนิ่ว (9)

สวนที่ใช :
น้ํามันหอมระเหยจากผล, ผล, สวนเหนือดิน, ราก (4)

องคประกอบทางเคมี :
1. น้ํามันหอมระเหยจากผล ประกอบดวยสารกลุมฟนิลโพรเพน โดยเฉพาะอะพิออล (apiol)
58-80% ขึ้ น กั บ สายพั น ธุ (chemical race) มั ย ริ ส ติ ซิ น (myristicin) เอลี มิ ซิ น (elemicin)
แ ล ะ เท อ ร ป น ส เช น α- แ ล ะ β-pinene, β-phellandrene, terpineol, myrcene แ ล ะ
limonene
2. ผลเทียนเยาวภานี เปนผลแกที่แหงและแตกออก มีน้ํามันหอมระเหย (2-6%) มีองคประกอบ
เคมี เ ช น เดี ย วกั บ ข อ 1. นอกจากนี้ มี ฟู ร าโนคู ม านิ น ส (เบอร แ กพเทน (bergapten),
isopimpinellin, psozalen) และน้ํามันไมระเหย ประมาณ 20% ซึ่งมี petroselinic acid (60-
80%) เปนองคประกอบหลัก
3. สวนเหนือดิน (herb) มีน้ํามันหอมระเหย (0.016-0.3%, สมุนไพรสด) มีองคประกอบเคมีเชน
เดี ย วกั บ ข อ 1. นอกจากนี้ มี ฟู ร าโนคู ม านิ น ส วิ ต ามิ น เช น วิ ต ามิ น ซี (165 มก./100 ก.
สมุนไพรสด) คาโรทีนอยด และคลอโรฟล (ประมาณ 1% ของสมุนไพรแหง)
-233-

4. ราก มี น้ํ า มั น หอมระเหย (0.05-0.12%) ประกอบด ว ย อะพิ อ อล (apiol) myristicin และ


terpineol; phthalide, ฟ ล าโวน อ ย ด , คู ม าริ น ส , polyyne (falcarinol, falcarinone แ ล ะ
falcarinolone) (7,9,10)

OH O

O
HOH 2C O OCH3
O OH
OH O
HO

O O
O
CH2OH OCH3

HO OH

apiin (11) apiole (9)


(apicenin –7-apiosylglucoside หรือ apioside) (7)

สารสกัด :
เปนน้ํามันที่ไดจากการกลั่นดวยไอน้ําจากเมล็ดและสวนเหนือดินของ P. crispum (10)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
น้ํามันจากเทียนเยาวภานีใชเปนสารใหความหอมในสบู สารชะลาง ครีม โลชั่นและน้ําหอม (โดย
เฉพาะน้ําหอมของผูชาย) โดยปริมาณที่ใหใชไดไมเกิน 0.2% (10)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- เทียนเยาวภานีเปนแหลงของวิตามินและแรธาตุที่สําคัญในธรรมชาติ เชน แคลเซียม เหล็ก
คาโรทีน วิตามินซีและเอ
- สารเอพิออล มีฤทธิ์แกไข ปริมาณที่มากขึ้นมีฤทธิ์กระตุนมดลูก เปนสารที่ใชทําเปนแคปซูล
เพื่อทําเปนยาใหเกิดการแทง มีชื่อยาวา “supetin” ยังมีรายงานวาสารเอพิออลชวยคลายกลาม
เนื้อที่หดเกร็ง ทําใหหลอดเลือดคลายตัวและขับประจําเดือน (10)
- น้ํามันและสารสกัดจากเทียนเยาวภานีมีฤทธิ์ตานแบคทีเรียและเชื้อราในหลอดทดลอง (6) ขับ
ลม คลายกลามเนื้อที่หดเกร็ง ขับปสสาวะ ประจําเดือน ขับเสมหะ รักษาโรคขออักเสบ (5)
-234-

- ใบเทียนเยาวภานีเปนเครื่องเทศใหกลิ่นและรสในอาหารหลายชนิด เชน ซอส เนย ซุป อาหาร


ขบเคี้ยว เครื่องดื่มที่มีหรือไมมีแอลกอฮอล ปริมาณโอลีโอเรซิน (oleoresin) ที่ใหใชในเครื่อง
ปรุงรส คือ ไมเกิน 0.039% (10)
- ในประเทศฝรั่งเศส ใชเทียนเยาวภานีทําเปนยาทาภายนอกรักษาโรคผิวหนัง เชน ผิวแตก แผล
จากแมลงสัตวกัดตอย
ขอควรระวัง :
- สตรีมีครรภและผูปวยโรคไตไมควรรับประทานทั้งน้าํ มัน น้ําคั้นและเมล็ด ผลขางเคียงจาก
การรับประทานน้ํามัน คือ ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ขาดการทรงตัว ชักและไตถูกทําลาย (4,6)
- สารเบอรแกพเทน อาจกระตุนใหเกิดการแพ

เอกสารอางอิง :
1. ชยันต พิเชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ ฉบับ
เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร พริ้น
ติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด. 2544: 418-9.
2. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 406.
3. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรพื้นบาน (2). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 425-7.
4. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 325.
5. D’Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic Desk Reference. New York: CRC Press, 1999:
168.
6. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2001:
453-4.
7. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 567-8.
8. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
9. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
10. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 405-7.
-235-

11. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 45.
-236-

เทียนเยาวภานี (Petroselinum crispum (Mill.)A. W. Hill)


-236-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Sugar apple, ซูกา แอปเปล


ชื่อไทย (Thai name) : นอยหนา
ชื่อทองถิ่น (Local names) : เตี ย บ น อ ยแน มะนอแน มะแน มะออจ า มะโอจ า
ลาหนัง หนอเกลาะแซ หมักเขียบ custard apple, sugar
apple, sweet sop. (1,2,4-7), Rahmapfel, Zuckerapfel
(11)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Annona squamosa L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Annona cinerea (11)
วงศ (Family) : Annonaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมตน ขนาดเล็ก สูงประมาณ 8 ม. แตกกิ่งกานสาขาออกเปนกานเล็กๆ ผิวเกลี้ยงสีเทาอมน้ําตาล
ใบเปนใบเดี่ยวติดกับลําตน เรียงสลับไปตามขอตน ใบรูปรี ปลายแหลม เนื้อใบคอยขางแข็งสีเขียวแกม
เหลือง ดานบนสีเขมกวาดานลาง ดอกเดี่ยวหรือออกเปนกลุมๆ ละ 2-4 ดอก ดอกหอยลงออกตามซอกใบ
สีเหลือง อมเขียว มี กลิ่น หอม (5,6) กลีบเลี้ยง 3 กลีบ กลีบ ดอกหนาเรียง 2 ชั้น ชั้น ละ 3 กลีบ ตรง
กลางดอกมีเกสรตัวผูและรังไขจํานวนมาก ผลเปนผลกลุมลักษณะกลมปอม ขนาดเสนผาศูนยกลาง 3–4
นิ้ว เปลือกผลสีเขียว ขรุขระเปนตุมนูนรอบผล ภายในมีเนื้อสีขาวรับประทานได รสหวาน หอหุมเมล็ดสี
ดําหรือสีน้ําตาลเขม (2,4,5,6)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
อเมริกากลางและใต บราซิล อาฟริกาใต อินเดีย และกระจายทั่วไปบริเวณเขตรอน ทางเหนือและใตเสนศูนย
สูตร ประเทศไทยปลูกกันมากในภาคกลางและตะวันออกเฉียงเหนือ (3,6,9,11)

สรรพคุณพื้นบาน :
ผลดิบ : ใชเปนยาแกพิษงู แกฝในคอ กลากเกลื้อน ฆาพยาธิผิวหนัง แกทองเสีย บํารุงธาตุ
ผลสุก : อุดมไปดวยวิตามินซี เปนอาหารที่มีคุณคามากสําหรับคนเพิ่งฟนไข คนในชนบท
มักเอาลูกนอยหนาที่แหงตายคาตนมาฝนกับเหลาโรงทารักษาแผล (5,7)
เปลือกผล : แกพิษงู ฝาดสมาน แกบิด
ใบ : ใชฆาเหา แกกลากเกลื้อน นํามาตํากับเกลือเปนยาพอกฝ แผลพุพอง เปนหนอง
แกฟกบวม ขับกิมิชาติในลําไส กันเรือดไร
-237-

ราก : เปนยาระบาย ถอนพิษเบื่อเมา ทําใหอาเจียน แกพิษงู


เมล็ด : ฆาพยาธิตัวจี๊ด ฆาเหา ฆาโลน แกบวม (2,5,6)

สวนที่ใช :
ใบสด เมล็ด (4-6)

องคประกอบทางเคมี :
ผล มีน้ําตาล กรดผลไม กรดอะมิโน
ใบและเมล็ดนอยหนา มีแอลคาลอยดหลายชนิด ที่สําคัญ คือ อันโนนาอีน (annonaine) และไอโซ
คอริดีน (isocorydine) เมล็ดมีน้ํามันไมระเหย (fixed oil) ประมาณ 45% ประกอบดวยกรดไขมันหลาย
ชนิด เรซิน (resins) สเตียรอยด (steroids) แอลคาลอยด (Alkaloid) และอื่นๆ สารสําคัญที่ออกฤทธิ์ ฆา
เหาและแมลงคือสารกลุมอะซิโตเจนิน (acetogenins) ชื่อ อันโนนาซิน (annonacin A) (2,5,6)
เมล็ด มีอะซิมิซิน (asimicin หรือ annonastatin, squamocin-H) และ สควาโมซิน (squamocin
หรือ annonin I, annonin) (9)

CH2 5 CH2
CH2 3
H H
OH
CH2 O O H
12 H H
H OH
OH

H3C O O
H

squamocin

สารสกัด :
สารสกัดแอลกอฮอล จากใบหรือเมล็ด (4)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ใบและเมล็ดมีคุณสมบัติฝาดสมาน ชวยทําความสะอาดและกระชับผิว
เนื้อผล มีคุณสมบัติทําความสะอาด บํารุงและปกปองผิว

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
-238-

บรรเทาอาการอักเสบแกปวด ใชตานแบคทีเรีย ตานเชื้อรา เปนพิษตอเซลล ใชกําจัดแมลง ยับยั้ง


ตัวออนของแมลง (2) สารสกัดจากใบและเมล็ด ใชฆาเหา
ผลสุกเปนผลไม ผลดิบและเมล็ดใชขับพยาธิและฆาแมลง (11)
อะซิมิซินจากเมล็ด มีคุณสมบัติตานมะเร็งเม็ดเลือดขาว (antileukemia) (9)
สควาโมซินจากเมล็ด มีฤทธิ์ฆาแมลง (9)

ขอควรระวัง :
การนําใบสดหรือเมล็ดมาใชฆาเหาตองระวังเวลาสระผมอยาใหน้ําเขาตาจะทําใหแสบตาและเกิด
การอักเสบได (2,4,5,6)

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 38.
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 455-458.
3. บุศบรรณ ณ สงขลา สมุนไพรไทย ตอนที่ 1., 2525: 81-2.
4. พรอมจิต ศรลัมพ. รุงระวี เต็มศิริฤกษกุล. วงศสถิตย ฉั่วสกุล. อาทร ริ้วไพบูลย. สมุนไพรและยาที่
ควรรู. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ อาร ดี พี, 2532: 186-187.
5. ยุวดี จอมพิทักษ. รักษาโรคดวยสมุนไพร. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพหอสมุดกลาง 09, 2541: 124.
6. วีณ า จิรัจฉริยากู ล และคณะ. คู มื อสมุ น ไพร ฉบั บ ย อ (1). กรุงเทพฯ: บจก.นิ วไทยมิ ต รการพิ ม พ ,
1996: 34-39.
7. Ayensu ES. Medicinal Plants of the West Indies. Michigan: Reference Publications, Inc.,
1981: 42.
8. Dhavadee Ponglux. Medicinal Plants Exhibition Committee the 1st princess Chylathorn
Science Congress 1987 International Congress on Natural Products BKK. Thailand. Dec. 10-
13., 1987: 29.
9. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
10. Hill A.F. Economic botany. International student ed.2, Mcgray-Hill Book company., Inc.417.
11. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
-239-

12. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 38.
-240-

นอยหนา (Annona squamosa L.)


-240-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Lotus, โลตัส


ชื่อไทย (Thai name) : บัวหลวง
ชื่อทองถิ่น (Local names) : โชค บัว สัตตบงกช สัตตบุตย อุบล egyptian bean,
sacred lotus (2), Chinese water-lily, Indian lotus,
baladi bean (9)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Nelumbo nucifera Gaertn.
ชื่อพอง (Synonyms) : Nelumbium speciosum
วงศ (Family) : Nelumbonaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พืชน้ํา มีเหงาและไหลอยูใตดิน ใบเปนใบเดี่ยว แผนใบชูเหนือน้ํา รูปเกือบกลม ขนาดเสนผาศูนยกลาง 20-
50 ซม. โคนเวาตื้น ขอบเรียบและเปนคลื่น กานใบแข็ง มีตุมเล็ก ๆ อยูทั่วไป ภายในมีน้ํายางขาว เมื่อหักจะเห็นเปน
สายใย ดอกออกเดี่ยวๆ ชูขึ้นเหนือน้ํา มีหลายสี หลายทรง กลีบดอกมีจํานวนมาก เรียงซอนหลายชั้น เมื่อบานเต็มที่
มีขนาดเสนผาศูนยกลาง 15-25 ซม. มีเกสรตัวผูจํานวนมาก ปลายอับเรณูมีระยางคคลายกระบองเล็ก ๆ ผลรูปกลมรี
มีจํานวนมาก อยูในฝกรูปกรวย (1)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
บัวหลวงมีถิ่นกําเนิดในอินเดีย ปจจุบันมีการเพาะปลูกทั่วไปในบึงน้ําเขตรอนชื้น (5,6)

สรรพคุณพื้นบาน :
ดีบัว : เปนตนออน (embryo) ของลูกบัว มีรสขม มีฤทธิ์ขยายหลอดเลือดที่ไปเลี้ยง
หัวใจ
ใบบัว : โบราณใชใบแกเอาดินหุม อบในกองไฟ บดใหละเอียดผสมพิมเสนแทรกยาหอม
กินใหมีลมเบงในการคลอดลูก กานใบใชเปนยาหามเลือด
รากบัว : โบราณเชื่อวาเปนยาชูกําลัง แกกระหายน้าํ ตมดื่มแกรอนใน (1) ใชภายใน หาม
เลือด ภาวะมีประจําเดือนมาก
เกสรตัวผู : มีกลิ่นหอม รสฝาด ใชแกไข แกธาตุพิการ บํารุงหัวใจ บรรเทาอาการปสสาวะ
บอย ภาวะหลั่งเร็ว (5) เกสรบัวหลวงเปนสมุนไพรหนึ่งในพิกัดเกสรทั้งหา ใช
ผสมในยาหอมบํารุงหัวใจ
เมล็ดบัว : แกทองรวง อาหารไมยอย นอนไมหลับ หัวใจเตนแรง (1,4,5)
อินเดียใชบัวหลวงแกปวดทอง ทองเสีย ขับพยาธิเสนดาย แกไข
-241-

จีนใชบัวหลวงรักษาอาการไมสบายเกี่ยวกับในเลือด (8)

สวนที่ใช :
ใบ ลําตน กานชูใบ กานชูดอก ฐานรองดอก ราก เกสรตัวผู

องคประกอบทางเคมี :
บัวหลวง ประกอบดวยสารกลุมตาง ๆ ดังนี้
- แอลคาลอยดกลุมไอโซควิโนลีน :
- เบนซิลไอโซควิโนลีน (benzyl isoquinoline type) ไดแก อารเมพาวีน (armepavine)
เอ็น-เมทิลโคคลาวรีน (n-methyl coclaurine)
- อะพอรฟน (aporphine type) ไดแก โรเมรีน (roemerine) นูซิเฟรีน (nuciferine)
เอ็ น -นอร นู ซิ เ ฟรี น (n-nornuciferine) นอร นู ซิ เ ฟรี น (nornuciferine) อะโนนาอี น
(anonaine) ลิริโอเดนีน (liriodenine)
- โปรอะพอรฟน (proaporphine type) ไดแก โปรนูซิเฟรีน (pronuciferine)
- ฟลาโวนอยด ไดแก ไฮเปอโรไซด (hyperoside) ไอโซเคอรซิทริน (isoquercitrin)
เนลั ม โบไซด (nelumboside) เคอร เ ซทิ น กลู คิ ว โรไนด (quercetin glucuronide)
แคมเฟอรกลูคิวโรไนด (camphor glucuronide)
- แทนนิน (6)
ดีบัว มีสาร เมทิลโครีพาลลีน (methylcorypalline) (3)

CH 3 O
O
N
NH
CH 3 O CH 3 O
H

(+)-pronuciferine (miltanthin) (-)-annonaine


มีคุณสมบัติเปนยาชาเฉพาะที่อยางออน (7) มีคุณสมบัติเปนยาฆาแมลงและตานจุลชีพ

สารสกัด :
สารสกัดจากทั้งตนของ N. nucifera (6)
-242-

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
คุณสมบัติฝาดสมานชวยทําความสะอาดและสมานผิว

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
ดีบัวมีแอลคาลอยดสําคัญ เมทิลโครีพาลลีนมีฤทธิ์ขยายหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ (1)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. ชยันต พิเชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ ฉบับ
เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร พริ้น
ติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด. 2544: 431-3.
2. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 374.
3. พรรนิภา ชุมศรีและคณะ. สวนนานาพฤกษสมุนไพร. โครงการวิจัยปลูกและรวบรวมพันธุพืชสมุนไพร
เภสัช-มหิดล. 72.
4. วงศสถิตย ฉั่วกุลและคณะ. สมุนไพรไทย มรดกไทย. กรุงเทพฯ: บริษทั สยามบุคสแอนดพับลิเคชั่นส
จํากัด, 2540: 31.
5. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 164,
316-7.
6. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 481-2.
7. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
8. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
9. Medicinal plants in Vietnam 257.
-243-
-244-

บัวหลวง (Nelumbo nucifera Gaertn.)


-244-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : East indian screw tree, อีสต อินเดียน สครูว ทรี
ชื่อไทย (Thai name) : ปอปด
ชื่อทองถิ่น (Local names) : ชอ นาคพต ปอทับ ปอบิด มะปด (2,3)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Helicteres isora L.
ชื่อพอง (Synonyms) : -
วงศ (Family) : Sterculiaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไม พุ มมั ก พบเป น วัชพื ชสูง 2-4 ม. ใบเดี่ ยวเรียงสลับ ขนาดใหญ และสาก รูป ไขกลับ โคนใบ
รูป หั วใจ ปลายใบตั ด มี ห ยั ก แหลม ขอบใบหยัก ฟ น เลื่ อ ย ดอกช อ ออกเป น กระจุกที่ ซ อกใบ กลี บ เลี้ ย ง
สีเหลือง กลีบดอกสีฟา และเปลี่ยนเปนสีแดงสด ผลเปนฝกสีเขียวบิดเปนเกลียว (1,3,4)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนพืชพื้นเมืองของไทย (6)

สรรพคุณพื้นบาน :
ตํารายาไทยใชสวน
เปลือกตนและราก : บํารุงธาตุ แกธาตุพิการ แกทองรวง แกบิด แกเสมหะพิการ แก
ปวดเคล็ดบวม
ฝก : แกบิด แกปวดทองโรคกระเพาะอาหาร แกโรคลําไสในเด็ก เปน
ยาฝาดสมาน แกบิด (1,3,4)

สวนที่ใช :
เปลือก ตน รากและฝก (3)

องคประกอบทางเคมี :
อัลฟา-อะมัยริน (α-amyrin), เบตา-อะมัยริน (β-amyrin), คิวเคอรบิตาซิน บี (cucurbitacin B)
ไอโซคิวเคอรบิตาซิน บี (cucurbitacin B, iso), กรดโอเลียโนลิก (oleanolic acid), เบตา- ซิโตส
เตียรอล (β-sitosterol), กรดเตตระไทรอะคอนทาโนอิก (tetratriacontan-1-oic acid) (3)
-245-

O
OH
H3C CH3
O
CH3 O
H
O CH3
OH CH3
H H H
HO H
CH3 CH3
O
CH3
H3C

cucurbitacin B (amarin; 1,2-dihydro-α-elaterin) (5)

สารสกัด :
สารสกัดจากฝก Helicteres isora

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
เปนสวนผสมในผลิตภัณฑที่ใชฝาดสมานและใชทําความสะอาดผิว (3)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
ลดการบีบตัวของลําไส กระตุนมดลูก ยับยั้งเอนไซม reverse transcriptase ยับยั้งไวรัส HTLV-1
ยับยั้งเอนไซม protease (HIV) ยับยั้งการสราง giant cell และยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย (3)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. จําลอง เพ็ งคลาย, จิรายุพิ น จัน ทรประสงค และคณะ. พรรณไมในสวนหลวง ร.๙ เลม ๒. บริษัท
อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด., 2542: 111.
2. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 272.
3. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน(2). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 583-4.
-246-

4. พรรนิภา ชุมศรีและคณะ. สวนนานาพฤกษสมุนไพร. โครงการวิจัยและรวบรวมพันธุพืชสมุนไพรเภสัช-


มหิดล. 37.
5. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
6. McMAKIN PD. A Field Guide to the Flowering Plants of Thailand. Bangkok: White Lotus Co.,
Ltd., 1998: 88.
7. Schultes R.E. & Reis S.V. Ethnobotany evolution of a discipline. Dioscorides, Portland
oregon., 1995: 240, 246.
-247-

ปอบิด (Helicteres isora L.)


-247-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Oil palm, ออย ปาลม


ชื่อไทย (Thai name) : ปาลมน้ํามัน
ชื่อทองถิ่น (Local names) : มะพราวลิง มะพราวหัวลิง หมากมัน African oil palm
(1,2)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Elaeis guineensis Jacq.
ชื่อพอง (Synonyms) : Elaeis nigrescens, E. virescens, Palma spinosa (5)
วงศ (Family) : Arecaceae (Palmae)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Palm (Elaeis guineensis) kernel oil
Palm (Elaeis guineensis) oil (8)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
มีลักษณะคลายมะพราว ลําตนตั้งตรง ที่เกิดตามธรรมชาติสูง 25-30 ม. แตพันธุที่เพาะปลูกมักสูง
10-15 ม. ใบประกอบแบบขนนกยาว 4-5 ม. ใบยอยรูปหอก มีหูใบยาวประมาณ 1 ม. ขอบใบหยัก ดอก
ออกเปนชอสั้นระหวางใบ อยูอยางหนาแนน ผลอวบน้ําคลายลูกพลับ ยาว 2-3 ซม. รูปไขมีสีแดง มักอยู
ติดกันเปนพวง (bunches) (1)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มี ถิ่น กํ าเนิ ด แถบป าชื้น ในประเทศกิ นี (อาฟริกาตะวัน ตก) ป จจุ บั น มี ก ารเพาะปลู กทั่ วอาฟริก า
อินเดีย บราซิล คอสตาริกา อีเควดอร มาเลเซีย และอินโดนีเซีย (1)

สวนที่ใช :
ผล เมล็ด (1, 5)

สรรพคุณพื้นบาน :
ยาพื้นบานอาฟริกา ใชเปนยาถอนพิษ (antidote) และใชภายนอกรวมกับสมุนไพรชนิดอื่นในโรค
ผิวหนัง ใชควบคุมอุณหภูมิรางกายในเด็กที่ชัก
ในประเทศกินีใชน้ํามันรักษาบาดแผล ทาถูนวดบรรเทาโรคไขขออักเสบ แอฟริกาตะวันตก ใชราก
ขับปสสาวะ (4,6,9)
ตําราสมุนไพรของเยอรมัน (HAB 34) ใชเนื้อผลชวยทําใหผิวหนังชั้นไฮโปเดอรมิส (hypodermis,
subcutaneous) หนาขึ้น (thickening)
-248-

องคประกอบทางเคมี :
น้ํ ามั น ปาล ม (palm oil) ซึ่งได จ ากเนื้ อ ผลประกอบด วย ไทรกลี เซอไรด ของกรดโอเลอิ ก (oleic
acid) กรดลิโนลิก (linolic acid) กรดมัยริสติก (myristic acid) กรดสเตียริก (stearic acid) และ กรด
ลิกโนซีริก (lignoceric acid); กรดไขมันอิสระ (สด, มีปริมาณประมาณ 12%, เก็บไวนานแลวมีปริมาณมาก
ถึง 90%); คาโรทีนอยด วิตามินอี สเตียรอล ไทรเทอรปนแอลกอฮอล ฟอสโฟไลปดส (5)
น้ํามันเมล็ดปาลม (palm kernel oil หรือ palm seed fat) : glycerides ของกรดลอริก (lauric
acid) กรดพัลมิติก (palmitic acid) กรดโอเลอิก (oleic acid) กรดมัยริสติก (myristic acid) กรดสเตียริก
(stearic acid) กรดคาพลิก (capric acid) กรดคาพรัยลิก (caprylic acid) กรดคาโพรนิก (capronic acid)
กรดพัลมิโตเลอิก (palmitoleic acid) และไฟโตสเตียรอล (phytosterol) (5,6,8)

H3C
CH3 CH3
H3C CH3
H

CH3 CH3 H3C CH3

α-carotene
((6′R)-β, ε-carotene) (5)

O
O
CH3 ( CH2 )10 CH3 ( CH2 )12 C
OH
OH

lauric acid myristic acid


(dodecanoic acid) (5) (tetradecanoic acid) (5)

O O
CH3 ( CH2 )5 ( CH2 )7 CH3 ( CH2 )22
OH
OH

palmitoleic acid lignoceric acid


(cis-9-hexadecenoic acid) (5) (n-tetracosanoic acid) (5)

สารสกัด :
Palm (Elaeis guineensis) oil ไดจากเนื้อผลปาลมน้ํามัน
Palm (Elaeis guineensis) kernel oil ไดจากเมล็ดของ Elaeis guineensis (8)
-249-

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
น้ํ ามั น จากเนื้ อ ผล และน้ํ ามั น จากเมล็ ด เป น สวนผสมในผลิ ต ภั ณ ฑ บํ ารุ งผิ ว ปรับ สภาพผิ วและ
ปกปดริ้วรอย ในรูปครีม โลชั่น เจลกันแดด ผลิตภัณฑเพิ่มความชุมชื้นผิว ผลิตภัณฑโกนหนวด ผลิตภัณฑ
ทําความสะอาด เชน cold cream, cleansing lotion สบูอาบน้ํา ผลิตภัณฑบํารุงผิวตอนกลางคืน (night
skin care preparation)
ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
น้ํามันจากเนื้อผล ใชปรุงอาหาร ทํามารการีน (เนยเทียม) สบู เทียนไข น้ํามันเชื้อเพลิง เปนวัตถุ
ดิบสกัดคาโรทีนอยด และใชเปน suppository base (5)
น้ํามันจากเมล็ด ใชทําสบู น้ํามันที่บริสุทธิ์ขึ้นใชทํามารการีน และใชปรุงอาหาร (5)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. กิตติมา กิติศักดิ์ไชยกุล และฉวีวรรณ นุนสิงห. สมุนไพรที่ใชในเครื่องสําอาง. โครงการพิเศษปการ
ศึกษา 2538. คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล, 2538: 110.
2. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 213.
3. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
4. Hill A.F. Economic botany. International student ed.2, Mcgray-Hill Book company., Inc. 202,
491.
5. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
6. Quisumbing E. Medicinal Plants of the Philippines. Katha Publishing Co., INC. 1978: 133-4.
7. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 460-1.
8. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 479.
9. Williams K.A. Oils, Fats and Fatty Foods, Their Practical Examination. J. & A. Churchill Ltd,
4ed., 1996: 261-70.
-250-

10. http://www.ecoport.org
-251-

ปาลมน้ํามัน (Elaeis guineensis Jacq.)


-251-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Ginkgo, กิงโก


ชื่อไทย (Thai name) : แปะกวย
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Yinhsing, Leaf tree (3), Maidenhair tree (1), Flying
moth leaf, Buddha’s fingernails, Duck-foot (2)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Ginkgo biloba L.
ชื่อพอง (Synonyms) : -
วงศ (Family) : Ginkgoaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Ginkgo biloba extract leaf (2)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมตน ลําตนตั้งตรง มีอายุยืนเปนพันป (3) สูงไดถึง 125 ฟุต เปลือกไมสีเทามีรอยแตกลึก ใบ
เปนรูปพัด ปลายใบแยกเปน 2 แฉก (2) ตนเพศผูและเพศเมียอยูแยกกันคนละตน ออกดอกครั้งแรกเมื่อมี
อายุ 20-30 ป (4) ดอกตัวผูบานในฤดูใบไมผลิ ผลกลมรี สีน้ําตาลปนเทาเกิดบนตนตัวเมีย เมล็ดสดมีกลิ่น
เหม็นรุนแรงและทําใหเกิดผิวหนังอักเสบเมื่อสัมผัส (contact dermatitis) เนื้อในเมล็ด สีเหลืองออน รับ
ประทานได

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนพืชเกาแกที่สุดในโลก หลักฐานจากฟอสซิลแสดงวาพืชชนิดนี้เกิดมาในโลกนานกวา 200 ลานป แตสวนใหญ
ถูกทําลายในยุคน้ําแข็ง เปนพืชชนิดเดียวในตระกูล Ginkgoaceae ที่เหลืออยูและพบอยูในประเทศจีนและญี่ปุนซึ่งปลูก
เปนไมศักดิ์สิทธิ์ในวัด มีการนําเมล็ดจากจีนและญี่ปุนไปปลูกในยุโรปตั้งแต ป ค.ศ. 1727 (1,7) ปจจุบันมีการปลูกเปน
การคาในจีนและ สหรัฐอเมริกา (คาโรไลนาตอนใต และแมรีแลนด) และฝรั่งเศส เขตบอรโด (5)

สรรพคุณพื้นบาน :
ยาเตรียมจากพืชนี้ใชในยาพื้นบานของจีนมานานมากกวาพันป ดังนี้
เมล็ด : ใชเมล็ดที่ผานกรรมวิธีคั่วแหงในตํารับเพื่อรักษาอาการหืด ไอมีเสมหะ หลอดลมอักเสบ
เรื้อรัง และหลอดลมอักเสบที่มีอาการหอบหืด วัณโรค ปสสาวะบอยและขุน ตกขาว
กลั้นปสสาวะไมอยู (5) ชวยยอยอาหารและปองกันอาการเมาสุรา (7) ยาพอกของเมล็ด
ใชรักษาหิด และรักษาแผล (5)
ใบ : ใชรักษาโรคหลอดเลือดแดงแข็ง (ateriosclerosis) เจ็บหนาอก (angina pectoris)
โคเลสเตอรอลสูง หิด ใบตมน้ําอาบรักษาอาการมือเทาบวมจากความเย็น ยาชงจาก
ใบใชหยดบริเวณที่เปนริดสีดวงทวาร และ varicose vein
-252-

สวนที่ใช :
ใบ เมล็ด (2)

องคประกอบทางเคมี :
ใบ : สารเคมีในใบประกอบดวยสารหลัก 2 กลุม คือ ฟลาโวนอยด (flavonoids) (0.5-1.8%)
และไดเทอรปนส (diterpenes) (0.06-0.23%)
สารสําคัญในกลุมฟลาโวนอยด ไดแก
ฟลาโวนส (flavones) : luteolin, tricetin (dalphidenon)
ฟลาโวนอลสและฟลาโวนอล กลัยโคไซด (flavonols และ flavonol glycosides) :
kaempferol, kaempferol–3-rutinoside, kaempferol-3-O-α
(6′′′-p-coumaroyl-glucosyl-β-1,4–rhamnoside,
quercetin, quercetin–3–rutinoside (rutin), quercetin–3–
glycoside (isoquercitrin), quercetin–3–O-α (6′′′-p-
coumaroyl-glucosyl-β-1,4–rhamnoside), isorhamnetin, 3–
O– methylmyricetin-3–rutinoside)
ไ บ โ อ ฟ ล า โ ว น ส (biflavones) : amentoflavone, bilobetol, 15-methoxybilobetol bilobetin, 5′-
hydroxybilobetin, ginkgetin, isoginkgetin, sciadopitysin
สารสําคัญในกลุมไดเทอรปนส ไดแก ginkgolides A, B, C และ J ซึ่งตามโครงสรางทางเคมีตาง
กันที่จํานวนและตําแหนงของ hydroxyl group ที่ C1, C3 และ C7 ของ Spirononane framefucok
นอกจากนี้ยังมีสารกลุมเซสควิเทอรปนส (sesquiterpenes) ไดแก bilobalide (0.04-0.2%) และ
สารกลุมอื่นๆ อีก

เมล็ ด (nut) : สารเคมี ในเมล็ ด ได แ ก คารไบไฮเดรท (67.9%) โปรตี น (13.1%) (globulins,
glutelin และ albumins) ไขมัน (2.9%) (ประกอบดวย linoleio, oleic, palmitic,
stearic, linolenic และ α-hydroxypalmitic acids) สารกลุมแอลคาลอยด เชน
ginkgotoxin ส ารอื่ น ๆ ได แ ก cyanogenetic glycosides, phenols, 4–O–
methylpyridoxine, กลิ่ น เหม็ น ของเมล็ ด สดเกิ ด จากมี butanoic acid และ
hexanoic acid ในปริมาณสูง

O H3C
C
OH CH3
O
O O D CH3
B
F A
R3 1
-253-

R1 = H, R2 = OH, R3 = H : ginkgolide A
R1 = H, R2 = OH, R3 = OH : ginkgolide B
R1 = OH, R2 = OH, R3 = OH : ginkgolide C
R1 = OH, R2 = OH, R3 = H : ginkgolide J

O
O CH3
OH
CH3
O HO CH3

O
O

bilobalide

สารสกัด :
สารสกัดเตรียมจากใบแปะกวย (Ginkgo biloba L.)
เก็บใบตอนใบเปลี่ยนสีในฤดูใบไมรวง ทําใหแหงและเตรียมเปนสารสกัด (1) สารสกัดที่มีขาย เชิง
การค ามี หลายชนิ ด เชน ทิ งเจอร สารสกัด มาตรฐาน (standardized extract) ซึ่งกําหนดมาตรฐานของ
flavone glycosides 24%, terpene lactone 6% (4) สาร ginkgolide B ปจจุบันมีการสังเคราะหทางเคมี
ไดแลว (5)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
สารสกัดใบแปะกวยมีผลเพิ่มการไหลเวียนของโลหิตและกระตุนการหลั่งไขมัน (2) จึงนํามาใชใน
เครื่ อ งสํ า อางบํ า รุ ง ผิ ว (skin care preparation) ได แ ก ผลิ ต ภั ณ ฑ ทํ า ให ผิ ว หนั ง ชุ ม ชื้ น (moisturizing
preparation) ทํ าให ผิ วหนั งสดชื่น (skin fresheners) ในรูป ของครีม , โลชั่น และใชในผลิต ภั ณ ฑ สําหรับ
เสนผม เชน แชมพู (5,9)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
ในยุโรป มียาเตรียมในรูปยารับประทาน เชน ยาเม็ด, ยาแคปซูล, ยาหยด (drops) ประโยชนทาง
ยาที่สําคัญคือ
- รักษาความผิดปกติของระบบไหลเวียนของเลือด (3,8)
- ขยายหลอดเลือดแดง และเพิ่มการไหลเวียนเลือดในหลอดเลือดแดงขนาดกลาง ขนาดเล็กและ
หลอดเลือดฝอย
-254-

- เพิ่มการไหลเวียนเลือดในหลอดเลือดสมอง ใชบรรเทาอาการผิดปกติของระบบไหลเวียนเลือดใน
สมอง โดยเฉพาะอยางยิ่งหลอดเลือดแดงในสมองแข็งตัว (cerebral arteriosclerosis) ใชในผูสูง
อายุชวยบรรเทาอาการมึนงง ความจําเสื่อม อารมณแปรปรวน เครียดและกังวล
- ใช ใ นโรคที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ความผิ ด ปกติ ข องหลอดเลื อ ดดํ า เช น varicose condition, post
thrombotic symdrome, leg ulcers
สารกลุมฟลาโวนอยดมีคุณสมบัติจับอนุมูลอิสระ (radical scavengers) ชวยเพิ่มความแข็งแรงให
หลอดเลือด (2) และชวยปองกันการเกิด lipid peroxidation ของเซลลเมมเบรนซึ่งเกี่ยวของกับการสราง
เนือเยื่อ (tissue)
ginkgolide B มีฤทธิ์ยับยั้งการเกาะกลุมของเกร็ดเลือด จึงชวยยับยั้งปฏิกิริยาตอบสนองทางภูมิแพ
(anti-allergenic) และการอักเสบ (anti-inflammatory) การศึกษาทางคลินิกพบวาใหผลดีในผูปวยหอบหืด
(2,3)

ขอควรระวัง :
- การใชสารสกัดแปะกวยอยางเหมาะสมตามขนาดที่กําหนดไมทําใหเกิดอาการขางเคียงที่รุน
แรง อาการขางเคียงที่อาจพบไดแก ปวดศีรษะ ทองเดิน อาเจียน ผิวหนังอักเสบ (1,3,8)
- หามใชสารสกัดแปะกวยในผูปวยที่มีปจจัยเสี่ยงตออาการเลือดออกในสมอง (4)
- ระมัดระวังการใชรวมกับยาตานการแข็งตัวของเลือด (4)
- ระมัดระวังการใชในสตรีมีครรภและใหนมบุตรเนื่องจากยังไมมีขอมูลการใชในคนกลุมนี้ (3)
- การรับประทานเมล็ดสดในขนาดสูง ทําใหเกิดอาการพิษ คือ ปวดทอง คลื่นไส ทองเดิน ชัก
ชีพจรออน หายใจลําบาก มีรายงานวาทําใหเด็กทารกเสียชีวิตจากการรับประทานเมล็ดสด 50
เมล็ดเนื่องจากในเมล็ดสดมี ginkgotoxin (3,5)
การรับประทานเมล็ดทําโดยเอาเปลือกออก แลวตมหรือคั่วกอน วันหนึ่งรับประทานไมเกิน 8-10
เม็ด (5)
- ถาผิวหนังสัมผัสเมล็ดสดจะทําใหเกิดการระคายเคือง (contact skin irritation) เนื่องจากสาร
alkylbenzoic acid และอนุพันธของ alkylphenol
- ละอองเรณู (pollen) ของแปะกวย ทําใหเกิดอาการแพรุนแรง

เอกสารอางอิง :
1. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995:
288-9.
2. D’Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic Desk Reference. New York: CRC Press, 1999: 114-
1 1 5 .
-255-

3. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2001:
2 4 7 - 5 0 .
4. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 342-3.
5. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 274-5.
6. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 83, 260-1.
7. Vermeulen N. Encyclopaedia of herbs. The Netherlands: Rebo Productions Ltd., 1999: 138.
8. Weiss RF. Weiss’s Herbal Medicine. New York: Georg Thieme Verlag, 2001: 178-9.
9. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 299.
-256-

แปะกวย (Ginkgo biloba L.)


