You are on page 1of 62

ชื่องานวิจัย :: - ความขัดแยงและการประสานประโยชนทางการเมืองและเศรษฐกิจ

ระหวางประเทศ
- สงครามเย็นและความเปลี่ยนแปลงหลังสงครามเย็น

คณะผูวิจัย
1. นางสาว พิชชาภา วงศวรเจริญ ชั้น ม.6.5 เลขที่ 19
2. นางสาว นันทรัตน เต็มโชคทวีทรัพย ชั้น ม.6.5 เลขที่ 33
3. นางสาว เบญจพร ลอเหล็กเพชร ชัน้ ม.6.5 เลขที่ 35
4. นางสาว เปมิกา คายกนกวงศ ชั้น ม.6.5 เลขที่ 36
5. นางสาว สิริภัทธ จิรปฐมสกุล ชัน้ ม.6.5 เลขที่ 42
6. นางสาว ณัฐติยา อภิสิทธินนั ทกุล ชั้น ม.6.5 เลขที่ 46

ที่ปรึกษา
อาจารย ปรางคสุวรรณ ศักดิ์โสภณกุล

เสนอตอโรงเรียนสตรีวิทยา
เพื่อเปนสวนหนึ่งของการเรียน 8 กลุม สาระการเรียนรู ภาคเรียนที่ 1/2551
บทคัดยอ
บทคัดยองานวิจัยแบบบูรณาการ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6.5 โรงเรียนสตรีวิทยา
กรกฎาคม 2551 เรื่อง ความขัดแยงและการประสานประโยชนทางการเมือง และ
เศรษฐกิจ , สงครามเย็นและความเปลี่ยนแปลงหลังสงครามเย็น

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเรื่อง ความขัดแยงและการประสานประโยชนทาง
การเมือง และเศรษฐกิจ , สงครามเย็นและความเปลี่ยนแปลงหลังสงครามเย็น และบูรณา
การกับ 8 กลุม สาระการเรียนรู คือ วิชาภาษาไทย , ภาษาตางประเทศ , วิทยาศาสตร,
คณิตศาสตร , สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม , สุขศึกษาและพลศึกษา , การงาน
อาชีพและเทคโนโลยี และศิลปะ เครื่องมือที่ใชเก็บรวบรวมขอมูล คือ หนังสือเรียนวิชา
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตัวแปรตน คือ ความขัดแยงและการประสาน
ประโยชนทางการเมือง และเศรษฐกิจ , สงครามเย็นและความเปลี่ยนแปลงหลังสงคราม
เย็น ตัวแปรตาม คือ สาเหตุของความขัดแยง การแกไขความขัดแยง การประสาน
ประโยชน สงครามเย็น ค.ศ. 1945-1991 ความรวมมือทางดานการเมืองและเศรษฐกิจ
การกอตั้งองคการสหภาพยุโรป ความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและเศรษฐกิจหลัง
สงครามเย็น
Abstract
Intregrate reseacch of mathayom 6.5 Satriwithaya school
Article : Conflict and coorperation in politic and internatiomal economy cold war and
post cold war change.
The purposes of this research were to study in conflict and coorperation in
politic and internatiomal economy cold war and post cold war change and to intregrate
8 subject groups together. The instrument was a social religion culture book. The
independent variables were conflict and coorperation in politic and internatiomal
economy cold war and post cold war change. The dependent variables were the cause
of conflict , solution of conflict and coorperation in 1945-1991 CE cold war ,
cooperation in politic and economy , EU establishment and cold war and post cold
war politics , economy change.
คํานํา
ราบยงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของวิชา ส43105 สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม ทางคณะผูจัดทําของขาพเจาไดรวบรวมและทําการวิจัยเรื่อง ความขัดแยง
และการประสานประโยชนทางการเมือง และเศรษฐกิจ , สงครามเย็นและความ
เปลี่ยนแปลงหลังสงครามเย็น ผานสื่อการเรียนรู E-Book ซึ่งเปนสื่อการเรียนรูปแบบ
ใหม ภายในเนื้อหาจะประกอบดวย ประวัติความเปนมา สภาพบานเมืองหลังสงครามใน
สมัยนั้น รวมทั้งผลกระทบที่ตามมาดวย ทางคณะผูจัดทําหวังวารายงานฉบับนี้จะเปน
ประโยชนตอ ผูที่สนใจที่จะศึกษาเรื่อง ความขัดแยงและการประสานประโยชนทาง
การเมือง และเศรษฐกิจ , สงครามเย็นและความเปลี่ยนแปลงหลังสงครามเย็น ไมมากก็
นอย

หากมีขอผิดพลาดประการใด ทางคณะผูจัดทําขออภัยมา ณ ที่นี่ดวย

คณะผูจัดทํา
บทที่ 1
บทนํา
ความเปนมา
เนื่องจากทางคณะผูจัดทําเห็นวาความขัดแยงและการประสานประโยชนทาง
การเมืองและเศรษฐกิจระหวางประเทศ เปนเรื่องที่มีความคลายคลึงกับความขัดแยง
ทางการเมืองและเศรษฐกิจของประเทศไทย จึงมีความสนใจที่จะศึกษา โดยเริ่มตน
ดวยการศึกษาหาสาเหตุของความขัดแยง ซึ่งอาจมาจากมนุษยมีพนื้ ฐานที่แตกตางกัน
ทั้งดานเชื้อชาติ สิ่งแวดลอม ความเชื่อ และวัฒนธรรมประเพณี ความขัดแยงนี้
บางครั้งถึงขัน้ ใชกําลังจนกลายเปนสงคราม แตมนุษยจําเปนตองอยูในโลกรวมกัน
จึงตองมีการประนีประนอม แกไขความขัดแยง เพื่อผลประโยชนสวนรวมและมีการ
ประสานประโยชนระหวางกันขึ้น
นอกจากเรื่องความขัดแยงและการประสานประโยชนทางการเมืองและ
เศรษฐกิจระหวางประเทศแลว คณะผูจัดทํายังมีความสนใจเกี่ยวกับเรื่องหลังจากที่
สงครามโลกครั้งที่ 2 ไดยุติลงวาสังคมโลกจึงเกิดการเปลี่ยนแปลงไปอยางไรบาง
เกิดความแตกแยกจนกลายเปนการตอสูกันในรูปของสงครามเย็นในดานใดบาง ซึ่ง
ทางคณะผูจดั ทําเห็นวามีประโยชนมากตอการเรียนวิชาประวัติศาสตรในชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 6 และอาจนําขอคิดที่ไดจากการศึกษาเรื่องดังกลาวนี้มาประยุกตใช
ในอนาคตได
วัตถุประสงคของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาความขัดแยงและการประสานประโยชนทางการเมืองและเศรษฐกิจ
ระหวางประเทศในอดีต
2. เพื่อศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับสงครามเย็นและความเปลี่ยนแปลงหลังสงครามเย็น
3. เพื่อบูรณาการ 8 กลุมสาระการเรียนรู คือ วิชาภาษาไทย , ภาษาตางประเทศ ,
วิทยาศาสตร , คณิตศาสตร , สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ,
สุขศึกษาและพลศึกษา , การงานอาชีพและเทคโนโลยี , ศิลปศึกษา
นิยามศัพทเฉพาะ
อุดมการณ
ความเชื่อหรือแนวความคิดที่ถือวาเปนมาตรฐานแหงความจริงทางใดทางหนึ่งที่
มนุษยถือวาเปนเปาหมายแหงชีวิตของตน

ลัทธิการเมืองแบบอํานาจนิยม
ลัทธิการเมืองที่เนนถึงอํานาจของรัฐเปนสําคัญและใหความสําคัญตอเสรีภาพ
ของบุคคลนอย

ลัทธิการเมืองแบบเสรีนิยม
ลัทธิการเมืองที่เนนถึงเสรีภาพของแตละบุคคลในการดําเนินกิจกรรมตางๆ โดย
ที่รัฐมีอํานาจอยางจํากัด

ระบอบประชาธิปไตย
การปกครองโดยประชาชน ซึ่งอาจเปนโดยทางตรงคือ ใหราษฎรทุกคนมาออก
เสียงลงมติ หรืออาจใชทางออม โดยผานทางผูแทนราษฎร

ระบอบเผด็จการ
การปกครองที่อํานาจเปนหลักเกณฑสําคัญ รัฐบาลจะเขาควบคุมสิทธิและ
เสรีภาพทางการเมืองของประชาชน และไมยอมใหประชาชนเขามีสวนรวม
ทางการเมือง

ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม
เอกชนจะเปนผูมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินตางๆที่หามาไดตามกฎหมาย มีอิสระที่
จะดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตางๆ
ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม
ระบบเศรษฐกิจที่รัฐบาลมีกรรมสิทธิ์หรือเปนเจาของปจจัยการผลิตที่มีอยูใน
ระบบเศรษฐกิจ

ระบบเศรษฐกิจแบบผสม
ระบบเศรษฐกิจที่มีลักษณะสวนหนึ่งเปนแบบเสรีนิยม อีกสวนหนึ่งเปนแบบ
สังคมนิยม

สันติวิธี
เปนการแกไขความขัดแยงที่ตองการรักษาความสงบใหเกิดขึ้นแกคูกรณี โดยไม
ใชกําลังเขาประหัตประหารกัน

สงครามจํากัดของเขต
เปนการใชกําลังเขาบังคับเพื่อคลี่คลายปญหาความขัดแยง โดยมีจุดประสงค
เพียงเพื่อใหฝายตรงกันขามปฏิบัติตามนโยบายของตนและใหเกิดความเสียหาย
นอยสุด

สงครามเบ็ดเสร็จ
เปนสงครามเพื่อสรางความยิ่งใหญใหกับตนเองโดยการเขาไปทําลายลางระบบ
ของฝายตรงกันขามและครอบครองดินแดนนั้นไว

การประสานประโยชน
การรวมมือเพื่อรักษาและปกปองผลประโยชนของตนและเปนการระงับกรณี
ความขัดแยงที่มาจากการแขงขันทางการเมืองและเศรษฐกิจระหวางประเทศ
สงครามเย็น
ความขัดแยงทางอุดมการณทางการเมืองของสองอภิมหาอํานาจ คือ
สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตพรอมดวยประเทศพันธมิตรของทั้งสองฝาย
ซึ่งเกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนการชวงชิงกันในดานการเมือง
เศรษฐกิจและการโฆษณาชวนเชื่อโดยไมใชกําลังทหารและอาวุธมา
ประหัตประหารกัน

วิกฤตการณคิวบา
ถือเปนเหตุการณการเผชิญหนาระหวางสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตครั้งที่
รายแรงที่สุดครั้งหนึ่งเพราะเหตุการณดังกลาวเกือบนําไปสูสงครามนิวเคลียร
ระหวางชาติมหาอํานาจทั้งสอง

องคการสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ หรือ นาโต


เปนสนธิสญ
ั ญาทางการทหารของคายตะวันตกหรือคายเสรีประชาธิปไตย

องคการสนธิสัญญาวอรซอหรือ กติกาสัญญาวอรซอ
เปนองคการความรวมมือทางการทหารของคายคอมมิวนิสตซึ่งอยูในภูมิภาค
ยุโรปตะวันออกโดยมีสหภาพโซเวียตเปนผูนําและมีสมาชิกทั้งหมดรวม 8
ประเทศ

องคการคาโลก
เกิดจากประเทศสมาชิก 85 ประเทศ เปนขอตกลงทั่วไปเกี่ยวกับอัตราภาษี
ศุลกากรและการคา
องคการประเทศผูสงน้ํามันดิบ หรือโอเปก
เปนองคการระหวางประเทศที่จัดตั้งเพื่อความรวมมือดานนโยบายน้ํามันและ
ชวยเหลือดานเศรษฐกิจ

สหภาพยุโรป หรือ อียู


เปนสนธิสญ
ั ญาทางเศรษฐกิจของกลุมประทศยุโรปตะวันตก เพื่อประสาน
ประโยชนทางการผลิตและการคาระหวางประเทศสมาชิก

สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรือ อาเซียน


เปนองคการทางเศรษฐกิจของกลุมประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่ตองการ
ประสบความสําเร็จทางดานเศรษฐกิจเชนเดียวกับประเทศที่พัฒนาแลว

สมาคมการคาเสรียุโรป หรือ เอฟตา


เปนการรวมตัวทางเศรษฐกิจของประเทศในยุโรปตะวันตกที่ไมพอใจตอการ
ดําเนินงานของสหภาพยุโรปและมีจุดประสงคคลายคลึงกับสหภาพยุโรป

เขตการคาเสรี หรือ ขอตกลงเขตการคาเสรี


เปนการทําขอตกลงระหวางกันใหเหลือนอยที่สุดและเพือ่ ใหการคาขายเปนไป
อยางเสรีและมีประสิทธิภาพ

ขอบเขตของการวิจัย
ศึกษาเรื่องความขัดแยงและการประสานประโยชนทางการเมืองและ
เศรษฐกิจระหวางประเทศ , สงครามเย็นและความเปลี่ยนแปลงหลังสงคราม
เย็น เปนระยะเวลา 3 เดือน
ตัวแปร
- ตัวแปรตน
1.ความขัดแยงและการประสานประโยชนทางการเมืองและเศรษฐกิจ
ระหวางประเทศ
2.สงครามเย็นและความเปลี่ยนแปลงหลังสงครามเย็น
- ตัวแปรตาม
1. สาเหตุของความขัดแยง
2. การแกไขความขัดแยง
3. การประสานประโยชน
4. สงครามเย็น ค.ศ. 1945-1991
5. ความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและเศรษฐกิจหลังสงครามเย็น
6. ความรวมมือทางดานการเมืองและเศรษฐกิจ
7. การกอตั้งองคการสหภาพยุโรป
ความสําคัญของการวิจัย
เพื่อศึกษาเกี่ยวกับความขัดแยงและการประสานประโยชนทางการเมือง
และเศรษฐกิจระหวางประเทศ , สงครามเย็นและความเปลี่ยนแปลงหลัง
สงครามเย็น
สมมติฐานของการวิจยั
1. ความขัดแยงและการประสานประโยชนทางการเมืองและเศรษฐกิจ
ระหวางประเทศ
- ปญหาทางการเมืองที่เกิดขึ้นอาจมาจากความขัดแยงทางดาน
ผลประโยชนและคอรัปชั่นของนักการเมือง
2. สงครามเย็นและความเปลี่ยนแปลงหลังสงครามเย็น
- ความเปลีย่ นแปลงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง อาจเกิดความ
แตกแยกเปนฝายตางๆและมีการตอสูกันในรูปของสงครามเย็น ทั้งดาน
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ
สงครามเย็นและสภาวการณหลังสงครามเย็น
สงครามเย็น (Cold War)
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐอเมริกาและรัสเซีย เปนมหาอํานาจที่มีความสําคัญ และมีอิทธิพลทั้ง
ทางดานการทหารและเศรษฐกิจ แตเนื่องจากมหาอํานาจทั้งสองมีอุดมการณทางการเมืองที่แตกตางกัน จึงมีความ
หวาดระแวงในเจตนารายของกันและกัน ทําใหเกิดความขัดแยงกันขึ้น โดยแตละฝายแขงขันกัน เพื่อชิงอํานาจทาง
การทหาร และอิทธิพลทางการเมือง ตลอดจนตอสูกันในทางการเมืองระหวางประเทศ ถึงแมวาจะไมมีการ
ประกาศสงครามและใชอาวุธตอสูกันโดยตรง แตมีผลทําใหสัมพันธภาพของประเทศอภิมหาอํานาจทั้งสองตกอยู
ในสภาพที่ตึงเครียดตลอดเวลา สภาพการณนี้เรียกวา สงครามเย็น คําวา “สงครามเย็น” เปนศัพทใหมที่เรียก
สถานการณของโลก ตั้งแตภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมา ที่เรียกวา เปนสงครามที่มหาอํานาจทั้งสองทํา
การตอสูกัน โดยใชเครื่องหมายทุกอยาง โดยไมใชอาวุธตอสูกันโดยตรง แตใชวิธีการโฆษณาชวนเชื่อการแทรก
ซึมบอนทําลาย การประนาม การแขงขันกันสรางกําลังอาวุธ และแสวงหาอิทธิพลในประเทศเล็ก

