You are on page 1of 13

คําอธิบายรายวิชา

รายวิชา ค 32101 คณิตศาสตรพื้นฐาน 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2


จํานวนเวลา 120 ชั่วโมง

ศึกษา ฝกทักษะการคิดคํานวณ และฝกการแกปญหาในสาระตอไปนี้


อัตราสวนและรอยละ อัตราสวน สัดสวน รอยละ การใชความรูเกี่ยวกับอัตราสวน สัดสวน
และรอยละในการแกปญหา
การวัด หนวยความยาว พื้นที่ การเปรียบเทียบหนวยความยาวและพื้นที่ในระบบเดียวกัน
และตางระบบ การเลือกใชหนวยการวัด การคาดคะเน ขนาด น้ําหนัก การใชความรูเกี่ยวกับพืน้ ทีแ่ ก
โจทยปญหา
แผนภูมิรูปวงกลม การอานแผนภูมิรูปวงกลม การเขียนแผนภูมิรูปวงกลม การนําเสนอ
ขอมูลโดยใชแผนภูมิรูปวงกลม
การแปลงทางเรขาคณิต การเลื่อนขนาน การสะทอน การหมุน สมบัติเกี่ยวกับการเลื่อน
ขนาน การสะทอนและการหมุน พิกัดของรูปเรขาคณิตที่เกิดจากการเลื่อนขนาน การสะทอนและ
การหมุน
ความเทากันทุกประการ ความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม รูปสามเหลี่ยมสองรูป
ที่สัมพันธกันแบบ ดาน–มุม–ดาน แบบ มุม–ดาน–มุม และแบบ ดาน–ดาน–ดาน
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับจํานวนจริง จํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะ การหารากที่สอง
รากที่สาม ความสัมพันธของการยกกําลังและการหารากของจํานวนเต็ม ความเกี่ยวของระหวาง
จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะและจํานวนอตรรกยะ
ทฤษฎีบ ทพี ท าโกรั ส ทฤษฎี บทพี ท าโกรั ส บทกลั บ ของทฤษฎีบ ทพี ท าโกรัส และการ
นําไปใช
เสนขนาน เสนขนาน สมบัติของเสนขนาน รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ มุม–
มุม–ดาน การใหเหตุผลและแกปญหาโดยใชสมบัติของเสนขนานและความเทากันทุกประการของ
รูปสามเหลี่ยม
การประยุกตของสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว การแกสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว การแก
โจทยสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว
โดยการจัดประสบการณหรือสรางสถานการณในชีวิตประจําวันที่ใกลตัวใหผูเรียนได
ศึกษาคนควาโดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุปรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิด
คํานวณการแกปญหาการใหเหตุผลการสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและนําประสบการณดาน
ความรู ความคิด ทักษะกระบวนการที่ไดไปใชในการเรียนรูสิ่งตาง ๆ และใชในชีวิตประจําวันอยาง
สร า งสรรค รวมทั้ง เห็ น คุ ณ ค าและมี เ จตคติ ที่ดี ตอ คณิ ต ศาสตร สามารถทํ า งานอย า งเป น ระบบ
ระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง
การวัดและประเมินผล ใชวิธีการที่หลากหลายตามสภาพความเปนจริงใหสอดคลองกับ
เนื้อหาและทักษะที่ตองการวัด
หนวยการเรียนรู

รายวิชา ค 32101 คณิตศาสตรพื้นฐาน 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2