-256-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Bamboo, แบมบู


ชื่อไทย(Thai name) : ไผปา
ชื่อทองถิ่น (Local names) : ชารอง ชาเรียง ซางหนาม ทะงาน ทูน ไผรวก ไผหนาม
ระไซ อาคยู วาชุ จาฉู จาซือ วาทะ แวซู (1, 2)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Bambusa arundinacea Willd.
ชื่อพอง (Synonyms) : Bambusa bambos (L.) Voss, Bambos arudinacea
Retz. (1,3)
วงศ (Family) : Gramineae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Bamboo (Bambusa arundinacea) extract (6)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมลมลุกจําพวกหญ า อายุหลายป เปนกอใหญ มีหนาม ลําตนเจริญจากกอที่แนนทึบ สีเขียวสด
สูง 10-24 ม. กาบหุมลําตนแข็งเหมือนหนัง รวงหลุดงาย ตนออนมีสีเหลืองอมสม มีขนสีน้ําตาลดํา ปก
คลุม เมื่อแกจะรวงหลุดหมด ใบเดี่ยวเรียงสลับรูปดาบแกมใบหอก กวาง 0.5-1.5 ซม. ยาว 7-22 ซม. ปลาย
ใบเรียวแหลม โคนใบมน ทองใบมีขน ขอบใบสากคม กานใบสั้น 0.5 ซม. ดอกเปนชอขนาดใหญไมมีกลีบ
เลี้ยงและกลีบดอก (2,3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
แพรกระจายบริเวณเขตรอนของเอเชีย เชน ปากีสถาน อินเดีย บังคลาเทศ ศรีลังกา พมา เวียตนาม
ลาว เขมร มาเลเซียและไทย ในประเทศไทยพบกระจายขึ้นอยูทั่วไปตามริมหวย ริมแมน้ํา ในบริเวณชุมชื้น
และปลูกกันมากตามบานและไรนา (3)

สรรพคุณพื้นบาน :
ราก : ขับ ป สสาวะ แก ไตพิ ก าร แก ห นองใน ขับ โลหิ ตระดู แก มุ ต กิต ระดู ขาว แก
ไขกาฬ แกไขกาฬมูต แกกระหายน้ํา บํารุงเสมหะและโลหิต แกไขพิษ
ขุยไผ : แกทางปสสาวะ แกเสมหะ แกบิด แกโรคตาแดง แกหืด ไอ แกไข
ใบ : ขับฟอกลางโลหิตระดูที่เสีย ประสะโลหิต ลางทางปสสาวะ
ผล : แกโรคตา แกหืด ไอ แกไขอันผอมเหลือง แกฟกบวม แกไข
หนอ : แกหัวริดสีดวงทวารหนัก บํารุงรางกาย และนิยมนําไปทําหนอไมดองเปน
อุตสาหกรรมในครัวเรือนจํานวนมาก
ตา : แกสตรีตกเลือดไมหยุด ขับปสสาวะ ดูดลมในกระเพาะอาหาร แกรอนใน
-257-

กระหายน้ํา แกฝ แกกาฬเดือด


หนาม : แกพิษฝตางๆ แกไข แกไขพิษ แกไขกาฬ

สวนที่ใช :
หนอใตดิน ลําตน (3,6)

องคประกอบทางเคมี : มีรายงานสารที่พบในไผปา ดังนี้


chlorophyllin; chrysanthemin, arabinogalactan, xylan, pentosan, ρ-coumaroyl
arabinoxylan tetrasaccharide, cytokinin, ferulic acid, homo-gentisic acid, oxalic acid, sinapic
acid, vanillic acid (2) และ กลุ ม ไซยาโนเจนิ ก กลั ย โคไซด (cyanogenic glycosides) เช น ทาซิ ฟ ล ลิ น
(taxiphyllin) (5)

OH
OH CH3O
O
O
HO
Glc
CN OCH3

(R)-(-)- taxiphyllin (5) sinapic acid


มีคุณสมบัติตานแบคทีเรีย ตานรา และปกปองตับ (4)

สารสกัด :
สารสกัด Bamboo (Bambusa arundinacea) เปนสารสกัดจากลําตนของไผปา (6)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
- ใชบํารุงผมและผิว
- ใชในเครื่องสําอางเพื่อดับกลิ่น (2)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
คุณสมบัติลดน้ําตาลในหนูที่เปนเบาหวาน ตานแบคทีเรีย ลดการสรางอสุจิ ลดการผสมพันธุในหนู
ฆาอสุจิ ลดโคเลสเตอรอล ตานการกอกลายพั น ธุ มีฤทธิ์เชนเดี ยวกับ serotonin ตานไวรัส ตานมะเร็ง
เพิ่มการไหลเวียนของโลหิต ใชในการถูนวดรางกาย กระตุน graunlocyte ไลแมลง ฆาเชื้อแบคทีเรียและรา
ในเนื้อ กระตุนภูมิคุมกัน ทําแทง (2)
-258-

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 65.
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542:136-8.
3. สุรีย ภูมิภมร, อนันต ดําดง. ไมอเนกประสงคกินได., 2540:180-82.
4. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
5. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 163.
6. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 55.
-259-

ไผปา (Bambusa arundinacea Willd.)


-259-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Gossypol, ก็อสซิปอล


ชื่อไทย (Thai name) : ฝาย
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Cotton, Cotton seed, Upland cotton, American cotton
plant (2,4)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Gossypium hirsutum L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Gossypium hopi, G. latifolium, G. mexicanum,
G.paniculatum, G. religiosum, G. Schottii (5)
วงศ (Family) : Malvaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Cottonseed (Gossypium hirsutum) extract
Cottonseed (Gossypium hirsutum) oil (6)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
กึ่งไมพุมขนาดเล็ก อายุปเดียว สูง 1-1.5 ม. ลําตนตั้งตรง มีขนละเอียดปกคลุม แตกกิ่งกานสาขาไมมากนัก กาน
ออนและยอดออนมีขนสั้นๆ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไขกวาง กวางและยาว 8-13 ซม. ขอบใบเวาเปนแฉก 3-7 แฉก ฐานใบ
รูปหัวใจ ดอกเดี่ยวออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 3 กลีบ รูปหัวใจ ขอบหยัก 6-7 หยัก กลีบดอก 5 กลีบ สี
เหลือง ตรงกลางสีมวงออน มีเกสรตัวผูจํานวนมาก กานเกสรตัวผูติดกันเปนหลอดกลมหุมเกสรตัวเมียตั้งแตโคน ถึง
ปลายสุด ผลแหงมี 3-4 พู ภายในมีเมล็ดจํานวนมาก สีน้ําตาล มีขนปกคลุม 2 ชั้น (1)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดในอเมริกา อินเดีย ปากีสถาน และอียิปต (4) มีการเพาะปลูกทางตอนใตของอเมริกาและอเมริกา
กลาง (5)

สรรพคุณพื้นบาน :
ราก : บีบมดลูกใหมีลมเบงเวลาคลอดลูก แกหอบ ชวยขับประจําเดือน เปลือกรากใชหามเลือด ขับ
ระดู (emmenagoge) (5)
เมล็ด : แกปสสาวะเหลือง อุจจาระเหลือง หามเลือด แกอาเจียนเปนเลือด แกตกเลือด รักษาแผล
ฝมีหนอง เมล็ดมีรสเบื่อเมาผสมกับน้ํามันยาง ทําเปน ยาลูกกลอนกิน แกโรคหนองใน ขับ
หนอง ทําใหหนองแหง (2)
ในแถบอเมริกา ใชลดไข ขับน้ํานม เสริมสมรรถนะทางเพศ ลมชัก ทําแทง (5)
น้ํามันจากเมล็ด : แกแผลมีหนองเรื้อรัง แกโรคผิวหนัง รักษาผิวหนังใหชุมชื้น บีบมดลูกเพื่อชวยให
ลมเบง
ไมระบุสวนที่ใช : ขับน้ําคาวปลา หามเลือด ขับระดู (2)
ในตํารายาพื้นบานใชน้ํามันรักษาอาการโคเลสเตอรอลสูงและภาวะขาดวิตามินอี ประเทศอินเดียใชเมล็ดแกปวด
ศีรษะ แกไอ ทองรวง ทองผูก โรคหนองใน แกไข ภาวะน้ํานมนอย ชัก และงูกัด (4)

สวนที่ใช :
-260-

เมล็ด น้ํามันจากเมล็ด เปลือกราก (5)

องคประกอบทางเคมี : (4)
น้ํามันจากเมล็ด ประกอบดวยไทรกลีเซอไรดของ - กรดลิโนเลอิก (linoleic acid, 55%) กรดโอเลอิก (oleic acid, 15%)
กรดมั ย ริส ติ ก (myristic acid, 5%) กรด สเตี ย ริก (steric
acid) กรดไอโคซาโนอิ ก (eicosanoic acid) กรดมาลวา
ลิ ก (malvalic acid) กรดสเตอรอคู ลิ แอค (stericuliac
acid)
ลิกแนน - ก็อสซิปอล (gossypol) ปริมาณเล็กนอย
สเตียรอยด - สเตียรอล (sterols) เบตา-ซิโตสเตียรอล (β-sito sterol) แคมเพส
เตียรอล (campesterol) เดลตาเจ็ดสติกมา สเตียรอล (δ7-
stigmastrol)
วิตามินอี (38 มก./100 ก. น้ํามัน) - อัลฟา-โทโคฟรอล (α-toco pherol) แกมมา-โทโค
ฟรอล (γ-tocopherol)
เมล็ด มีน้ํามัน 20-30% และฟอสโฟไลปดส - กรดลิโนเลอิก (linoleic acid, 55%) กรดโอเลอิก (oleic acid, 15%)
กรดมั ย ริส ติ ก (myristic acid, 5%) กรด สเตี ย ริก (steric
acid) กรดไอโคซาโนอิก (eicosanoic acid) กรดมาลวาลิก
(malvalic acid) กรดสเตอคูลิแอค (sterculiac acid)
ลิกแนน - (+)-ก็อสซิปอล (gossypol) (-)-กอสโซปอล (gossopol)
โมโนและโอลิโกแซคคาไรด - แซคคาโรส (saccharose) ราฟฟโนส (raffinose)
กลูโคส (glucose) ฟรุคโตส (fructose)
โปรตีน (20-25%)
และฟลาโวนอลกลัยโคไซด
เปลือกราก มีสารโพลีฟนอลที่มีพิษ โดยเฉพาะก็อสซิปอล; และแทนนิน

CHO OH OH CHO
HO OH

HO CH3 H3C OH

H3C CH3 H3C CH3

gossypol

สารสกัด :
-261-

Cottonseed extract : เปนสารสกัดจากเมล็ดฝาย


Cottonseed oil : เปนน้ํามันจากเมล็ดฝาย (6)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
- เปนสวนผสมของเครื่องสําอางสําหรับผิวหนังและริมฝปาก (2)
- น้ํามันเมล็ดฝายที่ผานการฟอกสี ใชในอุตสาหกรรมการทําสบู (5)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
น้ํามันเมล็ดฝายที่ผานการฆาเชื้อ (sterile) ใชเปนอาหารที่ใหทางสายยางและในรายที่โคเลสเตอ-รอลสูง ใชเปน
สวนผสมในยาฉีด ขี้ผึ้ง (ointment) และ liniment นอกจากนี้ใชเปนน้ํามันปรุงอาหาร (5)
ฝายมีสารที่ยับยั้งการสืบพันธุ (antifertility agent) มีฤทธิ์ยับยั้งการผลิตสเปรมและการเคลื่อนที่ของสเปรมในคน
และสัตวเพศผูหลายชนิดโดยไมมีผลตอระดับฮอรโมนเพศ กลไกการออกฤทธิ์ คือ ยับยั้งเอนไซมแลคเตทไฮโดรจีเนส
(lactate dehydrogenase) ซึ่งพบไดเฉพาะในสเปรมและเซลลสืบพันธุเพศผู และมีบทบาทในการสรางพลังงานใหสเปรม
และ spermatogic cells
การคุมกําเนิดในเพศชาย - พบวาสามารถคุมกําเนิดไดถึง 99% และสเปรมกลับมีปริมาณปกติไดภาย
ใน 3 เดือน หลังจากหยุดยา ชายที่ไดรับก็อสซิปอลยังสามารถมีบุตรได อยางไรก็ตามการศึกษาในระยะยาวพบวาชาย
มากกวา 20% การยับยั้งการสรางสเปรมอาจเกิดตอเนื่องหลังจากใชติดตอกันเปนเวลา 2 ป บางรายการสรางสเปรมไม
กลับเปนปกติ
การคุมกําเนิดในเพศหญิง - การฉีดก็อสซิปอลเขากลามเนื้อในหนูทดลอง สามารถยับยั้งการฝงของตัว
ออน โดยมีผลตอระดับของ luteinizing hormone ก็อสซิปอลยังมีฤทธิ์ยับยั้งการเกาะกลุมของเกร็ดเลือด และลิวโคไทร
อีนส (leukotrienes) (3)

ขอควรระวัง :
หากใชติดตอกันเปนเวลานาน อาจทําใหเปนหมันในเพศชาย (4)

เอกสารอางอิง :
1. ชยันต พิเชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ 72
พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร พริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด. 2544:
469-70.
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด, 2542:
164-5.
3. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2001: 261-2.
4. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical Economics
Company, Inc., 2000: 228-9.
5. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag Heidelberg,
1999.
-262-

6. Wenninger JA, McEwen G.N. Interbational Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded. Washington: The
Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 313.
-263-

ฝาย (Gossypium hirsutum L.)


-264-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Coral plant, โคราล แพลนท


ชื่อไทย(Thai name) : ฝนตน
ชื่อทองถิ่น (Local names) : มะละกอฝรั่ง มะหุงแดง French physic nut, Spanish
physic nut (4)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Jatropha multifida L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Adenoropium multifidum (L.) Pohl,
Jatropha janipha Blanco (9)
วงศ (Family) : Euphorbiaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ฝนตนเปนไมพุม สูงไดถึง 6 ม. ลําตนตั้งตรง ใบเปนใบเดี่ยวเรียงสลับรูปโล ขอบใบเวาลึกเปน
แฉกๆ เกือบถึงโคนใบ คลายใบมะละกอแตเล็กกวา ดอกมีสีแดง ออกเปนชอที่ซอกใบใกลปลายยอด กาน
ชอดอกยาว 6-15 ซม. ดอกเพศผูและเพศเมียอยูบนตนเดียวกัน ดอกเพศผูมีกลีบรองกลีบดอก 5 กลีบ รูป
ไขปลายมน กลีบดอก 5 กลีบ รูปชอน เกลี้ยง ยาว 4-5 มม. ไมติดกัน มีเกสร 8 อัน ดอกเพศเมียกลีบรอง
กลีบดอกและกลีบดอกลักษณะเหมือนดอกเพศผู รังไขเกลี้ยง ภายในแบงเปน 3 ชอง มีไขออนชองละ 1
หนวย ผลสดรูปไขกลับ มี 3 พู แตกได ยาวประมาณ 3 ซม. เมื่อสุกสีเหลือง (2,4,5,6,9)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดในอเมริกาใตจากเม็กซิโกถึงปารากวัย และขึ้นตามเขตรอนทั่วไป (1,5,9)

สรรพคุณพื้นบาน :
ตน : น้ํายางจากตนใชทาแผลอักเสบเรื้อรัง ใชเบื่อปลา
ราก : แกโรคเกี่ยวกับลําไส ชวยยอยอาหาร มีลักษณะคลายรากมันสําปะหลัง เผากิน
ได
เปลือกตน : แกอาเจียน คุมธาตุ แกลงแดง แกปวดเมื่อยตามรางกาย แกปวดเบง
ใบ : แกโรคผิวหนัง เปนยาถายอยางแรง แกเหา
เมล็ด : เปนยาถายอยางแรงและทําใหอาเจียน มีอันตรายมากถึงขนาดใชเปนยาเบื่อได
จึงไมนิยมใช เปนยาทําใหแทงบุตร (1,4,5)

สวนที่ใช :
-265-

เมล็ด (9)

องคประกอบทางเคมี :
ก ร ด แ อ น เ จ ลิ ก (angelic acid), Jatropha factor M-1, Jatropha factor M-2, ล า บ า ดิ
ติ น (labaditin), มั ล ติ ฟ ดิ น (multifidin), มั ล ติ ฟ ด อล (multifidol), มั ล ติ ฟ ด อล กลู โ คไซด (multififdol
glucoside) (1)
ราก ตนและใบ มีกรดไฮโดรไซยานิก (hydrocyanic acid), ใบมีซาโปนิน (saponin), เมล็ดมี กรด
ไขมัน (fatty oil), กลูโคส (glucose) (8)

CH3

O CH3
CH2OH CH2 CN
O O C C HO OH
OH H CH3
HO
OH
OH

multifidin (10) multifidol


เปนองคประกอบในน้ํายางจากฝนตน (8)

สารสกัด :
น้ํามันจากเมล็ดฝนตน (J. multifida seed oil)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
- น้ํามันที่สกัดจากเมล็ดฝนตน ใชเปนสวนผสมในเครื่องสําอางที่ใชบํารุงผมและผิว (1)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- แกทองเสีย กระตุนภูมิตานทาน ตานแบคทีเรีย (4)
- น้ํายางจากพืชสกุล Jatropha ใชรักษาบาดแผลและอาการติดเชื้อที่ผิวหนัง ในเอเชีย (7)

ขอควรระวัง :
ตน : มีน้ํายางทําใหผิวหนังระคายเคืองและอักเสบ
-266-

ผล : เปนพิษ เมื่อรับประทานจะทําใหอาเจียนและระคายเคืองตอกระเพาะอาหาร
เมล็ด : ทําใหแทงบุตรได (1)

เอกสารอางอิง :
1. คณิตา เลขะกุล และคณะ. ไมดอกและไมประดับเฉลิมพระเกียรติ. บริษัทดานสุทธาการพิมพ จํากัด.,
2536:158.
2. ชยันต พิเชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ ฉบับ
เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร พริ้น
ติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด. 2544: 473.
3. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 301.
4. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 225.
5. ลีนา ผูพัฒนพงศ. สมุนไพรไทย ตอนที่ 5. กรุงเทพฯ: ห.จ.ก.ชุติมาการพิมพ, 2530: 686.
6. วงศสถิตย ฉั่วกุลและคณะ. สมุนไพรไทย มรดกไทย. กรุงเทพฯ: บริษัท สยามบุคส แอนดพับลิเคชั่นส
จํากัด, 2540: 178.
7. Ayensu ES. Medicinal Plants of the West Indies. Michigan: Reference Publications, Inc.,
1981: 99.
8. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
9. L.S. de Padua, N. Bunyapraphatsara and R.H.M.J. Lemmens. Plant Resources of South-East
Asia No (12)1. Medicinal and poisonous plant 1: Leiden, Backhuys Publishers.,1999: 326-7.
10. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 412.
-267-
-268-

ฝนตน (Jatropha multifida L.)


-268-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Vetiver, เวทิเวอร


ชื่อไทย (Thai name) : แฝก
ชื่อทองถิ่น (Local names) : แกงหอม แคมหอม หญาแฝกหอม Cuccus,
Khuskhus, Sevendara (2,3), Vertivergras,
Moltenwurzel (6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Vetiveria zizanioides (L.) Nash ex Small (2)
ชื่อพอง (Synonyms) : Andropogon muricatus, A. squarrosus,
Cymbopogon jawarancusa (6)
วงศ (Family) : Poaceae (Gramineae)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Vetiveria zizanoides Oil (10)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมลมลุก อายุหลายป สูง 60-90 ซม. รากมีกลิ่นหอม ใบเดี่ยว เรียงสลับกัน ออกเปนกระจุก แทง
ออกจากเหงาใตดิน รูปเรียวยาว กวาง 0.8-1.8 ซม. ยาว 60-90 ซม. สีเขียว ขอบใบคมเสนกลางใบมีสีขาว
ตลอดใบ เนื้อใบเหนียวมีเสนใยมาก ดอกชอออกที่ปลายยอด ยาว 10-30 ซม. สีมวงอมเขียว ผลเปนผล
แหงไมแตก (1,3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดในเอเซียเขตรอน อินเดีย เบงกอล (5,8) ศรีลังกา อินโดนีเซีย ฟลิปปนส อินเดีย
ตะวันตก อเมริกาเหนือตอนใต อาฟริกา โดยเฉพาะในแองโกลามีการเพาะปลูก (6)

สรรพคุณพื้นบาน :
แฝกมี ฤ ทธิ์ ต านเชื้ อ เพิ่ ม การผลิ ต เซลล เม็ ด เลื อ ดแดง สงบประสาท ใช ภ ายในบรรเทาอาการ
เกี่ยวกับความผิดปกติของระบบประสาทและระบบไหลเวียนโลหิต ใชภายนอกเพื่อฆาเหา (4)
ราก : แฝกหอมมีกลิ่นหอม รสเย็น มีสรรพคุณทําใหดวงจิตชุมชื่น ใชปรุงเปนยาขับลม
ในลําไสแกปวดทอง จุกเสียด แกทองอืด และขับปสสาวะ(1) นอกจากนี้ยังมีการใช
ในผลิตภัณฑจักสานตาง ๆ เชน เสื่อ พัด ตะกรา (5)
รากสดใช ขั บ เหงื่ อ ไล ป รสิ ต โดยเฉพาะแมลงกิ น ผ า สารสกั ด จากรากใช ใ น
อุ ต สาหกรรมน้ํ า หอม (6) น้ํ า มั น หอมระเหยจากรากใช ช ว ยให ก ลิ่ น หอมนาน
(fixative) ในน้ํ า หอมและอุ ต สาหกรรมสบู (6) ตํ า ราโฮมี โ อพาที ข องเยอรมั น
(HAB) ใชรากแหงรักษาหนองฝที่ผิวและชวยใหเล็บงอก (6)
-269-

หัว : ขับลมในลําไส ขับปสสาวะ แกทองเดิน แกรอน แกไขหวัด แกปวดเมื่อย


ใบ : แกไข แกไขพิษ
ดอก : แกไขตาง ๆ (3)

สวนที่ใช :
ราก และน้ํามันหอมระเหยจากราก (4)

องคประกอบทางเคมี :
- รากสดมีน้ํามันหอมระเหย 2-2.5%, เรซิน, สารขม, เวทิเวริน (vetiverin)
- น้ํ า มั น เวทิ เวอร 2-2.5% (vetiver oil) หนื ด สี น้ํ า ตาล-น้ํ า ตาลแดง มี ค วามเป น กรดเล็ ก น อ ย
ได จ ากการกลั่ น ด ว ยไอน้ํ า รากแฝก องค ป ระกอบเคมี ที่ สํ า คั ญ เป น สารกลุ ม เซสควิ เ ทอร ป น อยด
(ไฮโดรคารบอน, แอลกอฮอลล, คีโตน, อัลดีไฮด) สารหลักคือ อัลฟา-เวทิโวน (α-vetivone, 5-10%) เบ
ต า -เวทิ โวน (β-vetivone, 3-5%), คู ซิ ม อล (khusimol, C15 H240, 10-15%) และไอโซวาเลน ซี น อล
(isovalencenol, C15 H240, 10-15%) (6,9)

H2C
H CH 3
CH 3 O

CH2OH CH3

CH3 CH3 CH3 CH3


CH 2OH CH 3 CH3

khusimol (C15H24O) isovalencenol (C15H24O)(9) α-vetivone (6)

สารสกัด :
Veliveria zizanoides Oil เปนน้ํามันหอมระเหยที่ไดจากรากแหงของ Veliveria zizanoides (10)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
น้ํามั น หอมระเหยจากราก เรียกวา “น้ํามันแฝกหอม” (Vetiver oil) ใชแตงกลิ่น ในอุต สาหกรรม
น้ําหอม สบูและเครื่องสําอางอื่นๆ โดยสารในน้ํามันจะถูกเปลี่ยนเปนเวทิเวริล อะซีเตท (vetiveryl acetate)
ที่ใหกลิ่นหอม (1,7,9)
-270-

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
มีรายงานผลทางคุณสมบัติเภสัชวิทยาของแฝกดังนี้ ตานรา ตานยีสต ไลแมลง ฆาปรสิตและตาน
มาลาเรีย (3)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. ชยันต พิเชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ ฉบับ
เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร พริ้น
ติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด. 2544: 476-7.
2. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 549.
3. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 226-8.
4. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 369.
5. Hill A.F. Economic botany. International student ed.2, Mcgray-Hill Book company., Inc.,184.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
7. Krochmal C. A guide to natural cosmetics. Quadrangle/The New York times book company.,
1973: 214.
8. Quisumbing E. Medicinal Plants of the Philippines. Katha Publishing Co., INC. 1978: 89-90.
9. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 690.
10. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded. Washington:
The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 758.
-271-
-272-

แฝก (Vetiveria zizanioides (L.) Nash ex Small)


-272-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Devil tree, เดวิล ทรี


ชื่อไทย (Thai name) : พญาสัตบรรณ
ชื่อทองถิ่น (Local names) : กะโนะ จะบัน ชบา ตีนเปด สัตตบรรณ ตีนเปดดํา บะซา
ปู ล า ปู แ ล ย างข าว หั ส บ รรณ white cheesewood,
blackboard tree, devil’s bark (1), dita bark, milky
pine (4), Pulai (Lex ของ Bown)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Alstonia scholaris (L.) R. Br.
ชื่อพอง (Synonyms) : Alstonia cuneata, Echites malabarica, E. scholaris (5)
วงศ (Family) : Apocynaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมตน สูงไดถึง 30 ม. เปลือกตนสีเทา มียางขาวมาก กิ่งแตกออกรอบขอ ใบเดี่ยว เรียงรอบขอๆ ละ 6-9 ใบ
รูปขอบขนานแกมใบหอกกลับหรือรูปไขกลับ กวาง 2-6 ซม. ยาว 5-18 ซม. ปลายทูกลม หรือเวาเล็กนอย ดอกชอ
ออกเปนกระจุกที่ปลายกิ่ง กลีบดอกสีขาวแกมเหลือง ผลเปนฝก ออกเปนคู รูปกลมยาว (2)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
พบไดตามปาฝนทางตะวันออกเฉียงใตของเอเชีย (4) และออสเตรเลีย (5)

สรรพคุณพื้นบาน :
ราก : ขับลม
เปลือก : แกบิด แกไขหวัด แกไข ทองรวง ขับระดู ขับพยาธิไสเดือน ขับน้ํานม
รักษามาลาเรีย รักษาเบาหวาน
ใบ : แกไขหวัด ไขตัวรอน ใชภายนอกดับพิษตาง ๆ
ดอก : แกไขตัวรอน
กระพี้ : ขับโลหิต
ยาง : รักษาแผลเนาเปอย เปนยาบํารุงกระเพาะภายหลังเจ็บไข (2,3)
ตําราโฮมีโอพาที (HAB) ใชเปลือกแกทองรวง แกไขมาลาเรีย และใชขณะพักฟนจากการติดเชื้อ
(5)

สวนที่ใช :
เปลือกที่เก็บในฤดูใบไมผลิและฤดูรอน
-273-

องคประกอบทางเคมี :
เปลือกประกอบดวยสารกลุมตาง ๆ ดังนี้
- แอลคาลอยด : ไดตาอีน (ditaine), เอ็กคิเทนีน (echitenine), เอ็กไคทามีน (echitamine), เอ็ก
ไ ค ท า มิ ดี น (echitamidine), อั ล ส โ ต นิ น (alstonin), เ ต ต ร า ไ ฮ โ ด ร อั ล ส โ ต นิ น
(tetrahydroalstonin) แอลคาลอยดดังกลาว มีคุณสมบัติลดไข และระบาย
- ไทรเทอร ป น ส (triterpenes) : อั ล ฟา-อะมั ย ริ น (α-amyrin), ลู พี อ อล (lupeol), มอลทอล
(maltol), น้ํามันหอมระเหย (volatile oil) (2,4)

N H

N H O
H
H
H3COOC

tetrahydroalstonin

สารสกัด :
สารสกัดจากเปลือกตน Alstonia scholaris

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
มีคุณสมบัติสมานผิว (astringent) ใชเปนสวนผสมในผลิตภัณฑทําความสะอาดผิว (4)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
ฤทธิ์ตานจุลชีพ รักษาโรคโลหิตจาง ประจําเดือนมาผิดปกติ ไขมาลาเรีย แกปวดทอง คลายการ
เกร็งตัวของกลามเนื้อ ขนาดที่ใช คือ 1-3 ก./วัน ใชในรูปแบบตาง ๆ เชน ยาแช ผง สารสกัด ยาแช
เขมขนใชลางรักษาสิวและโรคผิวหนังที่มีน้ําเหลือง หรือกลั้วคอรักษาโรคทางชองปาก (3)

ขอควรระวัง :
ควรระมัดระวังการใชในสตรีมีครรภเนื่องจากมีฤทธิ์กระตุนมดลูก

เอกสารอางอิง :
-274-

1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,


2544: 27.
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 243-5.
3. พรรณิภา ชุมศรีและคณะ. สวนนานาพฤกษสมุนไพร. โครงการวิจัยปลูกและรวบรวมพันธุพืชสมุนไพร
เภสัช-มหิดล. 81.
4. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995.
5. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
-275-

พญาสัตบรรณ (Alstonia scholaris (L.) R. Br.)


-275-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Pepper, เปปเปอร


ชื่อไทย (Thai name) : พริกไทย
ชื่อทองถิ่น (Local names) : พ ริ ก น อ ย (1), piper, pepper bark (5), black pepper,
common pepper, white pepper (8), poivre noir,
poivre, poivrier commun, felfel aswad, felfel akhal,
lyebzar (4), P feffer (6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Piper nigrum L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Muldera multinervis, M. uightiana, Piper aromaticum,
P. trioicum (6)
วงศ (Family) : Piperaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Black pepper extract (10)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมเถาเนื้อแข็ง อายุหลายป สูงประมาณ 5 ม. ขอโปงนูน มีรากฝอยออกบริเวณขอเพื่อใชยึดเกาะ
ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไข ขนาดกวาง 5-10 ซม. ยาว 8-18 ซม. ปลายใบแหลม ฐานใบมนหรือเบี้ยวไมเทา
กัน กานใบยาว 5 ซม. ดอกชอออกที่ซอกใบ ชอดอกยาว 5-15 ซม. ประกอบดวยดอกยอยสมบูรณเพศ
มากกวา 100 ดอก ผลรูปกลม เรียงแนนอยูบนแกน ผลออนสีเขียว เมื่อสุกมีสีแดง (1,3,5)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
พริกไทยเปนพืชพื้นเมืองของอินเดียตะวันตกเฉียงใต ปจจุบันมีการเพาะปลูกทั่วไปในเขตรอนของ
เอเชียคาริบเบียน (1,3,5) อเมริกาใต อาฟริกา มาดากัสการ (6)

สรรพคุณพื้นบาน :
ผล : เปนยาขับลม แกอาการทองอืดทองเฟอ บํารุงธาตุ ทําใหเจริญอาหาร ขับเหงื่อ ขับปสสาวะ กระตุน
ประสาท (1,3,4) ขับน้ํานม ขับประจําเดือน ผสมกับน้ํามันทาภายนอกรักษาสิว จุดดางดําตามใบหนา
โรคเรื้อน (4)บดเปนผงอุดบรรเทาอาการปวดฟน มีฤทธิ์ฆาแมลง (3,8)
ราก : มีสรรพคุณขับลมในลําไส แกปวดทอง แกลมวิงเวียน ชวยยอย
ใบ : มีรสรอน แกลมจุกเสียดแนน แกปวดมวนทอง
จีนใชพริกไทยดํา (black pepper) แกอาเจียน, ทองเสียและการยอยอาหารที่ผิดปกติ ใชพริกไทย
ลอน (white pepper) บรรเทาอาการปวดทอง, มาลาเรียและอหิวาตกโรค (7)
-276-

อินเดียใชพริกไทยลอนรักษาโรคขออักเสบ โรคหืด แกไข ไอ เยื่อบุอักเสบ โรคบิด อาหาร


ไมยอย ขับลม ริดสีดวงทวาร แกอาการสะอึก ปสสาวะกระปริบกระปรอยและการบาดเจ็บของผิวหนัง
ตางๆ (5)
ตําราสมุนไพร (6) ใชพริกไทยลอน รักษาริดสีดวงทวารและเปนเครื่องเทศ ใชพริกไทยดํารับ
ประทานแกอาหารไมยอย และเปนเครื่องเทศ ในยาพื้นบานใชบรรเทาอาการหลอดลมอักเสบในรูปขี้ผึ้งใช
ทาบรรเทาปวดเสนประสาท และแผลถลอก ตองโฮมิโอพาที(HABB4) ใชผลดิบแหง ชวยกระตุนการหลั่ง
น้ําและทําใหเยื่อบุผิวระคายเคือง (6)

สวนที่ใช :
ผลที่แกเต็มที่แตยังไมสุก นํามาตากแดดใหแหงหรืออบในเตาอบจะไดผลที่มีผิวสีดํา มีรอยยน
มีกลิ่นหอม เรียกวาพริกไทยดํา (black pepper) ผลสุกที่เอาเปลือกนอกออกกอนทําใหแหง เรียกวา
พริกไทยลอน (white pepper) (1)

องคประกอบทางเคมี :
ผลพริกไทยดํา (black pepper) ประกอบดวยน้ํามันหอมระเหย (2-4%) ประกอบดวยเทอรป น
ไฮโดรคารบอน 90% และเทอรปนที่มีออกซิเจน (oxygenated compounds) ประมาณ 10% องคประกอบ
หลักไดแก ซาบินีน (sabinene), ลิโมนีน (limooene), ไดแก คารีโอฟลลีน (caryophyllene), เบตา-และอัล
ฟา-ไพนีน-(β-,α-pinenes) คารีน (carene) และบิสาโบลีน (bisabobne)(6)
- สารประกอบออกซิ เจน ได แ ก ลิ น าโลออล (linalool) มั ย ริ ส ติ ซิ น (myristicin) เนโรลิ ด อล
(nerolidol) ซาฟฟรอล (saffrole) เบตา-ไพโนน (β-pinone) และ N-formylpiperidine
- โอลีโอเรซิน (oleoresin) ประกอบดวยสารที่ทําใหเกิดรสเผ็ดรอนและน้ํามันหอมระเหย (5,6)
- แอลคาลอยดหลัก ไดแก พิเพอรีน (piperine, 5-10%) (6)
- แอลคาลอยดอื่น ๆ : พิเพอรีลีน (piperyline) พิเพอโรเลน เอ-ซี (piperolein A-C) พิเพอรา
นีน (piperanine) ซึ่งพิเพอรีน (piperine) และพิเพอรานีน (piperanine) เปนสารที่ทําใหเกิด
รสเผ็ดรอน (pungent principles)
- ฟลาโวนอล กลั ย โคไซด (flavonol glycoside) : เคมเฟอรอล (kaempferol) แรมเนติ น
(rhamnetin) เคอรซีติน (quercetin)
นอกจากนี้มีกลุมสารฟนอล และ phenol carboxylic acids ซึ่งทําใหพริกไทยมีสีดํา
พริกไทยลอน ประกอบดวยน้ํามันหอมระเหยนอยกวาพริกไทยดํา สวนปริมาณสารที่ทําใหเกิดรส
เผ็ดรอนมีปริมาณใกลเคียงกัน

O
N

O
-277-

piperine (9)
สารสกัดพริกไทย (Black pepper extract) :
เปนสารสกัด (oleoresin) จากเมล็ดของพริกไทยดํา (Piper nigrum) มีสวนผสมของสารที่ทําให
เผ็ดรอน
น้ํามันพริกไทย (pepper oil) เปนน้ํามันหอมระเหย (volatile oil) ที่ไมมีสวนผสมของสารที่ทําให
เผ็ดรอน ไดจากการกลั่นพริกไทยดําดวยไอน้ํา (1,10)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ชวยลดจุดดางดําตามใบหนา (freckles) (4) และมีคุณสมบัติตานอนุมูลอิสระ ใชในผลิตภัณฑบํารุง
ผิว (tonic) (7)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
พริกไทยดําใชรับประทานบรรเทาอาการผิดปกติของระบบยอยอาหาร ใชทาถูนวดบรรเทาอาการ
ปวดเสนประสาท
พริกไทยดํามีฤทธิ์ขับเหงื่อ ขับลมและขับปสสาวะ กระตุนการทํางานของตอมรับรส เพิ่มการหลั่ง
ของกรดในกระเพาะอาหาร มีรายงานถึงฤทธิ์สลายไขมันอันเนื่องมาจากเปลือกผลชั้นนอก
พริกไทยปริมาณ 0.1 ก. เมื่ออมในปากโดยไมกลืน พบวาสามารถเพิ่มความดันโลหิตในผูทดลองทั้งหมด 24 คน
(7)
พริกไทยยังมีฤทธิ์ตานจุลชีพจึงใชรักษาสิว (4) มีผลตอตับและการเผาผลาญสารตางๆ ในรางกาย
(5)
พริกไทยใชเปนสารแตงกลิ่น, รสในผลิตภัณฑหลายชนิด เชน เครื่องดื่มที่ไมมีแอลกอฮอล ลูกอม ผลิตภัณฑจาก
เนื้อสัตว เนยแข็ง เครื่องปรุงรส น้ํามันพริกไทยและน้ํามันเรซินใชเปนสารผสมหลักในเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล เจลาติน
พุดดิ้งส (7)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
-278-

1. ชยันต พิเชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ ฉบับ


เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร พริ้น
ติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด. 2544: 487-90.
2. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 416-7.
3. พรรณิภา ชุมศรีและคณะ. สวนนานาพฤกษสมุนไพร. โครงการวิจัยปลูกและรวบรวมพันธุพืชสมุนไพร
เภสัช-มหิดล. 127.
4. Boulos L. Medicinal plants of North Africa. Michigan: Reference Publications, Inc., 1983:
142,145.
5. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 103.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
7. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 415-7.
8. Medicinal plants in vietnam 293.
9. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 497.
10. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 77.
-279-

พริกไทย (Piper nigrum L.)