สาเหตุของสงครามเย็น
สงครามเย็นมีสาเหตุมาจากความขัดแยงทางดานอุดมการณทางการเมืองของประเทศมหาอํานาจทั้งสอง
ที่ยึดถือเปนแนวทางในการดําเนินนโยบายตางประเทศ และความขัดแยงทางดานผลประโยชนและเขตอิทธิพล
เพื่อครองความเปนผูนําของโลก โดยพยายามแสวงหาผลประโยชนและเขตอิทธิพลในประเทศตาง ๆ ทั้งนี้เปนผล
มาจากการที่ผูยิ่งใหญหรือผูนําทางการเมืองของโลกในสมัยกอน คืออังกฤษ เยอรมัน ไดหมดอํานาจในภายหลัง
สงครามโลกครั้งที่ 2

ความเปนมาของสงครามเย็น
เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง โดยเยอรมันเปนฝายพายแพตอฝายสหประชาชาติทําให
สหรัฐอเมริกาและรัสเซียขาดจุดมุงหมายที่จะดําเนินการรวมกันอีกตอไป ความขัดแยงจึงเริ่มตนขึ้นในปญหาที่
เกิดขึ้นภายหลังสงครามที่เกี่ยวกับอนาคตของประเทศในยุโรปตะวันออกและประเทศเยอรมัน ปญหาทั้งสองนี้
แสดงใหเห็นถึงการขัดแยงทางอุดมการณอยางชัดเจน กลาว คือ เกี่ยวกับประเทศยุโรปตะวันออกนั้น ประเทศทั้ง
สองไดเคยตกลงกันไวที่เมืองยัลตา (Yalta) เมื่อเดือนกุมภาพันธ ค.ศ.1945 วา “เมื่อสิ้นสงครามแลว จะมีการ
สถาปนาการปกครองระบอบประชาธิปไตยในประเทศเหลานั้น” แตพอสิ้นสงคราม รัสเซียไดใชความไดเปรียบ
ของตนในฐานะที่มีกําลังกองทัพอยูในประเทศเหลานั้น สถาปนาประชาธิปไตยตามแบบของตนขึ้นที่เรียกวา
“ประชาธิปไตยของประชาชน”
ฝายสหรัฐอเมริกาจึงทําการคัดคาน เพราะประชาธิปไตยตามความหมายของสหรัฐอเมริกา หมายถึง
“เสรีประชาธิปไตยที่จะเปลี่ยนรัฐบาลไดโดยวิธีการเลือกตั้งที่เสรี สวนรัสเซียก็ยืนกรานไมยอมใหมีการ
เปลี่ยนแปลงใด ๆ สวนที่เกี่ยวกับประเทศเยอรมันก็เชนกันเพราะรัสเซียไมยอมปฏิบัติการตามการเรียกรองของ
สหรัฐอเมริกาที่ใหมีการรวมเยอรมัน และสถาปนาระบอบเสรีประชาธิปไตยในประเทศนี้ตามที่ไดเคยตกลงกันไว
ความไมพอใจระหวางประเทศทั้งสองเพิ่มมากขึ้น เมื่อประธานาธิบดีทรูแมน (Harry S. Truman) ของ
สหรัฐอเมริกา ไดสนับสนุนสุนทรพจนของอดีตนายกรัฐมนตรีเชอรชิล (Sir. Winston Churchill) ซึ่งไดกลาวในรัฐ
มิสซูรี เมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ.1946 วา “มานเหล็กไดปดกั้นและแบงทวีปยุโรปแลว ขอใหประเทศพี่นองที่พูด
ภาษาอังกฤษดวยกัน รวมมือกันทําลายมานเหล็ก (Iron Curtain).”
สวนปญหาที่แสดงใหเห็นถึงการแขงขันในการเปนผูนําของโลกแทนมหาอํานาจยุโรปก็คือ การที่
สหรัฐอเมริกาสามารถบังคับใหรัสเซียถอนทหารออกจากอิหรานไดสําเร็จในป ค.ศ.1946 ตอมาในเดือนมีนาคม
ค.ศ.1947 อังกฤษไดประกาศสละความรับผิดชอบในการชวยเหลือกรีซ และตุรกี ใหพนจากการคุมคามของ
คอมมิวนิสต เพราะไมมีกําลังพอที่จะปฏิบัติการได และรองขอใหสหรัฐอเมริกาเขาทําหนาที่นี้แทน
ประธานาธิบดีทรูแมนจึงตกลงเขาชวยเหลือและประกาศหลักการในการดําเนินนโยบายตางประเทศของ
สหรัฐอเมริกาใหโลกภายนอกทราบวา “จากนี้ไปสหรัฐอเมริกาจะเขาชวยเหลือรัฐบาลของประเทศที่รักเสรี
ทั้งหลายในโลกนี้ใหพนจากการคุกคามโดยชนกลุมนอยในประเทศที่ไดรับการชวยเหลือจากตางประเทศ”
หลักการนี้เรียกกันวา“หลักการทรูแมน” (Truman Doctrine)
จากนั้น สหรัฐอเมริกาก็แสดงใหปรากฏวา ตนพรอมที่จะใชกําลังทหารและเศรษฐกิจ สกัดกั้นการขยาย
อิทธิพลของคอมมิวนิสตทุกแหงในโลก ไมวาจะเปนทวีปยุโรป เอเชีย หรือ อัฟริกา ตอมาในเดือนกันยายน ค.ศ.
1947 ผูแทนของรัสเซียไดประกาศตอที่ประชุมพรรคคอมมิวนิสตทั่วโลกที่นครเบลเกรด ประเทศยูโกสลาเวียวา
“โลกไดแบงออกเปนสองคายแลวคือ คายจักรวรรดินิยมอเมริกันผูรุกราน กับคายโซเวียตผูรักสันติและเรียกรองให
คอมมิวนิสตทั่วโลก ชวยสกัดกั้นและทําลายสหรัฐอเมริกา” ฉะนั้น จึงกลาวไดวาถอยแถลงของผูแทนรัสเซียนี้เปน
การประกาศ “สงคราม” กับสหรัฐอเมริกาอยางเปนทางการ

ลักษณะการตอสูในสงครามเย็น (ค.ศ.1945-ค.ศ.1990)
ความขัดแยงทางดานอุดมการณระหวางคายโลกเสรีซึ่งมีสหรัฐอเมริกาเปนผูนํา และคายโลก
คอมมิวนิสตซึ่งมีรัสเซียเปนผูนํามีผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงและหวาดระแวงตอกันในทางการเมืองมากขึ้น
จากการที่มหาอํานาจเหลานี้พยายามเขาไปมีบทบาทในสวนตาง ๆ ของโลกเพื่อขยายอาณาเขตและรักษาดินแดน
นั้น ๆ จึงสงผลทําใหเกิดการเผชิญหนานั้นในภูมิภาคทั่วโลก ดังนี้
1. ในป ค.ศ. 1945-1949 เปนระยะของการตอสูทางการเมืองระหวางสหรัฐอเมริกาและรัสเซียในยุโรปตะวันออก
จนสงผลทําใหเกิดวิกฤตการณเบอรลินในปค.ศ. 1948 สหรัฐอเมริกาไดใชนโยบายสกัดกั้นอํานาจของรัสเซียทั้ง
ทางดานเศรษฐกิจ และการทหาร โดยการประกาศหลักการทรูแมน (Truman Doctrine) การประกาศแผนการ
มารแชล (Marshall Plan) ในปค.ศ. 1947 และในปค.ศ. 1949 ไดรวมกอตั้งองคการสนธิสญ ั ญาแอตแลนติกเหนือ
(NATO) และรัสเซียก็ไดกอตั้งองคการสนธิสัญญาวอรซอ (Warsaw Treaty Organization) องคการโคมีคอน
(Council for Matual Asistance and Bomen)
องคการสนธิสัญญาปองกันแอตแลนติกเหนือ (North Atlantic Treaty
Organisation) หรือ นาโต (NATO)
เปนองคกรระหวางประเทศเพื่อความรวมมือในการรักษาความสงบ กอตั้งเมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2492
ประเทศสมาชิกกอตั้งประกอบดวย ประเทศเบลเยียม แคนาดา เดนมารก ฝรั่งเศส ไอซแลนด อิตาลี ลักเซมเบิรก
เนเธอรแลนด นอรเวย โปรตุเกส สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา โดยตอมาในป พ.ศ. 2495 (ค.ศ. 1952)
กรีซ และตุรกี ไดเขารวมเปนสมาชิก ในขณะที่ประเทศเยอรมนี เขารวมเปนสมาชิกในป พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955)มี
สํานักงานใหญอยูที่กรุงบรัสเซลส ประเทศเบลเยียม

องคการสนธิสัญญาวอรซอ (Warsaw Treaty Organization)


หรือ กติกาสัญญาวอรซอ (Warsaw Pact)
เปนองคการความรวมมือทางการทหารของคายคอมมิวนิวต ซึ่งอยูในภูมิภาคยุโรปตะวันออก โดยมีสหภาพ
โซเวียตเปนผูนํา และมีสมาชิกทั้งหมดรวม 8 ประเทศ ไดแก สหภาพโซเวียต เยอรมนีตะวันออก โปแลนด เช
โกสโลวะเกีย ฮังการี โรมาเนีย บัลแกเรีย แอลเบเนีย กอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1955 ขอตกลง
สําคัญของสนธิสัญญาฉบับนี้ คือ เพื่อเปนการปองกันรวมกัน และประเทศภาคีสมาชิกทุกประเทศตางยินยอมให
กองทัพของสหภาพโซเวียตเขาไปตั้งในประเทศของตนได

กติกาสัญญาวอรซอ นอกจากจะเปนสัญญาทางดานการทหารแลว ยังเปนขอผูกพันทางดานการตางประเทศ


ดวย โดยประเทศภาคีสมาชิกตางแสดงเจตจํานงที่จะสรางสรรคแนวทางความรวมมือกันดําเนินนโยบายดานการ
ตางประเทศ ซึ่งหมายถึง การดําเนินนโยบายตางประเทศขององคการนี้จะตองมีสหภาพโซเวียตเปนผูนํา
ดวย องคการสนธิสัญญาวอรซอจึงเทากันเปนปฏิกิริยาของกลุมประเทศคอมมิวนิสตที่แสดงการตอบโตกลุม
ประเทศเสรีประชาธิปไตย อยางไรก็ตาม ผลกระทบที่ตามมา คือ ประเทศยุโรปตะวันออกตองอยูภายใตกลุม
ประเทศเสรีประชาธิปไตย อยางไรก็ตาม ผลกระทบที่ตามมา คือ ประเทศยุโรปตะวันออกตองอยูภายใตอิทธิพล
ของสหภาพโซเวียต ทั้งนี้ เพราะมีกองทัพของสหภาพโซเวียตอยูในประเทศของตน แตตอมาประเทศสมาชิก
หลายประเทศไดพยายามปฏิรูปการปกครองของตนใหมีประชาธิปไตยมากขึ้น เชน โปแลนด โรมาเนีย เปน
ตน จึงทําใหกติกาสัญญาวอรซอไดลดบทบาทลง จนกระทั่งปลาย ค.ศ. 1991 สหภาพโซเวียตไดลมสลาย
ลง องคการสนธิสัญญาวอรซอจึงตองยุติลงไปโดยปริยาย

2. ในป ค.ศ. 1950-1960 พรรคคอมมิวนิสตในประเทศจีนมีชัยชนะ ในสงครามกลางเมืองในประเทศจีนในเดือน