จํานวนหนวยการเรียนรู 9 หนวย จํานวนเวลา 120 ชั่วโมง
หนวยการเรียนรู ชื่อหนวยการเรียนรู / หนวยยอยการเรียนรู จํานวนชั่วโมง
1 • อัตราสวนและรอยละ 18
- ความหมายของอัตราสวน 3
- อัตราสวนที่เทากัน 1
- สัดสวน 3
- รอยละ 4
- การใชความรูเกี่ยวกับอัตราสวน สัดสวน และ 7
รอยละแกปญหา
2 • การวัด 9
- การเปรียบเทียบหนวยความยาวและพื้นที่ 2
- การเลือกใชหนวยการวัด 1
- การคาดคะเน ขนาด น้ําหนัก 3
- การใชความรูเกี่ยวกับพื้นที่แกโจทยปญหา 3
3 • แผนภูมิรูปวงกลม 6
- การอานแผนภูมิรูปวงกลม 3
- การนําเสนอขอมูลโดยใชแผนภูมิรูปวงกลม 3
4 • การแปลงทางเรขาคณิต 11
- การเลื่อนขนาน 2
- การสะทอน 2
- การหมุน 2
- สมบัติเกี่ยวกับการเลื่อนขนาน การสะทอนและ 4
การหมุน
- พิกัดของรูปเรขาคณิต ที่เกิดจากการเลื่อนขนาน 1
การสะทอนและการหมุน
หนวยการเรียนรู ชื่อหนวยการเรียนรู / หนวยยอยการเรียนรู จํานวนชั่วโมง
5 • ความเทากันทุกประการ 17
- ความเทากันทุประการ 2
- ความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม 3
- รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ 4
ดาน – มุม – ดาน
- รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ 4
มุม – ดาน – มุม
- รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ 4
ดาน – ดาน – ดาน
6 • ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับจํานวนจริง 16
- การเขียนเศษสวนในรูปทศนิยมซ้ําและเขียน 2
ทศนิยมซ้ําในรูปเศษสวน
- จํานวนตรรกยะ 2
- จํานวนอตรรกยะ 3
- ความเกี่ยวของระหวางจํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ 1
และจํานวนอตรรกยะ
- รากที่สอง 4
- รากที่สาม 4
7 • ทฤษฎีบทพีทาโกรัส 15
- ทฤษฎีบทของพีทาโกรัส 4
- บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส 4
- การนําไปใช 7
8 • เสนขนาน 15
- เสนขนานและสมบัติของเสนขนาน 5
- รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ 5
มุม–มุม–ดาน
- การใหเหตุผลและแกปญหาโดยใชสมบัติของเสน 8
ขนานและความเทากันทุกประการของรูป
สามเหลี่ยม
หนวยการเรียนรู ชื่อหนวยการเรียนรู / หนวยยอยการเรียนรู จํานวนชั่วโมง
9 • การประยุกตของสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว 13
- การแกสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว 3
- ประโยคภาษาและประโยคสัญลักษณ 4
- โจทยสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว 6

หมายเหตุ ใชเวลาเรียน 3 ชั่วโมงตอสัปดาหตอภาค


เวลาที่กําหนดไวในหนวยการเรียนไดรวมเวลาที่ใชในการทดสอบไวดวยแลว
ทั้งนี้ครูอาจปรับเวลาไดตามความเหมาะสม
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

รายวิชา ค 32101 คณิตศาสตรพื้นฐาน 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2


จํานวนเวลา 120 ชั่วโมง

หนวยการเรียนรูที่ 1 ชื่อหนวยการเรียนรู : อัตราสวนและรอยละ


1. ใชความรูเกี่ยวกับอัตราสวน สัดสวน และรอยละในสถานการณตาง ๆ รวมทั้ง
แกปญหาเกี่ยวกับความนาจะเปนได
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได

หนวยการเรียนรูที่ 2 ชื่อหนวยการเรียนรู : การวัด


1. เปรียบเทียบหนวยความยาว พื้นที่ ในระบบเดียวกันและตางระบบได
2. เลือกใชหนวยการวัดเกี่ยวกับความยาวและพื้นที่ไดอยางเหมาะสม
3. ใชความรูเกี่ยวกับพื้นที่แกปญหาในสถานการณตาง ๆ ได
4. คาดคะเน เวลา ระยะทาง ขนาด และน้ําหนักของสิ่งที่กําหนดใหไดอยางใกลเคียง และ
สามารถอธิบายวิธีการที่ใชคาดคะเนได
5. ใชการคาดคะเนเกี่ยวกับการวัดในสถานการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม

หนวยการเรียนรูที่ 3 ชื่อหนวยการเรียนรู : แผนภูมิรูปวงกลม


1. อานและนําเสนอขอมูลโดยใชแผนภูมิรูปวงกลมได

หนวยการเรียนรูที่ 4 ชื่อหนวยการเรียนรู : การแปลงทางเรขาคณิต


1. วิเคราะหและอธิบายความสัมพันธระหวางรูปตนแบบและรูปที่ไดจากการเลื่อนขนาน
การสะทอน และการหมุนได
2. นําสมบัติเกี่ยวกับการเลื่อนขนาน การสะทอน และการหมุนไปใชได
3. บอกพิกัดของรูปเรขาคณิตที่เกิดขึ้นจาก การเลื่อนขนาน การสะทอน และการหมุนบน
ระนาบพิกัดฉากได
หนวยการเรียนรูที่ 5 ชื่อหนวยการเรียนรู : ความเทากันทุกประการ
1. ระบุดานและมุมคูที่มีขนาดเทากันของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่เทากันทุกประการได
2. ระบุไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธกันแบบ ดาน–มุม–ดาน เทากันทุก
ประการ
3. ระบุไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธกันแบบ มุม–ดาน–มุม เทากันทุก
ประการ
4. ระบุไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธกันแบบ ดาน–ดาน–ดาน เทากันทุก
ประการ
5. ใชสมบัติของความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมในการใหเหตุผลได

หนวยการเรียนรูที่ 6 ชื่อหนวยการเรียนรู : ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับจํานวนจริง


1. เขียนเศษสวนในรูปทศนิยมซ้ําและเขียนทศนิยมซ้ําในรูปเศษสวนได
2. ระบุหรือยกตัวอยางจํานวนจริง จํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะได
3. บอกความเกี่ยวของระหวางจํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะได
4. อธิบายและระบุรากที่สองและรากที่สามของจํานวนจริงได
5. หารากที่สองและรากที่สามของจํานวนเต็มที่กําหนดใหโดยการแยกตัวประกอบ และ
นําไปใชแกปญหาได
6. หารากที่สองและรากที่สามของจํานวนจริงที่กําหนดใหโดยการประมาณ การเปด
ตาราง หรือการใชเครื่องคํานวณ และนําไปใชแกปญหาได
7. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการหารากที่สองและรากที่สามของจํานวนเต็มและจํานวน
ตรรกยะได
8. บอกความสัมพันธของการยกกําลังและการหารากของจํานวนเต็มและจํานวนตรรกยะ
ได
9. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดจากการคํานวณและการแกปญหา

หนวยการเรียนรูที่ 7 ชื่อหนวยการเรียนรู : ทฤษฎีบทพีทาโกรัส


1. อธิบายความสัมพันธตามทฤษฎีบทพีทาโกรัสได
2. ใชทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการใหเหตุผลและแกปญหาได
หนวยการเรียนรูที่ 8 ชื่อหนวยการเรียนรู : เสนขนาน
1. บอกสมบัติของเสนขนาน และบอกเงื่อนไขที่ทําใหเสนตรงสองเสนขนานกันได
2. ระบุไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธกันแบบ มุม–มุม–ดาน เทากันทุก
ประการ
3. ใชสมบัติเกี่ยวกับเสนขนานและความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมในการให
เหตุผลและแกปญหาได

หนวยการเรียนรูที่ 9 ชื่อหนวยการเรียนรู : การประยุกตของสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว


1. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวได
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดในสถานการณตาง ๆ
จุดประสงคการเรียนรู

กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร สาระการเรียนรู พื้นฐาน


รายวิชา คณิตศาสตรพื้นฐาน 2 รหัสวิชา ค 32101
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 จํานวนเวลา 120 ชั่วโมง

หนวยการเรียนรูที่ 1 อัตราสวนและรอยละ
นักเรียนสามารถ
1. เขียนอัตราสวนแทนการเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณที่กําหนดใหได
2. หาอัตราสวนที่เทากับอัตราสวนที่กําหนดใหได
3. ตรวจสอบวาอัตราสวนที่กําหนดให เปนอัตราสวนที่เทากันหรือไม
4. เขียนอัตราสวนของจํานวนหลาย ๆ จํานวน แทนการเปรียบเทียบปริมาณหลายปริมาณ
ที่กําหนดใหได
5. หาจํานวนที่แทนดวยตัวแปรในสัดสวนที่กําหนดให
6. แกโจทยปญหาสัดสวนได
7. เขียนอัตราสวนใหอยูในรูปรอยละได
8. เขียนรอยละใหอยูในรูปอัตราสวนได
9. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับรอยละได
10. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได

หนวยการเรียนรูที่ 2 การวัด
นักเรียนสามารถ
1. เพื่อใหนักเรียนตระหนักวาคาที่ไดจากการวัดนั้นเปนคาประมาณ และเขาใจแนวคิด
เกี่ยวกับการคาดคะเน
2. เปรียบเทียบหนวยการวัดความยาว พื้นที่ การวัดปริมาตรน้ําหนัก และเวลา ในระบบ
เดียวกันและตางระบบได
3. เลือกใชหนวยการวัดเกี่ยวกับความยาว พื้นที่ การวัดปริมาตรและน้ําหนัก ไดอยาง
เหมาะสม
4. คาดคะเนความยาว พื้นที่ การวัดปริมาตร น้ําหนัก และเวลา ของสิ่งที่กําหนดใหได
อยางใกลเคียง และสามารถอธิบายวิธีการที่ใชคาดคะเนได
5. ใชการคาดคะเนเกี่ยวกับการวัดความยาว พื้นที่ การวัดปริมาตร น้ําหนัก และเวลาใน
สถานการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม

หนวยการเรียนรูที่ 3 แผนภูมิรูปวงกลม
นักเรียนสามารถ
1. อานขอมูลจากแผนภูมิรูปวงกลมได
2. เขียนแผนภูมิรูปวงกลมได

หนวยการเรียนรูที่ 4 การแปลงทางเรขาคณิต
นักเรียนสามารถ
1. บอกความหมายและสมบัติของการเลื่อนขนาน การสะทอน และการหมุนบนระนาบ
ได
2. หาภาพที่ไดจากการเลื่อนขนาน การสะทอน และการหมุนรูปตนแบบได
3. หาเวกเตอรของการเลื่อนขนานเมื่อกําหนดรูปตนแบบและภาพที่ไ ดจากการเลื่อน
ขนานได
4. บอกพิกัดของภาพที่ไดจากการเลื่อนขนาน การสะทอน และการหมุนของรูปตนแบบที่
กําหนดใหได
5. เมื่อกําหนดรูปเรขาคณิตสองรูปที่แสดงการแปลงทางเรขาคณิตให สามารถบอกไดวา
รูปคูใดแสดงการเลื่อนขนาน การสะทอน และการหมุน
6. ใชความรูเกี่ยวกับการเลื่อนขนาน การสะทอน และการหมุนแกปญหาได
7. หาเสนสะทอนของการสะทอนเมื่อกําหนดรูปตนแบบและภาพที่ไดจากการสะทอนได
8. หาจุดหมุน ขนาดของมุมที่เกิดจากการหมุน บอกทิศทางการหมุนเมื่อกําหนดรูป
ตนแบบและภาพที่ไดจากการหมุนได
หนวยการเรียนรูที่ 5 ความเทากันทุกประการ
นักเรียนสามารถ
1. บอกเงื่อนไขที่ทําใหรูปเรขาคณิตสองรูปเทากันทุกประการได
2. บอกสมบัติของความเทากันทุกประการได
3. บอกไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปเทากันทุกประการ ก็ตอเมื่อ ดานคูที่สมนัยกันและมุมคู
ที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมทั้งสองรูปนั้น มีขนาดเทากันเปนคู ๆ
4. บอกดานคูที่ยาวเทากันและมุมคูที่มีขนาดเทากันของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่เทากันทุก
ประการได
5. บอกไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธกันแบบ ดาน–มุม–ดาน มุม–ดาน–มุม
และดาน–ดาน–ดาน เทากันทุกประการ
6. นําสมบัติของความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ
ดาน – มุม – ดาน มุม–ดาน–มุม และดาน–ดาน–ดาน ไปใชอางอิงในการพิสูจน
7. บอกสมบัติของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วได
8. นําสมบัติของความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบใด
แบบหนึ่งคือ ดาน – มุม – ดาน มุม – ดาน – มุม และดาน – ดาน – ดาน ไปใชอางอิงใน
การพิสูจนและแกปญหาได