-279-

ชื่อสามัญ (Common or English name) Capsicum, แคพซิคุม


:
ชื่อไทย (Thai name) :
พริกหยวก
ชื่อทองถิ่น (Local names) ดี ป ลี เมื อ ง chili, red pepper, sweet pepper (2), bell
:
pepper, chili pepper, paprika, pimento, cayenne
pepper (11)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Capsicum annuum L. var. annuum
ชื่อพอง (Synonyms) : Capsicum longum, C. annum longum, C.
hispidum, C. minimum
วงศ (Family) : Solanaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Capsicum annuum extract
African C. frutescens* extract
C. frutescens oleoresin (5)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมลมลุกฤดูเดียวหรือไมพุมขนาดเล็ก สูง 0.5-1.5 ม. ลําตนตั้งตรงแตกกิ่งกานมาก ใบเดี่ยวเรียง
สลับ รูปไขหรือรูปใบหอก กวาง 5-8 ซม. ยาว 10-16 ซม. โคนใบและปลายใบแหลม กานใบยาวไดถึง 10
ซม. ขอบใบเรียบ ดอกเดี่ยวออกที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันปลายแยกเปน 5 แฉก
ยังคงอยูจนดอกกลายเปนผล กลีบดอกสีขาวเชื่อมติดกันเปนรูประฆังหรือรูปปากแตรปลายแยกเปน 5-7
แฉก ผลสดมีหลายรูปรางและขนาด มักจะเปนรูปกรวยกวาง ยาวไดถึง 30 ซม. เมื่อยังออนอยูมี สีเขียว
เหลือง ครีม หรือมวง เมื่อสุกจะเปลี่ยนเปนสีแดง สม เหลืองหรือน้ําตาล เมล็ดรูปโล แบน สีเหลืองออน
(1,3,7)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนพืชพื้นเมืองของอเมริกาใต ปจจุบันปลูกกันทั่วไปทั้งในเขตรอนและเขตอบอุน (1)

สรรพคุณพื้นบาน :
ผล : ใชเปนยาทาภายนอกทําใหเกิดการระคายเคือง (counterirritant preparation) เพื่อรักษา
อาการขอตออักเสบ โรคปวดขอ โรคปวดวิถีประสาท ปวดหลัง-เอว แกอาการปวดเมื่อย
ทํ าให เลื อดมาเลี้ยงมากขึ้น ใชภ ายในแกท องอืด ทองเฟ อ ขับ ลม ขับ เหงื่อ ขับ
ปสสาวะเป นยาธาตุเจริญ อาหาร รักษาโรคทองรวง ตะคริว บรรเทาอาการปวดทอง
-280-

ปวดฟ น รัก ษาอาการอั ก เสบของทางเดิ น ป ส สาวะ และการติ ด เชื้อ ในช อ งปากและหู


ชั้นกลาง (3,4,7,10)

มีกกขีารใช
* C. frutescens (พริ ้หนู)รมีวถมกั
ิ่นกํบาเนิ
สมุดนในอเมริ
ไพรอืก่นาใตคือปโกฐน้
จจุบันํามีเต า (rhubarb)
การเพาะปลู และเหงาอขินชื
กทั่วไปในเขตร ง ในอั ตราสว่งนรอ1:1:1
้น และเขตกึ นชื้น
ผลสุกมีแคพไซซินอยด 0.3-1%, น้ํามันไมระเหย, คาโรทีนอยด, วิตามินซี และสารที่ระเหยไดในปริมาณนอย
เพื ่ อ ช ว ยเจริ ญ อาหารและบรรเทาอาการท อ งร ว ง ชงเป น ชาร ว มกั บ พริ ก ไทยและอบเชย
เพื่อลดอาการติดสุรา
ใบ : แกไขหวัดกําเดาที่ทําใหปวดศีรษะ โดยใชตํากับดินสอพองปดขมับ (1)
ไมระบุสวนที่ใช : ขับปสสาวะ แกกามโรค บํารุงเลือดลม (3)
ตําราสมุนไพร (9) พริกหยวกชวยระบบยอยอาหาร อาการผิดปกติที่กระเพาะอาหาร-ลําไส ขับ
ปสสาวะ และเปนยารักษาหัวใจ และการไหลเวียนโลหิต ตําราโฮมีโอพาที (HAB1) ใชรักษาไสติ่งอักเสบ
หูสวนกลางอักเสบ เยื่อบุชองปากและคออักเสบ กระเพาะอาหาร-ลําไสอักเสบ เยื่อบุกระเพาะปสสาวะ
และทางเดินปสสาวะอักเสบ (9)

องคประกอบทางเคมี :
พริกหยวก (capsicum) ประกอบดวยสารรสเผ็ดรอน (pungent principles) กลุมแคพไซซินอยด
(capsaicinoids) 0.1-1.0% ไดแก แคพไซซิน (capsaicin) ไดไฮโดรแคพไซซิน (dihydrocapsaicin) นอร
ไดไฮโดร แคพไซซิน (nordihydrocapsaicin) โฮโมแคพไซซิน (homocapsaicin) และโฮโมไดไฮโดรแคพ
ไซซิน (homodihydrocapsaicin) ซึ่งพบบริเวณไสของผล (ไมพบที่เมล็ด)
สารกลุมอื่นๆ ที่มีรายงาน ไดแก
- คาโรทีนอยด (carotenoids) 0.3-0.8% เชน แคพแซนทิน (capsanthin) แคพโซรูบิน (capsorubin)
ลูเทอิน (lutein) อัลฟา-คาโรทีน (α-carotene) ไวโอลาแซนทิน (violaxanthine)
- ฟลาโวนอยด เชน อะพิอิน (apiin), luteolin-7-O-glucoside
- สเตียรอยด ซาโปนินส (steroid saponins) เชน แคพไซซิดีน (capsicidine) แคพซิโคไซด
(capsicoside)
- น้ํ า มั น หอมระเหย 0.1% องค ป ระกอบสํ า คั ญ คื อ 2-methoxy-3-isobutyl pyrazine N-(13-methyl
tetradecyl) acetamide (หรือ capsiamide)
- ไขมัน (9-17%) โปรตีน (12-15%) วิตามินเอ (6,7,10) และวิตามินซี (ปริมาณสูงสุด 0.21%)

O
H3CO CH 3
N
H
CH 3
HO
-281-

capsaicin
แคพซิคุมโอเลโอเรซิน (capsicum oleoresin) ไดจากการสกัด red pepper ดวย organic solvent
มีปริมาณสารคาโรทีนอยด (carotenoids) สูง มีความเผ็ดรอนบางหรือแทบไมมีเลย

สารสกัดพริก (Capsicum extract) :


สารสกัดจากผล Capsicum annuum
ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ใชในผลิตภัณฑบํารุงเสนผม (5)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
ยาเตรียมจากพริกหยวกในรูปทิงเจอร พลาสเตอร สารสกัด โอเลโอเรซิน (oleoresin) ใชภายนอก
บรรเทาอาการปวดกลามเนื้อบริเวณไหลและแขน ไขสันหลัง โดยมีคุณสมบัติ counterirritant ทําใหรอน
(hyperaemia) (9)
พริกมีสารแคพไซซิน (capsaicin) ซึ่งทําใหเกิดการระคายเคือง การทาแคพไซซินที่ผิวหนังอาจ
ทําใหเกิดความรูสึกรอนจนถึงผิวหนังไหมขึ้นกับปริมาณความเขมขนที่ใชจึงมีการประยุกตนํามาใชโดยทาซ้าํ
เพื่อลดการกระตุนความรูสึก ทําใหเกิดการชาเนื่องมาจากการยับยั้ง substance P ซึ่งเปนสาเหตุใหเกิด
ความเจ็บปวด มีครีมแคพไซซินใชทาเพื่อบรรเทาอาการปวดจากโรคงูสวัด การปวดวิถีประสาทจากโรค
เบาหวาน และหลังการผาตัด ใชสูดดมเพื่อลดการกระตุนประสาทในชองจมูกทําใหลดการ จาม คัดจมูก
น้ํามูกไหล
ฤทธิ์ตานการอักเสบเปนผลจากฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระของแคพไซซินที่รบกวนขบวนการสงอนุมูล
อิสระของออกซิเจน (oxygen radical) ไปยังเอนไซมไลปอกซีจีเนส (lipoxygenase) และไซโคลออกซีจี
เนส (cyclooxygenase) จึงมีผลยับยั้งการทํางานเอนไซมทั้งสอง
ฤทธิ์ตานจุลชีพ (antimicrobial effects) มีผลตอเชื้อจุลชีพหลายชนิด เชน Helicobacter pylori
ซึ่ง ทําใหเกิดโรคกระเพาะ
ฤทธิ์ตานพิษ (detoxification) โดยสารแคพไซซินและไดไฮโดรแคพไซซินมีผลตอเอนไซมที่สลาย
ยาในตับ ปองกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร (gastroprotective) ที่เกิดจากเอสไพริน ชวยสลายไฟบ
รินและลดการแข็งตัวของเลือด (6,7,10)
มีการใชสารสกัดจากพริกและโอริโอเรซิน (oleoresin) ในผลิตภัณฑอาหารหลายชนิด เชน เครื่อง
ดื่มที่มีแอลกอฮอลและไมมีแอลกอฮอล ลูกอม พุดดิ้งส ผลิตภัณฑจากเนื้อสัตว ปริมาณการใชสารสกัดจาก
พริกกําหนดใหใชไดไมเกิน 0.12% และน้ํามันเรซินไดไมเกิน 0.09% นอกจากนี้ยังใชในการแตง สี
เหลืองและสมอีกดวย (10)
มีคุณสมบัติชว ยกระตุนการเจริญของรากผม (5)
-282-

ขอควรระวัง :
- หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับบริเวณเยื่อบุและทางเดินอาหาร ถาสัมผัสใหลางดวยนมหรือน้ําสะอาด
( 6 )
- อาการปวดแสบรอนจากแคพไซซินอยด บรรเทาไดโดยการชะลางดวยสารละลายดางทับทิม เจือ
จาง (8)

เอกสารอางอิง :
1. ชยันต พิเชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ ฉบับ
เฉลิม พระเกี ยรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธัน วาคม พุ ท ธศั ก ราช 2542. กรุงเทพฯ: บริษั ท อมริน ทร
พริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด. 2544: 485-6.
2. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิ มพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 107-8.
3. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 275-7.
4. Boulos L. Medicinal plants of North Africa. Michigan: Reference Publications, Inc., 1983:
164.
5. D’Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic Desk Reference. New York: CRC Press, 1999: 71-
3.
6. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2001:
114-5.
7. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 165-7.
8. Haensel R, Hoelzl J. Lehrbuch der pharmazeutischen Biologie. Springer-Verlag Berlin
Heidelberg, 1996.
9. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
10. Leung AY, Foster S. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 115-7.
-283-

11. Vermeulen N. Encyclopaedia of herbs. The Netherlands: Rebo Productions Ltd., 1999: 76-7.
-284-

พริกหยวก (Capsicum annuum L. var. annuum)


-284-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Crinum, ครินุม


ชื่อไทย (Thai name) : พลับพลึง
ชื่อทองถิ่น (Local names) : ลิลัว, Cape lily, Crinum lily (3)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Crinum asiaticum L.
ชื่อพอง (Synonyms) : -
วงศ (Family) : Amaryllidaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมลมลุก มีหัวใตดิน ลําตนบนดินเกิดจากกาบใบซอนทับกันเปนลํา สูงไดถึง 1.5 ม. ใบเดี่ยว
เรียงสลับเวียนออกรอบลําตน รูปดาบยาว ปลายใบแหลม ขอบใบเปนคลื่น เนื้อใบหนาอวบน้ํา กวาง
10-15 ซม. ยาวประมาณ 1 ม. ดอกชอขนาดใหญ ออกที่ซอกใบใกลปลายยอด กานชอดอกอวบยาว
ประมาณ 90 ซม. ดอกยอย 12-40 ดอก กลีบดอกสีขาว มีกลิ่นหอม ตอนโคนติดกันเปนหลอดยาว 7-
10 ซม. ปลายแยกเปนกลีบแคบๆ เรียวแหลมกวาง 1 ซม. ยาว 7 ซม. จํานวน 6 กลีบ ดอกยาวราว 15
ซม. เกสรตัวผูมี 6 อัน ติดอยูที่โคนหลอดดอก สวนตอนปลายเรียวแหลมยาว ปลายเกสรสีแดง โคน
ขาว อับเรณูสีน้ําตาล ผลคอนขางกลมสีเขียวออน (1,3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดอยูที่เอเชียทางตอนใต (9) พบกระจายทั่วไปบริเวณปาซิฟกตอนใต (12)

สรรพคุณพื้นบาน :
หัว (bulb) : ใช ป ระโยชน เหมื อ น Urginea maritima, ใช เตรี ย มสารสกั ด ที่ มี ส ารขม หั ว มี
สรรพคุณบํารุงกําลัง ระบาย ขับเสมหะทําใหอาเจียน แกปวด แกพิษตาง ๆ
ใบ : ใชแกฟกช้ําโดยใชใบสดลนไฟใหอุนและนําไปพันบริเวณที่มีอาการ แกเคล็ดยอก
(ขอเคล็ด) แกอาเจียน แกช้ําใน รับประทานมากทําใหอาเจียน (ใบมีรสชาติไม
นารับประทาน) ลดไข แกบวม บรรเทาอาการปวดหลัง
ราก : ตําพอกไวที่แผล ชวยทําใหอาเจียนเอาพิษรายออกมา
เมล็ด : ใชเปนยาระบาย ยาขับปสสาวะ ขับประจําเดือน และเปนยาบํารุง (1,3,5,6,
12)

สวนที่ใช :
-285-

ใบ หัว (2,3)

องคประกอบทางเคมี :
ใบและหัวใตดนิ มีอัลคาลอยดชื่อลิคอรีน ( l y c o r i n e ) ในหัวใตดนิ มีอัลคาลอยดชื่อนารซิสซีน
(narcissine) สวนในรากมีอลั คาลอยด นารซิสซีน (narcissine) และครินามีน (crinamine) มีรายงานสารที่
แยกไดจากหัว ( f l o w e r i n g b u l b ) ดังนี้
ลิคอรีน ( lycorine) และอนุพันธกลัยโคไซด (ครินามีน (crinamine), ครินีน (crinine), ครินาเซีย
ทีน (crinasiatine), ครินาเซียดีน (crinasiadine), แทนนิน (tannin) (7,10,11,12)

OH O
H 2
HO
NH
11
H H O
H
O O
4
H
N 5
O
8 7
OH

lycorine crinasiatine (7)


มีคุณสมบัติตานไวรัส และการเจริญของพืช มีคุณสมบัติยับยั้งเชื้อแบคทีเรียและเนื้องอก
(plant growth inhibitor) (7)

O
NH crinasiadine (7)
O มีคุณสมบัติยับยั้งเชื้อแบคทีเรียและเนื้องอก (7)

สารสกัด :
สารสกัดจากหัว (flowering bulb) ของ Crinum asiaticum

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ทําใหผิวออนนุม (10) ทําความสะอาดผิว
-286-

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
ตานรา, มีผลตอระบบประสาทสวนกลาง, เปนพิษตอเซลล (3),ยับยั้งเนื้องอก (10,8), มี คุณ
สมบัติฝาดสมาน (10)
ลิคอรีน ครินาเซียทีนและครินาเซียคีน แสดงคุณสมบัติยับยั้งแบคทีเรียตานไวรัส และยับยั้งมะเร็ง (7)

ขอควรระวัง :
หากรับประทานใบจะทําใหอาเจียน (3)

เอกสารอางอิง :
1. ชยันต พิเชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ ฉบับ
เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร พริ้น
ติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด. 2544: 494-5.
2. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 153.
3. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 286-7.
4. บุศบรรณ ณ สงขลา สมุนไพรไทย ตอนที่ 1., 2525: 59-60.
5. พรอมจิต ศรลัมพ. รุงระวี เต็มศิริฤกษกุล. วงศสถิตย ฉั่วสกุล. อาทร ริ้วไพบูลย. สมุนไพรและยาที่
ควรรู. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ อาร ดี พี, 2532: 180.
6. Dhavadee Ponglux. Medicinal Plants Exhibition Committee the 1st princess Chylathorn
Science Congress 1987 International Congress on Natural Products BKK. Thailand. Dec.10-
13., 1987: 101.
7. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
8. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
9. McMAKIN PD. A Field Guide to the Flowering Plants of Thailand. Bangkok: White Lotus Co.,
Ltd., 1998: 6.
10. Quisumbing E. Medicinal Plants of the Philippines. Katha Publishing Co., INC. 1978: 171-2.
11. Wagner H., Hikino H. and farnsworth N.R. Economic and medicinal Plant Research Vol.2. Academic
press Limited., 1988: 147-8.
-287-

12. WHO Regional office for the western Pacific. Medicinal plants in the South pacific. WHO Regional
Publications western pacific series No.19. 1998: 65.

พลับพลึง (Crinum asiaticum L.)


-288-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Stink grass, สติงค กราสส (7)


ชื่อไทย (Thai name) : พลูคาว
ชื่อทองถิ่น (Local names) : ผักกานตอง ผักเขาตอง ผักคาวตอง ผักคาวทอง
พลูแก, Houttynia, Doku-dami (1,2)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Houttuynia cordata Thunb.
ชื่อพอง (Synonyms) : Polypara cochinchinensis Lour., Gymnotheca
chinensis.
วงศ (Family) : Saururaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมลมลุก สูง 15-60 ซม. ทั้งต น มีกลิ่นคาวคลายกลิ่น คาวปลา ใบเปน ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูป หัวใจ
กวาง 4-6 ซม. ยาว 5-8 ซม. ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ กานใบยาว 1-3.5 ซม. กานใบสวนโคนแผเปนกาบ
หุมตน หูใบอยูติดกับกานใบ ดอกชอออกที่ปลายยอด มีใบประดับสีขาวคลายกลีบดอก 4 กลีบ ดอก
ยอยจํานวนมากขนาดเล็กสีเหลือง ไมมีกลีบดอก ผลแหงแตกได (2)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดในจีน แถบเทือกเขาหิมาลัย อินเดีย (6) ญี่ปุน ลาวและเวียตนาม (3)

สรรพคุณพื้นบาน :
ใบ : แกกามโรค ทําใหน้ําเหลืองแหง แกเขาขอ แกโรคผิวหนังทุกชนิด ทําใหแทง
ตน : ขับ ป สสาวะ แกบ วมน้ํ า แกฝบ วมอั กเสบ แก ป อดอั กเสบ แก ห ลอดลม อัก เสบ
แกไอ แกบิด แกโรคติดเชื้อในทางเดินปสสาวะ แกหูชั้นกลางอักเสบ แกริดสีดวง
ทวาร (2)
สวนเหนือดิน : มีสรรพคุณพื้นบาน ขับประจําเดือน แกบวมอักเสบ ทําใหผิวนุม ภายนอกใช
กั บ แผลที่ มี ห นอง บวม บาดแผล ใชในอาการบิ ด โรคตา ในอิ น เดี ยใช
ใบสดรับประทานเพื่อชวยฟอกเลือด ในญี่ปุนใชเปนยาขับปสสาวะ (6)

สวนที่ใช :
สวนเหนือดิน (herb)
-289-

องคประกอบทางเคมี :
ทั้งตนมีกลิ่นเฉพาะ กลิ่นแรงมากที่สุดที่สวนราก (rhizome) ใหน้ํามันหอมระเหยที่ประกอบดวย เม
ทิล-โนนิลคีโตน (methyl-nonyl ketone) เดคาโนอิล อะเซทอัลดีไฮด (decanoyl acetaldehyde) อะโร
มาติก ไฮโดรคารบอนส (aromatic hydrocarbons) ไลปดส (lipids) เทอรปนอยด (terpenoids) เคอรเซ
ติน (quercitin) (4, 10)
ส ว นเหนื อ ดิ น มี น้ํ า มั น หอมระเหย (0.05%) ประกอบด ว ย ไทมอล (thymol) คาร ว าครอล
(carvacrol); ฟลาโวนอยด กลัยโคไซด เชน เคอรซิตริน (quercitrin) (6)

OH

HO O
OH

O
OH O OH
O OH
CH3
OH

quercetin (6)

สารสกัด :
สารสกัดจากสวนเหนือดิน (herb) ของ Houttuynia cordata

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ทําใหผิวออนนุม และทําความสะอาดผิว (2,10)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
พลูคาวมีคุณสมบัติยับยั้งเอนไซม cyclooxygenase ยับยั้งการเกาะกลุมของเกร็ดเลือด ตานไวรัส
แบคทีเรีย เชื้อรา ตานการแพ ยับยั้งเนื้องอก กระตุนผิวหนังใหเกิดการแพชาลง กระตุนเซลลน้ําเหลือง
ลดการอักเสบ ตานพิษงู ยับยั้งการหลั่งไขมันจากตอมไขมันของผิวหนัง ยับยั้งโรคเบาหวาน ชวยขับปสสาวะ
(2) ใช รั ก ษ า haemorrhoids, acute conjunctivitis แ ล ะ acute infection ซึ่ ง เกิ ด จ า ก เชื้ อ Bacillus
pyocyaneus (2,10)
พลูคาวเปนสมุนไพรเย็นชวยในการสมานแผล ลดการเจ็บปวดและไมระคายเคืองตอผิวหนัง (2)
-290-

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิ ติ นั น ทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิ มพ ค รั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษั ทประชาชนจํากั ด ,
2544: 283.
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 303-5.
3. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 139.
4. Dhavadee Ponglux. Medicinal Plants Exhibition Committee the 1st princess Chylathorn
Science Congress 1987 International Congress on Natural Products BKK. Thailand. Dec. 10-
13., 1987: 143.
5. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
7. Natural Products Research Institute Seoul National University. Medicinal Plants in the
Republic of Korea. Manila: World Health Organization, 1998.
8. Plants for a Future, The Field, Penpol, Lostwithiel, cornwell, PL22 ONG, UK.
http://www.pfaf.org.
9. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thiem Verlag Stuttgart, 2000: 232.
10. WHO regional office for the western pacific. Medicinal Plants in Viet Nam. Series No.3 1990:
205.
-291-
-292-

พลูคาว (Houttuynia cordata Thunb.)


-292-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Patchouly, แพทชูลี


ชื่อไทย (Thai name) : พิมเสน
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Nilam, Dhalum wangi, Kadlum, Patschulipffenze
(5)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Pogostemon cablin (Blanco) Benth.
ชื่อพอง (Synonyms) : Pogostemon patchouli Pellet.
วงศ (Family) : Lamiaceae (Labiatae)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมลมลุก ลําตนตั้งตรง สูงประมาณ 1 ม. ลําตนมีลักษณะเปนเหลี่ยม มีขนละเอียดปกคลุมหนา
แนน ผิวใบดานลางมีตอมลักษณะเปนจุดเมื่อขยี้ใบจะไดกลิ่นที่มีลักษณะเฉพาะ ดอกสีมวงแดงหรือสีน้ําเงิน
ออกเปนชอมีลักษณะเปนชอแตกแขนงที่ปลายยอด (1,4,9)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดแถบอินโดจีน-มาเลเซีย สุมาตรา บอรเนียว ชวา และมีการเพาะปลูกในอินเดีย
ศรีลังกา จีนตอนใต ฟลิปปนส เซยเชลลีน (Seychellen) และปารากวัย (5)

สรรพคุณพื้นบาน :
ยาตมหรือยาชงใชรับประทาน รักษาตับอักเสบ ขับประจําเดือน และบรรเทาอาการปวดประจํา
เดือน สวนผสมของใบพิมเสน ใบฝรั่ง และเปลือกสม ในปริมาณเทาๆกันใชเปนยาแกบิด ใชในสุวคนธ
บําบัด (aromatheraphy) เพื่อผอนคลายเครียดใบตมน้ําอาบเพื่อทุเลาอาการปวดตามขอ และกลามเนื้อ
(1,10,13) สรรพคุณพื้นบานของใบใชฆาเชื้อจุลินทรีย (antiseptic) และนํามากลั่นน้ํามันหอมระเหย ใบ
ยังใชแตงกลิ่นหอมและไลแมลง น้ํามันหอมระเหยใชกระตุนกําหนัด (aphrodisiac) ตานอาการซึมเซา
(antidepressive) น้ํามันหอมระเหยมีคุณสมบัติกระตุนและคลายเครียด ใชเปนสวนผสมในน้ําหอมและ
เครื่องสําอาง สมัยกอนใชกันแมลง (5)

องคประกอบทางเคมี:
- ใบพิ ม เสนมี น้ํ า มั น หอมระเหย 1.5-4% องค ป ระกอบหลั ก เป น สารกลุ ม เซสควิ เทอร ป น ส
(sesquiterpenes) ไดแก แพทชูลีแอลกอฮอล (patchouly alcohol ประมาณ 50%), อัลฟา-
กวัยอีน (α-guaiene), อัลฟา-บุลเนซีน (α-bulnesene), อัลฟา,เบตาและเดลตา-แพทชูลีน (α,
-293-

β, δ-patchoulene), เดลตา-คาดินีน (δ-cadinene), เบตา-คาริโอฟลลีน (β-caryophyllene),


เบต า-อี เลมี น (β-elemene) และเดลวานจิน (dhelwangin) สารกลุ ม อื่ น ที่ พ บในน้ํ ามั น หอม
ระเหย ไดแก กลุมเบนซีนอยด (benxenoids) สเตียรอยด (steroids) ฟนิลโพรพานอยด
(phenylpropanoids) ไทรเทอรปนส (triterpenes), ไพรโรลิซิดีน แอลคาลอยด (pyrrolizidine
alkaloids)
- ฟลาโวนอยด (flavonoids) ไดแก อะพิเจนิน (apigenin), อะพิเจนทริน(apigentrin), 5,7- ได
ไฮดรอ กซี –3,4-ไดเมท็ อ กซี -ฟลาวาโนน (5,7-dihydroxy-3,4-dimethoxy flavanone), ไลโค
ชาล-โคน เอ (licochalcone A), ออมบู อี น (ombuine), พาคี โ พดอล (pachypodol), แรม
เนติน (rhamnetin) (3,4,6,7,11,12)
- กลิ่นของ patchouly oil มาจากสาร patchouly alcohol และ norpatchoulenol

H3C
HO

H3C H

patchouly alcohol (5)

สารสกัด :
สารสกัดจากใบ

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
- ใชเปนวัตถุดิบ ในอุตสาหกรรมน้ําหอม (perfumes)
- ใชเปน fixing agent ในน้ําหอม
- ใชเปนกลิ่นหลักใน oriental–type perfumes
- ใชกลบกลิ่นอันไมพึงประสงคของสารสําคัญ (hair-removal ingredients) ในครีมกําจัดขน
- ใชแตงกลิ่น (fragrance component) ในผลิตภัณฑสบูและเครื่องสําอางอื่นๆ (1)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
-294-

น้ํามันหอมระเหยมีฤทธิ์ตานแบคทีเรีย (antibacterial) และตานรา (antifungal) ไลแมลง (insect


repellent) สารสกัดน้ําหรือเอทานอลมีฤทธิ์ตานการหดเกร็งของกลามเนื้อเรียบ ตานฮีสตามีน และบรรเทา
อาการแพ (2,8,9)

ขอควรระวัง :
ในผลิตภัณฑที่ใชภายนอกไมควรใชสมุนไพรที่มีแอลคาลอยดพัยรโรลิซิดีน เกินกวา 20% (14)

เอกสารอางอิง :
1. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย Prosca: ทรัพยากรพืชในภูมิภาคเอเชียตะวัน
ออกเฉียงใต 19: พืชน้ํามันหอมระเหย. นนทบุรี: สหมิตรพริ้นติ้ง, 2544: 212-6.
2. Dikshit A and Husain A. Antifungal action of some essential oils against animal pathogens. Fitoterapia
1984; 55(3): 171-6.
3. Dung NX , Leclercq A , Thai TH and Moi LD. Chemical composition of patchouli oil
from Vietnam. J Essent Oil Res 1989; 2(2): 99-100.
4. Gruenwald J, Brendler T, Jaenicke C. PDR for Herbal Medicines. 2nd ed. Montvale: Medical
Economics Company, 2000: 575.
5. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag Heidelberg,
1999.
6. Itokawa H, Suto K and Takeya K. Studies on a novel p-coumaroyl glucoside of apigenin and on other
flavonoids isolated from patchouli (Labiatae). Chem Pharm Bull 1981; 29(1): 254-6.
7. Kang SS, Kim JS, Chi HJ and Won DH. Isolation and quantitative determination of patchouli
alcohol from Pogostemon cablin Benth. Korean J Pharmacog 1998; 29(1): 18-21.
8. Kataoka M and Takagaki Y. Effect of the crude drugs (standards of natural drugs not in the J.P.XII) on
betahexosaminidase release from rat basophilic leukemia (RBL-2H3) cells. Nat med 1995; 49(3): 346-9.
9. Krishnamurthi A. The wealth of India. Raw materials Vol. Vlll. Calcutla: Sree Saraswaty Press
Ltd., 1969: 177-182.
10. LinCC, Kan WS. Medicinal plants used for the treatment of hepatitis in Taiwan. Amer J
Chinese Med 1990; 35-43.
11. Nguyen XD, Leclercq PA, Tran HT and La DM. Results on study about Pogostemon cablin
grown in Vietnam. Proc Natl Cent Sci Res Vietnam 1990; 2: 118-22.
12. Paknikar SK, Veeravalli J. Natural occurrence of delta – patchoulene in patchouli oil. Indian J Chem 1980;
19B: 432.
-295-

13. Quisumbing E. Medicinal plants of the Philippines. Tech Bull 16, Rep Philippines, Dept Agr
Nat Resources, Manilla, 1951.
14. Wagner H, Wiesenauer M. Phytotherapic. Gustar Fischer Stuttgart, 1995.
-296-

พิมเสน (Pogostemon cablin (Blanco) Benth.)


-296-

ชื่อสามัญ (Common or English name) :Periwinkle, เพริวินเคิล


ชื่อไทย (Thai name) :แพงพวยฝรั่ง
ชื่อทองถิ่น (Local names) :นมอิน, ผักปอดบก, แพงพวยบก, West indian
periwinkle (1,2,4,9,) Madagaskar – Immergruen (7)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Catharanthus roseus (L.) G. Don
ชื่อพอง (Synonyms) : Lochnera rosea Reichb., Vinca rosea L.,
Ammocallis rosea (7)
วงศ (Family) : Apocynaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมลมลุกหรือไมพุมขนาดเล็ก ลําตนตั้งตรง สูง 30-90 ซม. สีเขียวออน ทุกสวนมีน้ํายางขาว ใบ
เปนใบเดี่ยวออกเปนคูเรียงตรงกันขาม ใบรูปไขกลับหรือวงรี กวาง 1-4 ซม. ยาว 2.5-9 ซม. ปลายใบ
มนหรือเวาเปนแองตื้นๆ ปลายใบสุดมีติ่งแหลมเล็กๆ ขอบใบเรียบ ใบสีเขียวเขมเปนมัน ดอกมีรูปราง
เปนหลอดตอนปลายแผออกเปน 5 กลีบ มักออกเปนคูที่ซอกใบ ดอกมีกลิ่นเหม็นเขียว กลีบดอกมีหลาย
สี เชน ขาว เหลือง ชมพู มวง มวงเขม บางพันธุผสมดอกสีมวงสลับขาวดวย (4) ผลเปน ฝกคูทรง
กระบอก ยาว 2.5–4 ซม. เมื่อแกจัดจะแตกเปน 2 ซีก ภายในมีเมล็ดสีดําจํานวนมาก (2,3,4,8,9,10)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
หมูเกาะมาดากัสกา (4,8,9,10,) พบกระจายตามชายฝงทะเลของประเทศที่มีอากาศรอน (3,14) มี
การเพาะปลูกเปนไมประดับ ในเขตรอนชื้นและเขตกึ่งรอนชื้น (7)

สรรพคุณพื้นบาน :
ราก : ใชแกไข ไขจับสั่น ขับระดู ขับพยาธิ แกบิด ทําใหแทง
ใบ : ในจาไมกา ใชใบเปนชาชง ใชรักษามะเร็งในเม็ดเลือดขาว มะเร็งตอมน้ําเหลือง
เปนยาระบาย แกเบาหวาน บํารุงหัวใจ ระดูออกมากผิดปกติ (7)
ทั้งตน : ใชรักษามะเร็ง แกเบาหวาน ลดความดันโลหิต รักษามะเร็งในเม็ดเลือดขาว
รักษาผิวหนังพุพอง ปวดแสบปวดรอน โรคถายปสสาวะมาก (2,4,8)
ชาวพื้นเมืองเดิมของหมูเกาะมาดากาสกาใชแพงพวยฝรั่งเปนยาแกโรคเบาหวาน ตอมาไดพบแอล
คาลอยดหลายชนิดซึ่งมีฤทธิ์ทําใหปริมาณเม็ดโลหิตขาวลดลง (4) นอกจากนี้ยังใชสารสกัดจากใบรักษา
อาการปวดฟน (9) บรรเทาอาการทองอืดทองเฟอ (11)
-297-

สวนที่ใช :
ใบเก็บหลังออกดอก (6,15) ทั้งตน (4), สวนเหนือดิน (herb), ราก (7)

องคประกอบทางเคมี :
สตริ๊กโตซิดีน (strictosidine (isovincoside)) วินบลาสทีน (vinblastine) วินโดลีน (vindoline) วิ
นคริสทีน (vincristine) อัจมาลิซีน (ajmalicine) อะคูแอมมิซีน (akuammicine) อัลสโตนีน (alstonine)
เตตราไฮโดรอัลสโตนีน (tetrahydroalstonine) แอมโมแคลลีน (ammocalline) เอ็น-ดีเมทิลวินคาลิวโค
บลาสทีน (N-demethyvincaleukoblastine) วินคาโรดีน (vincarodine) วินโคลีน (vincoline) วินโดลินีน
(vindolinine) วินโดโรซีน (vindorosine) วิโรซีน (virosine) โยฮิมบีน (yohimbine) (2,4,8,13)

OH CH3
H
N

N 3
H N
H
H3COOC 10 CH3

HO
H3CO O CO CH3
N
H
COOCH3
R 23

R = CH3 : vinblastine
R = CHO : vincristine

สารสกัด :
สารสกัดจากใบแพงพวยฝรั่ง (Catharanthus roseus)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ใชเปนสวนผสมชวยบํารุงผิวและทําความสะอาดผิว (2,7)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
-298-

- แพงพวยฝรั่งมีสารที่ใชรักษาโรคมะเร็งไดผลดี ใบและราก ประกอบดวย แอลคาลอยด


(alkaloids) มากกวา 90 ชนิด (13, 7) แอลคาลอยดที่ใชรักษามะเร็งไดดีมีชื่อวาวินบลาสทีต
(vinblastine) ใชบําบัดมะเร็งตอมน้ําเหลือง (Moebus Hodgkin’s disease) มะเร็งเตานม
และที่อัณฑะ (testis) และวินครีสทีน (Vincristine) ใชรักษามะเร็งเม็ดเลือดในเด็ก ซึ่งในการ
รักษาแพทยนิยมใชวินบลาสทีนและวินครีสทีนรวมกับตัวยารักษามะเร็งอื่นๆ โดยเฉพาะใช
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาว (4,12,14) จิมพลาสตีน และจิมคริสตันมีผลขางเคียงมาก ไดแก
คลื่นไส อาเจียน ผมรวง กระเพาะอาหาร-ลําไสผิดปกติ การสรางเม็ดเลือดผิดปกติ สําหรับ
คริสตีนจะมีผลตอไต (uricacid nephropathy) ทองผูก ผมรวงและ meurotoxicity (7)
- นอกจากนี้แพงพวยฝรั่งยังมีฤทธิ์ตานเชื้อแบคทีเรีย ตานมาลาเรีย ตานเชื้อรา ตานไวรัส
ลดปริมาณปสสาวะ ตานการอักเสบ ลดระดับน้ําตาลในเลือด ยับยั้งระดับน้ําตาลในเลือดสูง
เพิ่มระดับน้ําตาลในเลือด ลดโคเลสเตอรอลและไขมันในเลือด ลดความดันโลหิต ลดจํานวน
เม็ดเลือดขาวและยับยั้งการแบงเซลล (2,5,6,8,9)