ตุลาคม ค.ศ. 1949 เหมา เจอตุง (Mao Zedong)ขึน้ เปนผูนําจีนมีอํานาจปกครองจีนทั้งประเทศ ยกเวน เกาะ
ไตหวัน
จีนกลายเปนผูนําในการเผยแพรลัทธิ คอมมิวนิสต อีกประการหนึ่งทําใหใน
ทศวรรษที่ 50เกิดวิกฤตการณ หลายแหงในเอเชีย เชน สงครามเกาหลี
สงครามเวียดนาม การขยายอิทธิพลของจีนในธิเบต สนับสนุนการปฏิวัติใน
ลาว กัมพูชา มาเลเซีย ไทย ฟลิปปนส อินโดนีเซีย เปนตน
ในทวีปยุโรปหลังป ค.ศ. 1950 เปนตนมา รัสเซียไมสามารถขยายอิทธิพลใน
ยุโรปได ตองใชความพยายามควบคุมประเทศบริวารใหเขามาอยูภายใต
อิทธิพลเชนเดิม
ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1959 ฟเดล คัสโตร (Fidel Castro) ผูนําคิวบาได
ปกครองประเทศ และเขามาอยูภายใตอํานาจอิทธิพลของรัสเซีย
3. ในป ค.ศ. 1960-1970 ความขัดแยงระหวางคายโลกเสรี และคายโลกคอมมิวนิสตไดลดความรุนแรงลง ทั้งนี้
เพราะไดมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองคือ ครุสซอฟ ผูนํารัสเซียไดนํานโยบายอยูรวมกันโดยสันติกับกลุม
ประเทศเสรีประชาธิปไตยและความแตกแยกระหวางรัสเซียและจีน ซึ่งเริ่มปรากฏใหเห็นตั้งแต ค.ศ. 1960 เปนตน
มา จีนสามารถสรางนิวเคลียรไดเองใน ค.ศ. 1964 จีนจึงกลายเปนมหาอํานาจนิวเคลียรประเทศที่ 5 ของโลกยัง
สงผลทําใหความสัมพันธระหวางรัสเซียและจีนเสื่อมลงถึงขึ้นปะทะกันโดยตรงดวยกําลังในป ค.ศ. 1969 จีนได
หันไปปรับความสัมพันธกับสหรัฐอเมริกาเพื่อเปนการถวงดุลอํานาจกับรัสเซีย
4. ในป ค.ศ. 1971-1990 ในชวงระยะนี้เปนยุคผอนคลายความตึงเครียด (Détente) หรือเรียกวา ยุคแหงการเจรจา
(Era of Negotiations) มหาอํานาจทุกฝายตองการจะปรับความสัมพันธใหเขามาอยูในระดับปกติ เริ่มตั้งแต
ประธานาธิบดีนิกสันของสหรัฐอเมริกาปรับความสัมพันธเปดการเจรจาโดยตรงกับรัสเซียและจีน สําหรับจีน
สหรัฐอเมริกายกเลิกนโยบายปดลอมและแยกจีนใหโดดเดี่ยว โดยเปดความสัมพันธทางการทูต ใหจีนเขามาเปน
สมาชิกองคการสหประชาชาติและเปนสมาชิกถาวรคณะมนตรีความมั่นคง สําหรับรัสเซีย สหรัฐเอมริกาไดเปด
การเจรจาจํากัดอาวุธยุทธศาสตรครั้งแรกที่กรุงเฮลซิงกิ (Helsinki) ในป ค.ศ. 1972 เรียกวา SALT-1 ที่กรุงเวียนนา
(Vienna) ในป ค.ศ. 1979 และตอมาในป ค.ศ. 1987 ไดมีการลงนามในสนธิสัญญาทําลายอาวุธนิวเคลียรพิสัยกลาง
ที่กรุงวอชิงตัน ดีซี
ความสัมพันธระหวางรัสเซียกับจีน ก็ปรับ
ความสัมพันธดีขึ้น คือ ในวันที่ 15-18 พฤษภาคม ค.ศ.
1989 ไดมีการประชุมสุดยอดระหวางนายกอรบาชอฟ
(Mikchauil Gorbachev) และนายเติ้งเสี่ยวผิง (Deng
Xiaoping) ซึ่งเปนการเดินทางมาเยือนจีนเปนครั้งแรก
ของนายกอรบาชอฟ หลังจากนั้นทั้งสองประเทศได
ออกแถลงการณรวมในการฟนฟูความสัมพันธขึ้นปกติ
ระหวางกัน โดยทั้งสองประเทศตกลงใหแนวชายแดน
ที่ติดตอกันเปนเขตปลอดทหาร มีคณะทํางานเพื่อการนี้ กําหนดมาตรการลดกําลังทหารบริเวณชายแดนใหมีนอย
ที่สุดและไดใหคํามั่นตอไปวาจะไมแสวงหาความเปนเจาเพื่อครอบงําภูมิภาคเอเชียแปซิฟก หรือสวนตาง ๆ ของ
โลก ทั้งสองประเทศเห็นพองใหมีการถอนทหารเวียดนามออกจากกัมพูชาและหาวิธีการใหเกิดสันติภาพใน
กัมพูชาตอไป
ในวันที่ 30 พฤษภาคม ถึงวันที่ 3 มิถุนายน ค.ศ. 1990 นายกอรบาชอฟเดินทางเยือนสหรัฐอเมริกา เพื่อ
เจรจาขอตกลงในการทําสนธิสัญญาลดอาวุธนิวเคลียร การผอนคลายความตึงเครียดระหวางกัน ตลอดจนปญหา
อื่น ๆ เชน การประกาศเอกราชของลัตเวีย เอสโตเนีย และลิทัวเนีย ตลอดจนการคาระหวางกัน และในปลายเดือน
กรกฎาคม ค.ศ. 1990 นายจอรช บุช ไดเดินทางไปเยือนมอสโก เพื่อทําสัญญาลดอาวุธนิวเคลียรและการรับรอง
สนธิสัญญาลดอาวุธยุทธศาสตร (Strategic Arms Reduction Treaty)
จากกรณีที่อิรักยึดครองคูเวตกลายเปนสงครามอาวเปอรเซีย ทั้งสหรัฐอเมริกาและรัสเซียไดสนับสนุนให
คณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติใหใชกําลังจัดการกับอิรักได หากอิรักไมยอมถอนทหารออกจากคูเวต
ภายในวันที่ 15 มกราคม ค.ศ. 1990
วิธีการที่ใชในสงครามเย็น
1. การโฆษณาชวนเชื่อ (Propaganda) เปนวิธีการหนึ่งที่ฝายเสรีประชาธิปไตยและฝายคอมมิวนิสตนิยมใช เพื่อ
สรางความรูสึกและทัศนะที่ดีเกี่ยวกับประเทศของตน โดยใชคําพูด สิ่งตีพิมพ และการเผยแพรเอกสารตางๆ ที่
เกี่ยวกับการดําเนินชีวิตและวัฒนธรรมของประชาชนในประเทศของตน เพื่อแสดงใหเห็นวาฝายตนเปนฝายที่รัก
ความยุติธรรม รักเสรีภาพและสันติภาพ ขณะเดียวกันก็ประณามฝายตรงขามวาเปนฝายรุกราน เปนจักรวรรดินิยม
เปนตน
2. การแขงขันทางดานอาวุธ สหรัฐอเมริกาและรัสเซีย ตางพยายามแขงขันกันสรางเสริมกําลังอาวุธที่มีอานุภาพ
รายแรงไวครอบครองใหมากที่สุด จนกระทั่งตางฝายตางมีจํานวนอาวุธยุทธศาสตรในปริมาณและสมรรถนะที่
เกินความตองการ ในเรื่องนี้นานาประเทศรวมทั้งองคการสหประชาชาติ ไดพยายามใหมีขอตกลงในเรื่องการ
จํากัดการสราง และการเผยแพรอาวุธตลอดมา แตก็ยังไมไดผลเทาที่ควร
อาวุธยุทธศาสตรที่ทั้งสองฝายแขงขันกัน ไดแก
2.1 ขีปนาวุธขามทวีป ชนิดที่ยิงจากไซโลในพื้นดินไปสูอวกาศ และตกกลับสูหวงอวกาศตกไปยัง
เปาหมาย มีชื่อเรียกทั้งระบบวา ICEM -(Inter Continental Ballistic Missiles) มีทั้งระบบทําลายและระบบปองกัน
2.2 เรือดําน้ํานิวเคลียรติดขีปนาวุธ
2.3 เครื่องบินทิ้งระเบิดระยะทําการไกล
อาวุธดังกลาวถือวา เปนอาวุธยุทธศาสตรนิวเคลียร (Strategic Nuclear Forces) ที่สหรัฐอเมริกาและรัสเซียมี
สมรรถนะเทาเทียมกัน และเหนือกวาประเทศทั้งมวลในโลกนอกจากนี้อภิมหาอํานาจทั้งสอง ยังแขงขันกันคิดคน
ระบบการปองกันขีปนาวุธในอวกาศซึ่งมีฐานปฏิบัติการอยูในอวกาศที่มีชื่อเรียกอยางเปนทางการวา Strategic
Defense Initative (SDI) ซึ่งรูจักกันโดยทั่วไปวา “สตาร วอรส” (Star Wars)

หลักการในการกําหนดนโยบายตางประเทศของสหภาพโซเวียต
1. อุดมการณคอมมิวนิสต เปนองคประกอบตายตัวในนโยบายตางประเทศ ผอนปรนบางครั้ง ถาเห็นวา
ผลประโยชนสําคัญของชาติ (Vital National Interest) นั้นมีความสําคัญกวาบางครั้งอาจจะตองชะลอเพื่อสรางฐาน
ที่แข็งแกรงไปสูชัยชนะของการปฏิวัติโลก
2. ยุทธศาสตรโซเวียต
3. ทิศทางปฏิบัติการ เปนความพยายามเชื่อมตอปฏิบัติการยอยๆเขาดวยกัน เพื่อใหยุทธวิธี มีความเปนเอกภาพ มี
ความยืดหยุนในการดําเนินนโยบายตางประเทศมากกวายุทธศาสตร เปาหมายเพื่อการเปนผูนําคอมมิวนิสต และ
บรรลุอุดมการณคอมมิวนิสต

นโยบายตางประเทศของสหภาพโซเวียตสามารถแบงไดเปน 3 ยุค คือ


1. นโยบายตางประเทศของโซเวียตยุคเริ่มตน
2. นโยบายตางประเทศของโซเวียตยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
2.1 นโยบายตางประเทศสมัยสตาลิน
2.2 นโยบายตางประเทศสมัยครุสชอฟ
2.3 นโยบายตางประเทศสมัยเบรชเนฟ
3. นโยบายตางประเทศของโซเวียตชวงกอนการลมสลาย
นโยบายปดลอม (Containment Policy)
เปนนโยบายของประเทศสหรัฐอเมริกาที่ใชปองกันการขยายอิทธิพลของกลุมคอมมิวนิสตสหรัฐอเมริกาไดใช
นโยบายนี้ในทั่วภูมิภาคของโลกเพื่อสกัดกั้นอิทธิพลของกลุมคอมมิวนิสต ในเอเชีย จีนถูกมองวาเปนตัวแทนของ
สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกามองวาประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนประดุจโดมิโน เมื่อประเทศหนึ่งเปน
คอมมิวนิสตประเทศขางเคียงก็จะกลายเปนคอมมิวนิสตไปดวย สหรัฐอเมริกาจึงไดขยายนโยบายความมั่นคง
รวมกันหรือนโยบายปดลอม เขามาในเอเชียโดยการทําสัญญาพันธมิตรทางการทหารกับประเทศตาง ๆ เชน กับ
ประเทศญี่ปุนใน ค.ศ. 1951 กับเกาหลีใตในป ค.ศ. 1954 และตอมาก็ไดลงนามในสนธิสัญญามะนิลากับประเทศ
ตาง ๆ อีก 6 ประเทศ มี อังกฤษ ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ปากีสถาน ฟลิปปนส และประเทศไทย ซึ่งตอมา
ประเทศเหลานี้ไดรวมตัวกันเปนองคการสนธิสัญญาปองกันรวมกันแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรือ ซีโตมี
จุดมุงหมายตอตานคอมมิวนิสต ผลของนโยบายปดลอม ทําใหกลุมประเทศคอมมิวนิสตขยายอิทธิพลไดไม
สะดวกเทาที่ควร สหรัฐอเมริกาไดเขามามีบทบาทในเอเชียตะวันออกเฉียงใตมากขึ้นเพื่อปดลอมและสกัดกั้น
อิทธิพลของประเทศคอมมิวนิสต

ยุทธศาสตรโซเวียต
- เปนศิลปะที่มุงที่จะแสวงหาผลตอบแทนที่สูงที่สุดแกโซเวียต เทาที่ทําไดในสภาวะจํากัด เพื่อรับใชอุดมการณ
คอมมิวนิสต แปรเปลี่ยนไปตามขั้นตอน อาจจะรุกไปขางหนาหรือถอยไปขางหลังเพื่อรอจังหวะ โดยดําเนินการ
ทั้งยุทธศาสตรทางตรง ไดแก การใชกําลัง และยุทธศาสตรทางออม เชน ทางจิตวิทยาหรือโฆษณาชวนเชื่อ
ยุทธศาสตรของโซเวียตไดยึดถือแนวความคิดของเลนิน สตาลิน ในเรื่อง “ ความสัมพันธกําลังรบ ”เปนแนวใน
การดําเนินการประกอบกับทางเลือกตางๆในการปฏิบัติซึ่งเรียกวา ”ยุทธวิธี” บางครั้งยุทธวิธีอาจสวนทางกับ
อุดมการณ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยูกับผูมีอํานาจตัดสินใจวาจะเลือกปฏิบัติอยางไร เพื่อใหไดประโยชนตอบแทนมากกวา

ประเทศที่แยกตัวจากสหภาพโซเวียต
สหภาพโซเวียต ลมสลายเมื่อป 1991 ทําใหสาธารณรัฐตาง ๆ แบงแยกตั้งเปนประเทศทั้งหมด 15 ประเทศ
หลังจากการแยกตัวออกมาปกครองอยางเอกเทศแลว ประเทศเหลานี้ยังมีการรวมกลุมกันเปน Commonwealth of
Independent States (CIS) ยกเวน เอสโตเนีย ลัตเวีย และลิทัวเนีย

1. ประเทศเอสโตเนีย 9. ประเทศคาซัคสถาน
2. ประเทศลัตเวีย 10. ประเทศคีรกีซสถาน
3. ประเทศลิทัวเนีย 11. ประเทศมอลโดวา
4. ประเทศเบลารุส 12. ประเทศทาจิกิสถาน
5. ประเทศยูเครน 13. ประเทศเติรกเมนิสถาน
6. ประเทศรัสเซีย 14. ประเทศอุซเบกิสถาน
7. ประเทศอารเมเนีย 15. ประเทศจอรเจีย
8. ประเทศอาเซอรไบจาน

นโยบายเปเรสตรอยกาและกลาสนอสต
มีฮาอิล กอรบาชอฟ ไดเปนประธานาธิบดี ในเดือนมีนาคม 1985 ไมนานหลังจากการเสียชีวิตของ
คอนสแตนติน เคอรเชนโก กอรบาชอฟไดริเริ่มการปฏิรูปทางการเมืองหลายอยางภายใตนโยบายที่เรียกวา
กลานอสต ประกอบดวย การลดความเขมงวดในการเซนเซอร การลดอํานาจหนวย KGB และการเสริมสรางความ
เปนประชาธิปไตย การเปลี่ยนแปลงเหลานี้นั้นมีจุดประสงคเพื่อกําจัดการตอตานการปฏิรูปทางเศรษฐกิจจากกลุม
อํานาจฝายอนุรักษนิยมภายในพรรคคอมมิวนิสต ภายใตการปฏิรูปนี้ ผูที่ดํารงตําแหนงสําคัญๆ ในพรรค
คอมมิวนิสตจะตองมาจากการเลือกตั้ง (โดยสมาชิกพรรคคอมมิวนิสตเอง) ซึ่งเปนการใชระบบนี้ครั้งแรก
ทามกลางการคัดคานจากกลุมอนุรักษนิยม

สงครามตัวแทน
สงครามเกาหลี
สงครามเกาหลี เปนสงครามระหวางประเทศเกาหลีเหนือ กับประเทศเกาหลีใต เริ่มตั้งแต 25 มิถุนายน
พ.ศ.2493(ค.ศ. 1950) ถึง 27 กรกฎาคม พ.ศ.2496(ค.ศ. 1953) เปนหนึ่งในสงครามตัวแทนระหวางชวงสงครามเย็น
ฝายเกาหลีใตประกอบโดยสหรัฐอเมริกา ประเทศแคนาดา สหราชอาณาจักร ประเทศออสเตรเลีย และ
กองกําลังของประเทศอื่น ๆ โดยคําสั่งของสหประชาชาติ ฝายเกาหลีเหนือมีสาธารณรัฐประชาชนจีน และ
สหภาพโซเวียต คอยใหความชวยเหลือ
สงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนาม (Vietnam Wars ค.ศ. 1957) เปนสงครามระหวางเวียดนามเหนือ และเวียดนามใต ที่
สนับสนุนโดยสหรัฐอเมริกา เพื่อตัดสินวาควรรวมเวียดนามเปนหนึ่งเดียวตามขอตกลงเจนีวา ค.ศ. 1954 หรือไม
สงครามจบลงดวยชัยชนะของเวียดนามเหนือ และรวมประเทศเวียดนามทั้งสองเขาดวยกัน ซึ่งปกครองโดยพรรค
คอมมิวนิสตแหงประเทศเวียดนาม ในประเทศเวียดนามเองเรียกสงครามนี้วา “สงครามปกปองชาติจากอเมริกัน”
หรือ “สงครามอเมริกัน” หรือ “สงครามเศรษฐกิจ” เพราะ โฮจิมินต ตองการที่จะใหเวียดนามเดินตามทางขงจื้อ
และรวมอํานาจไวกับตัวเอง

สงครามอัฟกานิสถาน
สงครามอัฟกานิสถานเปนปฏิกิริยาตอเหตุการณ 11 กันยาอยางเห็นไดชัดกับการขยายขอบเขตบาง
ประการเพื่อมุงโคนลมระบอบตาลีบัน แตอัฟกานิสถาน เปนเขตยุทธศาสตรสําคัญมากที่ติดตอกับเอเชียกลาง
เอเชียใต และตะวันออกกลาง ประเทศนี้ยังอยูในแนวของเสนทางทอสงน้ํามันยูโนเคลจากบอน้ํามันทะเลสาบ
แคสเปยน มาสูมหาสมุทรอินเดีย สหรัฐไดวางกองกําลังไวในประเทศเพื่อนบานอดีตสหภาพโซเวียต ใน
อุซเบกีสถานตั้งแตกอนเหตุการณ 11 กันยายน ในระหวางสงคราม สหรัฐอเมริกาใชฐานทัพใหมแหงนี้และสิทธิ
การใชฐานทัพในอัฟกานิสถาน, อุซเบกีสถาน, ปากีสถาน เคอรกีสถาน และบางสวนในทาจิกีสถาน สหรัฐกําลัง
ใชความไรเสถียรภาพอยางตอเนื่องในอัฟกานิสถาน (เหมือนอยางในโซมาเลีย ซึ่งสวนใหญเปนผลของการยุยง
กลุมขุนศึกใหสูรบกัน) เปนขออางในการคงฐานทัพทหารใหถาวรอยูทั่วทั้งภูมิภาคแหงนี้ และยังกระทั่งวางแผน
ใหใชเงินดอลลารเปนสกุลเงินของอัฟกานิสถาน การเรียงรอยฐานทัพทางทหารใหมของสหรัฐนี้กําลังกลายมาเปน
ดานหนาถาวรเพื่อใชปกปองสาธารณูปโภคน้ํามันในทะเลสาบแคสเปยน