หนวยการเรียนรูที่ 6 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับจํานวนจริง
นักเรียนสามารถ
1. เขียนเศษสวนในรูปทศนิยมซ้ําและเขียนทศนิยมซ้ําในรูปเศษสวนได
2. บอกไดวาทศนิยมที่กําหนดใหเปนทศนิยมซ้ําหรือไม
3. บอกไดวาจํานวนที่กําหนดใหเปนจํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะหรือไม
4. ยกตัวอยางจํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะได
5. บอกความเกี่ยวของระหวางจํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะได
6. อธิบายความหมายของรากที่สองและรากที่สามของจํานวนจริงบวกหรือศูนยได
7. อานและใชสัญลักษณ และ 3 ไดถูกตอง
8. อธิบายความสัมพันธของการยกกําลังสองและการหารากที่สอง การยกกําลังสามและ
การหารากที่สามของจํานวนจริงบวกหรือศูนยได
9. หารากที่สองและรากที่สามของจํานวนจริงที่กําหนดใหโดยการประมาณ การเปดตา
ราง หรือการใชเครื่องคํานวณ และนําไปใชแกปญหาได
10. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการหารากที่สองของจํานวนจริงบวกหรือศูนยได
11. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการหารากที่สามของจํานวนจริงได

หนวยการเรียนรูที่ 7 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
นักเรียนสามารถ
1. เขียนสมการแสดงความสัมพันธระหวางความยาวของดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยม
มุมฉาก
2. นําความสัมพันธระหวางความยาวของดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากไปใชใน
การแกปญหา
3. เขียนความสัมพันธของพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุม
ฉากตามทฤษฎีบทพีทาโกรัสได
4. หาความยาวของดานใดดานหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก เมื่อกําหนดความยาวของ
ดานสองดานใหโดยใชทฤษฎีบทพีทาโกรัสได
5. เขียนบทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัสได
6. นําทฤษฎีบทและบทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัสมาใชในการแกปญหาได

หนวยการเรียนรูที่ 8 เสนขนาน
นักเรียนสามารถ
1. บอกบทนิยามของเสนขนานได
2. บอกไดวา ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน แลวระยะหางระหวางเสนตรงคูนั้นจะเทากัน
เสมอ
3. บอกไดวา ถาเสนตรงสองเสนมีระยะหางระหวางเสนตรงเทากันเสมอ แลวเสนตรงคู
นั้นจะขนานกัน
4. บอกไดวา มุมคูใดเปนมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัด เมื่อกําหนดใหเสน
ตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง
5. บอกไดวา เมื่อเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง เสนตรงคูนั้นขนานกัน ก็ตอเมื่อ
ขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัดรวมกันเทากับ 180 องศา และนํา
สมบัตินี้ไปใชได
6. บอกไดวามุมคูใดเปนมุมแยง เมื่อกําหนดใหเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง
7. บอกไดวาเมื่อเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง เสนตรงคูนั้นขนานกัน ก็ตอเมื่อ มุม
แยงมีขนาดเทากัน และนําสมบัตินี้ไปใชได
8. บอกไดวา มุมคูใดเปนมุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของ
เสนตัด เมื่อกําหนดใหเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง
9. บอกไดวา เมื่อเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง เสนตรงคูนั้นขนานกัน ก็ตอเมื่อมุม
ภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน และนํา
สมบัตินี้ไปใชได
10. บอกไดวา ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180 องศา
และนําสมบัตินี้ไปใชได
11. บอกไดวา ถาตอดานใดดานหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมออกไป มุมภายนอกที่เกิดขึ้นจะมี
ขนาดเทากับผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไมใชมุมประชิดของมุมภายนอกนั้น
และนําสมบัตินี้ไปใชได
12. บอกไดวา รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธกันแบบ มุม – มุม – ดานเทากันทุก
ประการและนําสมบัตินี้ไปใชได
13. ใชสมบัติเกี่ยวกับเสนขนานและความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมในการให
เหตุผลและแกปญหาได

หนวยการเรียนรูที่ 9 การประยุกตของสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว
นักเรียนสามารถ
1. บอกสมบัติของการเทากันได
2. แกสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวโดยใชสมบัติของการเทากันได
3. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวได
4. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได

You might also like