ขอควรระวัง :
แพงพวยฝรั่งอาจทําใหเกิดพิษเมื่อรับประทาน (2)

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิ มพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 116.
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 355-60.
3. ลีนา ผูพัฒนพงศ. สมุนไพรไทย ตอนที่ 2., 2522: 108.
4. วันดี กฤษณพันธ. สมุนไพรนารู. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ จุฬาฯ, 2541: 125-6.
5. Ayensu ES. Medicinal Plants of the West Indies. Michigan: Reference Publications, Inc.,
1 9 8 1 : 4 2 .
6. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 256.
7. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
8. Ivan A. Ross. Medicinal Plants of the World. Totawa, New Jersey: Humana Press., 1999: 109-
114.
9. L.S. de Padua, N. Bunyapraphatsara and R.H.M.J. Lemmens. Plant Resources of South-East
Asia No (12)1. Medicinal and poisonous plant 1: Leiden, Backhuys Publishers., 1999: 185-90.
-299-

10. McMAKIN PD. A Field Guide to the Flowering Plants of Thailand. Bangkok: White Lotus Co.,
Ltd., 1998: 126.
11. Quisumbing E. Medicinal Plants of the Philippines. Katha Publishing Co., INC., 1978: 725-7.
12. Schultes R.E. & Reis S.V. Ethnobotany evolution of a discipline. Dioscorides, Portland
oregon., 1995: 241, 307, 365-6.
13. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 619, 691-93.
14. Weiss RF. Weiss’s Herbal Medicine. New York: Georg Thieme Verlag, 2001: 323-4.
15. WHO regional office for the western pacific. Medicinal Plants in Viet Num. Series No.3 1990:
85.
-300-

แพงพวยฝรั่ง (Catharanthus roseus (L.) G. Don)


-300-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Candlenut tree, แคนเดิลนัท ทรี


ชื่อไทย (Thai name) : โพธิสัตว
ชื่อทองถิ่น (Local names) : กือระ ปูรัด มะเยา บวกกลาส Candleberry, Candlenut,
Varnish tree, Tung, Balucanat, Otaheite, Walnut, China-
wood oil (1-4)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Aleurites moluccana (L.) Wild.
ชื่อพอง (Synonyms) : Jatropha moluccana Linn., A. cordata Steud.
วงศ (Family) : Euphorbiaeae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Kukui (Aleurites moluccana) Nut Oil (6)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมตนขนาดใหญ สูง 10-20 ม. ใบเดี่ยวเรียงสลับแบบบันไดเวียนตามปลายกิ่ง รูปไขถึงรูปหอกหรือรูปขาว
หลามตัดปอมๆ โคนใบมนหรือตัด ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบหรือเปนคลื่นเล็กนอย ผิวใบดานบนเกลี้ยง ทองใบมี
ขน กานใบยาว 8-14 ซม. มีขน ดอกสีขาวออกเปนชอที่ปลายยอด ดอกยอยแยกเพศอยูบนตนเดียวกันหรือตางตนกัน
กลีบดอกสีขาว ผลสดคอนขางกลม สีเขียวมะกอก เปลือกหนา ผิวเรียบ มีเมล็ด 1-2 เมล็ด ซึ่งมีน้ํามันมาก (2)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนพืชที่มีถิ่นกําเนิดจากประเทศจีนและญี่ปุน ปจจุบันเพาะปลูกในบริเวณเขตรอน เชน ฟลอริดา(4)

สรรพคุณพื้นบาน :
ตน : น้ําตมเปลือกตน กินเปนยาฝาดสมานและแกบิด
ใบ : เผาใหรอนพอกแกปวดตามขอ
ผล : รับประทานไดเมื่อสุก เปนยาเย็นบํารุงรางกายและกระตุนความรูสึกทางเพศ
เมล็ด : เนื้อเมล็ดเมื่อหีบใหน้ํามันถึง 60% มีคุณสมบัติดูดความชื้นไดดีเปนพิเศษ
เปลือกเมล็ด : ตําเปนยาพอกศรีษะ แกปวด ลดไข พอกบาดแผลเล็กๆ นอยๆและพอก ตามขอแกปวด
(3)
ญี่ปุนใชสารสกัดจากเปลือกรักษาเนื้องอก ฮาวายใชเมล็ดรักษาโรคหืด (4)

สวนที่ใช :
ผล (nut) (6)

องคประกอบทางเคมี :
เปลือกตนมีแกลโลแทนนินชื่อคอริลาจิน (corilagin) เปลือกผลมีน้ํามันหอมระเหย (essential oil) อยูเล็กนอย
เมล็ด มี hydrocyanic acid ใหน้ํ ามัน ถึง 60% ซึ่งรับ ประทานไมได น้ํ ามัน มีสีเหลืองประกอบด วย กรดอีเลโอสเตียริก
-301-

(eleostearic acid) กรดลิ โ นเลนิ ก (linolenic acid) กรดลิ โ นเลอิ ก (linoleic acid) และกรดโอเลอิ ก (oleic acid) มี
โปรตีนปริมาณสูง นอกจากนี้ยังมีสารท็อกซอัลบูมิน (toxalbumin) และกรดไฮโดรไซยานิก (HCN) (4,5)

O
(CH 2)7
OH
CH3 (CH 2)3

α- eleostearic acid

สารสกัด :
Kukui (Aleurites moluccana) Nut Oil เปนน้ํามันจากผล (nut) ของ Aleurites moluccana (6)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
น้ํามันจากผล (nut) ใชเปนสวนผสมในผลิตภัณฑภัณฑปรับสภาพผิว (skin conditioning agent) ผลิตภัณฑให
ความชุมชื้น (moisturizing preparations) ผลิตภัณ ฑปรับสภาพผม (hair conditioners) (6) น้ํามันจากเมล็ดใชในการ
ผลิตสบู

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
น้ํ า มั น ที่ หี บ จากเมล็ ด ใช ท าบาดแผล คอริ ล าจิ น มี คุ ณ สมบั ติ ต า นพิ ษ ต อ ตั บ (antihepatotoxic) ฝาดสมาน
(astringent) และทําใหเลือดหยุด (hemostatic) (5)

ขอควรระวัง :
เมล็ดอาจทําใหปวดทอง อาเจียน ทองเสีย การตอบสนองชาลงและอาจเสียชีวิตได น้ํายางทําใหผิวหนังอักเสบ
เมื่อสัมผัส (4)

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด, 2544: 23.
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด, 2542:
384.
3. ลีนา ผูพัฒนพงศ. สมุนไพรไทย ตอนที่ 5. กรุงเทพฯ: ห.จ.ก.ชุติมาการพิมพ, 2530: 640.
4. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2001: 600.
5. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis Ltd. London.
1999.
6. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded. Washington: The
Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 21,380.
-302-

http://www.tradewindsfruit.com/fruitscommon.htm
-303-

http://www.tradewindsfruit.com/fruitscommon.htm

โพธิสัตว (Aleurites moluccana (L.) Wild.)


-304-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Cashew nut tree, คาชูว นัท ทรี
ชื่อไทย (Thai name) : มะมวงหิมพานต
ชื่อทองถิ่น (Local names) : มะมวงกาสอ มะมวงกุลา มะมวงลังกา มะมวงสิงหน
มะมวงหยอด มะมวงทูนหนวย สมมวง มะมวงไมรูหาว
cashew, cashewnut (1), Acajou Baum, Kaschu-
Baum, Nierenbaum (6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Anacardium occidentale L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Acajuba occidentalis, Anacardium subcordatum,
Cassuvium pomiferum, C. reniforme, Semenocarpus
anacardium (6)
วงศ (Family) : Anacardiaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Cashew (Anacardium occidentale) nut oil (8)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมตน ขนาดกลาง สูงไดถึง 10 ม. ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไขกลับ กวาง 7.5-10 ซม. ยาว 7.5-20 ซม. โคน
ใบแหลม ปลายใบมน ดอกชอแยกแขนงออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ยาว 15-20 ซม. กลีบดอกสีขาวแลวเปลี่ยนเปนสี
ชมพู ผลรูป ไตเปลือกแข็ง ยาว 2.5-3 ซม. สีน้ําตาลแกมเทา ฐานรองดอกขยายใหญ ขึ้น ลักษณะคลายผลชมพู สี
เหลืองแกมชมพู แลวเปลี่ยนเปนสีแดง เนื้อนิ่ม มีกลิ่นหอม รับประทานได (2)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มะมวงหิมพานตมีถิ่นกําเนิดในคาริบเบียน (caribbean) และทวีปอเมริกา ปจจุบันมีการเพาะปลูก
บริเวณเขตรอนทุกแหง โดยเฉพาะในอาฟริกาและอินเดีย (4)

สรรพคุณพื้นบาน :
ผล : ฆาเชื้อ ขับปสสาวะ พอกดับพิษ แกลักปดลักเปด
เมล็ด : แกกลากเกลื้อน โรคผิวหนัง บํารุงไขขอ กระดูก เสนเอ็น
เปลือกตน : แกบิด ฝาดสมาน แกทองเสีย แกปวดฟน ลดระดับน้ําตาลในเลือด
ยอดออน : รักษาริดสีดวงทวาร
น้ํายาง : กัดตาปลา แกเลือดออกตามไรฟน รักษาหูด ขี้กลาก
ใบ : ลดไข
น้ํามันจากเปลือกผล : ฆาเชื้อ ทาถูนวดใหรอนแดง รักษาโรคเรื้อน กัดหูด แกตาปลา
แกบาดแผลเนาเปอย (2,4)
-305-

อิ น เดี ยใช เปลื อ กต น แก ไข เป น ยาระบายและขั บ พยาธิ แ ละรัก ษาเบาหวาน ใช น้ํ ามั น เป น ยาทา
ภายนอกใหเกิดการระคายเคือง และกระตุนผิวหนังเพื่อรักษาโรคเรื้อน โรคหนังชาง โรคกลาก
บราซิลและไนจีเรียใชในระบบทางเดินอาหาร น้ํามันและผลใชกระตุนผิวหนัง เปลือกเปนยาฝาด
สมาน มีการนํามาทําเปนยาแชใชแกปวดฟนและบรรเทาอาการอักเสบของเหงือก
ไฮติ ใชภายนอกแกอาการประจําเดือนขาด ใชภายในแกบิด
ฟลิปปนสใชใบออนแกทองเสีย บิดและริดสีดวงทวาร ใบพอกภายนอกดูดความรอนใชแกผิวหนัง
ไหม (5)
ตําราสมุนไพร (6) ระบุสรรพคุณของสวนตางๆที่ใช 4 สวนไดแก เปลือกตนหั่นเปนชิ้นเล็กๆ ผล
แข็ง (nut) แหง ใบ และน้ํามันจากเปลือกผล ดังนี้
- เปลือกตน ลดอาการผื่นจากไข ระบาย ขับพยาธิ และเหงือกอักเสบ
- ผล (nut) แหงหรือมักนิยมใชเปลือกผลหรือน้ํามันจากเปลือกผล ทําใหผิวระคายเคืองและกัด
รุนแรง ใชกัดหูดและตาปลา
- ใบ (สด) ใชบรรเทาอาการทองรวง ริดสีดวงทวารและโรคผิวหนัง
- น้ํามันจากเปลือกผล ชาวอินเดียใชภายนอกทําใหผิวระคายเคือง รักษาอาการ psoriasis และ
กลากเกลื้อน หูดและตาปลา
ตําราโฮมีโอพาที (HAB 34) ใชผลสุก(แหง) บรรเทาอาการคันจากตุมและผื่น ผื่นแดงที่ใบหนา
เปลือกตนและสารสกัดจากใบ, น้ําคั้นจากผล ใชรับประทานแกทองรวง สารสกัดจากเปลือกตนลดน้ําตาล
ในเลือด น้ําคั้นจากผลบรรเทาหวัด ใบและเปลือกตนนํามาชงชาแกมาลาเรีย ภายนอกใชแกโรคเรื้อน
รังแค หูด ตาปลา (สารสกัดที่เตรียมใหมๆ จากเปลือกผล) ในอาฟริกาตะวันตก ชาชงจากใบและเปลือก
แกปวดฟน เหงือกอักเสบ ชาวพื้นเมืองในอะเมซอนใชสารสกัดจากเปลือกเปนยาคุมกําเนิด (4)

สวนที่ใช :
ใบ เปลือกตน ผล เมล็ด และน้ํามันจากเปลือกผล (4)

องคประกอบทางเคมี :
ใบ (สด) : มีฟลาโวนอยดซึ่งบางสวน esterified กับกรดแกลลิก ; กรดฟนอลคารบอก
ซีลิกเปนกรดแกลลิก, p-coumaric acid, ferulic acid ; แทนนินและน้ํามัน
หอมระเหย
เปลือกผล : กรดอะนาคาดิก (anacardic acid) กรดแกลลิก (gallic acid) กรดซาลิไซ
ลิก (salicylic acid) อนุพันธเรซอรซินอล (resorcinol derivatives) (3,5)
เมล็ด : กรดไขมัน ไดแก กรดโอเลอิก (oleic acid) กรดลิโนเลนิก (linolenic acid)
โปรตีน และแปง (3,5)
เปลือกเมล็ด : กรดแกลลิก (gallic acid) (3,5)
-306-

น้ํามันจากเปลือกผล: มี anacardic acid และสารผสม C15-alkyl-salicylic acid ที่มี side chain


เป น saturated mono-, di- ห รื อ triolefins เป น อ งค ป ระก อ บ ห ลั ก
นอกจากนี้มี cardol, methylcardol และกรดแกลลิก (6)
เปลือกตน : มี gum ซึ่งประกอบดวยกาแลคโตสเปนโมโนแซคคาไรดหลัก ฟลาโวนอยด
โดยเฉพาะ 3-glloylglucosyl quercetin ไฟโตสเตียรอล เชน β-sitosterol
และ long chain phenols เชน anacardic acid และ cardol (6)
ผล : มีน้ํามันไมระเหยมีชื่อวา acajou oil ซึ่งมีกรดโอเลอิกเปนกรดไขมันหลัก
นอกจากนี้มีสารประกอบฟนอลิกเชน anacardic acid เปนองคประกอบ
หลัก (6)
COOH
H3 C OH

anacardic acid (C22H32O3)

HO CH3

OH

cardol (C21H32O2) (7)

สารสกัดจากมะมวงหิมพานต (Cashew Nut Oil) :


เปนน้ํามันที่ไดจากเปลือกผลของ Anacardium occidentale (8)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
น้ํามันและไขมันมีคุณสมบัติสมานผิว (astringent) ใชทําความสะอาด ปรับสภาพผิว (conditioning
agent) และ (occlusive) (8)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- ผ ล (nut) มี ส ารอ าห ารสู ง น้ํ ามั น จ าก เป ลื อ ก ผ ล มี คุ ณ ส ม บั ติ ต าน เชื้ อ แ บ ค ที เรี ย
(Staphyllococcus) (4) และนํามาคั่วรับประทาน ผลดิบใชทําน้ํานมจากมะมวงหิมพานต ใช
ในรายที่ตองการทดแทนนมวัวเพื่อการลดน้ําหนัก
-307-

- สารสกัดเอทานอลมีฤทธิ์ตานเชื้อ Bacillus subtilis และ Staphylococcus aureus ในหลอด


ทดลอง
- กรดอะนาคาดิก (anacardic acid) ซึ่งพบในเปลือกผลมีฤทธิ์ฝาดสมาน และทําใหผิวระคายเคือง
- น้ําคั้นจากผลใชเปนสวนประกอบในเครื่องดื่มและแยม (4,5)
ขอควรระวัง :
น้ํามันจากเปลือกผลมีฤทธิ์ระคายเคืองผิว ไอระเหยจากน้ํามัน เมื่อสูดดมจะระคายเคือง (4)

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 33.
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 654-7.
3. Ayensu ES. Medicinal plants of the West Indies. Michigan: Reference Publications, Inc.,
1981: 37-8.
4. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995.
5. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 157-8.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
7. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 32, 112.
8. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 106-7.
-308-
-309-

มะมวงหิมพานต (Anacardium occidentale L.)


-309-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Sweet potato, สวีท โปเตโต


ชื่อไทย (Thai name) : มันเทศ
ชื่อทองถิ่น (Local names) : แตลอ มันแกว มันลา หมักออย (1,2)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Ipomoea batatas (L.) Lamk.
ชื่อพอง (Synonyms) : Convolvulus batatas L., Betatas edulis Choisy
วงศ (Family) : Convolvulaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมลมลุกเลื้อยพัน อายุหลายป มีน้ํายางขาว ลําตนทอดเลื้อย ยาวไดถึง 5 ม. รากสะสมอาหาร
เปนรูปทรงกระบอก ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไขกวางแกมรูปโล กวาง 3-11 ซม. ยาว 3-15 ซม. ขอบใบ
เวาลึกเปน 3-7 แฉก ผิวใบเรียบหรือมีขน ดอกชอ ออกที่ซอกใบมีดอกยอยหลายดอก กลีบดอกสีมวง
เชื่อมติดกันเปนรูปกรวย ผลแหง แตกได (3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดทางทวีปอเมริกาใต โดยการปลูกของชาวอินเดียนแดงตั้งแตยุคกอนชาวผิวขาวเขา
ครอบครอง (7) ตอมามีการนําไปปลูกบนหมูเกาะปาซิฟก (5)
ปจจุบันมีการเพาะปลูกทั่วไปทั้งในประเทศเขตรอนและบางบริเวณของเขตอบอุน ไดแก เอเชียใต
จีน ญี่ปุน อินโดนีเซีย สหรัฐอเมริกาและนิวซีแลนด (5,7)

สรรพคุณพื้นบาน :
ยาพื้นบานลานนาใชยอดและใบตําผสมกับยอดและใบผักขมใบแดงพอกฝ ตํารายาไทยใชหัวตําให
ละเอียดพอกแผล รักษาเริม งูสวัด ถอนพิษ (3) เปนยาระบาย ชงกับน้ําดื่มแกกระหายเมื่อเปนไข เปน
ยาบํารุงกระเพาะ มาม ไต เปนอาหารที่เหมาะกับคนที่ฟนไข แกอาการเมาคลื่น น้ําคั้นใชรักษาแผลไฟ
ไหม ทั้งตน ใชพันตามขอแกไขขออักเสบ ยอดออน เปนอาหาร แตมีกรดไฮโดรไซยานิก (HCN) สูง
กินมากเปนอันตราย ใชเปนยาพอก โดยใชใบบดละเอียดผสมเกลือพอกฝมะตอย รากและใบ เปนยา
พอกแผลแมลงปองตอย

สวนที่ใช :
หัวมันเทศ (เหงา, rhizome)
-310-

องคประกอบทางเคมี :
หัวมีแปง 42% น้ําตาล 20% โปรตีน1.3% ไขมัน 0.1% ทองแดง 0.57% ไวตามินเอ บีและซี เบ
ต า ค า โ ร ที น chlorogenic acid, ipomeamarone, myoporone, 4-hydroxymyoporone, 4-
hydroxydehydronyoporone และสารอื่นๆ (2,9,11)

12 10
4
CH3 O CH3
5
5 2
O 9
6 CH3
O 1
1 2

lpomeamarone
(furanosesquiterpene)

H3C
H3C CH3

H3C CH3
CH3

β-carotene
สารสีเหลือง มีคุณสมบัติ pro-vitamin A และเปน suncreen agent (6)

สารสกัด :
สารสกัดจากหัวมันเทศ (Ipomoca batatas (L.) Lamk. rhizome extract)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
- คุณสมบัติยับยั้งการสรางเมลานิน (2) อาจใชเปนสวนผสมในผลิตภัณฑทําใหผิวขาว
(whitening)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- สารสกัดหัวมันเทศใชในผลิตภัณฑสําหรับผิวหนังเนื่องจากมีฤทธิ์เรงการสมานแผล (12)
- สารสกัดแอลกอฮอลจากหัวมันเทศ มีฤทธิ์ตานเชื้อแบคทีเรียหลายชนิดทั้งกรัมบวกและกรัม
ลบ (3)
-311-

- สารสกัดน้ําจากหัวมันเทศมีฤทธิ์ลดน้ําตาลและไขมันในเลือด รวมทั้งมีฤทธิ์ลดระดับอินซูลิน
ในหนูทดลองที่เปนเบาหวานโดยพันธุกรรม (8)
- สาร Ipomeamarone มีฤทธิ์ตานเชื้อรา (11)
ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 293-4.
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 747-51.
3. วงศสถิตย ฉั่วกุลและคณะ. สมุนไพรไทย มรดกไทย. กรุงเทพฯ: บริษัท สยามบุคส แอนด พับลิเคชั่นส
จํากัด, 2540: 132.
4. Ayensu ES. Medicinal Plants of the West Indies. Michigan: Reference Publications, Inc.,
1981: 86.
5. Cox P.A. and Banack S.A. Islands, Plants and Polynesians (An Introduction to polynesian
Ethnobotany). Dioscorides Press. Portland, oregon, 1991: 30,37,44,51,118.
6. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
7. Hill A.F. Economic botany. International student ed.2, Mcgray-Hill Book company., Inc.
362-3.
8. Kusano S and Abe H. Antidiabetic activity of white skinned sweet potato (Ipomoea batatus
L.) in obese zucker fatty rats. Biol Pharm Bull 2000. 23 (23) 23-6.
9. Quisumbing E. Medicinal Plants of the Philippines. Katha Publishing Co., INC. 1978: 758,
1045.
10. Schultes R.E. & Reis S.V. Ethnobotany evolution of a discipline. Dioscorides, Portland
oregon., 1995: 195.
11. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 321,417.
12. Suzuki T, et al. Application of sweet potato fiber to skin wound in rat. Biol Pharm Bull 1996;
19(17): 977-83.
-312-

มันเทศ (Ipomoea batatas (L.) Lamk.)


-313-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Tapioca, ทาปโอคา


ชื่อไทย (Thai name) : มันสําปะหลัง
ชื่อทองถิ่น (Local names) : ตางนอย ตางบาน มันตน มันไม มันสําโรง สําปะหลัง
มันหิ่ว อุบีกายู, Cassava, Manioc, Kasera, Maniota,
Yabia, Yuca (1,3), Maniok, Cassava, Mandioka (6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Manihot esculenta Crantz
ชื่อพอง (Synonyms) : Janipha manihot, Jatropha janipha, J. manihot,
Mandioca dulcis, M. utilissima, Mahihot edule,
M. utilissima (6)
วงศ (Family) : Euphorbiaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมพุม ลําตนตั้งตรง ทุกสวนถาสับจะมีน้ํายางขาวไหลออกมา สูงไดถึง 5 ม. รากเปนที่สะสมอาหาร
ลักษณะเปนแทงหนา มีจํานวน 5-10 ราก ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปโล ขอบใบแยกเปนแฉก 3-9 แฉก เวา
ลึกเกือบถึงโคนใบ แตละแฉกรูปขอบขนานแกมไขกลับแกมรูปดาบแกมใบหอก กวาง 3-5 ซม. ยาว 10-15
ซม. กานใบสีแดงเขมมีขนเล็กนอยตามเสนใบ ดอกออกเปนชอตามซอกใบและปลายกิ่ง ดอกยอยจํานวน
มากแยกเพศอยูบนตนเดียวกัน ไมมีกลีบดอก กลีบเลี้ยงสีเหลืองออน ผลแหงรูปทรงกลมเปน 6 พู แตก
ได (2,3) เมล็ดรียาวประมาณ 12 มม.

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดแถบอะเมซอนและอเมริกากลาง ปจจุบันมีการเพาะปลูกอยางกวางขวางในเขตรอนชื้นและเขตกึ่งรอน
ชื้น (6,7)

สรรพคุณพื้นบาน :
ใบ : ใบออนตมใหสุกรับประทานได แกโรคขาดวิตามินบี 1 (3,4,5,7) อาฟริกากลาง ใช น้ํา
คั้นจากใบ ดื่มเพื่อทําใหแทงบุตร โคลัมเบีย ใชใบแหงบดรวมกับใบของ Tabernaemontana undulata
ตมเปนชาดื่ม เปนยาขับพยาธิ ฟจิ ใชน้ําคั้นจากหัวใตดิน ดื่มแกทองผูกและอาหารไมยอย ตมกินแกทอง
รวง (7) ไฮติ นําสารสกัดจากการหมักใบแหงมาอาบน้ํา ชวยลดอาการปวดหัวและระงับการติดเชื้อบริเวณ
ผิวหนัง นิวกินี นําใบมาฝานวางบนตาบรรเทาอาการเจ็บตา (1) อินเดีย ใช หั ว ใต ดิ น ทํ า เป น ยาพอก
บรรเทาอาการเจ็บปวดและนําใบตมน้ําดื่มแกหวัด (4) แถบอะเมซอน ใชประโยชนจากหัวมันสําปะหลัง
-314-

มากมาย เชน แกทองเสีย หนองฝ โรคผิวหนัง โรคตับ บํารุงกําลังและเปนอาหาร (6) ตําราโฮมีโอพาที


(HAB 34) ใชน้ํานมที่คั้นจากรากมันสําปะหลังสด
สวนที่ใช :
หัวใตดิน (tuber) (3)

องคประกอบทางเคมี :
หัวใตดิน : มีคารโบไฮเดรท ประมาณ 32%, สารพิษ hydrocyanic acid 26-40%, proteins 1.5-
2%, วิตามิน B1 และวิตามินซี โดยมันสําปะหลังพันธุขมมีกรดพรัสสิก (prussic acid) มากกวาพันธุหวาน
อาจอยู ใ นรู ป อิ ส ระหรื อ กลั ย โคไซด และพบเอนไซม ที่ จ ะย อ ยกลั ย โคไซด ใ ห เป น กรดไฮโดรไซยานิ ก
(hydrocyanic acid) ดวย แตการใชความรอนนานพอทําใหกรดไฮโดรไซยานิกถูกทําลาย นอกจากนี้อาจ
พบสารอื่นๆ เชน ลินามาริน (linamarin) เคอรเซติน (quercetin)
ตน : มีกรดไฮโดรไซยานิก น้ํามันหอมระเหย ซาโปนินและกลัยโคไซด (3,11)

HO
O
HO CH3
O
HO
OH CH3
CN

linamarin (C10H17N6) (10)

สารสกัด :
แปงจากหัวมันสําปะหลัง

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
แปงมันสําปะหลังจากหัว (tuber) เปนสวนประกอบของแปงผัดหนา (12)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- สารสกัดเอทิลอะซีเตทสวนเหนือดิน (ethyl acetate) ความเขมขน 1.0 มก./มล. ทดสอบบน
agar plate มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ Staphylococcus aureus
- ให รากสดแก ห นู เพศเมี ย กิ น แทนอาหาร พบวา ความถี่ในการตั้ งครรภ ล ดลง จํ านวนและ
น้ําหนักของหนูแรกเกิดก็ลดลงอยางมีนัยสําคัญ
-315-

- สารสกั ด กรดน้ํ าสม (acetic acid) จากสวนเหนือดิน ที่ ค วามเขมขน น อยกวา 0.13 มก./มล.
แสดงฤทธิ์ยับยั้งเชื้อรา Microsporum canis, M. fulvum, M. gypseum และ Trichophytum
gallinae บน agar plate
- สารสกัดน้ําจากสวนเหนือดินออกฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ M.canis
- ปอนรากแกสัตวทดลอง วันละ 68 ก. ทุกวันเปนเวลา 3 เดือน พบวาระดับโคเลสเตอรอลและ
ไขมันในซีรัมลดลง และคา HDL สูงขึ้น
- สารสกัดเอทิลอะซีเตทจากสวนเหนือดิน (ethylacetate) แสดงฤทธิ์ตาน Cytomegalovirus
โดยมีคา LC50 0.14 ไมโครกรัม/มล. โดยบมไวรัสกับสารสกัดกอนนําไปทําให host ติดเชื้อ
ออกฤทธิ์ตาน Sindbis virus โดยมี LC50 5.2 มก./มล. เมื่อใชการทดลองวิธีเดียวกัน และ LC50
6.1 มก./มล. เมื่อทําให host ติดเชื้อกอนแลวจึงใหสารสกัด
- แป งมัน สําปะหลังจากหัวใตดิน ใชปรุงอาหาร ทําเบียร เตรียมกูลโคส เด็กซทริน (dextrin)
กาว เปนสวนผสมในการผลิตเม็ดยา เปนอาหารสัตว และใชผลิตเอทานอล

ขอควรระวัง :
ใบสดมีน้ํายางสีขาวซึ่งมีสารไซยาโนเจนิก กลูโคไซด ที่อาจสลายตัวให HCN ที่มีพิษ (7)

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 345.
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 765-7.
3. ลีนา ผูพัฒนพงศ. สมุนไพรไทย ตอนที่ 5. กรุงเทพฯ: ห.จ.ก.ชุติมาการพิมพ, 2530: 698.
4. Cox P.A. and Banack S.A. Islands, Plants and Polynesians (An Introduction to polynesian
Ethnobotany). Dioscorides Press. Portland, oregon, 1991: 49,116,151.
5. Hill A.F. Economic botany. International student ed.2, Mcgray-Hill Book company., Inc. 364-
365.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
7. Ivan A. Ross. Medicinal Plants of the World. Totawa, New Jersey: Humana Press., 1999: 207-
211.
-316-

8. Quisumbing E. Medicinal Plants of the Philippines. Katha Publishing Co., INC. 1978: 523-
524.
9. Schultes R.E. & Reis S.V. Ethnobotany evolution of a discipline. Dioscorides, Portland
oregon., 1995: 153, 196, 403.
10. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 163.
11. WHO Regional office for the western Pacific. Medicinal plants in the South pacific. WHO
Regional Publications western pacific series No. 19. 1998: 111.
12. William R., Maria V. et.al Cosmetics containing enzymically debranched starch. Eur. Pat.
Appl. EP 487, 000.
-317-

มันสําปะหลัง (Manihot esculenta Crantz)


-317-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Wild spikenard, ไวลด สไปคนารด


ชื่อไทย (Thai name) : แมงลักคา
ชื่อทองถิ่น (Local names) : การา (6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Hyptis suaveolens (L.) Poit.
ชื่อพอง (Synonyms) : Marrubium indicum Blanco.
วงศ (Family) : Lamiaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมลมลุก สูง 0.5-1.5 ม. แตกกิ่งกานสาขามาก ลําตนเปนสี่เหลี่ยม มีขน มีกลิ่นหอมแรง ใบ
เดี่ยว ออกตรงขาม รูปไขถึงรูปไขกลับคอนขางกวาง กวาง 2-4 ซม. ยาว 3-5 ซม. ปลายมนหรือคอน
ขางแหลม โคนใบกลม หรือตัด มักจะเบี้ยวเล็กนอย ขอบจักเปนฟนเลื่อยเล็กๆ ไมเปนระเบียบ ดาน
บนมีขนหางๆ ดานลางมีขนหนาแนน กานใบยาว 0.5-3 ซม. มีขน ดอกออกเปนชอตามงามใบ ชอหนึ่ง
มี 2-5 ดอก กานชอดอกยาว 0.5-1 ซม. มีขน ริ้วประดับเล็ก มีขนแข็งๆ กลีบเลี้ยงเชื่อม ติดกันเปน
รูประฆัง ยาว 5-5.5 ซม. ปากหลอดมีขนนุมยาว และมีหนามยาวแหลม 5 อัน ยาวเกือบ เทากัน มีสัน
ตามยาว 10 สัน กลีบดอกเชื่อมติดกันเปนหลอดเล็กๆ ปลายแยกเปนปาก ปากบนมี 2 หยัก ปากลางมี 3
หยัก เกสรเพศผูมี 4 อัน กานเกสรไมติดกัน ผล รูปขอบขนานแคบ ยาว 1.2-1.5 มม. ปลายผลมักจะเวา
ผิวมีรอยยนเดนชัดอยูภายในหลอด กลีบเลี้ยงจะมีขนาดใหญขึ้น ยาว 8-10 มม. (6)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนพืชพื้นเมืองในเขตรอนของทวีปอเมริกา (tropical America) (1) ปจจุบันเปนวัชพืชขึ้นตามที่
รกรางและพบตามปาดิบที่ความสูงไมมากนัก (6)

สรรพคุณพื้นบาน :
ราก : น้ําตมกินเปนยาเจริญอาหาร และขับระดู
ตน : ตําเปนยาพอก แกโรคผิวหนังบางชนิด ยาชงจากตนใชเปนยาขับเหงื่อ เชน
ในคนที่เปนหวัด
ใบ : ชงเปนยาลดไข น้ํายางจากใบกินแกปวดทอง ใบขยี้ละเอียดใชทาภายนอกเพื่อฆา
เชื้อสําหรับแผลและโรคผิวหนัง
ยอดออน : ใชแตงรสอาหาร กระตุนการทํางานของรางกาย ขับเหงื่อ ขับน้ํานมและแกหวัด (6)
-318-

กิ่งและใบ : ใชวางใตเตียงหรือใตเกาอี้เพื่อไลแมลง (1)

สวนที่ใช :
ทั้งตน

องคประกอบทางเคมี :
ราก ตน และใบ มีกรดไฮโดรไซยานิก (hydrocyanic acid) เล็กนอย ทั้งตนใหน้ํามั นหอมระเหย
(essential oil) ประมาณ 0.025% ที่พบเซสควิเทอรปนส (sesquiterpenes) เซสควิเทอรปนส แอลกอฮอล
(sesquiterpene alcohols) แอล-ซาบินีน (L-sabinene) ดี-ลิโมนีน (D-limonene) อะซูเลนิก เซสควิเทอร
ปนส (azulenic sesquiterpenes) และ menthol (องคประกอบหลัก) น้ํามันที่สกัดออกมาจะมีกลิ่นคลายน้ํา
มั น patchouli ที่ ไ ด ม าจาก Pogostemon patchouli Pellet เมล็ ด มี น้ํ า มั น ไม ร ะเหย (fatty oil) ประมาณ
13% (6)

H CH3

OH
H

H3C CH3

Menthol

สารสกัด :
น้ํามันหอมระเหยจากทั้งตนของแมงลักคา (Hyptis suaveolens) (8)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
น้ํามันหอมระเหยใชแตงกลิ่นในเครื่องสําอาง แชมพู เปนตน

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- เมนทอล มีคุณสมบัติใชภายนอก แกคัน ยาชาเฉพาะที่ และฆาเชื้อ (5)
- ตานเชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา
- ยับยั้งเนื้องอก
- ลดน้ําตาลในเลือด
-319-

- ทําใหหลอดเลือดคลายตัว ลดความดันโลหิต
- ตานการชัก
- ไลแมลง (3)
- ใชแตงกลิ่นยาสีฟน, ยาและขนม (5)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. กองกานดา ชยามฤต. สมุนไพรไทย ตอนที่ 6., 2540: 93-4.
2. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพ ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 289.
3. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 778-80.
4. Ayensu ES. Medicinal Plants of the West Indies. Michigan: Reference Publications, Inc.,
1981: 109.
5. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999
6. McMAKIN PD. A Field Guide to the Flowering Plants of Thailand. Bangkok: White Lotus Co.,
Ltd., 1998: 135.
7. Quisumbing E. Medicinal Plants of the Philippines. Katha Publishing Co., INC. 1978: 817-9.
8. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 356.
-320-
-321-

แมงลักคา (Hyptis suaveolens (L.) Poit.)