วิกฤตการณคิวบา และ เหตุการณในตะวันออกกลาง


• วิกฤตการณคิวบา คือ การที่สหภาพโซเวียตสงจรวดนําวิถีเขาไปติดตั้งในประเทศคิวบา และ
สหรัฐอเมริกาโตตอบโดยใชวิธีปดลอมคิวบา
การเผชิญหนาระหวางสหภาพโซเวียตและสหรัฐอเมริกาในแถบทวีปอเมริกาเกิดขึ้นที่ประเทศคิวบา เหตุการณ
ครั้งนี้นับไดวาเปนครั้งแรกที่สหรัฐอเมริกาดําเนินนโยบายเชิงรุกตอสหภาพโซเวียต

ผลกระทบของสงครามตะวันออกกลาง
• กอใหเกิดผลเสียหายดานเศรษฐกิจ
• เกิดการแตกแยกในกลุมประเทศอาหรับ
• เพิ่มความเปนศัตรูกันของชาวยิวและอาหรับ
• เกิดกรณีลอบสังหารประธานาธิบดีซาดัตแหงอียิปต
สงครามอาหรับ - อิสราเอล
• ความขัดแยงระหวางกลุมประเทศอาหรับกับอิสราเอล เนื่องมาจากปญหาปาเลสไตน
• การแยงดินแดนที่เรียกวาปาเลสไตนระหวางชาวยิวกับชาวอาหรับ
• หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ชาวยิวที่อยูในดินแดนปาเลสไตนประกาศจัดตั้ง “ประเทศอิสราเอล” หลังจาก
ประกาศจัดตั้งประเทศเพียงวันเดียว ประเทศอาหรับ 6 ประเทศ ไดยกทัพเขาโจมตีอิสราเอล ซึ่งถือเปน
การเริ่มตนสงครามยิว - อาหรับ
• สงครามระหวางยิว - อาหรับ เกิดขึ้น 4 ครั้ง
- ครั้งที่ 1 ค.ศ.1948 - 1949
- ครั้งที่ 2 ค.ศ.1956
- ครั้งที่ 3 ค.ศ.1967
- ครั้งที่ 4 ค.ศ.1973
• ซึ่งแตละครั้งยิวเปนฝายไดเปรียบ สงผลใหชาวอาหรับอพยพออกไปลี้ภัยอยูในประเทศเพื่อนบาน
• อังกฤษ, ฝรั่งเศส, สหรัฐอเมริกา สนับสนุน ชาวยิว
• สหภาพโซเวียตสนับสนุนชาติอาหรับ
• มีการกอตั้งองคการปลดปลอยปาเลสไตน มีวัตถุประสงค ขับไลชาวยิวออกจากดินแดนปาเลสไตน ผูนํา
คนสําคัญคือ นายยัสเซอร อาราฟต

สงครามอิรัก - อิหราน (ค.ศ.1980 - 1988)


• ปญหาดานเชื้อชาติ
- ประชากรในอิรักเปนชาวอาหรับ
- ประชากรในอิหรานเปนชาวเปอรเซีย
- แตละประเทศมีชนกลุมนอยของแตละฝายอาศัยอยู ทําใหเกิดปญหา
• ปญหาเขตแดน
• ปญหาชาวเคริ์ด
• ปญหาความขัดแยงระหวางผูนําประเทศ
สงครามอาวเปอรเซีย (ส.ค.1990 - เม.ย.1991)
• สาเหตุที่นําไปสูวิกฤตการณอาวเปอรเซีย คือ การเขายึดครองประเทศคูเวตของอิรัก โดยอางวาคูเวต
ขอใหชวยเขาไปโคนอํานาจเจาผูครองนคร และอางวาคูเวตเคยเปนดินแดนของอิรักมากอนเมื่อสมัย
โบราณ แตเปาหมายที่แทจริงคือ ตองการน้ํามัน
• ปญหาเรื่องพรมแดน เนื่องจากมีพรมแดนติดกัน อิรักกลาวหาวาคูเวตแอบขโมยสูบน้ํามัน โดยเฉพาะ
ชวงที่อิรักทําสงครามกับอิหราน
• อิรักตองการมีทางออกไปสูทะเล
• สหรัฐอเมริกาและฝายสัมพันธมิตรสงทหารเขามาชวยเหลือคูเวต
• ผลของสงครามคือ ทหารฝายสัมพันธมิตรเปนฝายชนะ แตก็ไมสามารถโคนลมอํานาจของ
ประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซ็นได สหรัฐอเมริกาใชขออางนี้ในการทําสงครามกับอิรัก
• สาเหตุที่สหรัฐอเมริกาอางในการทําสงครามครั้งนี้
1. เปนการกระทําเพื่อปองกันตนเองโดยการโจมตีกอน เนื่องจากในอนาคต อิรักอาจใชอาวุธไม
วาทางตรงหรือทางออมโจมตีผลประโยชนของสหรัฐอเมริกา
2. อิรักไดซองสุมอาวุธทําลายลางอนุภาพสูงไวเปนจํานวนมาก
3. รัฐบาลซัดดัม มีความสัมพันธกับกลุมกอการรายของอุซะมะห บิน ลาเดน
• วาระซอนเรนในการทําสงคราม
1. แรงจูงใจทางเศรษฐกิจ (น้ํามัน)
2. ตองการขยายอิทธิพลเขาไปในตะวันออกกลาง
3. แรงจูงใจทางการเมืองของรัฐบาลบุช
• ผลกระทบของสงคราม
1. สงครามอิรักไดทําลายความนาเชื่อถือขององคการสหประชาชาติ
2. ประเมินวากระแสการกอการรายจะขยายตัวเพิ่มขึ้นและกระจายไปทั่วโลก
3. การโคนลมรัฐบาลซัดดัมและสถาปนาการปกครองระบอบประชาธิปไตยอาจทําใหกระทบตอเสถียรภาพและ
ความมั่นคงของระบบการปกครองในอีกหลายประเทศ
4. สงครามอิรักทําใหเกิดความแตกแยกทางดานจุดยืนทางการเมือง
การลมสลายของระบอบคอมมิวนิสตและสหภาพโซเวียต (ค.ศ.1989 - 1991)
• การปรับเปลี่ยนนโยบายการบริหารประเทศของสหภาพโซเวียต
• ประเทศในแถบยุโรปตะวันออกที่เคยเปนบริวารของสหภาพโซเวียตขอแยกตัว
• ปญหาดานเชื้อชาติ

เหตุการณหลังจากที่สหภาพโซเวียตลมสลาย
• การเกิดของสหพันธรัฐรัสเซีย แตมีอิทธิพลนอยกวาสหภาพโซเวียตเดิม
• สงครามเย็นสิ้นสุดลง
• ความเปนไปของโลกถูกกําหนดจากนโยบายตางประเทศของสหรัฐอเมริกา
• เกิดนโยบาย “ระเบียบโลกใหม” (New World Order)
• สหรัฐอเมริกากลายเปนมหาอํานาจเพียงชาติเดียวและเขาไปยุงเกี่ยวในเหตุการณโลกหลายเหตุการณ

ผลสะทอนของสงครามเย็นตอประเทศเล็ก
เมื่อประเทศมหาอํานาจทําการแขงขันกันเพื่อใหชนะจิตใจของประชากรของโลก (Struggle for the minds of
men) และตองการใหประเทศตาง ๆในโลกสนับสนุนนโยบายของตน ประเทศเล็กจึงมีทางเลือกอยู 2 ทางคือ ทาง
แรกเลือกเขากับมหาอํานาจประเทศใดประเทศหนึ่งเสีย เมื่อมั่นใจวามหาอํานาจนั้นจะเปนผูชนะในสงครามเย็นนี้
และเปนผูที่จะชวยปองกันตนใหพนจากการคุกคามของอีกฝายหนึ่ง ทางเลือกที่สองคือ คอยดูไปกอนวา
มหาอํานาจฝายใดจะเปนฝายชนะในสงครามเย็นนี้ โดยวางตนเปนกลางไมสนับสนุนหรือเขากับฝายใด
สําหรับประเทศเล็กที่สนับสนุนมหาอํานาจฝายใดฝายหนึ่งกับที่วางตนเปนกลางนั้นนอกจากจะมีความมุง
หมาย เพื่อสรางความมั่นคงใหกับตนแลว ยังเปนการสรางสันติภาพใหแกโลกดวย ดังนั้น จึงนํามาสูนโยบายใน
การสราง “ความมั่นคงรวมกันในสวนภูมิภาค” (Regional Collective Security) อันเปนการสนับสนุนหลักการของ
องคการสหประชาชาติ ที่มุงจะสถาปนาความมั่นคงระหวางชาติกับนโยบายที่สราง “เขตสันติภาพ” (area of
peace) เพื่อปองกันไมใหอํานาจหนึ่งอํานาจใดใชดินแดนในเขตนั้น เปนเวทีการแขงขันเพื่อสรางอิทธิพลใหแก
ฝายตนซึ่งเปนการสนับสนุนองคการสหประชาชาติที่มุงรักษาสันติภาพของโลก

กัมพูชา
ไดรับเอกราชจากฝรั่งเศสตามขอตกลงเจนีวา เมื่อป ค.ศ. 1954 โดยมีเจานโรดมสุรามริต เปนกษัตริย
สวนเจานโรดมสีหนุ ไดตั้งพรรคการเมือง คือ “Popular Socialist Party” เพื่อลงสมัครรับเลือกตั้ง และไดรับชัย
ชนะในการเลือกตั้ง ป ค.ศ. 1955 ไดจัดตั้งรัฐบาลและดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีเมื่อเจานโรดม สุรามริต
สวรรคต ในป ค.ศ. 1960 เจานโรดมสีหนุจึงรวมอํานาจทางการเมืองและประมุขประเทศเขาดวยกัน
ในการดําเนินนโยบายตางประเทศ เจานโรดมสีหนุไดประกาศนโยบายเปนกลางเพื่อที่จะไดรับความ
ชวยเหลือจากทั้งสองฝายนําของเจานโรดมสีหนุ เขมรเสรีภายใตการนําของนายซอนซานน (Son Sann) และเขมร
แดงภายใตการนําของนายเขียวสัมพันธ (Khieu Samphan) และเจานโรดมสีหนุยังยอมใหเวียดกง (Vietcong) และ
กองทัพเวียดมินห (vietminh) เขามาตั้งฐานปฏิบัติการตามแนวชายแดนเพื่อสะดวกในการเขาไปปฏิบัติงานใน
เวียดนามใต กัมพูชาจึงเปนเปาหมายใหเวียดนามใตโจมตี ทําใหประชาชนชาวกัมพูชาตามแนวชายแดนไดรับ
ความเดือดรอน
ป ค.ศ. 1970 นายพลลอนนอล (Gen. Lon Nol) ทําการยึดอํานาจจากเจานโรดมสีหนุ (Norodom
Sihanouk) ในขณะที่พระองคเสด็จเยือนรัสเซียและจีน นายพลลอนนอล ไดจัดตั้งรัฐบาล เจานโรดมสีหนุเสด็จลี้
ภัยไปประทับที่กรุงปกกิ่งและสนับสนุนใหคอมมิวนิสตกัมพูชา “เขมรแดง” ทําการสูรบกับรัฐบาลนายพลลอน
นอล สหรัฐอเมริกาจึงสงทหารเขาไปปฏิบัติการสูรบกับฝายเขมรแดง แตก็ไมสามารถตานทานกองกําลังเขมรแดง
ซึ่งมีนายพลพต (Pol Pot) เปนผูนําได ในที่สุดเขมรแดงก็เขายึดกรุงพนมเปญไดสําเร็จเมื่อวันที่ 17 เมษายน ค.ศ.
1975 ไดจัดการปกครองแบบสังคมนิยม และเปลี่ยนชื่อประเทศเปนกัมพูชาประชาธิปไตย
ตอมาเวียดนามสนับสนุนใหนายเฮงสัมริน (Heng Samrin) เขายึดอํานาจจากนายพลพต และยึดกรุง
พนมเปญไดเมื่อวันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1979 ชาวกัมพูชาสวนใหญจึงอพยพมาตั้งมั่นอยูตามแนวชายแดนไทย โดย
แยกเปน 3 ฝาย คือ เขมรรักชาติภายใตการเขมรทั้ง 3 ฝายไดรวมกันจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นขึ้น ที่กรุงกัวลาลัมเปอร
(Kuala Lumpur) โดยไดรับการรับรองจากสหประชาชาติและทําการสูรบกับกลุมเฮง สัมริน เรื่อยมาตั้งแตเดือน
มกราคม ค.ศ. 1979 ถึงวันที่ 23 ตุลาคม ค.ศ. 1991 จึงไดลงนามสันติภาพที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
หลังจากนั้นสหประชาชาติ ไดแตงตั้งเจาหนาที่ถายโอนอํานาจที่เรียกวา UNTAC (United Nations
Transitional Authority in Cambodia) มีนายยาซูซิ อะกาชิ เปนหัวหนาเขาปฏิบัติงานในกัมพูชาเพื่อเตรียมอพยพ
ผูคนจากศูนยอพยพตามแนวชายแดนไทยและเตรียมการเลือกตั้งวันที่ 23-28 พฤษภาคม ค.ศ. 1993 กัมพูชาจัดการ
เลือกตั้งแตเขมรแดงไมยอมเขารวมเพราะตองการผลักดันชาวเวียดนามใหออกจากกัมพูชา ผลการเลือกตั้งปรากฏ
วา พรรคพุนชินแปก ของเจานโรดม รณฤทธิ์ ไดรับชัยชนะเหนือพรรคประชาชนกัมพูชา ของนายฮุนเซน (Hun
Sen) และทั้งสองพรรคไดรวมกันจัดตั้งรัฐบาลปกครองกัมพูชา โดยมีเจานโรดมรณฤทธิ์เปนนายกรัฐมนตรีคนที่ 1
และนายฮุนเซนเปนนายกรัฐมนตรีคนที่ 2