-321-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Golden shower, โกลเดน ชาวเวอร


ชื่อไทย (Thai name) : ราชพฤกษ
ชื่อทองถิ่น (Local names) : กุเพยะ ชัยพฤกษ ปูโย เปอโซ ปอยู แมะหลาหยู คูน
ลมแลง Indian laburnum, Laburnum, Purging cassia,
Pudding-pine tree (3,4), Purgierkassie (9)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Cassia fistula L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Bactyrilobium fistula, Cassia bouplandiana, C.
excelsa, C. fistuloides, C. rhombifolia,
Cathartocarpus excelsus C. fistula (9)
วงศ (Family) : Caesalpiniaceae (Leguminosae)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมตน ผลัดใบ สูง 5-15 ม. เปลือกตนสีเทาอมน้ําตาล เรียบ ใบเปนใบประกอบแบบขนนก
ประกอบดวยใบยอย 3-8 คู ใบยอยรูปไขแกมขอบขนาน เนื้อใบเกลี้ยงคอนขางบาง หูใบมีขนาดเล็กและ
รวงงาย ดอกออกเปนชอตามซอกใบ 1-3 ชอ ชอจะหอยยอยลงมาจากกิ่ง กลีบดอกสีเหลือง ผลเปนฝก
ทรงกระบอก ยาว 20-60 ซม. เสนผาศูนยกลาง 1.5-2.5 ซม. แขวนหอยลงจากกิ่ง ฝกออนสีเขียว ฝกแกสีดํา
มีเมล็ดจํานวนมาก เมล็ดรูปรีแบนสีน้ําตาล (4,6)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เอเชียเขตรอน (tropical asia) อินเดียและขึ้นตามปาเบญจพรรณแลงทั่วไป ที่สูงจากระดับน้ํา
ทะเล 50-500 ม. พบมากทางภาคเหนือของประเทศไทย เปนพืชประจําชาติไทยและไดมีการนําไปปลูกทั่ว
ประเทศ (1,6)

สรรพคุณพื้นบาน :
ยาไทยนําทุกสวนของราชพฤกษมาใชประโยชนทางยา ดังนี้
ใบ : มีรสเมา ชวยระบายทอง ฆาพยาธิผิวหนัง ฆาเชื้อโรค แกปวดขอ แกอัมพาต
แกโรคเกี่ยวกับสมอง
ดอก : มีรสขม เปรี้ยว แกโรคกระเพาะอาหาร ระบายทอง แกแผลเรื้อรัง
เมล็ด : ทําใหอาเจียน
-322-

เนื้อในฝก : มีรสหวานเอียน รับประทานเปนอาหารได ชวยขับเสมหะ ระบายพิษไข แก


ทองผูก แกบิด ถายพยาธิ แกตานขโมย ใชพอกแกปวดขอ (วิธีใชใหนํา
เนื้อในฝกมาละลายน้ํารอน กรองใหสะอาด ทําใหแหงในหมอลดความดัน
จะไดเนื้อขนๆ สีดํานํามาใชได หรืออาจใชเนื้อในฝกที่นําเมล็ดออกแลว )
เปลือกฝก : มีรสเฝอนเมา ทําใหอาเจียน ทําใหแทงลูก ขับรสที่คาง
เปลือกตน : มีรสฝาดเมา แกทองรวง ใชฝนผสมกับหญาฝรั่น น้ําตาล น้ําดอกไมเทศกิน
ทําใหเกิดลมเบงในการคลอดบุตร
ราก : มีรสเมา แกกลากเกลื้อน ระบายพิษไข แกโรคเกี่ยวกับหัวใจ เกี่ยวกับถุงน้ําดี
มีฤทธิ์ถายแรงกวาเนื้อในฝก โดยไมมีผลขางเคียง ใชไดดีกับเด็กหรือสตรีมี
ครรภ
เปลือกราก : มีรสฝาด ตมน้ําดื่มเปนยาระบายพิษไข และแกไขมาลาเรีย (2,6,9)

สวนที่ใช :
เปลือกตน ฝก (ผล) และเมล็ด (4)

องคประกอบทางเคมี :
ฝก (เนื้อผล) มีน้ําตาลประมาณ 60%, เพคติน, มีสารประเภทแอนทราควิโนน (anthraquinone)ได
แก อะโลอีน (aloin), รีน (rhein), เซนโนไซด A และ B (sennoside A,B) นอกจากนี้มีรายงานองค
ประกอบเคมี ดังนี้
ฟลาโวนอยด (flavonoids), ฟลาโวนอยดกลัยโคไซด (flavonoid glycosides), กรดคริสโซฟานิก
(chrysophanic acid), aloin, rhein, กรดอินทรีย (organic acids) (5,7,9,11)
มีน้ํามันหอมระเหยซึ่งประกอบดวยคูมินอัลดีไฮด (cuminaldehyde) (8)

OH O OH

CH3
O

chrysophanol, chrysophanic acid


(anthraquinone)
มีคุณสมบัติปองกันแมลงกินไม (termite), เปนสียอม (8)
-323-

สารสกัด :
สารสกัดจากฝก (fruit) และเปลือกตน (bark)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ใชในผลิตภัณฑสําหรับผิวหนัง เนื่องจากฤทธิ์ฝาดสมานของเปลือกตนและสารสกัดจากฝกใชทําความสะอาดผิว
(7,10) ใชแตงสีเครื่องสําอาง

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
รักษาอาการทองอืดทองเฟอ ทองผูก ลดไข เบื่ออาหาร เกาต ดีซาน แกโรคผิวหนัง ตานเชื้อ
แบคทีเรีย-เชื้อรา-ยีสต-ไวรัส ลดการอักเสบ (4,7)
สารสกัดผลดวยน้ําและเนื้อผล เปนยาระบายออนๆ

ขอควรระวัง :
ในกรณีที่ไดรับยาเกินขนาด อาจเกิดอาการขางเคียงจากฤทธิ์ระบายได หามใชในโรคที่มีการติดเชื้อ
ในลําไสรุนแรงและไมควรใชในเด็กที่มีอายุต่ํากวา 12 ปและหญิงมีครรภ (7)

เอกสารอางอิง :
1. คณิตา เลขะกุล และคณะ. ไมดอกและไมประดับเฉลิมพระเกียรติ. บริษัท ดานสุทธาการพิมพ จํากัด.,
2536: 89.
2. ชยันต พิ เชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส. คําอธิบ ายตําราพระโอสถพระนารายณ ฉบับ
เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร พริ้น
ติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด. 2544: 289-93.
3. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 112-3.
4. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 626-8.
5. ยุวดี จอมพิทักษ. รักษาโรคดวยสมุนไพร. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพหอสมุดกลาง 09, 2541: 46.
6. สุรีย ภูมิภมร, อนันต ดําดงและคณะ. ไมโตเร็วเอนกประสงคพื้นเมืองของประเทศไทย. คณะอนุกรรมการ
ประสานงานวิจัยและพัฒนาทรัพยากรปาไมและไมโตเร็วเอนกประสงค สาขาเกษตรศาสตรและชีววิทยา.
สภาวิจัยแหงชาติ. , 2 5 3 8 : 2 7 3 - 7 .
7. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 354-5.
-324-

8. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
9. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
10. L.S. de Padua, N. Bunyapraphatsara and R.H.M.J. Lemmens. Plant Resources of South-East
Asia No (12)1. Medicinal and poisonous plant 1: Leiden, Backhuys Publishers.,1999: 183-4.
11. Quisumbing E. Medicinal Plants of the Philippines. Katha Publishing Co., INC. 1978: 73.
-325-

ราชพฤกษ (Cassia fistula L.)


-325-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Bastard Cardamom, บาสตารด คารดามอม


ชื่อไทย (Thai name) : เรว
ชื่อทองถิ่น (Local names) : ผาลา มะหมากอี มะอี้ หมากเน็ง หมากแหนง
หมากอี้ (1,2,3), Tavoy cardamom
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Amomum xanthioides Wall. Ex Baker
ชื่อพอง (Synonyms) : Amomum villosum Lour. var. xanthioides (Wall.
ex Baker) T.L. Wu & S. Chen
วงศ (Family) : Zingiberaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมลมลุกจําพวกขิงขา มีเหงาใตดิน ลําตนบนดินสูง 1.5-1.8 ม. ใบเดี่ยวเรียงสลับรูปใบหอกกวาว
3.5-7.5 ซม. ยาว 30-45 ซม. ผิวใบเรียบ ชอดอกเชิงลดออกเปนกระจุกรูปทรงกลม ยาวประมาณ 2.5
ซม. กานชอดอกสั้นมาก ดอกยอยจํานวนนอย มีใบประดับ กลีบดอกเชื่อมติดกันเปนหลอด ยาว ไมเกิน
2.5 ซม. ปลายแยกเปนแฉกรูปขอบขนาน ผลแหงแตกได เปลือกแหงรูปขอบขนานมีสัน 3 สัน สีน้ําตาล
(2,3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
พบตามธรรมชาติ ในเอเซียตะวัน ออกเฉียงใต ในป าดงที่ มี ค วามชื้น สูงโดยทั่ วไป เชน จั งหวัด
จันทบุรี ระยอง กาญจนบุรี (3) มีการเพาะปลูกในอินเดียและจีน (6)

สรรพคุณพื้นบาน :
ราก : แกมองครอ แกไอ แกหืด แกไข
เหงา : บดพอกแผล ใชฆาเชื้อ แกโรคประดง แกผื่นคันตามผิวหนัง
ตน : แกคลื่นเหียน แกไข อันบังเกิดเพื่อดี แกดีพิการ แกไข
ใบ : แกสะอึก ขับปสสาวะ แกโรคเกี่ยวกับไขมัน ขับลม
ดอก : แกไข แกระดูขาว แกริดสีดวง แกหืดไอ แกเสมหะ แกเม็ดผื่นคันคลายผด
ผล : แกริดสีดวงทวาร แกหืดไอ แกเสมหะ บํารุงธาตุ แกกระหายน้ํา
เมล็ด : แกคลื่น เหียน อาเจียน ขับ น้ํานมหลังคลอดบุต ร ขับ เสมหะ แกท องอืดท องเฟ อ
แกความดันโลหิตต่ํา (2) นอกจากนี้เมล็ด ใชเปนเครื่องเทศ ปรุงแตงกลิ่น-รสอาหาร
ได (4)
-326-

ตําราสมุนไพร (6) ใชแกปวดทอง เจ็บปวดเมื่อขับถายอุจจาระ บรรเทาอาการทองรวง บิด และใช


เปนยาบํารุงกระเพาะและขับลม (6)

สวนที่ใช :
เมล็ดของผลแก (4)

องคประกอบทางเคมี :
เม ล็ ด : น้ํ ามั น ห อ ม ระเห ย (essential oil) 1.7-3% ป ระก อบ ด วย D-camphor, camphene,
bornylacetate, limonene, myrcene pinene, p-methoxy-trans ethyl cinnamate,
borneol และ ฟลาโวน (2,5,6)

H3C 7 CH3
CH3
6 1 2

4 OH

borneol (7)

สารสกัด :
น้ํามันหอมระเหย (essential oil) จากเมล็ดของผลแก (3)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ใชแตงกลิ่น เปนสวนผสมในน้ําหอม (2)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
เมล็ดแกของผลแก แกอาการทองอืด ทองเฟอ และอาการแนนจุกเสียด โดยบดใหเปนผงกิน
ครั้งละ 3-4 ผล (หนัก 1-3 กรัม) วันละ 3 ครั้ง (3) ฤทธิ์เหมือนอีสตามีน (histamine) ตานการบีบตัวของ
มดลูก ตานมะเร็ง คลายกลามเนื้อเรียบของลําไส ลดความดันโลหิต ลดโคเลสเตอรอล ตานพิษ สต
ริ๊กนีน (strychnine) เสริมฤทธิ์บารบิทูเรต ตานเชื้อรา (2)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน
-327-

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิ มพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 30.
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (2). กรุงเทพฯ: บริษัทประชา
ชน จํากัด, 2542: 194-197
3. ยุวดี จอมพิทักษ. รักษาโรคดวยสมุนไพร. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพหอสมุดกลาง 09, 2541: 102.
4. Bown D. Encyclopedia of Herb & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 237.
5. Dhavadee Ponglux. Medicinal Plants Exhibition Committee the 1st princess Chylathorn
Science Congress 1987 International Congress on Natural Products BKK. Thailand. Dec. 10-
13., 1987: 19.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
7. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 88.
-328-
-329-

เรว (Amomum xanthioides Wall. Ex Baker)


-329-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Castor oil plant, คาสเตอร ออยล พลานท
ชื่อไทย (Thai name) : ละหุง
ชื่อทองถิ่น (Local names) : คิติ คีเตาะ ปมั้ว มะละหุง มะโหง มะโหงหิน
ละหุงแดง Castor bean, Palma-christi, Rizinus (8)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Ricinus communis L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Croton spinosus, Palma christi, Ricinus africanus,
R. imermis, R.laevris, R. lividus, R. persicus, R.
speciosus, R. spectabilis, R.viridis, R. vulgaris (8)
วงศ (Family) : Euphorbiaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Castor (Ricinus communis) oil (11)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมลมลุก ลักษณะคลายไมพุมหรือไมตน สูงไดถึง 5 ม. ลําตนกลวง ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปวงกลม
เสนผาศูนยกลางกวางไดถึง 30 ซม. ขอบใบเวาเปนพู 7-9 พู พูปลายรูปใบหอกถึงรูปใบหอกแกมขอบ
ขนาน ปลายใบแหลมถึงเรียวแหลม ขอบใบจักฟนเลื่อยหรือจักฟนเลื่อยซอน กวาง 2-5 ซม. ยาว 10-20
ซม. กานใบยาว 7-20 ซม. หูใบรูปไข ยาว 1-2 ซม. ดอกขอแยกแขนงออกที่ปลายกิ่ง ดอกแยกเพศ ดอก
ตัวผูอยูที่โคนชอ ดอกตัวเมียอยูที่ปลายชอ มีกลีบเลี้ยงเชื่อมติดกัน ปลายแยกเปนแฉก ผลแหง ผิว
เกลี้ยงหรือมีขนแข็ง เมล็ดรูปกระสวยหรือทรงรูปไข แบนขาง ผิวเกลี้ยงเปนมันมักมีจุดหรือลาย (3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดในอินเดียและเขตรอนของอาฟริกาตะวันออก ปจจุบันพบทั่วไปในเขตรอนชื้นและเขต
กึ่งรอนชื้น (1,8)

สรรพคุณพื้นบาน :
ราก : แกปสสาวะช้ํารั่ว ขับเลือดลม แกพิษรอน แกพิษไข ถอนพิษไข ทาแกบวม
แกปวด แกฝ ขับน้ํานม บํารุงน้ํานม
ตน : ขับน้ํานม ขับเลือดและลม
ใบ : ขับน้ํานม แกเลือดลมพิการ ขับเลือด ขับลม แกไข ตัวรอน ปดแผลฝเปอย
เนา
เมล็ด : พอกหัวริดสีดวงทวาร รักษาฝ
น้ํามันจากเมล็ด : เปนยาระบาย
-330-

ไมระบุสวนที่ใช : แกช้ํารั่ว ขับน้ํานม ขับเลือดลม เปนยาถาย ไลแมลงวัน แกพิษรอน


แกไขพิษ ทาแกปวด บวม แกฝ (3) เมล็ดละหุงที่แกจัดจะมีน้ํามันอยู
รอยละ 45-55 น้ํามันนี้เรียกวา “น้ํามันละหุง”
ในตํารายาพื้นบาน น้ํามันละหุงใชภายในเปนยาระบาย รักษาการอักเสบของลําไสเล็ก ขับพยาธิไสเดือน ใช
ภายนอกรักษาการอักเสบของผิวหนัง สิว ฝฝกบัว การอักเสบของหูชั้นกลางและแกปวดศีรษะ
จีนใชน้ํามันละหุงรักษาการเจ็บคอ อัมพาตที่ใบหนา สิว แกปวดทองและแผลเล็กๆ นอยๆ ที่ ผิว
หนัง
อินเดียใชละหุงเปนยาแกปวดทองและบรรเทาอาการปวดขอ (7)

สวนที่ใช :
น้ํามันจากเมล็ด (castor oil), เมล็ด (castor bean, seed) (5,8)

องคประกอบทางเคมี :
น้ํามันละหุง (castor oil) จากเมล็ด สวนใหญประกอบดวย fixed oil ประมาณ 46-53% ไดแก ไทร
กลีเซอไรด (triglycerides) ของกรดไมอิ่มตัว (70-77%) กรดไม อิ่มตัว ไดแก ริซิโนเลอิก (ricinoleic acid)
ปริมาณ 90% กรดลิโนเลอิก (linoleic acid), กรดโอเลอิก (oleic acid), กรดปาลมิติค (palmitic acid),
กรดสเตียริก (stearic acid) และกรดไดไฮดร็อกซีสเตียริก (dihydroxystearic acid)
เมล็ ด ละหุ ง (castor bean) โดยเฉพาะกาก หลั ง จากหี บ เอาน้ํ า มั น จะมี โปรตี น ที่ มี พิ ษ ร า ยแรง
(toxalbumin) คือ ไรซิน (ricin) ซึ่งประกอบดวย ricin D, acidic และ basic ricin, เอนไซมไลเปส, แอลคา
ลอยดริซินีน (ricinine) และสารที่กระตุนการแพ (allergen) (4,8)

H H
OH C C

H3C (CH2)5 CH CH2 (CH2)7 COOH

ricinolic acid (8)

สารสกัด :
Castor oil เปนน้ํามันที่ไดจากการบีบเมล็ดละหุง (R. communis)โดยไมใชความรอน (1)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
-331-

เปนสวนผสมในเครื่องสําอางที่ใชปกปองผิวที่แหงแตก เปนสารที่ชวยยึดเกาะและทําใหยืดหยุน
(8) ใชเปนสวนผสมในสบู ยาสีฟน ลิปสติก น้ํามันใสผม (1)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- กลีเซอรไรดในน้ํามันละหุงจะแตกตัวที่ลําไสเล็กโดยเอนไซมไลเปส (lipase) ใหกรดริซิในลิก
(ricinolic acid) ซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ เหมื อ นแอนทราคลิ โ นนที่ ต า นการดู ด ซึ ม และระบาย (8)
การทดลองในสัตวพบวากรดริซิโนลิกกระตุนการสังเคราะหโปรสตาแกลนดิน (prostraglandin
E2) ในลําไสเล็ก (7) ซึ่งทําใหเพิ่มการหลั่งอีเล็คโตรไลทและน้ําเขาสูลําไส (8)
- มีรายงานวาสารไรซินใชรักษามะเร็ง พบวาออกฤทธิ์ไดดีในหนูที่มี L1210 leukemia cells เมื่อ
ให น้ํ า มั น ละหุ ง ผ า นเยื่ อ บุ ช อ งท อ ง (i.p.) พบว า ออกฤทธิ์ ดี ก ว า 5-fluorouracil แต น อ ยกว า
adriamycin และจะไมมีประสิทธิภาพเมื่อใหทางเสนเลือด สารไรซินยังมีฤทธิ์แกปวดอีกดวย
(6)
- น้ํามันละหุงบริสุทธิ์ ใชเตรียมยาฉีดและยาหยอดตา ใชเปนยาภายนอกรักษาโรคผิวหนัง (8)
- น้ํามันละหุงเตรียมในรูปยาขี้ผึ้งความเขมขนรอยละ 5-10 ใชทาแกผิวหนังอักเสบที่เกิดจาก ไข
มันมากเกินไป และใชทาในโรคผิวหนังอื่นๆ ใชเปนตัวทําละลายหรือสารชวยนําพายาในยาทา
ผิวหนังหรือยาตา ใชเปนยาระบาย บรรเทาอาการอาหารเปนพิษเพื่อขับถายอาหารที่เปนพิษ
ออก ใชเปนยาถายลําไสกอนการเอกซเรย (x-ray) ในทางอุตสาหกรรมใชเปนน้ํามันหลอลื่น
เครื่องจักรกลตาง ๆ (1,9)
- น้ํ า มั น ละหุ ง ใช ทํ า เที ย น, crayons, varnishes, lubricating oils, high performance fuels,
carbon paper, polyamide fibre, leather preservatives, fabric waterproofing, dye for
cotton (5)

ขอควรระวัง :
การรับประทานใบหรือเมล็ดเพียง 1-2 เมล็ดจะระคายเคืองปากและคออยางรุนแรง ปวดทอง รุน
แรง ตาพรา ไตวายและอาจทําใหเสียชีวิตได การสูดดมกากที่เหลือจากอุตสาหกรรมอาจเปนอันตราย การ
ใชน้ํามันละหุงเปนยาภายนอกอาจทําใหเกิดการแพ และไมควรใชในสตรีมีครรภ (6,7)

เอกสารอางอิง :
1. ชยันต พิเชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ ฉบับ
เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร พริ้น
ติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด. 2544: 594-97.
-332-

2. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,


2544: 454.
3. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรพื้นบาน (4). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 200, 209-11.
4. ลีนา ผูพัฒนพงศ. สมุนไพรไทย ตอนที่ 5. กรุงเทพฯ: ห.จ.ก.ชุติมาการพิมพ, 2530: 714.
5. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 341-
2.
6. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2001:
120-1.
7. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 158-60.
8. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
9. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 132-4.
10. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 553-4.
11. Wenninger JA, McEwen G.N. Interbational Cosmetic Ingredient Handbook. 3rd ed.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 634.
-333-

ละหุง (Ricinus communis L.)


-333-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Screw pine, สครูว ไพน


ชื่อไทย (Thai name) : เตยทะเล ลําเจียก
ชื่อทองถิ่น (Local names) : ปะหนัน ปาแนะ ketaki, Pandanus (2,4), Kewda (5)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Pandanus odoratissimus L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Pandanus kampotensis H.St.John.
วงศ (Family) : Pandanaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมตนกึ่งไมพุมขนาดเล็ก สูงประมาณ 6 ม. ลําตนแตกเปนงามตามปลายลําตน สีของลําตนขาวอม
น้ําตาลออนๆ ปกคลุมดวยหนามแหลมและมีรากค้ําตามโคนดิน ใบรูปหอกแหลมยาวออกเวียนสลับกัน
ยาว 2 ม. สีเขียวออน ขอบใบหยักมีสีขาว ปลายโคงไปทางปลายใบ มีหนามแหลมคมสีขาวตามขอบใบและ
เสนกลางใบ ชอดอกตัวผูและตัวเมียอยูแยกตน ชอดอกตัวผูมีลักษณะหอยอยูภายในใบประดับรูปหอก สี
ขาว มีกลิ่นหอมมาก ตนตัวผูเรียกวา “ลําเจียก” ตัวตัวเมียเรียกวา “เตย” (1) ผลเดี่ยวมีขนาดใหญ รูปรี
สวนปลายมีหนาม เมื่อสุกมีสีสมแดง (3,6)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดในเอเซียแถบรอน เชน อินเดีย, เปอรเซียและอาระเบีย มักขึ้นอยูตามชายหาด (3,6,7)

สรรพคุณพื้นบาน :
ดอกตัวผู : เขาเครื่องยาไทยพิกัด “เกสรทั้ง ๙“ อันมีดอกมะลิ ดอกพิกุล ดอกบุนนาค ดอก
สารภี เกสรบัวหลวง ดอกจําปา ดอกกระดังงา ดอกลําดวน และดอกลําเจียก
(1)
ผลสุก : มีรสหวานใชรับประทานได (3)
ใบ : นํามาใชในงานจักรสาน ทอเสื่อและใชแตงกลิ่นและรสในขาวและไอศกรีมเชอร-
เบท (6,7)
เมล็ด : ในประเทศนิวกินีใชเปนอาหารหลัก (4) บํารุงหัวใจและตับ (7)
อับละอองเกสรและสวนปลายของใบประดับ : นํามาบดเปนผงใชรักษาลมบาหมูและผงยาจากผนังดานในของ
อับละอองเกสร นํามาสูดดมหรือสูบเพื่อรักษาอาการ
เจ็บคอ
เถาของไม : ใชสมานแผล
-334-

ราก : ผสมกับนม ใชภายในในกรณีที่เปนหมันหรือแทงบุตร มีรายงานวารากใชบํารุง


หัวใจ และสมรรถนะทางเพศ (7)
รากและตาใบ : ใชขับปสสาวะ บํารุงกําลัง (4)
น้ํามันหอมระเหย : เป น ยาระบาย ขับ ลม รัก ษาโรคเรื้อน บรรเทาอาการปวดศี รษะและขอ
อักเสบ (7)

สวนที่ใช :
รากเหนือดิน ตาใบ (leaf bud) ดอก ผล เมล็ดและน้ํามัน (4)

องคประกอบทางเคมี :
essential oil (7) จากดอกประกอบดวย methyl-β-phenylethyl ether (67-75%) และ linalool
(19%) (5)

CH3
HO CH3
7
5
CH2
H3C 1

β-linalool (linalool) (8)


(3R)-(-)-form

สารสกัด :
น้ํามันหอมระเหยที่สกัดจากดอก (4)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
น้ํามันจากดอกและใบประดับ ใชเปนสวนผสมในเครื่องสําอางบํารุงผิวและน้ําหอม เรียกน้ําหอมนี้
วา “Kewda oil” มีคุณสมบัติฆาเชื้อ (antiseptic properties) (5,7)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
ยังไมพบรายงาน

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน
-335-

เอกสารอางอิง :
1. ชยันต พิเชียรสุน ทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ ฉบั บ
เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร พริ้น
ติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด. 2544: 597.
2. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพ ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 392-3.
3. เต็ม สมิตินันทน. พันธุไมปาเมืองไทย. 2518: 219.
4. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 322.
5. Fisserand R, Balacs T. Essential Oil Safety. Churchill Livingstone. Edinburgh. 1999.
6. McMAKIN PD. A Field Guide to the Flowering Plants of Thailand. Bangkok: White Lotus Co.,
Ltd., 1998: 113.
7. Quisumbing E. Medicinal Plants of the Philippines. Katha Publishing Co., INC. 1978: 80-1.
8. Steglich W, Fugmann B, Fugmann-Lang S. ROMPPP Encyclopedia: Natural Products. Georg
Thieme Verlag. Stuttgart. 2000.
-336-

เตยทะเล, ลําเจียก (Pandanus odoratissimus L.)


-336-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Fenugreek, เฟนูกรีค


ชื่อไทย (Thai name) : ลูกซัด
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Greek hay seed, Bird’s foot (4), Bockschornklee
(5)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Trigonella foenum-graeum L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Buceras foenum-graecum, Foenum-graecum officinale,
F.-g. sativum, Folliculigera graveolens, Telis
foenum-graeca, Trigonella graeca, T. jemenensis
(5)
วงศ (Family) : Fabaceae (Leguminosae)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Fenugreek (Trigonella Foenum-graecum) extract (9)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมลมลุกอายุปเดียว ลําตนตั้งตรง สูงไดถึง 60 ซม. รากแกวขนาดใหญ ใบประกอบแบบขนนก
มีใบยอย 3 ใบ เรียงสลับ หูใบขนาดเล็ก กานใบยาว 1-6 ซม. แกนกลางสั้น ใบยอยรูปไขกลับหรือขอบ
ขนาน กวาง 0.5-2 ซม. ยาว 1.5-4 ซม. ดอกเดี่ยว ออกที่ซอกใบ รูปดอกถั่ว สีเหลือง ยาว 1-1.5 ซม. ฝก
รูปขอบขนาน กวาง 2-4 มม. ยาว 5-19 ซม. ผิวเกลี้ยง (1)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดแถบเอเชียตะวันตกและตะวันออกเฉียงใตของยุโรป พืชมีการเพาะปลูกตั้งแตอียิปต
โบราณ ป จจุบันมีการเพาะปลูกทั่วไปในแถบเมดิเตอรเรเนียน อาฟริกาเหนือ อเมริกาใต จีน และ
อินเดีย (6)

สรรพคุณพื้นบาน :
ผล : แกทองเสีย
เมล็ด : แกทองรวง ขับปสสาวะ แกไอเรื้อรัง ทําใหประจําเดือนมาปกติ (1) ใชพอกฝอักเสบ
(5) รับประทานชวยเจริญอาหาร ยาพื้นบานใชบรรเทาหวัด ชวยเสริมการรักษาอาหาร
เบาหวาน
ลูกซัดมีรสขม รอน เพิ่มการไหลของน้ํานม กระตุนมดลูก ลดไข ลดระดับน้ําตาลในเลือด ชวย
ยอย สมานแผล ชวยระบาย ขับเสมหะ ขับปสสาวะ ตานปรสิต ตานมะเร็ง (2) บรรเทาอาการเจ็บ
ในชองปาก หลอดลมอักเสบ ไอเรื้อรัง มีการใชลูกซัดครั้งแรกในจีนโดยใชเปนอาหาร สําหรับโรคไต
-337-

โรคเหน็บชาจากการขาดวิตามินบี การหมดสมรรถภาพทางเพศในชายและปญหาอื่นๆ ของเพศชาย (6)


อินเดียใชเปนยาลดไข แกอาเจียน แกไอ บรรเทาอาการหลอดลมอักเสบและลําไสอักเสบ (4) ในอียิปต
และเอเซียบางประเทศ นําเมล็ดไปคั่วรับประทานเปนอาหารหรือเปนเครื่องเทศ การชงเปนชาใชขนาด
1 ชอนชา (ประมาณ 3 ก.) ชงดวยน้ําเย็น แชไว 3 ชม. จึงกรองออก ขนาดที่ใชตอวัน 6 ก. การใชภายนอก
ใชผงจากเมล็ด 50 กก. ตอน้ํา 1 ล. กวนจนเปนแปงเปยกขน (paste) นําไปอุน และพอกผิวบริเวณอักเสบ
ตําราโฮมีโอพาที (HAB1) ใชเมล็ดรักษาอาการผิดปกติของเมตาบอลิซึม (5)

สวนที่ใช :
ใบ เมล็ด (2)

องคประกอบทางเคมี :
เมล็ด
- ส ารเมื อ ก (mucilage, 25-45%) : โม โน ก าแ ล ค แ ท น (monogalactan), แ ม น แ น น

(mannan) เมื่ อ ถู ก ไฮโดรไลซ ให แ มนโนส (mannose) 70%, กาแลคโตส (galactose) 28%
และไซโลส (xylose) 2%
- สเตียรอยดซาโปนินส (steroid saponins, 1.2-1.5% : ทริโกโฟโนไซด เอ-ดี (trigofoenoside

A-D), ไดออสเจนิน (diosgenin), ยาโมเจนิน (yamogenin), จิโทเจนิน(gitogenin), สมิลาเจนิน


(smilagenin), ยัคคาเจนิน (yaccagenin), นีโอทิโกเจนิน (neotigogenin)
- สเตียรอยดซาโปนิน เปปไทดเอสเตอร (steroid saponin-peptide ester) : โฟนู
เกรซีน (foenugraecin)
- สเตียรอล (sterols) : 24α-ethyl-cholest-5-en-3β-ol (65%)
- ฟลาโวนอยด (flavonoids) : ไอโซโอเรี ย นติ น (isoorientin), ไอโซไวเท็ ก ซิ น (isovitexin),

โอเรียนติน (orientin), โอเรียนติน อะราบิโนไซด (orientin arabinoside), ไอโซโอเรียนติน


อะราบิโนไซด (isoorientin arabinoside), ซาโปนาเรติน (saponaretin), วิเซนิน-1 (vincenin-
1), วิ น เซ นิ น -2 (vincenin-2), ไวเท็ ก ซิ น (vitexin), ไวเท็ ก ซิ น -7-ก ลู โค ไซ ด (vitexin-7-
glucoside), โฮโมโอเรียนติน (homoorientin), เคอรเซติน (quercetin), ลูทีโอนิน (luteonin)
- แอลคาลอยด (alkaloids) : ทริ โ กเนลลี น (trigonelline, 0.13-0.4%), โคลี น (choline,
0.05%), เจนเทียนีน (gentianine), คารเพน (carpaine) ระหวางการอบทริโกเนลลีนจะสลาย
ตั วให (nicotinic acid) และสารพั ยริดีน (pyridines), พั ยรโรล(pyrroles) ซึ่ งทํ าให เกิ ด กลิ่ น
เฉพาะขึ้น
- น้ํามันไมระเหย (fixed oil, 5-8%)
-338-

- กรดอะมิโนอิสระ : 2S, 3R, 4R-4-hydroxyisoleucine, ฮีสทิดีน (histidine), ไลซีน


(lysine), อารจินีน (arginine)
- โปรตีน 25-30% : ซึ่งมีกรดอะมิโนที่มีกํามะถันเล็กนอย (เชน cystein และ methionin)
แตมีไลซีนและทริพโตแฟนปริมาณมาก
- วิตามิน : โดยเฉพาะเอ, บี และซี
- แรธาตุ : คัลเซียมและเหล็ก
- น้ํามันหอมระเหย : มีเล็กนอยประกอบดวย 3-hydroxy-4,5-dimethyl-2(5H)-furanone ซึ่ง
เปนสารที่ใหกลิ่นเฉพาะ (4-6,8)

CH 3
+
N

COO
-

trigonelline (C7H7NO2) (7)


(1-methylpyridinium-3-carboxylate) (5)

สารสกัด :
Fenugreek extract เปนสารสกัดจากเมล็ด Trigonella foenum-graecum (9)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
สารสกัดจากลูกซัดเปนสวนประกอบในน้ําหอม และใชแตงกลิ่น (perfume) ในสบู, ครีมและโลชั่น
โดยปริมาณที่ใชไมเกิน 0.2% เนื่องจากลูกซัดมีปริมาณสารเมือก (mucilage) มาก จึงใชเปนสวนประกอบ
ในผลิตภัณฑสําหรับทาผิวกาย เพื่อทําใหผิวเนียนนุม (emollients) (3,5) ลูกซัดไมทําใหเกิดการระคายเคือง
ไมกอใหเกิดการแพงาย และไมกอใหเกิดพิษตอผิวหนังมนุษยเมื่อถูกแสง (5)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- มีรายงานวาสารสกัดน้ําและอัลกอฮอล มีฤทธิ์กระตุนมดลูกหนูในหลอดทดลองโดยเฉพาะชวง
สุดทายของการตั้งครรภ สารสกัดมีฤทธิ์บีบมดลูก (oxytocic) จึงใชแทนสารออกซิโทซิน
(oxytocin) ได
- สารสกัดน้ําเรงจังหวะการเตนของหัวใจของสัตวเลี้ยงลูกดวยนม ในหลอดทดลอง
- สารทริโกเนลลีน (trigonelline) และยาชงจากลูกซัดมีฤทธิ์ลดน้ําตาลในเลือดในหลอดทดลอง
-339-

- สารสกัดจากลูกซัดแสดงฤทธิ์ตานการอักเสบ และขับปสสาวะในสัตวทดลอง
- สารสกัดจากใบมีฤทธิ์ฆาแมลงหลายชนิด
- สารกลุมสเตียรอยดซาโปนิน (steroid saponin) ชวยใหเจริญอาหาร ลดระดับโคเลสเตอรอล
ในพลาสมาในหนูทดลอง การศึกษาตอมาพบวาทริโกเนลลีน (trigonelline) ชวยลดระดับ
กลูโคสในหนู สุนัข และคน ทั้งปกติและกลุมที่เปนโรคเบาหวาน นอกจากนั้นยังลดปริมาณ
การขับถาย คัลเซียมออกซาเลตทางไต (3,5)
- เนื่องจากลูกซัดมีสารไดออสเจนิน (diosgenin) เปนสวนประกอบ จึงใชเปนแหลงสําคัญใน
การผลิตสเตียรอยดฮอรโมนและยาอื่นๆที่เกี่ยวของ

ขอควรระวัง :
- ระมัดระวังการใชลูกซัดรวมกับการใชยาลดน้ําตาล ในเลือด (4)
- ไมควรใชลูกซัดในสตรีมีครรภ (4)

เอกสารอางอิง :
1. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรพื้นบาน (4). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 263-5.
2. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 364.
3. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2001:
222-3.
4. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 304-5.
5. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
6. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 243-5.
7. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 665.
8. Tisserand R, Balacs T. Essential Oil Safety: A Guide for Health Care Professionals. Glasgow:
Bell and Bain Ltd, 1995: 216.
9. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 744-5.
-340-
-341-

ลูกซัด (Trigonella foenum-graeum L.)


-341-

ชื่อสามัญ (Common or English name) :Black catnip, แบลค แคทนิพ


ชื่อไทย (Thai name) :ลูกใตใบ
ชื่อทองถิ่น (Local names) :มะขามป อ มดิ น หญ าใต ใบ หญ าใต ใบขาว (1-3),
Biter Kreuz blume (6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Phyllanthus amarus Schumach. et. Thonn.
ชื่อพอง (Synonyms) : Phyllanthus nanus Hook.f., P.niruri Thw.
วงศ (Family) : Euphorbiaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมลมลุกอายุปเดียว สูง 10-60 ซม. ลําตนไมมีขน แตกกิ่งกานสาขามาก ใบเดี่ยว เรียงสลับกัน รูป
ขอบขนานแกมวงรี กวาง 3-6 มม. ยาว 5-11 มม. ปลายใบกลมหรือมนโคนใบกลม ขอบใบเรียบ ไมมีขน
กานใบสั้น หูใบปลายแหลม ดอกชอออกเปนกระจุกๆ ละ 2-3 ดอก ออกที่ซอกใบ ดอกยอย แยกเพศมี
ดอกเพศผู 1 ดอก เพศเมีย 1 ดอก ดอกเพศผูมีขนาดเล็กมาก ผลมีขนาดเล็ก รูปกลมแปน ขนาดเสนผา
ศูนยกลาง 1.8-2.5 มม. ผิวเกลี้ยง ผลแหงแตกได เมล็ดมีสันตามยาวทางดานหลัง 5-6 สัน (2,3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดในอเมริกา อาฟริกา และ เอเชีย (5,6,7)

สรรพคุณพื้นบาน :
ราก : ฝนกับน้ําซาวขาวแกไขหวัด แกทองเสีย แกบวม แกปสสาวะขัด แกโรคดีซาน
ระดูไหลไมหยุด บํารุงธาตุ
ตน : ยาตมใชเปนยาระบาย ขับปสสาวะ เปนยาฝาดสมาน แกโรคดีซาน แกปวดฝปวดบวม
ตามรางกาย ตมกับสมุนไพรอื่น (Stachytarpheta jamaicensis) ใชปองกันพยาธิสํา
ไสในเด็ก
ผล : แกไข พิษตานซาง แกรอนใน
ใบ : น้ําตมใบแกปวดทอง บํารุงธาตุ ลดไข ขับนิ่วในไต แกน้ําเหลืองเสีย แกไอในเด็ก
รักษามาลาเรีย ในประเทศอินเดียใชบรรเทาอาการปวดทอง ทองมาน ดีซาน บิด
ทองรวง ไข อาการเกี่ยวกับการขับถายปสสาวะ โรคตา หิดและ บาดแผล (2-8)

สวนที่ใช :
-342-

สวนเหนือดิน (herb) (5)

องคประกอบทางเคมี :
สวนเหนือดิน ประกอบดวย
แทนนิน (tannins) : แกลโลแทนนิน (gallontannin) เชน อะมาริอิน (amariin) ฟล-
แลนทูซิอินดี (phyllanthusiin D) เจอรานิอีน (geraniine) คอริลา
จิน (corilagin) อีเลคารปูซิน (elecarpusin)
ฟลาโวนอยด (flavonoids): รู ติ น (rutin), เค อ ร เซ ติ น -3-0- ก ลู โค ไ ซ ด (quercetin-3-0-
glucoside),
ลิกแนนส (lignans) : ฟลแลนติน (phyllantin, 0.8%), ไฮโปฟลแลนติน (hypo-phyllantin)
(3,5 6)

OH OH OH OH

HO OH

O
O
HO O O
O O

HO
OH O
OH OH

corilagin (gallontannin)

สารสกัด :
สารสกัดจากสวนเหนือดินแหงของ phyllanthus amarus

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
คุณสมบัติสมานผิว (astringent) ชวยทําความสะอาดและกระชับผิว

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
ต า นเชื้ อ แบคที เรี ย ราและไวรั ส ยั บ ยั้ ง การจั บ ตั ว ระหว า ง hepatitis B surface antigen และ
antibody ยับยั้งความเปนพิษตอตับ แกปวด ลดไข บรรเทาการอักเสบ ขับปสสาวะ ขับพยาธิ รักษาโรค
ทองรวงและ โรคตา (2,5,8)
-343-

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 410.
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 275-278.
3. ลีนา ผูพัฒนพงศ. สมุนไพรไทย ตอนที่ 5. กรุงเทพฯ: ห.จ.ก.ชุติมาการพิมพ, 2530: 703.
4. Ayensu ES. Medicinal Plants of the West Indies. Michigan: Reference Publications, Inc.,
1981: 99.
5. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 91.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
7. L.S. de Padua, N. Bunyapraphatsara and R.H.M.J. Lemmens. Plant Resources of South-East
Asia No (12)1. Medicinal and poisonous plant 1: Leiden, Backhuys Publishers., 1999: 387-
388.
8. Wagner H. Farnsworth N.R. Economic & Medicinal Plant research. Vol.5 Academic press.,
1991: 190.
-344-

ลูกใตใบ (Phyllanthus amarus Schumach. et. Thonn.)


-344-

ชื่อสามัญ (Common or English name) :Coriander, โครีแอนเดอร


ชื่อไทย (Thai name) :ผักชี
ชื่อทองถิ่น (Local names) :ผักหอม ผักหอมนอย ผักหอมปอม ผักหอมผอม
ยําแย, Gartenkoriander (7)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Coriandrum sativum L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Coriandrum maius, C. diversifolium, C.
globosum, Cumminum cyminum, Selenium
coriandrum (7)
วงศ (Family) : Apiaceae (Umbelliferae) (1)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Coriander (Coriandrum sativum) extract
Coriander (Coriandrum sativum) oil (10)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมลมลุกฤดูเดียว ทุกสวนมีกลิ่นหอม ลําตนเรียวยาว สูง 10-40 ซม. ใบประกอบแบบขนนก 3
ชั้น ใบยอยเปนเสนฝอย ดอกชอแบบซี่รม 2 ชั้น ออกที่ปลายยอดและซอกกิ่ง ดอกยอยสีขาวหรือขาว
แกมชมพู ผลแหงรูปไขแกมทรงกลมสีน้ําตาลออน แยกเปน 2 ฝา (2)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
พบในแถบเมดิเตอรเรเนียน ยุโรปกลางและตะวันออก เอเชียตะวันออก อเมริกาเหนือและใต (6)

สรรพคุณพื้นบาน :
ราก : แกไอ
ใบ : แกกระหายน้ํา
ผล : ขับลมในลําไส แกหอบ แกไอ บํารุงปอด บํารุงธาตุ แกคลื่นเหียนอาเจียน แก
กระหายน้ํา แกสะอึก แกไข แกรอนใน แกบิด แกริดสีดวงทวาร
เมล็ด : ขับลมในลําไส แกโรคไต บํารุงธาตุ แกหอบ บํารุงปอด แกไอ
ทั้งตน : ขับ เหงื่อ แกเหน็บชา แกบวม แกคลื่นเหียนอาเจียน บํารุงธาตุ แกกระหายน้ํา
ทําใหเจริญอาหาร ขับลม ละลายเสมหะ
ไมระบุสวนที่ใช : ขับลมในลําไส แกพิษฝ แกลม แกไข บํารุงธาตุ แกคลื่นเหียนอาเจียน (2)
-345-

ผลของผักชีจีนใชประโยชนจากผักชีเปนยาฆาเชื้อมานานโดยใชรักษาอาการอาหารเปนพิษ ผลของ
ผักชีชวยยอยอาหาร แกหัด โรคบิด ริดสีดวงทวาร ทําเปนยาชงใชกลั้วคอบรรเทาอาการปวดฟน ทั้งตน
ใชบรรเทาอาการปวดทอง คลื่นเหียน แกหัดและบรรเทาการเจ็บปวดไสเลื่อน (painful hernia) (8)
ใบและเมล็ดผักชีมีปริมาณน้ํามันหอมระเหยมากจึงมีประโยชนตอระบบการยอยอาหาร ชวยเจริญ
อาหาร (4) ขับเสมหะ แกตะคริว แกไอ เจ็บหนาอก โรคเรื้อน แกไข ทองรวง ใชภายนอกบรรเทา
อาการปวดตามขอ รักษาริด สีดวงทวาร (9) แกปวดศีรษะ ดับกลิ่น ปาก โรคแทรกซอนภายหลังการ
คลอดบุตร (6)
อินเดียใชผักชีบรรเทาอาการเลือดกําเดาไหล แกไอ รักษาริดสีดวงทวาร บรรเทาอาการเจ็บเมื่อ
ถายปสสาวะ อาการบวม แกอาเจียน แกบิดที่มีเชื้อ (6)
น้ํามันหอมระเหยจากผลนํามาเจือจางใชภายนอกบรรเทาอาการปวดเสนประสาทและปวดขอ (7)

สวนที่ใช :
ใบ, เมล็ด, น้ํามันหอมระเหยจากผลสุก ผลสุกแหง (4,7)

องคประกอบทางเคมี :
ผลสุก(แหง) มีน้ํามันหอมระเหย (0.4-1%) องคประกอบหลังคือ ลินาโลออล (linalool) 60-75%
น อกจากนั้ น ได แก บ อร นี ออล (borneol), ไซมี น (p-cymene), แค ม เฟ อร (camphor), เจอรานิ
ออล(geraniol), ลิโมนีน (limonene), อัลฟา-ไพนีน (α-pinene), trans-tridec-2-enal
ใบ มีน้ํามันหอมระเหยนอยกวาผล สวนใหญจะเปนดีซีลและโนนิล อัลดีไฮด (decyl and nonyl
aldehyde) นอกจากนี้ ป ระกอบด วยไขมั น (fats) 5% โปรตี น (protein) 22%, น้ํ าตาล (sugar), คู ม าริน
(coumarins) และฟลาโวนอยด กลั ย โคไซด (flavonoid glycosides) เช น เดี ย วกั บ ผล คลอโรจี นิ ค
(chlorogenic) และกรดคาเฟอิก (caffeic acid) วิตามินซี และอื่นๆ
น้ํามันไมระเหย (fatty oil, 13-21%) ประกอบดวย กรดเพโทรซีลิก (petroselic acid), กรดโอเลอิก
(oleic acid), กรดลิโนเลอิก (linoleic acid)
ไฮดรอกซีคูมารินส (hydroxycoumarins) ไดแก อัมเบลลิเฟอโรน (umbelliferone), สะโคโพเลทิน
(scopoletin), พซอราเลน (psoralen), แอนเจลิซิน (angelicin)
ฟลาโวนอยด กลัยโคไซด (flavonoid glycosides) ไดแก quercetin-3-glucuronide, ไอโซเคอร
ซิทริน (isoquercitrin), โคริแอนดรินอล (coriandrinol), β-sitosterol-D-glucoside, รูติน (rutin)
แทนนิน (tannins), น้ําตาล, กรดคลอโรจีนิกและกรดคาเฟอิก (chlorogenic acid and caffeic
acid) (6,8) นอกจากนี้มีไทรเทอรปน แอลกอฮอล, โคริแอนดริโนนไดออล (coriandrinondiol) เล็กนอย
( 7 )
OH
CH 2OH
-346-

d-linalool geraniol limonene α-pinene (5)


(coriandrol)
สารสกัด :
Coriander extract เปนสารสกัดที่จากผลและใบผักชี
Coriander oil เปนน้ํามันหอมระเหยจากผลแหงของผักชี (10)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
น้ํามันหอมระเหยจากผักชีใชเปนสารแตงกลิ่นในผลิตภัณฑ เชน สบู ครีม โลชั่น และน้ําหอม
ปริมาณมากที่สุดที่ใช คือ 0.6% สารสกัดที่ไดจากผลและใบผักชีใชเปนสวนผสมในผลิตภัณฑสําหรับทํา
ความสะอาดรางกาย (3,5)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
น้ํ า มั น หอมระเหยช ว ยย อ ยอาหาร ช ว ยขั บ ลม คลายการเกร็ ง ตั ว ของกล า มเนื้ อ ที่ มี ฤ ทธิ์ ต า น
แบคทีเรียและเชื้อราในหลอดทดลอง (6) การทดลองในสัตวพบฤทธิ์ลดน้ําตาล
น้ํามันจากผลผักชี (coriander oil) ในรูปยาขี้ผึ้งความเขมขน 6% เมื่อทา ไมพบการระคายเคืองตอ
ผิวหนัง
สารสกัดน้ําของเมล็ดผักชีสดตานการฝงตัวในหนูทดลองโดยสัมพันธกับปริมาณที่ไดรับ (8)
ลูกผักชีชวยบรรเทาอาการไมสบายบริเวณทางเดินอาหารสวนบน เชน อาการจุกเสียด ทองอืดเฟอ
นอกจากนี้ยังใชแตงกลิ่นบุหรี่ ผลผักชีปองกันการปวดทองในเด็ก เปนสวนประกอบในผลิตภัณฑ
ที่ใชขับลมและชวยระบาย (8,9)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 150.
-347-

2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน


จํากัด, 2542: 82-5.
3. Boulos L. Medicinal plants of North Africa. Michigan: Reference Publications, Inc., 1983:
180.
4. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 267.
5. D’Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic Desk Reference. New York: CRC Press, 1999: 86-
7.
6. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 221-2.
7. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
8. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 193.
9. Vermeulen N. Encyclopaedia of herbs. The Netherlands: Rebo Productions Ltd., 1999: 94-5.
10. Wenninger JA, McEwen G.N. Interbational Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 186.
-348-

ผักชี (Coriandrum sativum L.)


-348-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Blackberry lily, แบล็คเบอรรี่ ลิลี่


ชื่อไทย (Thai name) : วานหางชาง
ชื่อทองถิ่น (Local names) : วานมีดยับ (3), Bum-boo-chae (10), Leopard flower,
Leopard lily
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Belamcanda chinensis (L.) DC.
ชื่อพอง (Synonyms) : Ixia chinensis, Pardanthus chinensis (5), Belamcanda
punctata, Gemmingia chinensis (6)
วงศ (Family) : Iridaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมลมลุก มีลําตนใตดิน (เหงา) เลื้อยตามแนวขนานกับพื้นดิน ลําตนเหนือดินตั้งตรงสูง 50-100
ซม. ใบเดี่ยวรูปดาบปลายใบแหลม กวาง 2-4 ซม. ยาว 30-50 ซม. เรียงซอนสลับ โคนใบแผเปนกาบ
ซอนกัน ดอกชอมีดอกยอย 6-12 ดอก กลีบดอกสีสมเขมมีจุดประสีแดง ผลเปนผลแหงเมื่อแกจะแตกอา
และกระดกกลับไปดานหลัง (2,4,8)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนพืชพื้นเมืองของจีน ชอบขึ้นบนเขา นิยมปลูกเปนไมประดับ มีการแพรกระจายในประเทศ
เกาหลี ญี่ปุน ภาคเหนือของอินเดีย (8)

สรรพคุณพื้นบาน :
ตํารายาไทยใชใบเปนยาระบาย แกระดูพิการ (2) ตํารายาจีนใชเหงาซึ่งมีรสขมเย็น มีฤทธิ์ลดไข
แกบวมอักเสบมีหนอง แกเจ็บคอ คออักเสบ ทอนซิลอักเสบ ไอมีเสมหะ เปนยาถาย ขับลมและบํารุง
ธาตุ แกผื่นคันจากการทํานา รักษาโกโนเรีย (4,5,8,9) เวียตนามใชรักษาอาการตับ มามโต รักษาแผล งู
กัด ขับปสสาวะ (7)
ยาจีนใชรากแกปวดขอ ตอมไทรอยดผิดปกติและใชทดแทนโสม (6)

สวนที่ใช :
ลําตนใตดิน (เหงา), ราก ซึ่งเก็บเกี่ยวในฤดูรอน และฤดูใบไมรวง (6)

องคประกอบทางเคมี :
-349-

สารกลุมฟลาโวนอยดและฟลาโวนอยด กลัยโคไซด : อิริดิน (iridin), เทคโทริดิน (tectoridin), อิริ


เจนิน (irigenin)
สารกลุมไอโซฟลาโวนอยด : ไดเมทิวเทคโตริจีนิน (dimethyltectorigenin), อิริสฟลอ
เรนติน (irisflorentin), มูนินจิน (muningin), อิริสเทคโตริ
จินิน เอและบี (iristectorigenin A and B)
หัวใตดิน : กลัยโคไซดเชคานิน (glycoside shekanin)
ราก : กลูโคไซด เบลามแคนดิน (crystalline glucoside
belamcandin) (8,10) เซคานิน (1.5%) (6)

OH
H OCH3
O O

H3CO
OCH3

RO O

R = H : irigenin
R = β-D-glucopyranosyl : iridin

สารสกัด :
สารสกัดจากเหงาและรากของ Belamcanda chinensis

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
สารอิริดิน (iridin) ซึ่งเปน glycoside ของอิริจีนิน (irigenin) ใชฟอกสีผม (10) ยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย
ลดการเกิดพลัค (plaque formation suppressant)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
- ใชในผลิตภัณฑสําหรับผิวหนังเนื่องจากมีรายงานฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาเกี่ยวกับการรักษาสิวและ
กระตุนการงอกของเสนผม (4) แกผื่นคันและฆาเชื้อ (5)
- เหง า มี คุ ณ สมบั ติ ต า นรา ต า นเชื้ อ แบคที เ รี ย ยั บ ยั้ ง อาการอั ก เสบ ยั บ ยั้ ง เอนไซม 5-
lipoxygenase, ตานไวรัส (5,8,10) บรรเทาอาการไอ เจ็บคอ และทอนซิลอักเสบ (11)
- การทดลองกับผูปวยพบวาน้ําตมเหงาใชชะลางแกอาการผื่นคันไดผลดี (2)

ขอควรระวัง :
-350-

- หามใชในสตรีมีครรภ (5)
- มีสารบางชนิดที่เปนพิษ จึงควรระมัดระวังหากรับประทาน (2)

เอกสารอางอิง :
1. กองกานดา ชยามฤต. สมุนไพรไทย ตอนที่ 6., 2540: 85.
2. คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. สมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติ. กรุงเทพฯ. บริษัทอมรินทรพริ้นติ้ง
กรุพ จํากัด, 2535: 63.
3. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิ มพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 73.
4. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (4). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 385-6.
5. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 247.
6. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
7. L.S. de Padua, N. Bunyapraphatsara and R.H.M.J. Lemmens. Plant Resources of South-East
Asia No.(12) 1. Medicinal and poisonous plant 1: Leiden, Backhuys Publishers., 1999: 148-
150.
8. Natural Products Research Institute Seoul National University. Medicinal Plants in the
Republic of Korea. Manila: World Health Organization, 1998: 49.
9. Quisumbing E. Medicinal Plants of the Philippines. Katha Publishing Co., INC. 1978:181-2.
10. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 324.
11. WHO regional office for the western pacific. Medicinal Plants in Viet Num. Series No.3 1990:
63.
-351-

วานหางชาง (Belamcanda chinensis (L.) DC.)


-352-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Japanese cypress, เจแปนิส ไซเพรส


ชื่อไทย (Thai name) : สนแผง
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Hinoki, Kiso-Hinoi
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Chamaecyparis obtusa (Sieb. et Zucc.) Endl.
ชื่อพอง (Synonyms) : -
วงศ (Family) : Cupressaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
สนแผงเปนไมตน สูง 40-60 ม. ใบเดี่ยว เรียงตรงขาม ลักษณะเปนเกล็ด ดอกแยกเพศอยูบน
ตนเดียวกัน ดอกตัวผูออกเดี่ยวๆ ที่ปลายกิ่ง สีเหลืองหรือเขียว เกสรตัวผูเรียงตรงขาม กานชูอับเรณูสั้น
มีไมโครสปอแรงเกีย (microsporangia) 2-3 อัน ดอกตัวเมียออกที่กิ่งขาง ใบเกล็ดเรียงตรงขามสลับ ตัง้
ฉาก 4-6 คู รูปโล ไข (ovule) 2-4 อัน เมล็ด 2-5 เมล็ดตอใบเกล็ด เมล็ดแบน มีปก เปนเยื่อบางๆ (2)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดในประเทศญี่ปุน

สรรพคุณพื้นบาน :
- เปลือกตน : ชวยสมานทวารหนักและทวารเบา แกระดูขาว ทําใหระดูขาวแหง ขับระดูขาว
- ใบ : แกฟกช้ํา แกอาเจียนเปนเลือด แกไอ แกตัวรอน แกไขหวัด แกพิษรอนภายใน
แกกระหายน้ํา แกขัดเบา (2)

สวนที่ใช :
เปลือกตน ใบ เนื้อไม (2,7)

องคประกอบทางเคมี :
เนื้อไม : ที -มู อั วโอ ล อ ล (T-muurolol), อั ลฟ า-ค าดิ น อ ล (α-cadinol), ฮิ โน คิ เรซิ น อ ล
(hinokiresinol) (6)
ใบ : ฟ นิ ล โพ รพ านอยด กลั ย โคไซด (phenylpropanoid glycosides) : โคนิ เฟ
ริน(coniferin), สไปรินจิน (spyringin), ดีไฮโดรไดโคนิเฟริล แอลกอฮอล-4-เบตา-กลู
โคโซด (dehydrodiconiferyl alcohol-4-β-glucoside), ซิ ท รูซิ น ซี (citrusin C), น้ํ า
มั น หอมระเหยจากใบซึ่ ง ประกอบด ว ยอั ล ฟา-ไพนี น (α-pinene), ลองจิ โ ฟลี น
-353-

(longifolene), ซาบิ นี น (sabinene), ทู จ อ พ ซี น และอี เ ลมอล (thujopsene and


elemol) (10,13)
ราก : ลองจิ-อัลฟา-โนจิกิคูแอลกอฮอล (longi-α-nojigikualcohol (20%)), ลองจิ– เบ
ตา- แคมฟนิแลน อัลดีไฮด (longi-β-camphenilan aldehyde) (13)

OCH3
HO O
O
HO H
OH OH
HO CH2
CH2 OH
OH

coniferin (11) cis-hinokiresinol


มีคุณสมบัติยับยั้ง cyclic adenosine
monophosphate phosphodiesterase อยางแรง (4)

สารสกัด :
Hinoki leaf oil extract (13)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ใชแตงกลิ่นในผลิตภัณฑอาบน้ํา (5) และทําความสะอาดผิว

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
แกนไม :
- มีสาร cis- และ tran- hinokiresinol ซึ่งมีคุณสมบัติคลายฮอรโมนเอสโตร
เจน(estrogen) (3)
- สารสกัดหอมระเหยมีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อรา เชน Tyromyces palustris และ Coriolus
versicolor (7)
ใบ :
- สาร coniferin, และ syringin มีฤทธิ์เพิ่มความดันโลหิต สวน dehydrodiconiferyl
alcohol-4-β-glucoside และ citrusin C มีฤทธิ์ลดความดัน (10)
น้ํามันจากเนื้อไม :
- มีฤทธิ์เปนยาปฏิชีวนะ (antibiotic) (9)
-354-

- เปนพิษตอเซลล ทําใหเซลลตาย และลดขนาดของเซลล ซึ่งคุณสมบัตินี้อาจนํามาใช


กับเซลลมะเร็งได (2,8)

ขอควรระวัง :
อาจแพละอองเกสรของสนแผง (12)

เอกสารอางอิง :
1. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 121.
2. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (4). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 394-5.
3. Emiko minami, Motoshiko taki et al. Stereochemistry of cis-and tran- Hinokiresinol and their
Estrogen-like Activity. Chemistry pharmacol. Bull 2000, 48 (3): 389-92.
4. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
5. Kawasaki Yoshimi, Tsunakawa Mitsuo et al. Novel fragrance compositions for manufacturing
bath preparations. Jen. Kokai Koho JP 07 97, 591.
6. Kinjo Kazuhiko, Doufuku Yasuum, Yaga Shiryo. Termiticidal substances from the wood of
Chamaecyparis obtusa Endl.Mokuyai Gakkaishi.1988, 34 (5): 451-5.
7. Kondo Ryuichiro, Imamura Hiroyukl. Antifungal compounds in heartwood extractives of
Hinoki (Chamaecyparis obtusa Endl.) Mokyzal Gakkaishi 1986, 32 (3): 213-7.
8. Koyama Shozo, Tanaka Satoshi et al. Apoptosis-like (possible quantum thermodynamic) cell
death induced by Yoshixol and wood oil of Chamaecyparis obtusa (kiso-Hinoki) on Hela cell.
General pharmacol. 1997, 28 (5): 805-11.
9. Koyama Shozo, Yamagushi Yoshihiro et al. A new substance (Yoshixol) with an interesting
antibiotic mechanism from wood oil of Japanese traditional tree (Kiso-Hinoki),
Chamaecyparis obtusa. General pharmacol. 1997, 28 (5): 797-804.
10. Matsubara Yoshiharu, Nakano Tomohiro. Structure and physiological activity of
Phenylpropanoid glycosides in the leaf of hinoki (Chamaecyparis obtusa Sieb. Et Zucc.)
Agri-Biol Chem. 1990, 54 (2): 557-9.
11. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 149.
-355-

12. Suzuki Motohiko, Komiyama Naoki et al. Purification, characterization and molecular cloning
of Cha 01, a major allergen of Chamaecyparis obtusa (Japanese cypress) pollen. Mol.
Immunol. 1996, 33(4/5): 451-60.
13. Tisserand R, Balacs T. Essential Oil Safety: A Guide for Health Care Professionals. Glasgow:
Bell and Bain Ltd., 1995: 217.
14. Tokumoto Tsutomu, Himo Takaomi et al. Chamaecyparis obtusa extract as cockroach
attractant. Japan Kokai Tokyo Koho JP 04, 368, 307.
-356-

สนแผง (Chamaecyparis obtusa (Sieb. et Zucc.) Endl.)


-356-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Myrabolan wood, มัยราโบลัน วูด


ชื่อไทย (Thai name) : สมอไทย
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Black Myrobalan, Chebulic Myrobalan, Ink Nut tree,
Myrobalan, สมออัพยา มาแน หมากแนะ กกสมมอ
(2,3,4,5,7)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Terminalia chebula Retz. var. chebula
ชื่อพอง (Synonyms) : Terminalia tomentella Kurz., T. zeylanica, T. aruta,
T. comintana, T. gangetica, T. multiflora, T. parviflora,
T. reticulata, Bucida cumintana, Embryogonia
arborea, Myrobalanus chebula (9)
วงศ (Family) : Combretaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมตนขนาดกลางถึงใหญ สูง 20-35 ม. ใบเปนใบเดี่ยว ออกสลับกันหรือตรงขามกัน ยาว 7-
18 ซม. กวาง 4-6 ซม. ปลายใบเรียวแหลม ดอกออกเปนชอยาว 5-7 ซม. ออกเปนกระจุก กระจุกละ 4-7
ชอ ดอกยอยมีขนาดเล็ก สีขาวนวลหรือสีเหลืองออน เปนดอกสมบูรณเพศ เมื่อบานเต็มที่จะมีขนาดเสน
ผาศูนยกลางราว 3-5 มม. กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ ไมมกี ลีบดอก เกสรตัวผูมี 10 อัน เรียงเปน 2 แถวรอบรัง
ไข ผลเปนรูปไขคอนขางกลม กวาง 2-3 ซม. ยาว 3-4 ซม. อาจเห็นมีเหลี่ยม 5 เหลี่ยม เมล็ดขรุขระรูปรี
กวาง 0.5-0.7 ซม. ยาว 1.5-2 ซม. (1, 2, 3, 10, 11)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดในอินเดียตอนเหนือ และเอเซียตะวันออกเฉียงใต ในประเทศไทยพบตามภาคตางๆ ของประเทศ
ยกเวนภาคใต (5, 9, 10)

สรรพคุณพื้นบาน :
ทั้งตน : แกทองผูก ขับเสมหะ แกอาการเสียวคอและหนาอก
เปลือก : ขับปสสาวะ บํารุงหัวใจ ขับน้ําเหลืองเสีย
ดอก : รักษาโรคบิด
ผลออน : เปนยาระบาย แกโลหิตในทอง แกน้ําดีพิการ แกเสมหะพิการ
-357-

ผลแก : เปนยาสมาน ขับเสมหะ แกไอ เจ็บคอ ยาระบาย แกลมจุกเสียด ยาเจริญ


อาหาร บํารุง แกพิษรอนภายใน ถายพิษไข ขับน้ําเหลืองเสีย ใชภายนอกบด
เปนผงละเอียดโรยแผลเรื้อรัง
เนื้อผล : แกบิด ทองผูก ทองรวงเรื้อรัง ทองขึ้นอืดเฟอ โรคเกี่ยวกับน้ําดี แกโรคทอง
มาน แกตับมามโต แกอาเจียน สะอึก ตับและมามโต กระเพาะปสสาวะไม
ทํางาน
โบราณจัดลูกสมอไทยที่แกจัดไวในพิกัดยา 2 พิกัด คือ พิกัดตรีผลาและพิกัดตรีสมอ สมอไทยมี
สรรพคุณขับเสมหะ บํารุงธาตุ แกไข ขับลม มีความสําคัญมากในตํารายาอายุรเวทของอินเดีย (1,2,3)
ในจีนใชสมอไทยสําหรับโรคทองรวงรุนแรง โรคบิดรุนแรง ริดสีดวงทวาร เสียงแหบเนื่องจาก
การไอเรื้อรัง ถายอุจจาระปนเลือด มีระดูขาว (leucorrhea), เหงื่อออกตอนกลางคืน (night sweats) และ
undesired discharge
ในอินเดีย ใชเปนยาสําหรับรักษาอาการบาดเจ็บ แผลเปอย
นอกจากสรรพคุณทางยา เปลือกและผลยังมีสารไพโรแกลลอล (pyrogallol) ใหสีดําใชยอมผา
และเครื่องมือประมง เชน แห อวน (2,5)
ยาพื้นบานในอินเดีย และเอเซียตะวันออกเฉียงใต เปลือกตนใชขับปสสาวะและบํารุงหัวใจ (9)

สวนที่ใช :
ผล, เปลือกผล (6,9)

องคประกอบทางเคมี :
ผล มีแทนนินที่เปนอนุพันธของ gallic acid-glucose ไดถึง 45% (9)
เปลือกตน มีแทนนิน กรดไทรเทอรปน เชน อารจูนิน (arjunin) และอารจูเนติน (arjunetin) (9)
มีรายงานเพิ่มเติมเกี่ยวกับสารเคมีในสมอไทย ดังนี้
- แทนนิน (tannins 20-45%) : แกลโลแทนนิน (gallotannins) เทอรเชบูลิน (terchebulin)
เทอรฟลาวิน เอ (terflavin A) พูนิคาลาจิน (punicalagin)
คอริลาจิน (corilagin) กรดเชบูลิก (chebulic acid) กรด
เชบูลินิก (chebulinic acid)
- โมโนแซคคาไรด/โอลิโกแซคคาไรด (monosaccharides/ oligosaccharides (9%)) :
ดี-กลูโคส (D-glucose) ดี-ฟรุคโตส (D-fructose)
แซคคาโรส (saccharose)
- กรดผลไม (fruit acids) : กรดควินิก (quinic acid (1.5%)), กรดชิไคมิก
(shikimic acid (2%))
-358-

- ไขมัน (fatty oils) : ในเมล็ดมีถึง 40% (7,8,10)

สารสกัด :
สารสกัดจากผลแก Terminalia chebula

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
สมอไทยมี คุ ณ สมบั ติ ฝ าดสมาน (astringent) ช ว ยสมาน (tonic) บํ า รุ ง ผิ ว ทํ า ให ผิ ว เนี ย น
(rejuverative) (1,7,10) ใชเปนสวนผสมของน้ํายาบวนปาก กลั้วคอ (7)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
สมอไทยใชภายในสําหรับรักษาอาการทองผูก การยอยและระบบประสาทไมสั่งการ อาการทองรวง
เพราะมีฤทธิ์ฝาดสมาน โรคบิด โรคพยาธิในลําไส ริดสีดวงทวาร แกอักเสบ แกไอ และรักษาอาการ
หอบหืด มีฤทธิ์ตานจุลชีพ
ใชภายนอกสําหรับแผลเปอย แผลอักเสบในชองปาก และโรคเหงือก (6,7,10)
ผลสมอไทย มีคุณสมบัติฝาดสมาน ภายนอกใชเปนยาบวนปาก ในกรณีที่เปนโรคกระเพาะอาหาร
อักเสบ (stomatitis) อาการอักเสบเรื้อรัง และบาดแผล (9)

ขอควรระวัง :
- ไมควรใชในระหวางตั้งครรภ (7)
- จากการทดลองในหนู พบวาเปนพิษตอตับและไตเมื่อใหในปริมาณสูงมากติดตอกัน 4 สัปดาห
- เนื่องจากมีปริมาณแทนนินสูง (20-45%) อาจทําใหทองผูก (7,10)

เอกสารอางอิง :
1. กองกานดา ชยามฤต. สมุนไพรไทย ตอนที่ 4. กรุงเทพฯ: ห.จ.ก.ชุติมาการพิมพ, 2528: 362.
2. คณิตา เลขะกุล และคณะ. ไมดอกและไมประดับเฉลิมพระเกียรติ. บริษัท ดานสุทธาการพิมพ จํากัด.,
2536: 71.
3. ชยันต พิเชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ ฉบับ
เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร พริ้น
ติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด. 2544: 619-21.
4. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 519.
-359-

5. สุ รี ย ภู มิ ภ มร, อนั น ต ดํ า ดงและคณะ. ไม โ ตเร็ ว เอนกประสงค พื้ น เมื อ งของประเทศไทย. คณะ
อนุ ก รรมการประสานงานวิ จั ย และพั ฒ นาทรั พ ยากรป า ไม แ ละไม โ ตเร็ ว เอนกประสงค สาขา
เกษตรศาสตรและชีววิทยา. สภาวิจัยแหงชาติ., 2538: 278-81.
6. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995:
360-1.
7. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2001:
589-90.
8. Dhavadee Ponglux. Medicinal Plants Exhibition Committee the 1st princess Chylathorn
Science Congress 1987 International Congress on Natural Products BKK. Thailand. Dec. 10-
13., 1987: 257.
9. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
10. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 772-3.
11. Quisumbing E. Medicinal Plants of the Philippines. Katha Publishing Co., INC. 1978: 659.
-360-

สมอไทย (Terminalia chebula Retz. var. chebula)


-361-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Beleric myrobalan, เบเลริค มัยโรบาแลน


ชื่อไทย (Thai name) : สมอพิเภก
ชื่อทองถิ่น (Local names) : ซิบะดู ลัน สมอแหน สะคู แหน แหนขาว
แหนตน, Ink nut (1-5)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Terminalia bellerica (Gaertn.) Roxb.
ชื่อพอง ( Synonyms) : Myrobalanus bellerica Gaertn., Panteptera mollis,
Terminalia angustifolia, T. attenuata, T. biticaria,
T. eglandulosa, T. gella, T. javanica, T.
laurinoides, T. mollis, T. mollucana, T. punctata
(10)
วงศ (Family) : Combretaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมตนขนาดใหญ สูงประมาณ 10-50 ม. เปลือกตนสีเทาอมน้ําตาลหรือดํา ที่โคนตนมักเปนพู
กิ่งออนมีขนปกคลุม ใบเปนใบเดี่ยว เรียงสลับกันเปนกลุมที่ปลายกิ่ง ใบรูปรีแกมไขกลับ กวาง 2-16 ซม.
ยาว 4-20 ซม. กานใบยาว 3-9 ซม. ปลายใบมนหรือเปนติ่งสั้นๆ ฐานใบสอบเขาหากัน เนื้อใบคอนขาง
หนาเปนมัน หลังใบมีสีเขียวเขม มีขนสีน้ําตาลออนจะหลุดไปเมื่อใบแก กลางกานใบมีตอม 1 คู
ดอกมีขนาดเล็กออกเปนชอเดี่ยวที่ซอกใบ สีเหลือง มีกลิ่นเหม็น ชอดอกยาว ปลายชอจะหอยยอยลง
ยาว 3-15 ซม. ดอกยอยไมมีกานดอก กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ สีขาวคอนขางเหลือง เชื่อมติดกันปลายแยก
เปนแฉกรูปสามเหลี่ยมกวาง คอนขางกลม มีขนาดเทา ลูกวอลนัท มีสัน 5-6 สัน เปลือกนอกแข็ง มี
ขนละเอียดสีเหลืองถึงสีน้ําตาลหนาแนน มีเมล็ดแข็งเมล็ดเดียว รูปรี (1,2,3,4,5,6,8)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
พบขึ้นกระจายทั่วไปตามปาเต็งรังและปาเบญจพรรณของ อินเดีย อินโดนีเซียและเอเชียตะวันออก
เฉียงใต (2,6)

สรรพคุณพื้นบาน :
ราก : แกโลหิตอันทําใหรอน
เปลือกลําตน : แกปส สาวะพิการ ขับปสสาวะ แกโรคเกิดจากภายในกองธาตุ แกริดสีดวง
ภายใน แกนิ่ว ยาฝาดสมาน ใชแกโรคผิวหนังพุพอง (10)
-362-

แกนตน :
แกริดสีดวง
ใบ :
แกบาดแผล รักษาแผลติดเชื้อ
ดอก :
แกโรคตา ตาเปยกแฉะ
ผลออน :
มีรสเปรี้ยว แกไข ขับลม ขับเสมหะ เปนยาถาย
ผลแก :
มีรสเปรี้ยวฝาดสุขุม แกเสมหะในคอ ทําใหชุมคอ แกโรคตา แกธาตุกําเริบ
บํารุงธาตุ แกไข แกริดสีดวง แกบิด แกทองรวง แกโรคทองมาน สมาน
แผล โบราณจัดลูกสมอพิเภกที่แกจัดไวในพิกัดยา 2 พิกัด คือ พิกัดตรีผลา
และพิกัดตรีสมอ ผลดิบและผลสุก เปนยาขมและยาฝาดสมาน ใชในรายที่มี
ไข โรคเรื้อน อาการผิดปกติของน้ําดี บวมน้ํา และทองเสีย (10)
เมล็ดใน : แกบิด แกบาดแผล แกเสลดขาว ยาจีนใชเปนยาขับพยาธิ หอบหืดและเปน
ยาระบาย ในเบงกอลตะวันตกรับประทานเมล็ดเพื่อใหเกิดอาการประสาท
หลอน ( 1 0 )
นอกจากสรรพคุณทางยา เปลือกตนสมอพิเภกใชฟอกหนัง ยอมผาใหสีเขียวขี้มา ไมใชในงานกอ
สราง (2,3,5)

สวนที่ใช :
เปลือกลําตน, ใบ, ผลออน-แก (3)

องคประกอบทางเคมี :
แทนนิน (tannin) สวนของเปลือกลําตน (bark) มีในปริมาณสูงถึง 42%, แอนทราควิโนน
(anthraquinones)
กรดอะมิโนบางชนิด เชน ไลซีน(lysine), กลัยซีน (glycine), อะลานีน (alanine), วิตามินเอ และ
กรดไขมันบางชนิด (2,8,11)
และมีรานงานสารอื่นๆ ในสมอพิเภกดังนี้
- ผลดิบและผลสุก มีแทนนิน เชน เอลลาจิแทนนิน (ellagitannins), สารสีน้ําเงิน
- เปลือกลําตนมีไทรเทอรปน เชน กรดเบลเลรินิก และกลูโคไซดชื่อ เบลเลริโคไซด
(belericoside) และอารยุงเจนิน (arjungenin) ; เบตา-ซิโตสเสียรอล, กรดแกลลิค, กรดเอลลา
จิก, เอทิลแกลเลท, แมนนิท็อล (10)
- เมล็ดมีน้ํามัน (ประมาณ 40%) และมีสารเสพติดที่ยังไมทราบโครงสราง (10)

O
O OH

HO OH

HO O
O
-363-

ellagic acid
(hydrolysis product ของ ellagitannin)

สารสกัด :
สารสกัดจากเปลือกลําตน, ใบ, ผลออน-ผลแก

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
คุณสมบัติฝาดสมาน (astringent) ทําความสะอาดผิว และกระชับผิว

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
สมอพิ เภกใช รั ก ษาอาการเริ่ ม ต น สํ า หรั บ ระบบย อ ยอาหารและระบบหายใจ ต า นเชื้ อ ไวรั ส
แบคทีเรีย รา ยีสต แกหืด แกไอ แกหวัด เรงการสรางน้ําดี รักษาดีซาน ลดความดันโลหิต ยับยั้ง
ระดับโคเลสเตอรอลในเลือดสูง ยับยั้งหลอดเลือดอุดตัน ยับยั้งเบาหวาน ลดน้ําตาลในเลือด ฆาตัวอสุจิ
คลายกลามเนื้อมดลูก ยับยั้งความเปนพิษตอตับ ยับยั้งการกลายพันธุ ลดฤทธิ์ของยาบารบิทูเรท ยับยั้ง
enzyme HIV-1 reverse transcriptase HIV-1 protease, topoisomerase II, เป น พิ ษต อ ตั บ เป น ยา
สมาน ยาระบาย โลชั่นสําหรับตาเจ็บ (5,8)

ขอควรระวัง :
สมอพิเภกไมควรใชสําหรับสตรีมีครรภ (8)

เอกสารอางอิง :
1. กองกานดา ชยามฤต. สมุนไพรไทย ตอนที่ 4. กรุงเทพฯ: ห.จ.ก.ชุติมาการพิมพ, 2528: 356.
2. คณิตา เลขะกุล และคณะ. ไมดอกและไมประดับเฉลิมพระเกียรติ. บริษัท ดานสุทธาการพิมพ จํากัด.,
2536: 72.
3. ชยันต พิเชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ ฉบับ
เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร พริ้น
ติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด. 2544: 622.
4. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 519.
-364-

5. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (4). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน


จํากัด, 2542: 477-9.
6. สุ รี ย ภู มิ ภ มร, อนั น ต ดํ า ดงและคณะ. ไม โตเร็ ว เอนกประสงค พื้ น เมื อ งของประเทศไทย. คณะ
อนุ ก รรมการประสานงานวิ จั ย และพั ฒ นาทรั พ ยากรป า ไม แ ละไม โ ตเร็ ว เอนกประสงค ส าขา
เกษตรศาสตรและชีววิทยา. สภาวิจัยแหงชาติ., 2538: 282-6.
7. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 360.
8. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2001:
589-90.
9. Dhavadee Ponglux. Medicinal Plants Exhibition Committee the 1st princess Chylathorn
Science Congress 1987 International Congress on Natural Products BKK. Thailand. Dec. 10-
13., 1987: 255.
10. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
11. Quisumbing E. Medicinal Plants of the Philippines. Katha Publishing Co., INC. 1978: 660.
-365-

สมอพิเภก (Terminalia bellerica (Gaertn.) Roxb.)