ลาว
ฝรั่งเศสไดผนวกลาวเขาเปนอาณานิคม เมื่อป ค.ศ. 1898 ในระหวางสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุนเขา
ยึดครองลาวและสนับสนุนใหลาวประกาศเอกราช โดยพระเจาศรีสวางวงศทรงประกาศเอกราชเมื่อวันที่ 8
เมษายน ค.ศ. 1944 เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงฝรั่งเศสไดกลับเขามามีอํานาจในลาวอีก ทําใหพวก
ชาตินิยมไมพอใจ เจาเพชราช จึงจัดตั้ง “ขบวนการลาวอิสระ” ขึ้นในเดือนกันยายน ค.ศ. 1945 และจัดตั้ง
รัฐบาลที่กรุงเวียงจันทน ในวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1949 ฝรั่งเศสใหเอกราชแกลาวแตยังควบคุมนโยบายที่
สําคัญ ๆ เชน การทหาร เศรษฐกิจ และดานตางประเทศ
จากการที่ฝรั่งเศสใหเอกราชแกลาวไมสมบูรณ ทําใหขบวนการลาวอิสระแตกแยกเปน 2 ฝาย คือ ฝาย
เจาบุญอุม ณ จําปาศักดิ์ และเจาสุวรรณภูมา ซึ่งยอมรับขอเสนอของฝรั่งเศสเพื่อประนีประนอม สวนเจาสุภานุ
วงศตองการเอกราชอยางสมบูรณจึงขอความชวยเหลือจากขบวนการเวียดมินหของโฮจิมินห และไดกอตั้ง
ขบวนการกูชาติคือ “ขบวนการประเทศลาว” จัดตั้งรัฐบาลที่แควนซําเหนือ เมื่อฝรั่งเศสพายแพเวียดนามที่เดียน
เบียนฟู (Dienbienphu) ลาวจึงไดรับเอกราชตามขอตกลงที่เจนีวา ป ค.ศ. 1954
หลังจากไดรับเอกราช ลาวแบงออกเปน 2 ฝาย คือ ทางเหนือ ไดแก แขวงพงศาลีและซําเหนือ อยู
ภายใตการปกครองของเจาสุภานุวงศ สวนทางใตอยูภายใตการปกครองของเจาสุวรรณภูมา ในเดือนพฤศจิกายน
ค.ศ. 1957 ลาวทั้ง 2 ฝาย ไดจัดตั้งรัฐบาลผสมโดยมีเจาสุวรรณภูมา เปนนายกรัฐมนตรี แตก็ไมสามารถ
ดําเนินนโยบายรวมกันได ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1960 รอยเอกกองแล ทําการปฏิวัติจัดตั้งรัฐบาลโดยมี เจา
สุวรรณภูมา เปนนายกรัฐมนตรี แตบริหารประเทศไดไมนานก็ถูกนายพลภูมีหนอสวัน ซึ่งไดรับการสนับสนุน
จากสหรัฐอเมริกาทําการปฏิวัติและจัดตั้งรัฐบาลโดยมีเจาบุญอุม ณ จัมปาศักดิ์ เปนนายกรัฐมนตรี
หลังจากนั้น ลาวไดแบงออกเปน 3 ฝาย คือ
1. ลาวฝายซาย - ภายใตการนําของเจาสุภานุวงศ
2. ลาวฝายขวา - ภายใตการนําของนายพลภูมีหนอสวัน
3. ลาวฝายกลาง - ภายใตการนําของเจาสุวรรณภูมา
ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1962 ลาวทั้ง 3 ฝายไดจัดตั้งรัฐบาลผสม โดยมีเจาสุวรรณภูมาเปนนายกรัฐมนตรี
แตรัฐบาลผสมไมสามารถแกไขปญหาตาง ๆ ไดทหารตางชาติ ซึ่งไดแกรัสเซีย จีน และเวียดนาม รวมทั้ง
สหรัฐอเมริกา ตางก็ประจําอยูในลาวเพื่อใหการชวยเหลือลาวฝายที่ตนใหการสนับสนุน สหรัฐอเมริกาได
สนับสนุนใหนายพลวังเปาจัดตั้งกองทัพแมว มีฐานปฏิบัติการอยูที่ลองแจง โดยมีศูนยการฝกอยูที่ จ.อุดรธานี
สงครามในลาวจึงไดเกิดขึ้น โดยรัฐบาลของเจาสุวรรณภูมาไมสามารถสกัดกั้นไวได
เมื่อสหรัฐอเมริกาถอนตัวออกจากอินโดจีน ตามวาทะนิกสัน ขบวนการประเทศลาวจึงยื่นขอเสนอตอรัฐบาลให
จัดตั้งรัฐบาลผสมอีกครั้ง โดยมีเจาสุวรรณภูมาเปนนายกรัฐมนตรีในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1975 ขบวนการประเทศ
ลาวหรือลาวฝายซาย ก็สามารถยึดอํานาจและดําเนินการปกครองแบบสังคมนิยม โดยมีเจาสุภานุวงศ เปน
ประธานาธิบดีและนายไกรสร พรหมวิหาร เปนนายกรัฐมนตรีคนแรก ปจจุบันเปลี่ยนชื่อเปนประธานประเทศ

วิกฤตการณชองแคบฟอรโมซา
ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1954 จีนมีนโยบายที่จะรวมไตหวันกลับคืนมาเปนของจีน สหรัฐอเมริกาไดสง
กองเรือที่ 7 มาลาดตระเวนในทะเลจีนตอนใต โดยเฉพาะอยางยิ่งที่ชองแคบไตหวัน จีนตองการจะผลักดันให
สหรัฐอเมริกาออกจากบริเวณนี้ โดยระดมยิงหมูเกาะนอกฝงที่ชองแคบไตหวัน อันไดแก เกาะคีมอยและเกาะมัทสุ
สหรัฐอเมริกามองวาจีนเปนผูรุกรานดังนั้นในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1954 สหรัฐอเมริกาออกแถลงการณวา
สหรัฐอเมริกาจะปองกันเกาะคีมอย และเกาะมัทสุ เชนเดียวกับเกาะไตหวัน สหรัฐอเมริกาไดสงกองทหารไป
ประจําที่ไตหวันและไดลงนามในสัญญาพันธมิตรทางทหารเพื่อการปองกันรวมกันกับไตหวัน เมื่อจีนเห็นวา
วิธีการของตนไมประสบผลสําเร็จ แตกลับทําใหสหรัฐอเมริกามีความสัมพันธใกลชิดกับไตหวันยิ่งขึ้น ดังนั้นจีน
จึงลดการะดมยิงและยุติไปในที่สุด สหรัฐอเมริกามองวาจีนเปนตัวแทนของรัสเซีย เพราะจีนไดลงนามในสัญญา
มิตรภาพ พันธมิตรและความชวยเหลือซึ่งกันและกัน เปนเวลา 30 ป สหรัฐอเมริกาจึงเริ่มนโยบายปดลอม
(Containment Policy) เขามาในเอเชียโดยการทําสัญญาพันธมิตรทางทหารกับประเทศ
ตาง ๆ ในเอเชีย เชน ญี่ปุน เกาหลีใต ไทย เปนตน

วิกฤตการณคิวบา
คิวบาไดเปลี่ยนแปลงเปนคอมมิวนิสต เมื่อ 1 มกราคม ค.ศ. 1959 เมื่อนายฟเดล คาสโตร สามารถยึด
อํานาจจากรัฐบาลเผด็จการของนายพลบาติสตา (Batista) ซึ่งสหรัฐอเมริกาสนับสนุนอยู คาสโตรตองการ
เปลี่ยนแปลงโครงสรางทางเศรษฐกิจและสังคมในคิวบาใหมีความยุติธรรมและความเทาเทียมกันมากขึ้น โดย
ดําเนินการปฏิรูปที่ดินและปรับปรุงสวัสดิการทางสังคมแกประชาชน คาสโตรเปนนักปฏิวัติชาตินิยมและตอตาน
สหรัฐอเมริกา เพราะสหรัฐอเมริกาเขาครอบงําและมีอิทธิพลทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจในคิวบามาเปนเวลาชา
นาน อีกทั้งยังมีฐานทัพอยูที่กวนตานาโม (Guantanamo) บนเกาะคิวบา คาสโตรจึงรูสึกหวาดระแวงสหรัฐอเมริกา
และมีนโยบายใกลชิดกับประเทศคอมมิวนิสต โดยเฉพาะอยางยิ่งรัสเซียซึ่งไดใหความชวยเหลือทั้งทางดานทหาร
และทางเศรษฐกิจแกคิวบา
ความสัมพันธที่ใกลชิดระหวางคิวบากับรัสเซียทําใหสหรัฐอเมริกาไมพอใจเพราะจะชวยขยายอิทธิพล
ของรัสเซียแถบทะเลแคริบเบียนและอเมริกากลาง ในขณะเดียวกันชาวคิวบาที่ลี้ภัยในสหรัฐอเมริกาก็ไดรับการ
ฝกฝนและสนับสนุนจากองคการขาวกรองกลางหรือซีไอเอของสหรัฐอเมริกาใหยกพลขึ้นบกในคิวบาเพื่อโคนลม
คาสโตร แผนการนี้ไดเริ่มในปลายสมัยประธานาธิบดีไอเซนฮาวเวอร ตอมาเมื่อไดรับอนุมัติจากประธานาธิบดี
เคนเนดี้กองกําลังคิวบาลี้ภัยไดยกพลขึ้นบกที่เบย ออฟ พิกส (Bay of Pigs) ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1961 เพียง 3
เดือนภายหลังจากที่เคนเนดี้ขึ้นดํารงตําแหนงประธานาธิบดี โดยผูลี้ภัยคิวบาเหลานี้ คาดหวังวาจะ ไดรับการ
สนับสนุนจากประชาชนในการโคนอํานาจคาสโตร แตการยกพลขึ้นบกครั้งนี้ลมเหลวโดยสิ้นเชิงเพราะขาดการ
วางแผนที่ถูกตองและการประสานงานกับชาวคิวบาที่ตอตานคาสโตรภายในประเทศ ยิ่งไปกวานั้น กองกําลัง
ปฏิวัติของคาสโตรสามารถจับกุมชาวคิวบาลี้ภัยเหลานี้และใชเปนเครื่องมือในการโฆษณาชวนเชื่อตอตาน
สหรัฐอเมริกา ภาพพจนของสหรัฐอเมริกาและประธานาธิบดีเคนเนดี้ตองเสียหายอยางมากจากกรณีการบุกคิวบา
ในครั้งนี้คิวบาไดกลายเปนปญหาใหญทางยุทธศาสตรของสหรัฐอเมริกาในปตอมา
ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1962 ฝายขาวกรองของสหรัฐอเมริกาไดคนพบจากภาพถายทางอากาศวา รัสเซีย
กําลังสรางฐานสงขีปนาวุธนิวเคลียรบนเกาะคิวบา ซึ่งถาหากสรางสําเร็จและติดตั้งขีปนาวุธไดก็จะเปรียบประดุจมี
ขีปนาวุธนิวเคลียรอยูหนาประตูบานของสหรัฐอเมริกา ซึ่งจะเปนอันตรายอยางยิ่งตอความมั่นคงของ
สหรัฐอเมริกา สวนครุสชอฟนั้นคงคิดวาจะสามารถลอบสรางฐานยิงจนเสร็จและเมื่อติดตั้งขีปนาวุธแลว
สหรัฐอเมริกาก็คงไมกลาทําอะไร เพราะจะเปนการเสี่ยงอยางมากตอสงครามนิวเคลียร อีกทั้งสหรัฐอเมริกาก็ดู
เหมือนจะไมกลาใชกําลังรุนแรงรัสเซียเชื่อวา ตนจะไดเปรียบทางยุทธศาสตรและจะทําใหพันธมิตรนาโตของ
สหรัฐอเมริกาหมดความเชื่อถือวา สหรัฐอเมริกาจะสามารถปกปองยุโรปตะวันตกไดเมื่อเกิดสงคราม แตผูนําของ
รัสเซียก็คาดคะเนผิดพลาด เพราะประธานาธิบดีเคนเนดี้ของสหรัฐอเมริกาไดตอบโตอยางหนักแนนโดยการปด
ลอมคิวบา ในวันที่ 22 ตุลาคม ค.ศ. 1962
ประธานาธิบดีเคนเนดี้ไดแจงใหรัสเซียทราบถึงการปดลอมคิวบาและไดเตือนรัสเซีย ในระหวาง
วิกฤตการณกองกําลังยุทธศาสตรของสหรัฐอเมริกาไดเตรียมพรอมตอการถูกโจมตีดวยอาวุธนิวเคลียร
สหรัฐอเมริกาไดสงเจาหนาที่ระดับสูงไปชี้แจงสถานการณพรอมดวยภาพถายและหลักฐานอื่น ๆ ตอคณะมนตรี
ความมั่นคงของสหประชาชาติและพันธมิตรในยุโรป
จุดวิกฤตของสถานการณครั้งนี้ก็คือ เมื่อเรือสินคาจํานวนหนึ่งของรัสเซีย ซึ่งเชื่อวาบรรทุกขีปนาวุธ
นิวเคลียรเพื่อมาติดตั้งยังคิวบาไดเขาใกลกองเรือของสหรัฐอเมริกาที่กําลังปดลอมคิวบาอยูในวันที่ 24 ตุลาคม แต
เรือเหลานี้ก็หันลํากลับไปยังรัสเซีย โดยมิไดฝากองเรือปดลอมเขามา ถาหากรัสเซียไมยอมออนขอในกรณีนี้
สงครามนิวเคลียรระหวางมหาอํานาจทั้งสองก็อาจเกิดขึ้นได อีก 4 วัน ตอมา ครุสชอฟผูนําของรัสเซียก็ยอม
ประนีประนอม และแถลงวาจะถอนฐานยิงและจรวดตาง ๆ ออกไปจากคิวบา ถาหากสหรัฐอเมริกายอมตกลงที่จะ
ไมบุก คิวบาในที่สุดวิกฤตการณอันตึงเครียดและการเผชิญหนาระหวางมหาอํานาจนิวเคลียรก็ผานไปโดย
เรียบรอย ประธานาธิบดีเคนเนดี้แหงสหรัฐอเมริกาไดรับการยกยองสูงวามีความกลาหาญและชาญฉลาดในการ
ดําเนินนโยบายตางประเทศ ใชเครื่องมือทางการทูตและการทหารที่เหมาะสมเปดโอกาสและทางออกใหฝายตรง
ขามรัสเซียเสียเกียรติภูมิไปบางและตอมาครุสชอฟถูกกดดันใหลาออกจากตําแหนงเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต
โซเวียต และใน ค.ศ. 1965 เลโอนิดเบรสเนฟ (Leonid Brezhnev) ไดขึ้นมาเปนเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสตแทน
ในขณะเดียวกันนั้นเอง ลินดอน จอหนสัน (Lyndon B. Johnson) ก็ไดรับเลือกตั้งเปนประธานาธิบดีคน
ใหมของสหรัฐอเมริกา ความสําเร็จในวิกฤตการณคิวบา ทําใหผูนําของสหรัฐอเมริกามีความเชื่อมั่นใน
แสนยานุภาพและความแข็งแรงของตน สวนรัสเซียก็ไดรับบทเรียน และเรงสะสมอาวุธนิวเคลียรมากขึ้น เพื่อที่จะ
ไดมีความเทาเทียมทางยุทธศาสตรกับสหรัฐอเมริกา

สภาวการณหลังสงครามเย็น
การลมสลายของลัทธิคอมมิวนิสตในรัสเซียนับเปนการสิ้นสุดของยุคสงครามเย็นและเขาสูศตวรรษที่
21 หรือโลกในยุคโลกาภิวัตน และจัดเปนโลกในสังคมแหงยุคขาวสารซึ่งในชวงทศวรรษ 1980-1991 ไดเกิด
เหตุการณเปลี่ยนแปลงอยางใหญหลวง โดยเฉพาะนโยบายการปฏิรูปประเทศกาสนอสท-เปเรสทรอยกา ของ
รัสเซียหรืออดีตสหภาพโซเวียต และจากสาเหตุดังกลาวทําใหรัสเซียยุติบทบาททางการเมืองโลกลง และในเวลา
ตอมาการเกิดขึ้นของรัสเซียใหม (Neo-Russia) ภายหลังการลมสลายของรัสเซียก็ดูเหมือนวาจะหมกมุนอยูกับ
ปญหาการเมืองภายในของตัวเอง และปญหาของการเปนผูนํากลุมประเทศในเครือจักรภพรัฐเอกราช ดังนั้นจึงทํา
ใหสหรัฐอเมริกากาวเขามามีบทบาทเต็มที่เพียงหนึ่งเดียวในโลกยุคโลกาภิวัตนโดยเฉพาะนโยบายของ
สหรัฐอเมริกา ภายหลังสงครามอาวเปอรเซีย (กรณีอิรักบุกยึดครองคูเวต) ที่เรียกวา นโยบายการจัดระเบียบโลก
ใหม “New World Order” และนโยบายดังกลาวไดพยายามถูกนํามาใชในสวนตาง ๆ ของโลกเรื่อยมา ไมวาจะการ
เจรจาแกไขปญหาสันติภาพในตะวันออกกลาง (ในกรณีความขัดแยงระหวางอิสราเอลกับปาเลสไตนและกลุม
ประเทศอาหรับ)หรือกรณีวิกฤติการณในประเทศเฮติ
แตอยางไรก็ตามปญหาของโลกในยุคปจจุบันคงมิใชปญหาความขัดแยงระหวางลัทธิการเมือง
(คอมมิวนิสต-ประชาธิปไตย ดังกรณีตัวอยางความขัดแยงในประเทศ เชน เหตุการณ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1973 หรือ 6
ตุลาคม ค.ศ. 1976) อีกตอไปแลว แตปญหาที่เกิดขึ้นของโลกยุคกระแสโลกาภิวัตน เปนปญหาความขัดแยงที่
รุนแรงมักจะมุงประเด็นสวนใหญไปที่ความขัดแยงในเรื่อง “ทรัพยากร” ซึ่งดูจะทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นดังกรณี
ความขัดแยงระหวางสเปน-แคนาดา (ความขัดแยงระหวางสเปนกับแคนาดามีผลสืบเนื่องมาจากกรณีเรือประมง
สเปนจับปลาในเขตนานน้ําทะเลหลวงนอกชายฝงนิวฟนแลนดของประเทศแคนาดา) ซึ่งปญหาดูจะรุกราน
ใหญโตเปนควมขัดแยงระหวาง EU กับ NAFTA ในเวลาตอมา และกรณีความขัดแยงตอการอางกรรมสิทธิ์เหนือ
หมูเกาะสแปรตลียในทะเลจีนใตที่อุดมสมบูรณไปดวยน้ํามันของประเทศจีน ไตหวัน บรูไน ฟลิปปนส มาเลเซีย
และเวียดนาม หรือกรณีความขัดแยงระหวางการแยงชิงดินแดนที่อุดมไปดวยปาไมและแรธาตุของเปรูกับ
เอกวาดอร
ปญหาตาง ๆ เหลานี้ยิ่งทวีคูณความรุนแรงเพิ่มขึ้นในขณะเดียวกันความขัดแยงระหวางทองถิ่นกับอํานาจ
รัฐสวนกลางไดกลายเปนตัวกระตุนปลุกเราความรูสึกของกลุมลัทธิชาตินิยมใหญ (Neo-Nationalism) ซึ่งสวนมาก
จะเกิดภายในรัฐที่เกิดขึ้นภายหลังการลมสลายของลัทธิคอมมิวนิสต เชน เกิดความขัดแยงระหวางเชื้อชาติในอดีต
รัฐของรัสเซีย เชน ความขัดแยงระหวางรัสเซียกับชนกลุมนอยเชคเนียในประเทศสหพันธรัฐรัสเซีย หรือความ
ขัดแยงระหวางรัฐตอรัฐที่เกิดใหมเชน ความขัดแยงระหวางรัฐอารเมเนียกับอาเซอรไบจาน เปนตน และใน
ประเทศอดีตสหพันธสาธารณรัฐยูโกสลาเวีย เชน สงครามกลางเมืองในยูโกสลาเวียทําใหเกิดประเทศใหมเพิ่มขึ้น
ระหวางชาวบอสเนียมุสลิม กับบอสเนียเซิรบและโครทกับพวกเซิรบ เปนตน และนอกจากความขัดแยงภายใน
ของกลุมชาตินิยมใหมที่ถูกปกครองโดยรัฐสวนกลางที่ยังมิไดรับการปลดปลอยในสวนตาง ๆ ของโลกก็เพิ่มขึ้น
เชน ปญหาความปญหาความขัดแยงระหวางตุรกีกับปญหาชนกลุมนอยชาวเคิรด, ความขัดแยงระหวางรัฐบาลพมา
กับปญหาชนกลุมนอยกะเหรี่ยง ไทยใหญ และมอญ บริเวณตามตะเข็บรอยตอของชายแดนไทย ,ความขัดแยง
ระหวางรัฐบาลฟลิปปนสกับปญหาชนกลุมนอยมุสลิมในเกาะมินดาเนา ความขัดแยงระหวางรัฐบาลอินโดนีเซีย
กับปญหาติมอรตะวันออก และนอกจากนั้นปญหาความขัดแยงระหวางเผาพันธุในทวีปอัฟริกาก็ทวีความรุนแรง
เพิ่มขึ้น เชน ความขัดแยงระหวางเผาฮูตูกับเผาทุทซีในประเทศบุรุนดี และรวันดา เปนตน
อาจกลาวสรุปไดวาปญหาตาง ๆ เหลานี้ดูจะเปนปญหาความขัดแยงทางเชื้อชาติซึ่งโดยภาพรวมแกนแทของ
ปญหามักจะเชื่อมโยงกับความสําคัญของทองถิ่นที่คํานึงถึงการรักษาและหวงแหนทรัพยากรภายในทองถิ่นของ
ตน ดังนั้น ความเปนลัทธิชาตินิยมใหมก็คงไมตางจากความเปนทองถิ่นนิยม (Localism) ซึ่งปลุกเราจิตสํานึกของ
มวลชนในทองถิ่นเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นการที่รัฐบาลกลางจะทําการตักตวงผลประโยชนจากทองถิ่นที่มีความ
แตกตางทางเชื้อชาติจึงมักจะถูกตอตานอยางรุนแรง หรือถาเปนเชื้อชาติเดียวกันการที่รัฐสวนกลางทําการตักตวง
ผลประโยชนจากทองถิ่นโดยไมคํานึงถึงความเดือดรอนของประชาชนก็จะถูกตอตานอยางรุนแรงเหมือนกัน ดัง
กรณีเหตุการณในประเทศไทย อาทิ การสรางเขื่อนปากมูลที่จังหวัดอุบลราชธานี หรือกรณีความขัดแยงการสราง
เขื่อนแกงเสือเตนที่จังหวัดแพร เปนตน จากเหตุการณดังกลาวอาจสรุปไดวา สภาพของสังคมในยุคปจจุบันเปน
สังคมขาวสาร ประชาชนในทองถิ่นสามารถรับรูไดจากสื่อมวลชน และทราบถึงผลดีผลเสียที่รัฐบาลกลางทําขึ้น
ดังนั้นจึงอาจกลาวไดวาโลกในยุคโลกาภิวัตนหรือโลกยุคขาวสารก็นาจะเปนยุคของสังคมแหงการตรวจสอบ
ความถูก-ผิดดวย ซึ่งยกตัวอยางไดชัดเจนในกรณี สปก.4-01 เปนตน
ในขณะเดียวกันความสัมพันธระดับโลกก็นาจะมีแนวโนมของการรวมตัวเพื่อปกปองผลประโยชนของ
กลุมมากขึ้น โดยเฉพาะการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ อาทิ กลุม EC ASEAN NAFTA และ AFTA เปนตน ซึ่งกลุม
เศรษฐกิจดังกลาวไดมีการรวมกลุมที่กาวหนาและพัฒนาไปกวาที่จะคาดเดาได โดยเฉพาะกลุม EC ที่ไดมีการตก
ลงใชระบบเงินตราใหเปนสกุลเดียวกันและนอกนั้นยังมีแผนการจัดตั้งรัฐสหภาพยุโรป (ในสวนของประเทศ
ยุโรปตะวันตก) ซึ่งจากสาเหตุดังกลาวแนวโนมของความขัดแยงทางการเมืองจะลดลง แตจะไปเพิ่มทวีปญหา
ความขัดแยงทางเศรษฐกิจแทน หรือที่เรียกวา “สงครามการคา” ระหวางชาติมหาอํานาจ อาทิ ความขัดแยงทาง
เศรษฐกิจระหวางสหรัฐอเมริกากับญี่ปุน เปนตน
แนวโนมสรุปความขัดแยงของโลกในป ค.ศ. 2000 จะเปนความขัดแยงระดับยอยภายใน
ทองถิ่นเสียสวนใหญ สวนความขัดแยงระดับโลกนาจะเปนความขัดแยงในระบบของกลุม
ทางเศรษฐกิจมากกวากลุมการเมือง ปญหาความขัดแยงทางการเมืองในเรื่องของลัทธิ
การเมืองจะหมดไป แตปญหาในเรื่องลัทธิชาตินิยมใหมและปญหาของขบวนการกอการรายระหวางประเทศจะ
เพิ่มขึ้น ซึ่งโลกในศตวรรษที่ 21 ความเปนตํารวจโลกของสหรัฐอเมริกาจะลดบทบาทลงและผลักดันภาระที่หนัก
อึ้งในเรื่องงบประมาณคาใชจายทางการทหารใหกับประเทศมหาอํานาจทางเศรษฐกิจเขามามีบทบาทคุมครอง
ตัวเองและคุมครองยานอิทธิพลทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น ในขณะเดียวกันกลุมการเมืองใหมที่จะปรากฏบนเวที
การเมืองโลกในศตวรรษใหมก็คือ กลุมชาติมุสลิม และจีน สิ่งตาง ๆ เหลานี้นับเปนสิ่งที่เกิดขึ้นในโลกภายหลัง
สงครามเย็นสิ้นสุดลง

สังคมนิยมลมสลาย
อุดมการณคอมมิวนิสตของคารล มารกซ ในศตวรรษที่ 19 เปนตนเหตุประการสําคัญที่ผลักดันใหเกิด
การปฏิวัติรัสเซียขึ้นในศตวรรษที่ 20 และอาณาจักรรัสเซียไดกลายเปนสหภาพโซเวียต ซึ่งมีระบบการเมือง
เศรษฐกิจและสังคมเปนแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต โดยที่การปฏิวัติดังกลาวมิไดเปนแบบคารล มารกซ เพราะ
มิใชเปนการเดือดปะทุของผูใชแรงงาน และสังคมภายหลังการปฏิวัติมิใชเปนสังคมแบบเผด็จการของชนชั้น
กรรมาชีพตามที่มารกซไดกลาวไว แตเปนสังคมภายใตการเผด็จการเบ็ดเสร็จของ “พรรคคอมมิวนิสต”
สิ่งที่สําคัญอีกประการหนึ่ง ซึ่งแตกตางไปจากความคาดหมายของคารล มารกซ ก็คือการปฏิวัติแบบ
คารล มารกซ ยังไมควรเกิดขึ้นที่รัสเซีย เพราะการปฏิวัติสังคมนิยมจะตองเริ่มมาจากความเสื่อมโทรมถึงขีดสุด
ของสังคมทุนนิยมเต็มขั้น แตเลนินและพรรคพวกไดทําการปฏิวัติรัสเซียจากสังคมศักดินา นับเปนการปฏิวัติที่
กาวขามระดับการพัฒนาสังคมที่สําคัญไปหนึ่งขั้นตอน
ดังนั้น แมวาเลนินและผูนํายุคตอมาของรัสเซียจะไมเคยปฏิเสธอุดมคติของคารล มารกซแตไมสามารถ
เรียกไดวา การปฏิวัติรัสเซียนั้นมีตัวแบบจําลองมาจากอุดมคติของคารล มารกซอยางจริงจัง สิ่งที่เกิดขึ้นก็คือกอน
และหลังเลนินปฏิวัติในรัสเซีย เลนินมีความจําเปนตองปรับเปลี่ยนแนวทางของคารล มารกซ และหาวิธี
ปฏิบัติการตาง ๆ ดวยตนเอง เพื่อนําเอาแนวทางหลักของคารล มารกซมาปรับใหเหมาะสมกับสถานการณใน
รัสเซียขณะนั้นจนสามารถปฏิวัติไดและในเมื่อกอนหนาความสําเร็จของการปฏิวัติรัสเซีย ยังไมเคยมีการปฏิวัติ
แบบคารล มารกซสําเร็จขึ้นที่ใดเปนการถาวรเลย คารล มารกซเองไมเคยทําการปฏิวัติไดสําเร็จแบบครบวงจร
เขาเปนเพียง “นักคิด” เทานั้น เลนินจึงไมมี “ตัวแบบ” ของสังคมใดที่จะเอาอยางได
ดังนั้น ระหวาง ค.ศ. 1917 - สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง ในเมื่อรัสเซียเปนประเทศคอมมิวนิสต
เพียงประเทศเดียวอยูประมาณ 28 ป เรียกไดวาชวงนั้นเลนินและผูนํารัสเซียคนถัดมาหนีไมพนการ “ลมลุก
คุกคาม” ในการบริหารประเทศในระบบใหมอยางที่ยึดแนวทางใดเปนเกณฑตายตัวไมได ตองปรับเปลี่ยนแกไข
อุดมการณของคารล มารกซ ใหเหมาะสมกับสถานการณแวดลอมรัสเซีย ทั้งภายในและภายนอกไปในแตละวัน
เพื่อความอยูรอด จึงเห็นไดวารัสเซียในระบบใหมนี้ มิใชเพียงแตจะคิดหาวิธีเพื่อความอยูรอดภายใตระบบ
เศรษฐกิจและสังคมแบบใหมเทานั้น หากแตยังจะตองอยูรอดปลอดภัยในทางยุทธศาสตรอีกดวยทามกลาง
ประเทศตาง ๆ ในโลกที่ปกครองดวยระบบอื่น
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง จนถึงตนป ค.ศ. 1989 มีประเทศตาง ๆ ใน 3 ทวีป คือ ยุโรป เอเชีย และ
ลาตินอเมริกา ไดกลายเปนประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสตอีก 15 ประเทศ เปนอันวา ในเวลาประมาณ 72 ป
นับตั้งแตมีการปฏิวัติรัสเซีย เปนตนมา ในโลกไดมีประเทศคอมมิวนิสตเกิดขึ้นเพียง 16 ประเทศเทานั้น
ประเทศทั้ง 15 ประเทศ ภายหลังรัสเซียไดมีการเปลี่ยนแปลงมาเปนคอมมิวนิสตดวยวิธีการ 3 วิธี คือ
1. โดยการชวยเหลือเกื้อหนุนของรัสเซีย และกองทัพแดง ไดแก โปแลนด ฮังการี โรมาเนีย บัลแกเรีย
เยอรมันตะวันออก มองโกเลีย และเกาหลีเหนือ
2. โดยการปฏิวัติของคอมมิวนิสตภายในประเทศ ซึ่งไดรับการสนับสนุนจากชาวพื้นเมืองมากพอใช
ไดแก ยูโกสลาเวีย จีน เวียดนาม และคิวบา
3. โดยการใหความชวยเหลือระหวางประเทศคอมมิวนิสตดวยกันเอง คือ ยูโกสลาเวียชวยแอลเบเนีย
และเวียดนามชวยเขมรกับลาว
แตไมวาทั้ง 15 ประเทศจะเปลี่ยนแปลงคอมมิวนิสตภายหลังรัสเซียจะมีการปฏิวัติดวยวิธีใดและ
จําเปนตองวางแนวทางบริหารปกครองประเทศของตนไปในทางใด ภายหลังการปฏิวัติแลวก็ตาม แตทุกประเทศ
ตางยอมรับอุดมการณของมารกซและยอมรับการปฏิวัติรัสเซียเปนตัวแบบไมมากก็นอย หรืออีกนัยหนึ่งทั้ง 15
ประเทศที่เปนคอมมิวนิสตภายหลังรัสเซียนั้นไมมีประเทศใดปฏิเสธคารล มารกซหรือเลนินเลย ทั้ง ๆที่ตางก็ตอง
ลมลุกคลุกคลานปรับเปลี่ยนอุดมการณและวิธีการตาง ๆ เพื่อใหประเทศของตนดํารงคงอยูไดตอไปภายหลังการ
ปฏิวัติ
ดังนั้น เมื่อนายมิคาอิล กอรบาชอฟ ประมุขของรัสเซีย ซึ่งเริ่มมีอํานาจในป ค.ศ. 1985 ไดประกาศ
นโยบาย “เปด-ปรับ” หรือ “ กลาสนอสท-เปเรสตรอยกา” และถัดมาในปลายป ค.ศ. 1989 ไดเกิดการลมสลายของ
ระบบสังคมนิยมในยุโรปตะวันออก 6 ประเทศ ในเวลาใกลเคียงกัน คือ ในโปแลนด ฮังการี เยอรมันตะวันออก
บัลแกเรีย เชโกสโลวะเกีย และโรมาเนีย นั้น จึงเรียกไดวา นั่นคือความความลมเหลวของลัทธิหรืออุดมการณ
มารกซิสม หากแตปรากฏการณดังกลาวเกิดจาก “ความเสื่อมของระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสตแบบไมครบวงจร”

ยุโรปใหม
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เปนตนมาจนถึงปจจุบัน ยุโรปไดเผชิญกับ “ระเบียบใหม” (New Order) อยางนอย 2
ระยะ คือ
1. ระเบียบใหมยุคแรก ระหวางป ค.ศ. 1945 ถึง สิ้นป ค.ศ. 1989
ระหวางระยะเวลาดังกลาว ยังอาจแบงออกเปนชวงเวลายอยไดอีกหลายระยะ ชวงเวลาที่สําคัญที่สุดคือ
ระหวางป ค.ศ. 1945-1949 ซึ่งเปนการสิ้นสุดของสงครามใหญระดับโลก แตเปนการพักตัวของปรากฏการณ
ระดับโลกและระดับยุโรปอีกหลายอยาง ปรากฏการณเหลานั้นไดจัดตัวเองใหปรากฏเปน “ระเบียบ” (Order) ซึ่ง
ไมเคยปรากฏมากอนเลย อันไดแก
1.1 การแบงประเทศในยุโรปออกเปน “กลุมตะวันตก” และ “กลุมตะวันออก” หมายถึง ประเทศยุโรปที่
เปนประชาธิปไตย มีความสัมพันธใกลชิดกับสหรัฐอเมริกา และประเทศยุโรปที่เปนสังคมนิยมภายใต
การปกครอง และชี้นําของพรรคคอมมิวนิสต และไดตกอยูภายใตอิทธิพลของรัสเซียอยางแนนแฟนจนเรียกไดวา
เปน “กลุมโซเวียต” (Soviet Bloc) เหตุผลของการแบงดังกลาวเปนเรื่องของผลประโยชนมากกวาเปนความศรัทธา
ในลัทธิหรืออุดมการณทางการเมือง
1.2 ภาวการณในขอ 1. มีผลใหเกิดการแขงขันระหวางสหรัฐอเมริกาและรัสเซียในการสรางระบบ
ควบคุมและการสวามิภักดิ์จากพันธมิตรของตน และเพื่อการมีอํานาจตัดสินใจเหนือแหลงทรัพยากร
ภายในประเทศสัมพันธมิตรของแตละกลุม และที่สําคัญที่สุดคือ มหาอํานาจหัวหนากลุมแตละฝายจําเปนตอง
รักษากลุมของตนใหพนจากภัยรุกรานโดยตรงหรือโดยออมจากฝายตรงขาม ตางฝายจึงตองมีเครื่องมือเพื่อสนอง
นโยบายดังกลาว ฝายสหรัฐอเมริกาและกลุมประเทศในยุโรปตะวันตกไดกอตั้ง “องคการสนธิสัญญาแอตแลนติก
เหนือ” (NATO-North Atlantic Organization) ขึ้นในป ค.ศ. 1949 ฝายรัสเซียไดใชเครือขายโยงใยของการมีอํานาจ
ซอนอํานาจของสถาบันและองคการตางๆ ภายในประเทศเพื่อปองกันภัยจากภายนอกและเพื่อสรางเสรีภาพภายใน
กลุมพันธมิตรของตนระหวางป ค.ศ. 1945-1954 ตอมารัสเซียไดกอตั้ง “องคการสนธิสัญญาวอรซอ” (Warsaw
Treaty Organization) ขึ้นเพื่อกระทําหนาที่ตางๆที่กลาวมาแลวอยางเปนทางการในป ค.ศ. 1955
1.3 สหภาพโซเวียต โจมตีวา องคการนาโต มีวัตถุประสงค เพื่อรุกราน จึงไดตั้ง องคการ สนธิสัญญา
กรุงวอซอว หรือที่เรียกวา Warsaw Pact ขึ้นในป ค.ศ.1955 ชื่อเต็ม และ อยางเปน ทางการ เรียกวา Warsaw Treaty
on Friendship Cooperation and Mutual Aid or Warsaw Treaty Organization องคการ สนธิสัญญา กรุงวอซอว มี
บทบัญญัติ ทํานองเดียว กับขอ 5 ขององคการ สนธิสัญญา แอตแลนติกเหนือ ที่วา การโจมตี สมาชิก รัฐใดรัฐหนึ่ง
จะถือวา เปนการโจมตีทั้งหมด และขอ 5 ของ บทบัญญัติ ยังไดระบุถึง การบัญชาการทหาร รวมกันดวย
1.4 สืบเนื่องมาจากการลมสลายของระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต ไดมีผลใหมีการสลายตัวของ “กลุม
โซเวียต” และ “องคการสนธิสัญญาวอรซอ” (รวมทั้ง “องคการโคมีคอน” ซึ่งเปนองคการรวมมือทางเศรษฐกิจ
ระหวางประเทศสังคมนิยม) ปรากฏการณนี้มีผลใหเกิดการสิ้นสุดของ “สงครามเย็น” และการเผชิญหนาระหวาง
มหาอํานาจตะวันออก-ตะวันตก นับเปนครั้งแรกภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ทีท่ วีปยุโรปสามารถรวมกันเปน
หนึ่งไดโดยไมมีกําแพงแหงความเปนศัตรูมาขวางกั้น
1.5 มีการรวมประเทศเยอรมันทั้งสองเขาเปน
ประเทศเดียวกัน หลังจากการถลมทลายของ
กําแพงเบอรลินในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1989
2. ระเบียบใหมยุคหลัง แมจะมีระยะเวลาไม
นาน แตดูจากภาพภายนอกปรากฏเปนทวีปยุโรปที่คลายความตึงเครียด เปนยุโรปที่มี
ทาทีจะรวมกันระหวางตะวันตก-ตะวันออกเพื่อแสวงหาประโยชนรวมกันในดานตาง ๆ จากทรัพยากรที่
ตางมีอยูและเปนยุโรปที่ดูทีทาวาจะ “ปลอดวิกฤตการณ” รวมทั้งปลอดจากความหมิ่นเหมของการเกิดการ
นําใชอาวุธนิวเคลียรและจะเปนยุโรปที่ไมมีการเผชิญหนาทางทหารอีกตอไป