-365-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Breadfruit, เบรดฟรุต


ชื่อไทย (Thai name) : สาเก
ชื่อทองถิ่น (Local names) : ขนุนสําปะลอ Bread nut tree (1), chataigne pen bwa,
shatain (2)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Artocarpus altilis (Park.) Fosberg
ชื่อพอง (Synonyms) : Artocarpus communis J.R. et G. Forst., A. incisa
(Thunb) Linn.f.
วงศ (Family) : Moraceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมตนสูง 10-20 ม. กิ่งกานมีขน หูใบรวงงาย ยาว 16-20 ซม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปวงรี โคนใบรูปลิ่มหรือ
มน ขอบใบเวาลึกเปน 3-7 แฉก รูปขอบขนาน ปลายเรียวแหลม เนื้อใบหนาและเหนียว กวาง 25-65 ซม. ยาว
30-100 ซม. กานใบยาว 2-4 ซม. ดอกชอเชิงลด แยกเพศออกที่ ซอกใบ ชอดอกตัวผูรูปทรงกระบอกยาวคลาย
กระบอง กานชอดอกยาว 3-6 ซม. ชอดอกตัวเมียรูปทรงกระบอกสั้น ผลกลุมรูปทรงกลมหรือรูปกระสวย สีเขียว เสน
ผาศูนยกลาง 20-30 ซม. ไมติดเมล็ด พันธุที่ติดเมล็ดเรียกวา ขนุนสําปะลอ “seeded form” (1)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
พบไดบริเวณทรินิแดด บาฮามัส เอกซูมา Long Islands และ Jamica (2)

สรรพคุณพื้นบาน :
ดอก : รักษาเหงือก (1)
เปลือกผล : ชาชงจากใบลดความดันโลหิตสูง (2) ลดน้ําตาลในเลือด น้ําคั้นจากใบใชบรรเทา
อาการปวดทอง ใบบดละเอียดพอกศีรษะบรรเทาอาการปวดศีรษะ (2)

สวนที่ใช :
เนื้อไม

องคประกอบทางเคมี :
เนื้อไมประกอบดวย (3,5,7)
-366-

- ฟลาโวนอยด (Flavonoids) ได แ ก อะพิ เจนนิ น (apigenin), นอร -อาร โ ทคาร ป าโนน (nor-
artocarpanone),ไอโซ-อารโทคารเพซิน (iso-artocarpesin), อารโทคารเพซิน (artocarpesin),
อารโทคารปน (artocarpin), ไดไฮโดรมอริน (dihydromorin)
- เบนซีนอยด (Benzenoids)ไดแก อารโทคารบีน (artocarbene), คลอโรฟอริน (chlorophorin)
4-พรีนิลออกซีเรสเวราทรอล (4′- prenyloxyresveratrol) และเรสเวราทรอล (resveratrol)

HO
HO
H3C

OH
HO
H3C

4′- prenyloxyresveratrol (3)

สารสกัดสาเก (Breadfruit extract) :


เปนสารสกัดจากเนื้อไมสาเก (heartwood)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
สารกลุมฟลาโวนอยดและเบนซีนอยด อาจมีคุณสมบัติทําความสะอาด ตานอนุมูลอิสระและทําให
ผิวขาว (5,6,8)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
มีรายงานคุณสมบัติทางชีวภาพของสาเก ดังนี้
ตานแบคทีเรีย ตานรา ทําใหกลามเนื้อหัวใจบีบตัวนอยลงและเตนชาลง ตานมะเร็ง ทําใหลําไส
หดเกร็ง ขยายหลอดเลือด และฆาแมลง (1,3)

ขอควรระวัง :
อาจทําใหแพ

เอกสารอางอิง :
1. นันทวัน บุณยะประภัศร อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน(4). กรุงเทพฯ: บริษัท ประชาชน
จํากัด, 2543: 619-21.
-367-

2. Ayensu ES. Medicinal plants of the West Indies. Algonac: Reference Publications Inc., 1981:
127.
3. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
4. Holdsworth DK. Traditional medicianl plants of Rarotonga, Look Islands. Part I. Int I Crude
Drug Res 1990; 28(3): 209-18.
5. Shimizu K, Kondo R, Sakai K, et al. The inhibitory components from Artocarpus incisus on
melanin biosynthesis. Planta Med 1998; 64(5): 408-12.
6. Shimizu K, Kondo R, Sakai K, et al. Tyrosinase inhibitor of Artocarpus incisus and its use in
cosmetics manufacture. Jpn.Kokai Tokyo Koho JP 08, 277, 225. 1995: 6pp.
7. Shimizu K, Kondor, Sakai K. A stilbene derivative from Artocarpus incisus. Phytochemistry
1997; 45(6): 1297-8.
8. Shimizu K, Kondo R, Sakai K. Inhibition of tyrosine by flavonoids, stilbenes and related 4-
substituted resorcinols: Structure activity investigations. Planta Med 2000; 66: 11-5.
-368-

สาเก (Artocarpus altilis (Park.) Fosberg)


-369-
-369-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Honey suckle, ฮันนี ชัคเคิล


ชื่อไทย (Thai name) : สายน้ําผึ้ง
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Japanese honey suckle, gold-and-silver flower,
In-dong, กิมงึงฮวย (3,4,8)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Lonicera japonica Thunb.
ชื่อพอง (Synonyms) : -
วงศ (Family) : Caprifoliaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมเลื้อย สูง 1.5–3 ม. ลําตนสีน้ําตาลมัน มีขนนุมสั้น ใบเดี่ยว เรียงตรงกันขาม ใบรูปขอบขนาน
แกมรูปไขหรือรูปหอก กวาง 1–4 ซม. ยาว 3-8.5 ซม. ปลายใบแหลม มีติ่งสั้น โคนใบกลมหรือตัด หลังใบสี
เขียวเขมและเปนมัน ทองใบสีเขียวออน เสนกลางใบและขอบใบมีขน ออกดอกเปนชอคูตามซอกใบ
กลีบดอกเมื่อแรกบานสีขาวเปลี่ยนเปนสีเหลือง มีกลิ่นหอมมาก ผลสดทรงกลม เกลี้ยง สีน้ําเงิน-ดํา คลาย
ลูกเบอรรี่ วัดเสนผาศูนยกลางได 6-7 มม. (1,4,6,7,8,11,12)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนไมพื้นเมืองทางเขตอบอุนตอนเหนือ เชน ญี่ปุน และพบไดในปาทางตะวันออกของอเมริกา
ตามภูเขาและที่ราบต่ํา (1,6,8,11)

สรรพคุณพื้นบาน :
ดอก : เมื่อเก็บแลวนํามาตากแหง ดอกแหงจะมีกลิ่นหอมเฉพาะซึ่งตางจากกลิ่นดอกสด
ใชแกไข เหงือกอักเสบ รักษาโรคเกี่ยวกับผิวหนัง ฝาดสมาน แกพิษตางๆ
น้ํ าคั้ น เป น ยาเจริญ อาหาร รับ ประทานเป น ประจําทํ าให ก ระปรี้ก ระเปราและ
อายุยืน
ใบและเถา : แกไข ฝาดสมาน แกพิษตางๆ
ตน(เถา) : แก โรคผิ วหนั ง รัก ษาโรคเกี่ ย วกั บ ลํ าไส กระเพาะเป น แผล แก บิ ด ท อ งเสี ย
ถ า ยเป น เลื อ ด ตั บ อั ก เสบ ปวดเมื่ อ ยตามข อ ขั บ ป ส สาวะ ไข โรคติ ด เชื้ อ
บางชนิด แกแผลฝตางๆ แผลเปอย หนองใน ริดสีดวงทวาร เจ็บคอ ปาก
นกกระจอก อาหารมึนเมาหรือแกพิษ (1,2,4, 6)
-370-

สวนที่ใช :
ลําตน และดอก (flower bud) (5,11)

องคประกอบทางเคมี :
ขี้ผึ้ง (wax) ลูทีโอลิน (luteolin) โลนิเซรีน (lonicerine) อิโนซิทอล (inositol) ไทรเทอรปนอยดซา
โปนิ น (triterpenoid saponin) น้ํ า มั น หอมระเหย (essential oil) ได แ ก linalool, aromadendrene กรด
คลอโรเจนิก (chlorogenic acid) 12% และ isochlorogenic acids (ในดอก) แทนนิน (tannin) (กาน)
ฟลาโวนอยด (flavonoids) : ไดออสมิติน-7-O-กลูโคไซด (diosmetin-7-O-glucoside)
อิริดอยด (iridoids) : โวเจโลไซด (vogeloside) อนุพันธของกรดโลกานิก (loganic acid
derivatives) (4,6,8,11)

OH

HO O

OH
OH O

luteolin (10)

สารสกัด :
สารสกัดจากดอก หรือใบและลําตน L. japonica ในรูปของยาตม ยาชง และสารสกัดแอลกอฮอล

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
- เปนสวนผสมในเครื่องสําอางประเภททําใหผิวขาว (whitening) เนื่องจากสามารถลดปริมาณเม็ดสี
ในผิวหนังได (4)
- สารสกัดน้ําและสารสกัด hydroalcoholic จากดอก ใชในผลิตภัณฑสําหรับสําหรับผิวหนัง (skin-
care product) เช น ครี ม โลชั่ น ผลิ ต ภั ณ ฑ ทํ า ความสะอาดผิ ว เนื่ อ งจากมี ฤ ทธิ์ ยั บ ยั้ ง เชื้ อ
แบคทีเรีย และสมานผิว (astringent) (6)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
-371-

ตานเชื้อแบคทีเรีย มัยโคแบคทีเรีย เชื้อรา ไวรัส ลดระดับคอเลสเตอรอลและปริมาณไขมันใน


เลือด ลดการอักเสบ เชนโรคไขขออักเสบ (Rheumatism) ลดไข มาเลเรีย รักษาโรคเรื้อนกวาง เปนสวน
ผสมในยารักษาโรคเอดส (1,9,11)
ดอก : ใชภายนอก เชน การติดเชื้อบริเวณผิวหนัง ผื่นคัน แผลเปอย-อักเสบ (5)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. กองกานดา ชยามฤต. สมุนไพรไทย ตอนที่ 4. กรุงเทพฯ: ห.จ.ก.ชุติมาการพิมพ, 2528: 312.
2. คณิตา เลขะกุล และคณะ. ไมดอกและไมประดับเฉลิมพระเกียรติ. บริษัท ดานสุทธาการพิมพ จํากัด.,
2536: 244.
3. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 330.
4. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (4). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 627-9.
5. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 306.
6. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 536-7.
7. McMAKIN PD. A Field Guide to the Flowering Plants of Thailand. Bangkok: White Lotus Co.,
Ltd., 1998: 20.
8. Natural Products Research Institute Seoul National University. Medicinal Plants in the
Republic of Korea. Manila: World Health Organization, 1998: 167.
9. Quisumbing E. Medicinal Plants of the Philippines. Katha Publishing Co., INC. 1978: 928-9.
10. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 232.
11. WHO regional office for the western pacific. Medicinal Plants in Viet Num. Series No.3 1990:
114.
12. Wilkinson J. Herbs and flowers of the cottage garden. Inkata press, Melbourne. Sydney.196.
-372-
-373-

สายน้ําผึ้ง (Lonicera japonica Thunb.)


-373-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Saxifrage, ซาซิแฟรก


ชื่อไทย (Thai name) : หญาหูเสือ
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Creeping saxifrage, Hu Erh Ts’Ao, Shih Ho Yeh,
Yuki No-Sita (4)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Saxifrage stolonifera Meerb.
ชื่อพอง (Synonyms) : S. sarmentosa L. f. (1)
วงศ (Family) : Saxifragaceae (1)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Saxifraga Sarmentosa Extract (7)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมลมลุก สูง 15-30 ซม. ลําตนสั้น ใบเดี่ยว เรียงสลับรูปวงรีขวางหรือรูปโล กวาง 2-8 ซม. ขอบ
เวาเปนพูตื้นแบบฝามือ มีขนยาวประปราย ทองใบมีจุดสีแดง กานใบยาว 3-12 ซม. มีขนยาว ดอก
ชอแยกแขนงออกที่ซอกใบยาว 20-50 ซม. (รวมกานชอดอก) ดอกยอยจํานวนมาก มีขนยาว กานดอก
ยอยยาว 0.5-1.25 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ โคงยาว 3-4 มม. กลีบดอก 5 กลีบ บริเวณปลายกลีบรูปไขสีชมพู
โคนกลีบมีจุดประสีเหลือง จานฐานดอกสีเหลืองสม เมล็ดรูปกระสวย (1)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีการเพาะปลูกในแถบเอเซียตะวันออกจนถึงทางตะวันตกของประเทศจีน และพบขึ้นเองตามธรรมชาติ แถบ
ทวีปยุโรป (4)

สรรพคุณพื้นบาน :
ใบ : น้ําคั้นหยอดหู แกหูน้ําหนวก ปวดหูและแกฝในหู แกหืด แกปากแตกแหง รักษา
แผลไฟลวก ขับลม แกไข ญี่ปุนรับประทานเปนผักสดหรือนําไปตมหรือทอดและใสใน
สลัด
ทั้งตน : ขจัดสิ่งสกปรก (depurative) กําจัดหนอง ลดไข ยาตมใชรักษาฝ แผลมีหนอง งูกัด
หูอักเสบ อาการชัก และเลือดไหล (1,4)
ลําตน : แกจุกเสียด แกปวดทอง
พืชในสกุลเดียวกัน คือ S. granulata L. ในตํารายาสมุนไพรของเยอรมัน (HAB 34) ใชสวนเหนือ
ดินที่เก็บเกี่ยวขณะมีดอก (สด) บรรเทาอาการนิ่วในไต

สวนที่ใช :
-374-

สวนเหนือดิน (herb), ใบ, ลําตน

องคประกอบทางเคมี :
พืชสกุลเดียวกัน คือ S. granulata L. มีองคประกอบเคมีเปนแทนนินและสารขม (3) มีรายงาน
ดานองคประกอบเคมีของหญาหูเสือ ดังนี้
เบอจีนิน (bergenin), นอรเบอจีนิน (bergenin, nor), กรดเดลตา อะมิโน บิวไทริก (butyric acid,
δ-amino), คาทีคอล (catechol), กรดคลอโรจีนิก (chlorogenic acid), กรดแกลลิก (gallic acid), กรดเม
ซ าโค นิ ก (mesaconic acid), โป รไซ ย านิ ดิ น บี -2 (procyanidin B-2), โป รไซ ย านิ ดิ น บี -2 แ ก ล
แลท(procyanidin B-2 gallate), กรดโปรโตคาเทคูอิก (protocatechuic acid), เคอรเซติน (quercetin),
เคอร ซิ ต ริ น (quercitrin), เกลื อ โปตั ส เซี ย มของกรดควิ นิ ก [(-)-quinic acid, potassium], กรดซั ค ซิ นิ ก
(succinic acid)

H CH2OH
H
O
OH OH
H OH
CH3O
H
H
O
HO
O

bergenin (ardisic acid B) (2)

สารสกัด :
Saxifrage sarmentosa extract (6)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
สวนผสมในผลิตภัณฑเพิ่มความชุมชื้นแกผิว โดยเฉพาะผิวบริเวณรอบดวงตา (7)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
เบอรจีนิน มีคุณสมบัติบรรเทาอาการอักเสบ (2) และมีรายงานคุณสมบัติเภสัชวิทยาอื่นๆ ดังนี้
-375-

กระตุ น กล า มเนื้ อ เรี ย บให ห ดตั ว ทํ า ให ลํ า ไส ห ดเกร็ ง ยั บ ยั้ ง เอนไซม glutamate-pyruvate
transaminase เปนพิษตอเซลลมะเร็ง (1)
พืชสกุลเดียวกัน คือ S. granulata L. สวนของลําตนใชเปนสวนผสมหนึ่งของตํารายา สวนผสม
หนึ่งอายุรเวท (cystone) มีคุณสมบัติลดพิษที่ไต ซึ่งเกิดจากสารซีสพลาติน (cisplatin) ที่ใชในเคมีบําบัด
โดยไมทําใหฤทธิ์ของยาลดลง (5)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 105-106.
2. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
3. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
4. Plant for A Future, the Field, Penpol, Lostwithiel, Cornwell, PL 22 ONG, UK. www.Pfaf.org
5. Rao M., Praveen Rao P.N. et. Al. Reduction of cisplatin-Induced nephrotoricity by cystone,
a polyherbal ayurvedic preparation, in C57 BL/6J mice bearing B16 F1 melanoma without
reducing its antitumor activity. J. of Ethnopharmacology 68 (1999): 77-81.
6. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 644.
7. http://www.Beauty.com
-376-
-377-

หญาหูเสือ (Saxifrage stolonifera Meerb.)


-377-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Reishi mushroom, ไรชิ มัชรูม


ชื่อไทย (Thai name) : หลินจือ
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Ling chih, Ling zhi, Spirit plant, Lacquered bracket
fungus, Herb of spiritual potency, Happy herb,
Auspicious herb, Miraculous chi, Mushroom of
immortality, Mannentake, Holy mushroom (1,6),
Glaezender Lackporling (4)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Ganoderma lucidum (Curt ex Fr.) Karst.
ชื่อพอง (Synonyms) : Polyporus japonicus Fr., Boletus lucidus, Placodes
lucidus, Ganoderma flabelliforme, G. laccatum, G.
pseudoboletus, G. sessile (4)
วงศ (Family) : Ganodermataceae (4)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
เห็ดสีน้ําตาลมวง กานชูยาว หมวกรูปรางคลายพัดหรือไต พื้นผิวดานบนแข็งเปนสีเหลืองและ
เปลี่ยนเปนสีน้ําตาลแดง มวงแดงหรือมวงทึบ มีรองเปนวงแหวน รอยพับยนแผจากรัศมี ขอบของหมวก
เห็ดบาง อาจมวนเขาดานใน หมวกเห็ดมีขนาด 4×3 ซม. ถึง 20×10 ซม. และหนา 0.5-2 ซม. กานชูแข็ง
ออกทางดานขาง หนา 0.5-2.5 ซม. ยาวไดถึง 19 ซม. สีน้ําตาลมวงถึงดําและเปนเงา หลินจือเจริญเติบโต
บนไมที่ผุหรือบนตอไม (3,5)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดในจีนและญี่ปุน ปจจุบันมีการเพาะปลูกกันอยางกวางขวางทั้งในสหรัฐอเมริกา จีน
ไตหวัน ญี่ปุน เกาหลี เอเชีย และยุโรป (3-5)

สรรพคุณพื้นบาน :
ยาจีนใชหลินจือรักษาโรคตางๆ มานานกวา 4,000 ป บรรเทาอาการออนเพลีย หอบหืด อาการ
ไมสบายเกี่ยวกับตับ ชวยใหมีอายุยืน
ยาพื้นบานในเอเซีย ใชหลินจือเพื่อลดน้ําหนัก ในอาการออนเพลีย วิตกกังวล นอนไมหลับ
ผมรวง อาการไมสบายเกี่ยวกับตับ ไต และกระเพาะอาหาร ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ปวดขอ
-378-

หอบหืด ยืดชีวิต ชวยใหเห็นและไดยินดีขึ้น (4) ในเอเซียเตรียมเห็ดหลินจือในรูปเครื่องดื่ม ตัวอยางเชน


ผสมวิตามิน, ชาชง (tea bag), ไซรัพ (sirup), แคปซูล, hair water ผสมในน้ําสําหรับอาบ เปนตน (4)
ตํ า รายาจี น Shen Nong Ben Cao Jing กล า วว า หลิ น จื อ เป น ยาที่ ดี สํ า หรั บ อาการหู ห นวก
มีป ระโยชน ตอขอตอ ชวยเพิ่ ม พลังชีวิต (Jing gi) ทํ าใหขอตอและกระดู กแข็งแรง โดยทั่วไปหลิน จือ
มีรสหวาน ขมเล็กนอย ไมมีพิษ ใชเปนยาบํารุงหลักของชาวจีน ในศตวรรษที่ผานมาไดสงวนการใชหลินจือ
ใหแกจักรพรรดิและใหเปนรางวัลแกกวีเอกชาวจีน (5)

สวนที่ใช :
ผล (fruit body) และ mycelium (1,4)

องคประกอบทางเคมี :
ประกอบดวยเออรโกสเตียรอล (ergosterol 0.3-0.4%), เบตา-ซิโตสเตียรอล (β-sitosterol), 24-
methylcholesta-7, 22-dien-3-β-ol, fungal lysozyme, acid protease และเอนไซมอื่นๆ (laccase,
endopolygalacturonase, cellulase, amylase) โปรตีนที่ละลายน้ํา (water-soluble protein), โพลีเปป
ไทด, กรดอะมิโนทรีฮาโลส (trehalose) น้ําตาลอื่นๆ (mannitol, betaine, adenosine), อัลเคน
(tetracosane, hentriacontane) กรดไขมัน (tetracosanic, stearic, palmitic, nonadecanoic,
behenic acids)
ไทรเทอรปน (สวนใหญเปนชนิดลาโนสเทน (lanostane)) ประกอบดวยกรดกาโนเดอรมิกชนิด
ตางๆ (ganoderic acids A-Z), lucidenic acids A-G, lucidones A-C, ganolucidic acid A-E,
ganoderal A, ganoderiols A-I, ganoderols A (ganodermanonol) และ B (ganodermadiol),
ganodermanontriol and ganodermatriol
โพลีแซคคาไรด ประกอบดวย อะราบิโนไซโลกลัยแคน (arabinoxyloglycan) ที่ละลายน้ํา (poly-
saccharide GL-1) มีน้ําหนักโมเลกุล 40,000 เฮเทอโรกลัยแคน (heteroglycan) ที่ละลายน้ํา มีน้ําหนัก
โมเลกุล 38,000 เฮเทอโรกลัยแคนที่ไมละลายน้ํา มีน้ําหนักโมเลกุล 10,000-100,000, ganoderans A
และ B มีน้ําหนักโมเลกุล 7,400-23,000
สารอนินทรีย ประกอบดวยธาตุคัลเซียม (Ca), แมกนีเซียม (Mg), โซเดียม (Na), แมงกานีส (Mn),
เหล็ก (Fe), สังกะสี (Zn), ทองแดง (Cu) (5)
COOH

H
O O

ganoderic acid A
OH
O
H
OH (จาก fruit body)
-379-

COOH

H
O O

O
HO OH
ganoderic acid B
H
O CO CH3

COOH

O CO CH3 ganoderic acid T


H3C CO O H (จาก mycelium)

OH

O OH

O ganoderiol F (4,5)
H

สารสกัด :
สารสกัดเห็ดหลินจือ : สารสกัดจาก fmit body และ mycelium ของเห็ดหลินจือ

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
สารสกัดใชเปนสวนผสมในผลิตภัณฑบาํ รุงผิว โดยเฉพาะอยางยิ่งครีมและโลชั่น เพื่อบํารุงผิว เพิ่ม
ความชุมชื้น และชวยใหผิวขาว ( 5 )

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
-380-

- สารสกัดจากเห็ดหลินจือมีคุณสมบัติตานการอักเสบ (anti-inflammatory) ตานอนุมูลอิสระ


(antioxidant) และตานเชื้อจุลินทรีย (antibacterial) (6)
- ผลตอระบบประสาท เชน ชวยใหสงบ แกปวดและแกชัก เนื่องจากสารอะดีโนซีน
(adenosine)
- ผลตอหัวใจและหลอดเลือด โดยชวยลดความดัน เนื่องจากสารไทรเทอรปนอยด
(tritepenoids) คือ ganoderol A, B, ganoderic acids B, D, F, H, K, S, Y นอกจากนี้ยังลด
โอกาสการเปนโรคหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งพบวาหลินจือลดการจับตัวของเกร็ดเลือด
- ตานการแพ ยับยั้งปฏิกิริยาภูมิแพที่ผิวหนัง ยับยั้งการหลั่งฮีสตามีน (histamine) และปองกัน
การเกิดอาการหืด การยับยั้งการหลั่งฮีสตามีน เนื่องจากสาร ganoderic acids C, D
- ฤทธิ์ลดน้ําตาลในเลือดเนื่องจากสารโพลีแซคคาไรด โดยเฉพาะอยางยิ่ง ganoderans A และ
B
- ตานมะเร็ง โดยสารโพลีแซคคาไรด และ ไตรเทอรปนอยด เปนสารออกฤทธิ์
เชน GL-1, ganoderans A, B, ganoderic acid T, Z
- ยับยั้งการเกาะกลุมของเกร็ดเลือด เนื่องจากสารอะดีโนซีน (adenosine)
- ลดไขมันในเลือดและโคเลสเตอรอล โดยลดไทรกลีเซอไรด และ LDL ยับยั้งการสังเคราะห
โคเลสเตอรอล (เนื่องจากสาร ganoderic acids derivatives) ตานอนุมูลอิสระ เสริมภูมิคุมกัน
คลายกลามเนื้อเรียบ แกไอ ทําใหหลอดเลือดคลายตัว ขับปสสาวะ ตานการอักเสบ (4)
- ผลตอโรคตับอักเสบ หลินจือชวยรักษาโรคตับอักเสบได โดยมีรายงานที่แสดงวา 92% ของ
ผูปวยโรคตับอักเสบ 355 คน มีอาการดีขึ้นเมื่อไดรับหลินจือ และยังชวยปองกันตับถูกทําลาย
จากสารคารบอนเตตราคลอไรด
- ตานไวรัส โพลีแซคคาไรที่แยกไดจากหลินจือสามารถตานเชื้อ herpes simplex virus type 1
and 2 สารอื่นๆ ที่แยกได พบวาสามารถตานเชื้ออื่นๆ เชน influenza A โดยยับยั้งการเจริญ
เติบโตของไวรัส (3,5)

ขอควรระวัง :
- ผลขางเคียงจากหลินจือ เชน วิงเวียนศีรษะ ปากแหง เลือดกําเดาไหล ปวดกระดูก ระคายเคือง
ผิวหนัง ทองเสีย หรือทองผูกอาจพบในระยะแรกของการใช ซึ่งมักจะหายไปเมื่อใชเปนเวลา 3-6
เดือน
- ไมควรรับประทานหลินจือ รวมกับยาตานการแข็งตัวของเลือด
- สตรีมีครรภหรือหญิงใหนมบุตรควรศึกษารายละเอียดและขอแนะนําจากแพทยกอนการใช (3)

เอกสารอางอิง :
-381-

1. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 286.
2. D’Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic Desk Reference. New York: CRC Press, 1999: 181.
3. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2001:
508-9.
4. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
5. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and
cosmetics. 2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 255-7.
6. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 53-4.
-382-

หลินจือ (Ganoderma lucidum (Curt ex Fr.) Karst.)


-382-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Jambolan, จามโบลัน


ชื่อไทย (Thai name) : หวา
ชื่อทองถิ่น (Local names) : หวา หาขี้แพะ Black plum, Jambul, Jamum, Java
plum, Rose apple (2,5)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Syzygium cumini (L.) Skeels
ชื่อพอง (Synonyms) : Syzygium jambolana (5), S. jambolanum (7),
Eugenia cumini (L.) Druce (1), E. jambolana,
Myrtus cumini (7)
วงศ (Family) : Myrtaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมตน สูง 10-20 ม. ใบเดี่ยว เรียงตรงขาม รูปวงรีหรือรูปไขกลับ กวาง 5-9 ซม. ยาว 7-15 ซม. มี
จุดน้ํามันที่บริเวณขอบใบ ดอกชอ ออกเปนกระจุกที่ซอกใบ มีดอกยอย 3-8 ดอก กลีบดอกสีขาว ผล
เปนผลสด รูปกระสวย สีมวงแดง (1)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
เปนพืชพื้นเมืองในเขตอินเดียตะวันออก-มาเลเซีย มีการเพาะปลูกสวนใหญในจีนและออสเตร-
เลีย (7)

สรรพคุณพื้นบาน :
ตํารายาไทยใชเปลือกตนแกบิด ตมอมแกปากเปอย คอเปอย ใบแกบิด ผลแกทองรวง เมล็ด
แกทองรวงและบิด ถอนพิษแสลงใจ (1)
ตําราสมุนไพร (7) ใชเมล็ดหวา ลดน้ําตาลในเลือด และในรูปสมุนไพรผสมบรรเทาอาการทองผูก
ที่ปวดมวน (spasm) และatonic อาการผิดปกติที่ตับออน (pancrease) กระเพาะอาหาร และเสนประสาท
อาการซึมเซา (depression) และออนเพลีย ผลเหงาแหงใชประโยชนเชนเดียวกัน (7) เปลือกตนหวาใช
ภายในบรรเทาอาการทองรวงรุนแรง ใชภายนอกบรรเทาอาการอักเสบเล็กนอย ในชองปากและคอ และที่
ผิว ยาพื้นบานใชเปลือกตนหวารักษาอาการเกี่ยวกับหลอดลม หอบหืด บิด และอาการอักเสบ อินเดียใช
เปนยาบํารุงสมรรถนะทางเพศ (aphrodisiac) และรักษาเบาหวาน (7)

สวนที่ใช :
-383-

เมล็ดแหงและเปลือกลําตนแหง (3,5)

องคประกอบทางเคมี :
เมล็ด
- น้ํามันไมระเหย (fatty oil 3-5%) : ประกอบดวยกรดโอเลอิก (oleic acid) กรดมัยริสติก (myristic
acid) กรดพัลมิติก (palmitic aid) และกรดลิโนเลอิก (linoleic acid) และกรดไขมันชนิด unusual
เชน กรดสเตียคูริก (sterculic acid) กรดมัลวาลิก (malvalic acid) กรดเวอรโนลิก (vernolic
acid)
นอกจากนี้มีเบตา-ซิโตสเตียรอล (β-sitosterol) แทนนิน และฟลาโวนอยด
- แทนนิน (tannins 6%) : 3-3′-di-O-methyl ellagic acid น้ําตาลแกลโลอิลกลูโคส (galloyl
glucose)
เปลือกตน
- แทนนิน (tannins) : อนุพันธของกรดแกลลิกและกรดเอลลาจิก (gallic acid and
ellagic acid) เชน 3-3′-di-O-methyl ellagic acid
- สเตียรอยด (steroid) : เบตา-ซิโตสเตียรอล (β-sitosterol) และกลูโคไซด
- ไทรเทอรปนส (triterpenes) : กรดเบทูลินิก (betulinic acid) ฟรีเดลิน (friedelin) ฟรีเดแลน-3-
อัลฟา-ออล (friedelan-3-α-ol) อิพิ-ฟรีเดลานอล (epi-
friedelanol) ยูจีนิน (eugenin)
- ฟลาโวนอยด (flavonoids) : มัยริสเซติน (myriscetin) เคมเฟอรอล (kaempferol) เคอร เซ
ติน (quercetin) แอสตรากาลิน (astragalin) (5)

O
O
OH

HO OH

HO O
O

ellagic acid
มีคุณสมบัติตานการผาเหลา (antimutagen) ของสาร aromatic hydrocarbons
และจัดเปน prototype ของกลุมสารตานมะเร็งกลุมหนึ่ง (6)
-384-

สารสกัด :
Syzygium cumini bark extract เปนสารสกัดน้ําจากเปลือกตน เตรียมโดยเคี่ยวเปลือกตน 1-2
ชอนชา กับน้ํา 150 มล. นาน 5-10 นาที แลวกรอง (5)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
- ใชในผลิตภัณฑทําความสะอาดและกระชับผิว เนื่องจากมีคุณสมบัติฝาดสมาน อาจใชทดแทน
เปลือกฮามาเมลิส (hamamelis)
- ใชในผลิตภัณฑสําหรับชองปาก เชน น้ํายากลั้วคอ (gargle) (5)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
เมล็ด :
- มีฤทธิ์ตานการอักเสบในสัตวทดลอง
เปลือกตน :
- รักษาอาการทองเดิน เนื่องจากฤทธิ์ฝาดสมานของแทนนิน
- รักษาอาการอักเสบของชองปากและลําคอ
- รักษาอาการอักเสบของผิวหนัง (5)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน (5)

เอกสารอางอิง :
1. คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. สมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติ. กรุงเทพฯ. บริษัทอมรินทรพริ้นติ้ง
กรุพ จํากัด, 2535: 107.
2. เต็ม สมิตินันทน. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด,
2544: 509.
3. Ayensu ES. Medicinal Plants of the West Indies. Michigan: Reference Publications, Inc.,
1981: 136.
4. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 358.
5. Gruenwald J, Bredler T, Jaenicke C. PDR for herbal medicines. 2nded. Montvale: Medical
Economics Company, Inc., 2000: 429-30.
-385-

6. Harborne FRS JB, Baxter H, Moss GP. Phytochemical Dictionary. 2nd. ed. Taylor & Frencis
Ltd. London. 1999.
7. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag
Heidelberg, 1999.
8. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 389.
-386-

หวา (Syzygium cumini (L.) Skeels)


-386-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Onion, อันยัน


ชื่อไทย (Thai name) : หอมฝรั่ง, หอมใหญ
ชื่อทองถิ่น (Local names) : Beltsville bunching onion, Dry bulb onion, Egyptian onion,
Multiplier onion, Potato onion, Tree onion, Basal, Bessla,
Zalim, Baslim, Lebsal, Tibsal, Azalim, Azlim, Oignon (1,4)
Zwiebel, Bolle, Zippolle, Zippel (9)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Allium cepa L.
ชื่อพอง (Synonyms) : Allium esculenturn, Cepa esculenta, C. vulgais, kepa
esculenta, Porum cepa (9)
วงศ (Family) : Aliaceae
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
Onion (Allium cepa) Extract

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พืชลมลุก มีอายุ 2-3 ป ลักษณะคลายกับหัวหอม ตางกันตรงที่หัวมีขนาดใหญกวามาก สูงประมาณ 60-110 ซม.
ใบกลวงเปนรูปทรงกระบอก 4-6 ใบ สีเขียว-น้ําเงิน ใบกวาง 1-2 ซม. ยาว 35-50 ซม. หัวรูปกลมแปนถึงรูปไขหรือ
ไขกลับ เสนผาศูนยกลาง 2-15 ซม. ยาว 3-5.5 ซม. เปลือกหุมสีเหลืองออนถึงน้ําตาลออนหรือน้ําตาลแกมมวง ดอกสี
เขี ย ว-ขาว รูป คล ายร ม กว าง 1 นิ้ ว กลี บ ดอก 6 กลี บ ขนาดสั้ น กวาเกสรตั ว ผลแบบแคปซู ล เมล็ ด สี ดํ า รู ป เหลี่ ย ม
(1,6,10,11)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดบริเวณเอเซียกลาง-เอเซียตะวันตก แพรกระจายไปยังเมดิเตอรเรเนียน เอธิโอเปย อาฟริกาเหนือ
อาฟริกาใต เม็กซิโก แถบภูเขาของอาฟกานิสถาน อิหราน เตอรกิสถาน (10) ความแตกตางของพื้นที่เพาะปลูกและ
อากาศทําใหหอมมีขนาด สี กลิ่นและรสแตกตางกัน แหลงผลิตสําคัญ คือ อียิปต สเปญ อิตาลี ตุรกีและสหรัฐอเมริกา (5-
8,11)

สรรพคุณพื้นบาน :
- หอมใหญใชมานานกวา 5,000 ปในอียิปตโบราณ จีน อินเดียตะวันออก เอเซียไมเนอร (10) ซึ่งแสดงใหเห็น
บนอนุสาวรียโบราณและมีในบันทึกของกรีกและโรมันโบราณถึงหอมใหญ (7)
- ในยุคกลาง หอมใหญใชบริโภคทั่วทั้งยุโรป และมีความเชื่อวาชวยปองกันวิญญาณชั่วรายและโรคระบาด
เนื่องจากมีกลิ่นที่รุนแรง (7)
- เปลือกของหอมหัวใหญใชยอมสีไขและเสื้อผา ในตะวันออกกลางและยุโรป (7)
- หอมใหญใชปองกันการติดเชื้อและในชนบทของยุโรปใชหอมใหญผสมกับกระเทียมปรุงใสน้ํานมใชเพื่อให
ทางเดินหายใจโลง นอกจากนั้นยังใชรักษาหอบ หืด ไอ หลอดลมอักเสบและอาการปวยที่คลายกันนี้
(7,8) และยังชวยกระตุนการทํางานของ ถุงน้ําดี ชวยในการยอยอาหาร บรรเทาอาการเจ็บลําไส รักษา
-387-

อาการขาดน้ํา ชวยใหประจําเดือนมาปกติ ขับพยาธิ ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดหัวใจอุดตันและรักษา


โรคเบาหวาน ใชภายนอกทาบริเวณ แมลงกัด แผลเปด ไฟไหมเล็กนอยและมีแผลถลอก (8)
- น้ําคั้นจากหัวบรรเทาอาการไอ หลอดลมอักเสบ หืด (9)
- อายุรเวทใชเปนสวนผสมเพื่อรักษาอาการน้ํายอยผิดปกติ ความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ แผล
ตางๆ อาการปวดและอาการไข (8)
- ยาจีนใชเปนสวนประกอบในการขับพยาธิ ตานการติดเชื้อราและแบคทีเรีย (8)
- คลายกลามเนื้อ เปนยาขับลมในทอง ขับปสสาวะ ขับเสมหะ บรรเทาอาการอักเสบของกระเพาะอาหารและ
ขับพยาธิ (11)
- ใชหอมใหญทาบริเวณที่ถูกผึ้งตอยหรือแมลงกัด เพื่อชวยบรรเทาอาการไขได (6)
- หอมใหญมีกํามะถันใชเปนสวนผสมในผลิตภัณฑเกี่ยวกับผม ชวยลดความมันและรังแค สารสกัดจากหอม
ใหญ ตํ าแย (Utica dioica L.) Betula pendula Roth, Viscum album L. เป น ส ว นผสมในผลิ ต ภั ณ ฑ ผ ม
เปลือกหอมใหญ สีน้ําตาลแหงใชน้ําสียอมผม วิธีเตรียมใชเปลือกหอม 30 ก. ตมกับน้ํา 200 ก. ตั้งทิ้งไว
กรองและเติมกลีเซอรีน 5 ก. ใชนวดผมทุกวัน จนไดสีผมตามตองการ อาจไมไดผลกับผลมัน (10)
หอมใหญมีรสเผ็ดรอน น้ํามันหอมระเหยซึ่งมีสารประกอบอินทรียที่มีกํามะถัน คลายกระเทียมจึงมีคุณสมบัติฆา
เชื้อ นอกจากนี้มีฟรุคโตส, อนุพันธฟลาโวน, วิตามินบี 1, วิตามินบี 2, วิตามินซี, กรดแพนโทเทนิก และคาโรทีน ซึ่งมีคุณ
คาอาหารและฟนฟูสุขภาพ (10)

สวนที่ใช :
หัวสด, น้ําคั้นสดจากหัว (5) สวนเปลือกของหัว (bulb) (10)

องคประกอบทางเคมี :
หัว (bulb) ประกอบดวยน้ํา 89% โปรตีน 1.5% และวิตามิน รวมทั้งวิตามิน B1, B2 และ C โพลีแซคคาไรด
อาทิ ฟรุคโตแซน (fructosan), แซคชาโรส (saccharose) และอื่นๆ เชน เปปไทด (peptides), ฟลาโวนอยด (flavonoids)
และน้ํามันหอมระเหย (essential oil) ฟรุกแทน (fructans) และสารประกอบกํามะถัน (sulfur-containing compound)
เช น alkylcystein sulfoxide (alliin แ ล ะ อ นุ พั น ธ เช น cycloalliin, cepaene, เอ น ไซ ด อั ล ลิ เน ส (allinase), γ-
glutamylpeptide
หากบดหอมใหญ เอนไซมอัลลิเนส (allinase) จะทํางานและเกิดกรดพัยรูวิก (pyruvic acid), อัลคิลไทโอซัลฟ
เนท (alkyl thiosulfinate) ซึ่งไมเสถียรและเปลี่ยนเปนสารประกอบไดซัลไฟด สารประกอบอื่นที่ทําใหหอมใหญมีกลิ่น
เฉพาะ เชน เมทิลโพรพิลไดซัลไฟด เมทิลโพรพิลไตรซัลไฟด และไดโพรพิลไทรซัลไฟด
เอนไซมอัลลิเนส (allinase) จะเปลี่ยน trans-S-(1-propenyl)-cysteine sulfoxide ไปเปน (Z)-thiopropanol-S-
oxide (propanethial S-oxide) ซึ่งเปนสารระคายเคืองทําใหน้ําตาไหล
น้ํามันหอมระเหย ประกอบดวยสารประกอบกํามะถัน โดยมีไดโพรพิลไดซัลไฟด (dipropyl disulfide) เปนองค
ประกอบหลั ก และมี เ มทิ ล โพรพิ ล ไดซั ล ไฟด (methylpropyl disulfide), เมทิ ล โพรพิ ล ไทรซั ล ไฟด (methylpropyl
trisulfide), ไดโพรพิ ล ไทรซั ล ไฟด (dipropyl trisulfide), อั ล ลิ ล โพรพิ ล ไดซั ล ไฟด (allylpropyl disulfide), ไดเมทิ ล ได
ซั ล ไฟด (dimethyl disulfide), 3,4-dimethyl thiophene, methyl-cis-propenyl disulfide นอกจากนี้ ยั ง มี ก รดฟ น อลิ ก
สเตียรอล ซาโปนิน วิตามิน เพคตินและแอนโทไซยานิน (11)
-388-

COOH S S
+
S S S
NH2
O H O

alliin allicin diallylsulfide

สารสกัด :
สารสกัดจากสวนหัว (bulb) ของหอมใหญ (Allium cepa Linn.) เตรียมในรูปน้ําคั้นสดหรือทิงเจอร

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
น้ําคั้นจากหอมหัวใหญใชกระตุนการเจริญของเสนผมและใชปองกันรังแค เปนสวนผสมในน้ํายาบวนปาก ชวย
ลดอาการอักเสบบริเวณปากและลําคอ ใชภายนอกในการรักษาสิวและฝ (5-7,11)

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
หัว (bulb) : ทาถูนวดใหรอนแดงเพื่อใหเลือดมาเลี้ยงมากขึ้น ขับพยาธิตัวกลม ฆาเชื้อโรค ทาภายนอก
แกพิษแมลงกัด ลดไขมันในเลือด แกธาตุไมปกติ (1) ชวยเจริญอาหาร ปองกันหลอด
เลือดแข็งตัวเนื่องจากความชรา (9)
ไมระบุสวนที่ใช : ขับปสสาวะ แกธาตุไมปกติ แกทองอืดทองเฟอ ลดปริมาณไขมันในเลือด
นอกจากนั้น ยังมีฤทธิ์ตานเชื้อแบคทีเรีย ตานเชื้อมัยโคแบคทีเรีย ต านรา ยับยั้งการสรางอะฟลา ท็ อกซิน
(alflatoxin) ตานยีสต ตานไวรัส ตานโปรโตซัว ฆาพยาธิไสเดือน ลดน้ําตาลในเลือด เหนี่ยวนําการเก็บกลูโคสเขาเซลล
ยับยั้งเบาหวาน เพิ่มอินซูลินในซีรัม ยับยั้งโคเลสเตอรอลในเลือด ลดระดับไลโปโปรตีนและฟอสโฟลิปดในเลือด ลดความ
ดันโลหิต ยับยั้งการแข็งตัวของผนังหลอดเลือด ยับยั้งการเกาะกลุมของเกร็ดเลือด ยับยั้งอาการหอบหืด เพิ่มการ
ละลายของไฟบริน ลดอาการบวม ลดอาการอักเสบบริเวณปากและลําคอ ยับยั้งการการหดเกร็งของกลามเนื้อ ยับยั้ง
มะเร็ง ชวยเจริญอาหาร แกไอ แกไข ขับเสมหะและบรรเทาอาการหลอดลมอักเสบ (1-8,11,13,14)

ขอควรระวัง :
ไมควรบริโภคในปริมาณที่มากเปนประจํา เพราะจะทําใหเกิดผลตอกระเพาะอาหารไดและมี รายงานวาการ
สัมผัสกับเมล็ดของหอมหัวใหญเปนประจําจะทําใหเกิดอาการแพได (occupational allergen) (7)

เอกสารอางอิง :
1. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพื้นบาน (3). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน จํากัด, 2542:
192-6.
2. Ayensu ES. Medicinal Plants of the West Indies. Michigan: Reference Publications, Inc., 1981: 114.
3. Bhumenthal M, Goldberg A, Brinckmann J, et al. Herbal Medicine. Expanded Commission E Monograph.
Newton: Integrative Medicine Communication, 2000: 176-7.
-389-

4. Boulos L. Medicinal plants of North Africa. Michigan: Reference Publications, Inc., 1983: 23.
5. Bown D. Encyclopedia of herbs & their uses. London: Dorling Kindersley Limited, 1995: 80, 234.
6. D’Amelio FS. Botanicals: A Phytocosmetic Desk Reference. New York: CRC Press, 1999: 161-2.
7. DerMarderosian A. The review of natural products. Missouri: Facts and Comparisons, 2000: 447-9.
8. Gruenwald J, Brendler T, Jaenicke C. PDR for Herbal Medicines. 2nd ed. Montvale: Medical Economics
Company, 2000: 557-8.
9. Hiller K, Melzig MF. Lexikon der Arzneipflanzen und Drogen. Spektrum Akademischer Verlag Heidelberg,
1999.
10. Hlava B, Pospisil F, Stary’ F. Pflanzen fuer dee natuerliche Schoenheit. Werner DauSilen-Hanau. 1983.
11. Leung AY, Foster s. Encyclopedia of common natural ingredients used in food, drugs, and cosmetics.
2nded. New York: John Wiley & Sons, Inc., 1996: 391-2.
12. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York: Georg Thieme
Verlag Stutgart, 2000: 164-5.
13. Vermeulen N. Encyclopaedia of herbs. The Netherlands: Rebo Productions Ltd., 1999: 34-5.
14. Weiss RF. Weiss’s Herbal Medicine. New York: Georg Thieme Verlag, 2001: 275-6.
15. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded. Washington: The
Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 23.
-390-

หอมใหญ (Allium cepa L.)


-391-

ชื่อสามัญ (Common or English name) Holly mangrove, ฮอลลี แมนโกรฟ


:
ชื่อไทย (Thai name) :
เหงือกปลาหมอดอกมวง (1)
ชื่อทองถิ่น (Local names) Salt bush แ ก ม ห ม อ เล จะเก ร็ ง อี เ ก ร็ ง (1,3)
:
เหงือกปลาหมอน้ําเงิน นางเกร็ง (1-3) เหงือกปลา
หมอดอกขาว (3), Seaholly
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific) : Acanthus ilicifolius L.
ชื่อพอง (Synonyms) : -
วงศ (Family) : Acanthaceae (1,3)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
-

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
ไมพุม ลําตนตั้งตรง สูง 0.5-1.25 ม. ลําตนกลมเรียบแข็ง สีเขียวแกมเทา มักมีหนามตามขอๆ ใบเดี่ยวเรียง
ตรงขาม รูปไข รูปวงรี หรือรูปขอบขนาน กวาง 3-4.8 ซม. ยาว 6.4-11 ซม. ปลายใบและโคนใบแหลมขอบใบหยัก
แบบขนนกที่ปลายเปนหนาม กานใบหนายาว 8-10 มม. ที่โคนกานใบมีหนามแหลมคลายหูใบ 2 อัน ผิวใบเรียบเปนมัน
เนื้อใบเหนียวแข็ง ดอกชอ (spike) ที่ปลายกิ่งยาวไดถึง 16.5 ซม. ในประเทศไทยพบเหงือกปลาหมอ 2 ชนิด ไดแก ชนิด
ดอกขาวมีกลีบดอกสีขาว จุดประ สีแดงหรือมวงแดงและชนิดดอกมวงมีกลีบดอกสีมวงอมฟา มีแถบสีเหลืองออนกลาง
กลีบผลเปนฝก ยาว 1.6-3.4 ซม. รูปไข ผิวเกลี้ยง ผลแหงแตกได (1,3)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
พบตามป า ชายเลนและบริ เวณน้ํ ากรอ ย ในประเทศไทยเหงื อ กปลาหมอชนิ ด ดอกขาวพบใน
ภาคกลางและภาคตะวันออก สวนชนิดดอกมวงพบทางภาคใต ตั้งแตจังหวัดชุมพรลงไป (3)

สรรพคุณพื้นบาน :
ราก : ขับเสมหะ รักษามุตกิตระดูขาว (1,2) ในประเทศจีนใชรักษามะเร็ง (ใน
รูปยาตม) แกไอ แกหืด (1,2) บํารุงประสาท (2) แกอัมพาตเปนยา
อายุวัฒนะ (1)
รากและตน : แกพิษไขหัวใหผื่นคัน แกโรคผิวหนัง แกฝหรือแผลเรื้อรัง แกพิษฝ
ดาษ เปนยาอายุวัฒนะ
ตนทั้งสดและแหง : แกแผลพุพอง น้ําเหลืองเสีย เปนฝบอยๆ (1-3) ถอนพิษ
เปลือกตน : แกโรคผิวหนังผื่นคัน แกพิษฝ แกพิษเลือด (1)
เมล็ด : ขับน้ําเหลืองเสีย (1,2) ปดพอกฝ ตมดื่มแกไอ (2) เปนยาขับพยาธิ (2,3)
-392-

ใบ : เป น ยาประคบแก ไขข อ อั ก เสบ แก ป วดต า งๆ รั ก ษาโรคผิ ว หนั ง ใน


ประเทศอิ น เดี ยใชใบรักษาโรคผิ วหนั ง ขับ น้ํ าเหลื องเสี ย (1,2) รักษา
ปอดบวม รักษาแผลอั กเสบ ขับ เสมหะ แก ไข จับ หนาวสั่น แกคั น
บํารุงประสาท รักษากลากเกลื้อน (1) เปนยาอายุวัฒนะโดยปรุงรวมกับ
พริกไทย ในอัตราสวน 2:1 บดทําเปนยาลูกกลอน กินครั้งละ 1-2 เม็ด
(3) ใชน้ําคั้นใบทาศีรษะ ชวยบํารุงรักษารากผม (3) รักษาหอบหืดในรูป
ยาแช
ผล : ขับโลหิตระดู แกฝตานซาง ถอนพิษดี (1)
สวนทั้งหา(ตน, ราก,
ลูก, ใบ, ดอก) : แกพิษฝ แกพิษกาฬ แกไขหัว แกโรคผิวหนัง ผื่นคัน แกประดง แก
ธาตุ ไ ม ป กติ แก ม ะเร็ ง แก โ รคลม แก เสี ย งแหบแห ง ทํ า ให เจริ ญ
อาหาร ทําใหเลือดลมเดินสะดวก เปนยาอายุวัฒนะ (1)
ไมระบุสวนที่ใช : ตัดรากฝทั้งปวง ฟอกโลหิต ฟอกน้ําเหลือง ขับพิษไข แกกระษัย ไต
พิการ ขับปสสาวะ (1)

องคประกอบทางเคมี :
มีรายงานสารที่พบในเหงือกปลาหมอดอกมวง ดังนี้
อะแคนทิ ซิ โ ฟลี น (acanthicifoline) อั ล ฟา-และเบต า -อะมั ย ริ น (α -, β - amyrin) อะพิ เจนิ น
(apigenin) และกลัยโคไซด อนุพันธเบนโซออกซาโซลีน (benzoxazolin derivative) แคมเพสเตียรอล
(campesterol) โคเลสเตรอล (cholesterol) เดาโคสเตียรอล (daucosterol) ฟูโคสเตียรอล (fucosterol)
ลูปออล (lupeol) และกลัยโคไซด อนุพันธออคตาโคแซน (octacosan-1-ol) กรดโอเลียโนลิก (oleanolic
acid) อนุ พั น ธ เพนตาโคแซน (pentacosan-5-one) เคอร เซติ น (quercetin) ไอโซ-เคอร ซิ ทริ น (iso -
quercitrin) เบตา-ซิโตสเตียรอล (β-sitosterol) สติกมาสเตียรอล (stigmasterol) และอนุพันธทริโก เนล
ลีน (trigonelline) และกรดอัวโซลิก (ursolic acid) (4)

OCH 3
O

HN N

CH 3
-393-

acanthicifoline

สวนที่ใช :
ใบและกิ่งกาน
สารสกัด :
สารสกัดจากกิ่งกานและใบ

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
เปนสวนผสมในผลิตภัณฑที่ทําความสะอาดผิวและผม

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
มีรายงานเกี่ยวกับ คุณ สมบัติทางเภสัชวิทยา ดังนี้ ยับยั้งเนื้องอก ตานไวรัส ตานมะเร็ง ตาน
แบคทีเรีย เสริมภูมิคุมกัน ยับยั้งการแพ ยับยั้งเอนไซมรีเวอรส ทรานสคริปเทส (1)

ขอควรระวัง :
ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญ พร. สมุนไพรพื้นบาน (5). กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน
จํากัด, 2542: 263-5.
2. ลีนา ผูพัฒนพงศ. สมุนไพรไทย ตอนที่ 5. พญาไท: หจก.ชุติมา การพิมพ, 2530: 46.
3. วงศสถิตย ฉั่วกุลและคณะ.สมุนไพรไทย มรดกไทย. กรุงเทพฯ: บริษัทสยามบุคสแอนดพับลิเคชั่น
จํากัด, 2540: 214
4. Wrigley J, Fagg M. Australian Native Plants. 4thed. National Library of Australia Cataloguing -
in - Publication Data. 1996.
-394-

เหงือกปลาหมอดอกมวง (Acanthus ilicifolius L.)


-395-

ชื่อสามัญ (Common or English name) : Sugar cane, ชูการ เคน


ชื่อไทย (Thai name) : ออย
ชื่อทองถิ่น (Local names) : กะทิ ออยขม ออยแดง ออยดํา อําโป (1,6)
ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) : Saccharum officinarum L.
ชื่อพอง (Synonyms) : -
วงศ (Family) : Poaceae (Gramineae)
INCI Name (International Nomenclature Cosmetic Ingredient) :
(Saccharum officinarum) extract (6)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร :
พืชจําพวกหญา อายุหลายป ลําตนตั้งตรง แข็งแรง มีรสหวาน สีเขียวจนถึงมวง เสนผาศูนยกลาง
3-4 ซม. สูงไดถึง 3 เมตร ใบเรียงซอนกันรูปหอกยาว เมื่อโตเต็มที่จะออกดอกเปนกระจุกหนาแนน (7)

ถิ่นกําเนิดและการแพรกระจาย :
มีถิ่นกําเนิดแถบปาปวน-มาเลเซียน และแพรกระจายในเขตโซนรอนทั่วไป (6) มีการเพาะปลูกใน
เขตรอนชื้น และเขตกึ่งรอนชื้น เชน คิวบา บราซิล จาไมกา ไฮติ ชวา และฟลิปปนส (3)

สรรพคุณพื้นบาน :
มีคุณสมบัติเย็น (cooling) บํารุงกระเพาะอาหาร ขับเสมหะ ขับปสสาวะ ลดไข ยาจีนใชน้ําออย
ในอาการไมสบายเกี่ยวกับไต มีไข ไอแหง ขาดน้ํายอย (4)
ชานออย (กากที่เหลือจากการบีบหรือหีบน้ําออยออกจากลําตนออย) มีรสจืดหวานชวยแกแผลเรื้อ
รัง แกฝอักเสบบวม (1)
ในประเทศซามัว (Sumua) ใชเถาจากใบรักษาอาการเจ็บตา และน้ําคั้นจากตนรักษาอาการ เจ็บ
คอ นอกจากนี้น้ําออยยังอุดมไปดวยวิตามินบี (7) แกปวดทอง ขับปสสาวะ (2)
กากน้ําตาลชวยระบาย บรรเทาอาการโกโนเรีย น้ําออยใชรักษาโรคมาม แกไอแหง รักษาแผล
และตาอักเสบ (1,7)

สวนที่ใช :
ลําตนและใบ (7) ชานออย (1)

องคประกอบทางเคมี :
-396-

น้ําตาลซูโคส (sucrose 15-20%) โพลีแซคคาไรด (polysaccharide) เซลลูโลส (cellulose) เฮมิ


เซลลูโลส (hemicellulose) กรดแอบไซซิค (Abscisic acid) อะพิเจนิน (apigenin) และกลัยโคไซด 5-O-
methylapigenin, arabinose, arundoin, parahydroxybenzoic acid, calcium, campesterol,
coumarin, cylindrin, orientin แ ล ะ อ นุ พั น ธ fructose, galactose, gibberellins, glucose, O-
methyllupeol, luteolin, phytosterol, potassium, schaftoside, isoschaftoside, β-sitosterol, sucrose,
invert sugar, swertiajaponin, swertissin, taraxerol, tricin, vincenin, xylox (2,5,7) น้ํ า อ อ ย(คั้ น จากลํ า
ตน) มีแซคคาโรส (12-20%) (3)

CH2OH
O HOCH2 O
OH HO
HO O CH2OH

OH OH

sucrose (5)

สารสกัด :
- Sugar cane (Saccharum officinarum) extract
- Black strap powder จากกากน้ําตาล
- Molasses extract จากกากน้ําตาล (5)

ประโยชนทางเครื่องสําอาง :
ทําความสะอาดและบํารุงผิว

ประโยชนทางยาและอื่นๆ :
มีรายงานคุณสมบัติทางชีวภาพของออย ดังนี้
- แก ป วด ขับ ป สสาวะ กระตุน ภู มิคุ มกัน ลดความดั น โลหิ ต ลดไขมั น ปกป องตั บ ต าน
อินซูลิน (7) ตานมะเร็ง ตานการติดเชื้อ
- น้ําออยสดเปนของเหลวสีเหลืองออน รสหวาน ใชผลิตน้ําตาลทราย (sucrose) ใชในอุตสาห-
กรรมอาหารและการถนอมอาหาร เชน แยม ใชในพลาสติก น้ํายาขัดเงา การหมักโปรตีน
กรดอะมิโน ยีสต เอนไซม ยาปฏิชีวนะ สเตียรอยด ไขมัน เอทานอล เอทิลีน กลีเซอรีน
และซอรบิทอล (3) sucrose จากน้ําออย ไดรับการบรรจุใน British Pharmacopoeia

ขอควรระวัง :
-397-

ยังไมพบรายงาน

เอกสารอางอิง :
1. ชยันต พิเชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ ฉบั บ
เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร พริ้น
ติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด. 2544: 685-6.
2. Dhavadee Ponglux. Medicinal Plants Exhibition Committee the 1st princess Chylathorn
Science Congress 1987 International Congress on Natural Products BKK. Thailand. Dec. 10-
13., 1987: 229.
3. Quisumbing E. Medicinal Plants of the Philippines. Katha Publishing Co., INC. 1978:
106,107.
4. Steglich W, Fugmann B, Fugmann SL. ROMPP Encyclopedia Natural Products. New York:
Georg Thieme Verlag Stutgart, 2000: 625.
5. Wenninger JA, McEwen G.N. International Cosmetic Ingredient Handbook. 3rded.
Washington: The Cosmetic, Toiletry, and Fragrance Association, Inc., 1995: 78, 639, 437,
714.
6. WHO Regional office for the western Pacific. Medicinal plants in the South pacific. WHO
Regional Publications western pacific series No. 19. 1998: 173.
-398-

ออย (Saccharum officinarum L.)


-398-

ดัชนีชื่อวิทยาศาสตร

ชื่อวิทยาศาสตร หนา ชื่อวิทยาศาสตร หนา


1. Acacia farnestana 143 26. Chamaecyparis obtusa 352
2. Acanthus illicifolius 391 27. Chrysanthemum indicum 167
3. Aleurites moluccana 300 28. Cinnamomum camphora 162
4. Allium cepa 386 29. Coffea arabica 158
5. Alpine oxyphylla 147 30. Corianderum sativum 344
6. Alstonia scholaris 272 31. Crataegus monogyna 42
7. Amomum xanthioides 325 32. Crinum asiaticum 284
8. Anacardium occidentale 304 33. Crocus sativus 98
9. Anethum graveolens 227 34. Cymbopogon citratus 210
10. Angelica acutifoba 214 35. Dioscorea hispida 154
11. Annona squamosa 236 36. Elaeis guineensis 247
12. Apium graveolens 201 37. Epilobium augustifolium 129
13. Artemisia valgaris 179 38. Equisetum arvense 46
14. Artocarpus altilis 365 39. Filipendula ulmaria 67
15. Artocarpus heterophyllus 192 40. Fragaria vesca 116
16. Avena sativa 74 41. Fucus vesiculosus 5
17. Bambusa arundinacea 256 42. Ganoderma lucidum 377
18. Belamcanda chinensis 348 43. Gaultheria procumbens 133
19. Betula alba 1 44. Gingko biloba 251
20. Boesenbergia rotunda 140 45. Gossypium hirsutum 259
21. Borago officinalis 9 46. Hedera helix 28
22. Capsicum annuum 279 47. Helicteres isora 244
23. Cassia fistula 321 48. Houttuynia cordata 288
24. Catharanthus roseus 296 49. Hydrastis canadensis 36
25. Centaurea cyanus 21 50. Hyptis suaveolens 317
-399-

ดัชนีชื่อวิทยาศาสตร (ตอ)

ชื่อวิทยาศาสตร หนา ชื่อวิทยาศาสตร หนา


51. Ipomoea batatas 309 76. Rehmannia chinensis 16
52. Iris florentine 188 77. Rheum officinale 184
53. Jatropha multifida 259 78. Rhinacanthus nasutus 224
54. Juglans regia 124 79. Ricinus communis 329
55. Lavendula angustifolia 59 80. Rosa canina 86
56. Lithospermum erythrorhizon 39 81. Rosmarinus officinalis 94
57. Lonicera japonica 369 82. Saccharum offinarum 395
58. Malva sylvestris 63 83. Sambucus nigra 24
59. Manihot esculenta 313 84. Santalum album 170
60. Mimona fenuiflora 105 85. Saxifraga sarmetosa 373
61. Musa saptentum 150 86. Scutellaria baicalensis 108
62. Nelumbo nucifera 240 87. Simmondia chinensis 55
63. Nyctanthes arbortristis 137 88. Spirulina spp. 113
64. Oenothera biennis 32 89. Stellaria media 13
65. Pandanus odoratissimus 333 90. Syzygium media 382
66. Passiflora incarnata 82 91. Tagetes erecta 206
67. Pelargonium graveolens 90 92. Terminalia bellirica 361
68. Petroselinum crispum 231 93. Terminalia chebula 356
69. Phellodendron amurense 51 94. Terminalia sericea 102
70. Phyllanthus amarus 341 95. Theobroma cacao 174
71. Piper nigrum 275 96. Trigonella foenum-graecum 336
72. Pisum sativum 220 97. Vetiveria zizanioides 268
73. Pogostemon cablin 292 98. Vigna radiata 217
74. Potentilla erecta 120 99. Viola tricolor 78
75. Pyrus germanica 71 100.Zea mays 196
-400-

ดัชนีชื่อสมุนไพร

ชื่อสมุนไพร หนา ชื่อสมุนไพร หนา


1. Birch 1 26. Saffron 98
2. Bladderwrack 5 27. Silver terminalia 102
3. Borage 9 28. Skin tree 105
4. Chickweed 13 39. Skullcap 108
5. Chinese foxglove 17 30. Spirulina 113
6. Cornflower 21 31. Strawberry 116
7. Elder 24 32. Tormentil 120
8. English Ivy 28 33. Walnut 124
9. Evening Primrose 32 34. Willow 129
10. Goldenseal 36 35. Wintergreen 133
11. Gromwell 39 36. กรรณิการ 137
12. Hawthorn 42 37. กระชาย 140
13. Horsetail 46 38. กระถินเทศ 143
14. Huangbai 51 39. กระวาน 147
15. Jojoba 55 40. กลวย 150
16. Lavender 59 41. กลอย 154
17. Mallow 63 42. กาแฟ 158
18. Meadosweet 67 43. การบูร 162
19. Medlar 71 44. เกกฮวย 167
20. Oat 74 45. แกนจันทน 170
21. Pansy 78 46. โกโก 174
22. Passion flower 82 47. โกฐจุฬาลําพา 179
23. Rose hips 86 48. โกฐน้ําเตา 184
24. Rose pelargonium 90 49. โกฐสอเทศ 188
-401-

25. Rosemary 94 50. ขนุน 192

ดัชนีชื่อสมุนไพร (ตอ)

ชื่อสมุนไพร หนา ชื่อสมุนไพร หนา


51. ขาวโพด 196 76. แพงพวยฝรั่ง 296
52. คื่นไฉ 201 77. โพธิสัตว 300
53. ดาวเรือง 206 78. มะมวงหิมพานต 304
54. ตะไคร 210 79. มันเทศ 309
55. ตังกุย 214 80. มันสําปะหลัง 313
56. ถั่วเขียว 217 81. แมงลักคา 317
57. ถั่วลันเตา 220 82. ราชพฤกษ 321
58. ทองพันชั่ง 224 83. เรว 325
59. เทียนตาตั๊กแตน 227 84. ละหุง 329
60. เทียนเยาวพานี 231 85. ลําเจียก 333
61. นอยหนา 236 86. ลูกซัด 336
62. บัวหลวง 240 87. ลูกใตใบ 341
63. ปอบิด 244 88. ลูกผักชี 344
64. ปาลมน้ํามัน 247 89. วานหางชาง 348
65. แปะกวย 251 90. สนแผง 352
66. ไผปา 256 91. สมอไทย 356
67. ฝาย 259 92. สมอพิเภก 361
68. ฝนตน 264 93. สาเก 365
69. แฝก 268 94. สายน้ําผึ้ง 369
70. พญาสัตบรรณ 272 95. หญาหูเสือ 373
71. พริกไทย 275 96. หลินจือ 377
72. พริกหยวก 279 97. หวา 382
73. พลับพลึง 284 98. หอมใหญ 386
-402-

74. พลูคาว 288 99. เหงือกปลาหมอดอกมวง 391


75. พิมเสน 292 100.ออย 395

ดัชนีสูตรโครงสราง

สูตรโครงสราง หนา

1. (1R, 4R)-(+)-camphor 164


2. morin (flavonol) 193
3. (-)- 6,9 –guaiadlene 91
4. (-)-(Z)-β-santalol 171
5. (-)-annonaine 241
6. (-)-β-hydrastine 37
7. (+)-(Z)-α-santalol 171
8. (+)-pronuciferine (miltanthin) 241
9. (1R, 4R)-2-bornanone 164
10. (2–amino–4–hydroxybutanoic acid) 221
11. (3,4-dihydroxycinnamic acid) 117
12. (3R)-(-)-form 334
13. (6a–hydroxy–3–methoxy–8, 9–methylenedioxy-pterocarpan) 221
14. (eudesmanolide) 180
15. (flavone-O-glycoside) 203, 218
16. (judaicin, tauremisin) 180
17. (n-tetracosanoic acid) 248
18. (quercetin-3-rutinoside; rutoside) 106
19. (R)-(-)- taxiphyllin 257
20. (zeaxanthol, anchocyxanthin) 198
21. 1,8-cineol (eucalyptol, cajeputol) 141
22. 10-epi-γ-eudesmol 91
23. 1-methylpyridinium-3-carboxylate 338
-403-

24. 2-aminoadipic acid 221


25. 2-aminohexanedioic acid, homoglutamic acid 221
26. 2–aminopropanoic acid 221
27. 2-hydroxybenzoic acid 68
28. 2-methoxyphenol 147
29. 3,5,7,2′,4′- pentahydroxyflavone 193
ดัชนีสูตรโครงสราง (ตอ)

สูตรโครงสราง หนา

30. 4′- prenyloxyresveratrol 366


31. acanthicifoline 392
32. agrimonin 124
33. allicin 388
34. alliin 388
35. aloe-emodin 185
36. amarin; 1,2-dihydro-α-elaterin 245
37. anacardic acid (C22H32O3) 306
38. anthraquinone 322
39. apicenin–7-apiosylglucoside 233
40. apiin (11) 233
41. apiin (C26H28O14) 203
42. apiole 233
43. apioside 233
44. ardisic acid B 374
45. arteglasin A 168
46. auric acid 248
47. baicalin 110
48. benzyl alcohol 144
49. berberine 52
50. bergapten 215
-404-

51. bergenin 374


52. betulin (C30H50O2) 2
53. bilobalid 253
54. borneol 326
55. caffeic acid 117
56. caffeine, C8H10N2O2 159
57. capsaicin 280
58. cardol (C21H32O2) 306
59. carvol 228
ดัชนีสูตรโครงสราง (ตอ)

สูตรโครงสราง หนา

60. carvone 228


61. catapol (iridoid glucoside) 19
62. chlorophyll a 114
63. chrysophanol 185
64. chrysophanol, chrysophanic acid 322
65. cis-9-hexadecenoic acid 248
66. cis-hinokiresinol 353
67. citral a 211
68. citral b 211
69. coniferin 353
70. coriandrol 345
71. corilagin 342
72. crinasiadine 285
73. crinasiatine 285
74. crocetin 99
75. crocetin 99
76. crocin 99
77. crocin 99
-405-

78. cucurbitacin B 245


79. cyanin (cyanidin 3,5-di-O-glucoside) 22
80. diallylsulfide 388
81. dimeric procyanidin B-2 (epicatechin-4β-8′-epicatechin) 43
82. dioscorine 155
83. d-linalool 345
84. dodecanoic acid 248
85. ellagic acid 362, 383
86. falcarinol (C17H24O) 30
87. fucoidan 6
88. furanosesquiterpene 310
89. gallontannin 342
ดัชนีสูตรโครงสราง (ตอ)

สูตรโครงสราง หนา

90. gallotannin 103, 130


91. gamma-linolenic acid (GLA) 33
92. ganoderic acid A 378
93. ganoderic acid B 378
94. ganoderic acid T 379
95. ganoderiol F 379
96. geraniol 91, 345
97. ginkgolide A 252
98. ginkgolide B 252
99. ginkgolide C 252
100. ginkgolide J 252
101. gossypol 261
102. guaiacol 147
103. guaianolide 168
104. harman 83
-406-

105. harmine 83
106. hederasaponin C 29
107. homoserine 221
108. hyperoside, hyperin หรือ quercetin-3-galactoside 68
109. iridin 349
110. iridine (isoflavone-O-glucoside) 189
111. irigenin 349
112. isatin 221
113. isovalencenol (C15H24O) 269
114. isovitexin (apigenin-6-C-glucoside) 83
115. isowillardiine 220
116. juglone 126
117. khusimol (C15H24O) 269
118. L-djenkolic acid 144
119. lignoceric acid 248
ดัชนีสูตรโครงสราง (ตอ)

สูตรโครงสราง หนา

120. limonene 345


121. linalool 60
122. linalyl acetate 60
123. linamarin (C10H17N6) 314
124. lithospermic acid 40
125. loganin (iridoid glucoside) 138
126. lpomeamarone 310
127. lutein (xanthophyll) 209
128. luteolin 370
129. lycopene (Ψ, Ψ-carotene), C40H56 87
130. lycorine 285
131. malvidin 64
-407-

132. malvin 64
133. menthol 318
134. methyl salicylate 134
135. mevalonic acid 71
136. multifidin 265
137. myristic acid 248
138. palmitoleic acid 248
139. palustrine, C17H31N3O2 48
140. patchouli alcohol 293
141. pentagalloyl-β-D-glucose 103, 130
142. piperine 275
143. pisatin 221
144. quercetagetin (flavonol) 209
145. quercetin 289
146. rhein 185
147. rhinacanthin D 225
148. riboflavin 151
149. ricinolic acid 330
ดัชนีสูตรโครงสราง (ตอ)

สูตรโครงสราง หนา

150. robinin 218


151. rosmarinic acid (C18H16O8) 95
152. rutin (quercetin-3-rutinoside) 13
153. rutin (quercetin-3-rutinoside; rutoside) 106
154. salicylic acid 68
155. sambunigrin 25
156. scopoletin 215
157. sesanenolide 203
158. sinapic acid 257
-408-

159. squamocin 237


160. sucrose 396
161. tetradecanoic acid 248
162. tetrahydroalstonin 273
163. theobromine 176
164. trigonelline (C7H7NO2) 338
165. vinblastine 297
166. vincristine 297
167. violaxanthin 79
168. vitamin B2 151
169. vulgarin 180
170. zeaxanthin 198
171. ∆5 – avenasterol (29-isofucosterol) 75
172. α - terthienyl 209
173. α- eleostearic acid 301
174. α-carotene ((6′R)-β, ε-carotene) 248
175. α-pinene 345
176. α-vetivone 269
177. β-butylphthalide 203
178. β-carotene 310
ดัชนีสูตรโครงสราง (ตอ)

สูตรโครงสราง หนา

179. β-linalool (linalool) 334


180. γ-linolenic acid 10

You might also like