ลักษณะทางการเมืองของการลมสลายของพรรคคอมมิวนิสต
ในอดีตประเทศสังคมนิยมในยุโรป 9 ประเทศ ระหวางป ค.ศ. 1989 จนถึงปจจุบันซึ่งเริ่มกระบวนการ
ลมสลายของพรรคคอมมิวนิสตในฐานะเปนกลไกอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ มีลักษณะเดนชัดทาง
การเมืองบางประการที่สามารถจําแนกออกไดดังตอไปนี้คือ
1. พรรคคอมมิวนิสตหมดอํานาจโดยสิ้นเชิง คือ พรรคคอมมิวนิสตไดเปลี่ยนชื่อและหมดบทบาทใน
การชี้นําทางการเมืองและแมจะยังคงมีการรวมตัวในระดับพรรคการเมืองและเขาสมัครรับการเลือกตั้ง แตก็ได
คะแนนเสียงนอยมาก หรือมิไดรับเลือกเขามาในสภายุคใหมเลย ลักษณะเชนนี้เกิดขึ้นในประเทศฮังการี และบาง
ประเทศอิสระในอดีตสหภาพโซเวียต สาเหตุก็คือ กอนหนานี้ไดมีการปฏิรูปมาแลวระดับหนึ่ง บางกรณีประชาชน
มิไดใหความนิยมแกพรรคคอมมิวนิสตมาตั้งแตในระบบเกา
2. พรรคคอมมิวนิสตปรับภาพลักษณะและบทบาทใหม โดยที่ยังสามารถรวมพลังกันได โดยเฉพาะใน
กลุมคอมมิวนิสตปฏิรูป (reformed communists) และขจัดสมาชิกจําพวกสายแข็งตรงอนุรักษนิยม (hardliners)
ออกไปได ในการเลือกตั้งยุคใหม พรรคปฏิรูป (หรือที่มักใชชื่อวาพรรคสังคมนิยม) ดังกลาวนี้ไดรับเลือกตั้งให
เปนเสียงขางมาก จนสามารถจัดตั้งรัฐบาลเสียงขางมาก หรือรัฐบาลผสมได ลักษณะเชนนี้เกิดขึ้นในประเทศ
แอลเบเนีย บัลแกเรีย โรมาเนีย และโปแลนด (โดยเฉพาะในการเลือกตั้งครั้งลาสุดเมื่อวันที่ 19 กันยายน 1993 ใน
สาธารณรัฐเช็กและสโลวัก พรรคคอมมิวนิสตมีที่นั่งมากพอใชในสภายุคใหม)
3. ประเทศเกาและพรรคเกาลมสลาย กรณีเชนนี้ นอกจากพรรคคอมมิวนิสตในประเทศเหลานี้จะหมด
อํานาจการชี้นําในสังคม ไมวาจะดวยการปฏิเสธของประชาชน (เชน ในกรณีของเยอรมันตะวันออก) หรือการ
ถอดถอนออกจากอํานาจโดยพรรคคอมมิวนิสตเอง (เชน ในกรณีของอดีตสหภาพโซเวียตเมื่อมิคาอิล กอรบาชอฟ
ประกาศยุบพรรคคอมมิวนิสตรัสเซียภายหลังการรัฐเดือนสิงหาคม ค.ศ.1991 และอดีตสาธารณรัฐในยูดกสลาเวีย
คือ สโลวีเนีย โครเอชีย บอสเนีย )เหตุการณยังพัฒนาไปถึงขั้นที่โครงสรางเกาของประเทศพลอยลมสลายไปดวย
คือ “ ประเทศเกาถลม ” ไดแก
3.1 อดีตสหภาพโซเวียต กลายเปน “ สหพันธรัฐอิสระ ”(CIS : Commonwealth of Independent states )
อันประกอบดวย 12 ประเทศเอกราช ซึ่งเปนอดีตสาธารณรัฐในอดีตประเทศสหภาพโซเวียต ตั้งแตเดือนธันวาคม
ค.ศ. 1991
3.2 อดีตประเทศเชโกสโลวะเกีย กลายเปนสาธารณรัฐเช็ก และสาธารณรัฐสโลวักเมื่อวันที่ 1 มกราคม
ค.ศ. 1993 หลังจากการตกลงแยกประเทศออกจากกันอยางสันติและคอนขางราบรื่น
3.3 ประเทศยูโกสลาเวีย ซึ่งเคยประกอบดวย 6 สาธารณรัฐ เหลือเพียง 2 รัฐในชื่อประเทศเดิม คือ
เซอรเบีย และมอนเตเนโกร ในขณะที่สโลวีเนีย โครเอเชีย บอสเนีย และมาซีโดเนีย ประกาศแยกตัวเปนประเทศ
อิสระระหวางป ค.ศ. 1991-1992 ซึ่งเปนการแยกตัวที่ไมราบรื่น เพราะรัฐบาลกลางเดิมที่มีศูนยกลางอยูที่รัฐ
เซอรเบียขัดขวางการแยกตัวของทุกรัฐจนเกิดเปนการสูรบดวยอาวุธกรณีใหญบาง เล็กบาง กรณีใหญที่สุดที่ตกลง
กันไดแลวคือการสูรบอยางนองเลือดระหวางเซอรเบียกับบอสเนีย
3.4 ประเทศเยอรมันตะวันออก (อดีตสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมัน) เปนการลมสลายกรณีพิเศษ
คือประเทศถูกยุบแลวกลับเขาไปรวมกับเยอรมันตะวันตก (สหพันธสาธารณรัฐเยอรมัน) ซึ่งเคยเปนประเทศ
เดียวกันมาในประวัติศาสตร นอกจากชวงสั้น ๆ ระหวางป ค.ศ. 1949-1990 ที่ตองถูกแยกออกเปน 2 ประเทศ โดย
มาตรการที่ตกลงกันไมไดระหวางมหาอํานาจสัมพันธมิตรในสงครามครั้งที่สอง ในกรณีของเยอรมันตะวันออก
ปญหาตาง ๆ ในการเปลี่ยนระบบไดถูกโอบอุมและแกไขโดยเยอรมันตะวันตก
สามกรณีแรกของ “ประเทศเกาลม” มีสาเหตุสําคัญเกิดจากโครงสรางพื้นฐานของสังคมในแตละ
ประเทศเปนลักษณะ “สังคมแบบหลากหลาย” (heterogeneous society) คือ ประกอบดวยประชากรที่มี
ประวัติศาสตรเชื้อชาติ และวัฒนธรรมแตกตางกัน แตไดถูกนําเอามารวมไวในประเทศเดียวกันดวยมาตรการหรือ
ความจําเปนอยางหนึ่งอยางใด ในบางชวงเวลาในอดีต สังคมนั้น ๆ ไดมีศูนยอํานาจที่แข็งแรงมั่นคงและมี
เครื่องมือควบคุมพอเพียงที่ทําใหความหลากหลายตาง ๆ ดังกลาวสามารถอยูรวมกันไดอยางสงบ ครั้นเมื่อปจจัย
ควบคุมดังกลาวสลายไป โดยเฉพาะเครื่องมือของพรรคคอมมิวนิสต ซึ่งหมดพลังการชี้นําลง ความแตกแยก
หลากหลายเหลานั้นก็ปรากฏตัวอยางชัดเจน และพัฒนาไปจนถึงจุดที่ประเทศภายใตรัฐบาลกลางระดับชาติรัฐบาล
เดียวไดสลายตัวกลายเปนประเทศเอกราชหลายประเทศ ซึ่งมีรัฐบาลสูงสุดระดับชาติของแตละประเทศแยกกันไป
เนื่องจากไมมีผลประโยชนรวมกันศูนยอํานาจเดิม ตัวอยางที่ชัดเจนคือ แมวาปจจุบันนี้ ในสหพันธรัฐรัสเซียจะไม
มีพรรคคอมมิวนิสตในโครงสรางอยางเปนทางการ และมีอํานาจแข็งแกรงเทาเดิม แตสมาชิกสวนใหญของรัฐสภา
(ซึ่งไดถูกยุบลงไปโดยเยลทซิน เมื่อวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1993) ก็คือ อดีตสมาชิกพรรคคอมมิวนิสตในสมัยของ
อดีตสหภาพโซเวียต และไดแสดงพฤติกรรมของคอมมิวนิสตแบบแข็งตรง (hardliners) ไมตางจากสมัยเมื่อยังมี
พรรคอยู นอกจากนี้การรวมกลุม (factions) บางกลุมในสภาดังกลาว เชน กลุม Civic Union ก็เปนการรวมเอาอดีต
สมาชิกพรรคคอมมิวนิสตที่เคยอยูในระดับผูบริหารโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญมาไวดวยกัน และไดเสนอ
นโยบายแกไขปญหาเศรษฐกิจไมตางจากแนวทางของคอมมิวนิสตเดิม คือใหรัฐมีบทบาทสําคัญในเรื่องเศรษฐกิจ
กลาวคือโดยสรุปก็คือ ภายในระยะเวลาประมาณ 8 ป หลังจากการลมสลายของบรรดาพรรค
คอมมิวนิสตและการปกครองแบบเผด็จการคอมมิวนิสตในอดีตประเทศสังคมนิยม ไมวาจะมีการเปลี่ยนแปลง
ไปสูรูปแบบการเมืองการปกครอง และระบบเศรษฐกิจแบบใหมแบบใด ระดับใดก็ตาม เปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมไดที่
ในทุกสังคมยังจะตองมีรองรอยของภูมิปญญา พฤติกรรม ทัศนคติ และความตองการแบบคอมมิวนิสตหลงเหลือ
อยูไมมากก็นอย เพราะนั่นคือ วิถีทางเดียวที่บมเพาะจิตใจของประชาชนทั่วทั้งประเทศเปนเวลานานติดตอกันมา
นานป โดยไมมีทางเลือกอื่นใด แมวาในบางชวงระยะเวลา บางประเทศอาจมีประสบการณของการเปน
“คอมมิวนิสตแบบปฏิรูป” มาบาง แตนั่นก็มิไดเปลี่ยนระบบหรือเปลี่ยนวิถีชีวิตของประชาชนแบบถอนรากถอน
โคนแตอยางใดหรือเอเชียตะวันตก (บาหเรน จอรแดน คูเวต โอมาน ซาอุดิอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส ภูฎาน
ในเอเชียใต และบรูไน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไมคอยปรากฏวาในรอบป 1993 ประชาชนในประเทศเหลานี้
เคลื่อนไหว เรียกรองสิทธิในการเปลี่ยนแปลงการปกครองแตประการใด
ยังมีประเทศที่มีการปกครองแบบเผด็จการทหารที่สําคัญเหลืออีกสองประเทศในเอเชีย นั่นคือ อิรักใน
ตะวันออกกลาง และพมาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ทั้งสองประเทศนี้มีประชาชนภายในเคลื่อนไหวตอตานมาก
แตก็ถูกปราบปรามดวยอํานาจทหารอยางราบคาบในอิรักแมสหรัฐอเมริกา ในนามของสหประชาชาติจะไดใช
กําลังขับไลออกไปจากคูเวต แตสหรัฐอเมริกา ก็ไมสามารถหรือไมมีเปาหมายที่จะโคนลมอํานาจเผด็จการของ
ซัดดัม ฮุสเซน และเปลี่ยนระบบใหมใหแกชาวอิรักได สวนพมาก็ถูกสหรัฐอเมริกา บีบคั้นทุกวิถีทางแตก็ยังไม
ไดผล ยังมีอินโดนีเซียอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งประธานาธิบดีซูฮารโตครองอํานาจอยู 28 ปแลวในทางทฤษฎีประชาชน
อาจเปลี่ยนรัฐบาลได แตในทางปฏิบัตินั้นดูจะเปนไปไดยากมาก ทั้งนี้เพราะประธานาธิบดีไดรับเลือกตั้งจาก
สภาที่ปรึกษาประชาชน (People’s Consultative Assembly) ซึ่งประกอบดวยสมาชิก 1,000 คน ครึ่งหนึ่งของ
จํานวนนี้ไดรับแตงตั้งจากประธานาธิบดี นอกจากนั้น ทหารยังมีอํานาจมากแฝงอยูในกลไกตาง ๆ ของรัฐ
1. ทวีปเอเชียยังมีประเทศที่มีการปกครองในระบอบคอมมิวนิสตมากที่สุดในโลก คือ เกาหลีเหนือ
เวียดนาม จีน และลาว ทุกประเทศกําลังปรับปรุงระบบเศรษฐกิจใหเปนแบบเสรีมากขึ้นอยางตอเนื่อง แตพรรค
คอมมิวนิสต (ในเกาหลีเหนือเรียกวา พรรคกรรมกรและในลาวเรียกวา พรรคประชาชนปฏิวัติลาว) ยังคงผูกขาด
อํานาจการปกครอง และยังควบคุมสื่อมวลชนอยางทั่วถึง จีนและเวียดนาม ประสบปญหาการตอตานจาก
ประชาชนมากขึ้น แตเกาหลีเหนือและลาวไมปรากฏวามีการเคลื่อนไหวตอตานรัฐบาลภายในประเทศอยางรุนแรง
แตประการใด
2. สิทธิที่จะไมถูกละเมิดตอชีวิตและรางกาย โดยทั่วไปประเทศที่มีคุณสมบัติเปนประชาธิปไตยสูง
ประชาชนมักมีหลักประกันในเรื่องชีวิตและรางกายมาก ประเทศเผด็จการเบ็ดเสร็จประชาชนมีสิทธิในชีวิตและ
รางกายนอย ความขัดแยงและภาวะสงครามจะเปนปจจัยริดรอนสิทธิสวนบุคคลใหนอยลง
อินเดียซึ่งมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ประชาชนมีสิทธิและเสรีภาพมาก แตมีความขัดแยง
กันในเรื่องเชื้อชาติ จัมมูร แคชเมียร ปนจาบ (Jammu, Kashmir, Punjab) ผูตองสงสัยถูกทางการถูกจับกุมคุมขัง มี
การฆาทิ้งการใชอํานาจมืดตอบโตก็มีมาก
ในประเทศที่ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย ประชาชนไมคอยสนใจการเมือง ผูปกครองมีรายได
จากน้ํามันและแกสเปนสวนใหญ การกดขี่ขูดรีดมีนอย หรือถาจะมีก็แฝงอยูกับศาสนาและประเพณี ประชาชน
สวนใหญแมจะไมคอยมีสิทธิ แตก็ไมคอยมีหนาที่มากนัก มีเสรีภาพมากกมายในกรอบของศาสนาและประเพณี
เชน ในบรูไน ฐานะของสตรีดอยกวาชายมาก แตพวกเขาไมรูสึกอะไร เพราะประพฤติปฏิบัติกันมาตามคัมภีรโก
หราน
รัฐเผด็จการโดยทหารมีปญหามากในเรื่องสิทธิในชีวิตและรางกาย ในพมา ผลจากการปราบปราม
การชุมนุมครั้งใหญ ป ค.ศ. 1988 และการเลือกตั้งที่รัฐบาลทหารจัดแตไมยอมรับผลในป ค.ศ. 1990 ทําใหเกิด
ความขัดแยงกันรุนแรงระหวางรัฐบาลทหารกับผูตอตาน ฝายตอตานสวนหนึ่งถูกจับเขาคุก อีกสวนหนึ่งหนีออก
นอกประเทศ ผูนําฝายคานนางอองซาน ซูจี หลังจากถูกกักบริเวณบานมาเปนเวลา 7 ป ก็ไดรับการปลดปลอยเปน
อิสระ เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1995
ประเทศที่มีการปกครองในระบบคอมมิวนิสตน้ัน ประชาชนตื่นตัวในทางการเมืองคอนขางสูง รัฐบาล
เคยใชอุดมการณเปนแรงดลใจใหสนับสนุนการปกครองที่พวกเขาตองเสียสละเพื่ออนาคตที่สดใส แตในระยะ
หลัง ๆ นี้ เมื่ออุดมการณไรความหมายไป ประชาชนหันมาคิดถึงผลประโยชน การเคลื่อนไหวตอตานรัฐบาลและ
การปราบปรามจากรัฐบาลจึงมีมาก ในจีน ตํารวจและเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยใชอํานาจจับกุมตองหามา
สอบสวนกันอยางแพรหลาย บางคนถูกจําขังหลายเดือนในขอหาทําผิดกฎหมายอาญามาตรา 90 และ 104 คือ
ปฏิวัติซอนตามกฎหมายทางการจะตองแจงไปทางครอบครัวและหนวยงานของผูถูกจับภายใน 24 ชั่วโมง แต
ในทางปฏิบัติเจาหนาที่มิไดเครงครัดในเรื่องเวลาเทาไร ในเวียดนาม ไมมีตัวเลขวามีผูถูกตองโทษจําคุกปฏิวัติ
ซอนเทาไร แตตํารวจและผูรักษาความปลอดภัยมีภาระมาก ในป ค.ศ. 1993 ปญญาชน หมอสอนศาสนา นักขาว
และชาวตางชาติหลายคนถูกจับ หรือกักตัวเพื่อสอบสวน
Dr. Doan Viet Hoat อดีตรองอธิการบดี Van Hanh Buddhist University ที่กรุงโฮจิมินห ถูกศาลตัดสิน
จําคุก 20 ป ในเดือนมีนาคม 1993 ตอมาศาลอุทธรณลดโทษเหลือจําคุก 15 ป เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1993 ชาว
พุทธรวมทั้งพระประมาณ 300 คน ชุมนุมเดินขบวนไดถูกตํารวจจับและศาลตัดสินจําคุกพระ 4 องค ในขอหากอ
การจลาจล (โทษจําคุกมีตั้งแต 6 เดือน ถึง 4 ป) เกาหลีเหนือเปนสังคมปดมากกวาในจีนและเวียดนาม ขอมูล
เกี่ยวกับการปราบปรามฝายตอตานและการจับกุมคุมขังหาไดยากมาก
3. เสรีภาพในฐานะเปนพลเมือง โดยทั่วไปสิทธิในดานนี้ของพลเมืองในเอเชียดีขึ้นในบรรดาประเทศที่
มีเชื้อประชาธิปไตยเบงบานอยางขาดสมดุล เชน ไทยมีปญหาการใชเสรีภาพของสื่อมวลชนทั่วไปละเมิดสิทธิของ
ผูอื่นอยูเนือง ๆ นอกจากนั้น ยังมีปญหาเรื่องสิทธิในการใชสื่อมวลชนไมเทาเทียมกัน ซึ่งกอใหเกิดการไดเปรียบ
และเสียเปรียบขึ้น ในอินโดนีเซียสิทธิในการชุมนุมโดยสงบและการจัดตั้งสมาคมรับรองไวในรัฐธรรมนูญ แต
ในทางปฏิบัติการกระทําดังกลาวตองขออนุญาต การอนุมัติหรือไมบางทีเปนการตัดสินทางการเมือง รัฐบาลไม
อนุมัติใหจัดประชุมประจําปของสภาพสวัสดิการคนงานแหงอินโดนีเซียซึ่งจะใหมีขึ้นในวันที่ 29 กรกฎาคม ค.ศ.
1993 เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม ตํารวจที่สุราบายาไมอนุมัติให Surabaya Arts Council จัดแสดงนิทรรศการเกี่ยวกับ
ชีวิตศิลปนที่ถูกลอบฆา ในพมา มหาวิทยาลัยซึ่งเปดทําการสอนมาตั้งแตป ค.ศ. 1988 เริ่มเปดเรียนแลวเปน
สวนมาก ในป ค.ศ. 1993 รัฐบาลทหารกลัววาฝายตอตานรัฐบาลจะใชมหาวิทยาลัยเปนเวทีชุมนุมตอตานรัฐบาล
เสรีภาพในการพูดการพิมพถูกริดรอนเกือบสิ้นป ค.ศ. 1993 มีบรรยากาศดีขึ้นเล็กนอย เอกชนเริ่มติดตั้งจานรับ
โทรทัศนผานดาวเทียมไปแลว แตตองจดทะเบียน เอกชนเริ่มพิมพเอกสารที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจเผยแพรไดแลวรัฐยัง
ผูกขาดสื่อมวลชนและการสื่อสารอยางใกลชิด
ในประเทศคอมมิวนิสต ทุกประเทศยังผูกขาดสื่อมวลชนและการสื่อสาร แตถากลุมชนจะพิมพเอกสารที่
มีแนวนโยบายสนับสนุนรัฐบาลก็ทําได ถาจะวิพากษวิจารณรัฐบาลหรือพรรคคอมมิวนิสต (ไมจําเปนตองตั้งตัว
เปนปรปกษตอตาน) ก็จะถูกปด ในเกาหลีเหนือไมมีใครกลาทาทายอํานาจนี้ของรัฐ ในเวียดนามสิ่งพิมพเอกชน
เริ่มเผยแพรมากขึ้นโดยผูพิมพผูโฆษณาเสี่ยงภัยเอาเอง เชนเดียวกับในจีนสิ่งพิมพของพรรคคอมมิวนิสต (ทั้งจีน
และเวียดนาม) ขยายเวทีวิพากษวิจารณ การใชอํานาจและการคอรรัปชั่นของรัฐบาลมากขึ้น เหมือนจีนเปดเสรีภาพ
ในการชุมนุมมากขึ้นตอเนื่องกันมาหลายปแลว โดยสรุปในจีนการเดินขบวนประทวงรัฐบาลคอรรัปชั่น ความ
ทุกขยากทางเศรษฐกิจ ความไมพอใจที่ศาสนาถูกเหยียดหยามประชาชนสามารถทําได สวนเวียดนามนั้นการ
ควบคุมยังเขมงวดกวาจีน เมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ. 1993 รัฐบาลหามการประชุมระหวางประเทศเรื่องประชาธิปไตย
ที่จะจัดขึ้นในนครโฮจิมินห
4. เรื่องการกีดกันทางเชื้อชาติ ศาสนา เพศ ฯลฯ หลายปที่ผานมา สิทธิในดานนี้ของประชาชนไมมีอะไร
ที่กาวหนาใหเห็นชัดแตประการใด สิทธิของสตรีชาวมุสลิมที่ดอยกวาบุรุษไดซึมซาบมากับศาสนาเปนเวลา
ยาวนานจนเกือบจะไมมีใครรูสึก โดยทั่วไปสิทธิทางการเมืองของสตรีชาวเอเชียยังดอยกวาชาย แตเมื่อเทียบกับ
สตรีในประเทศตะวันตกแลวดูเหมือนจะดีกวา เกือบทุกประเทศในเอเชียใหเสรีภาพในการนับถือศาสนาและ
ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาเวนแตประเทศคอมมิวนิสต แมประเทศคอมมิวนิสตเสรีภาพในการเชื่อและประกอบ
พิธีกรรมทางศาสนาก็มีมากขึ้น
ปจจัยที่ใชบูชาบวงสรวงทางศาสนาทําขายกันอยางเสรีแลว มีการกลาวขวัญกันมากกวาสิทธิทางศาสนา
ของชาวทิเบตถูกทางการจีนย่ํายี เรื่องนี้คอนขางละเอียดออนความจริงคงจะไมใชปญหาเสรีภาพในการเชื่อถือทาง
ศาสนาหรือการบูชาคนถูกหามปราม เปนตนวา รูปขององคดาไลลามะ ซึ่งเปนผูนําตอตานรัฐบาลจีนซึ่งขณะนี้ลี้
ภัยในอินเดีย ก็ยังตั้งอยูในวัดตาง ๆ ในกรุงลาซาใหคนบูชาได ผูคนก็ทําการเคารพบูชากัน โดยเงินทําบุญกองโต ๆ
บนแทนบูชา “หัวหนาฝายกบฎ” ชาวทิเบต พฤติกรรมดังกลาวเปนเสรีภาพที่รัฐบาลยอมรับ แตสิ่งที่รัฐบาลไม
ยอมรับและจับกุมคุมขังคือการรวมตัวกันชุมนุมเพื่อเรียกรองเอกราชอันนี้รวมไปถึงการติดตอกันของบรรดาผูนํา
ชาวทิเบตที่หนวยรักษาความปลอดภัยของจีนระแวงสงสัยดวย
5. ขอสังเกตและขอคิด เรื่องสิทธิมนุษยชนของประชาชนที่จะมีมากขึ้นเรื่อย ๆ นั้น คงจะเปน
แนวโนมที่ไมมีพลังใดตอตานไดในระยะยาว บางแหงอาจจะชะงักงันหรือถอยหลังชั่วคราวเพราะมีความขัดแยง
รุนแรง อยางไรก็ตาม การใชมาตรฐานของตะวันตกมายัดเยียดใหจากเบื้องบนก็อาจจะกอใหเกิดความเครียดได
คนเราจะรูสึกวามีอิสระหรือเสรีภาพเพียงใดนั้นสวนใหญขึ้นอยูกับภูมิหลัง และความเชื่อถือของตนเปนสําคัญ วิธี
บีบและใชมาตรการตาง ๆ บังคับใหคนตางสังคมกันใชมาตรฐานความประพฤติตามตนนี้นาจะมีประสิทธิผลไมดี
เทากับการใหการศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบ โดยเฉพาะอยางยิ่งฝายสื่อมวลชน

การสิ้นสุดของสงครามเย็นและการเปลี่ยนแปลงทางอํานาจในโลก
ความเปลี่ยนแปลงในชวงป ค.ศ. 1989-1990 มีความสําคัญอยางยิ่งในแงของความสัมพันธทางอํานาจทั้ง
ในระดับโลกและภูมิภาค ในทางประวัติศาสตร กลาวไดวาการสิ้นสุดของทศวรรษ 1980 เปนการสิ้นสุดของยุค
สมัยหนึ่งทีเดียว นั่นคือ ยุคสมัยทีร่ ูจักกันทั่วไปวา “สงครามเย็น” อันเปนความขัดแยงทางการเมืองและอุดมการณ
ที่นําไปสูการแขงขันและการเผชิญหนาทางทหารเปนเวลาเกือบครึ่งศตวรรษภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
“สงครามเย็น” มีไดหลายความหมายดวยกันหากจะถือวาเปนความขัดแยงหรือปรปกษทางอุดมการณ
ระหวางทุนนิยมและคอมมิวนิสต สงครามเย็นก็นาจะเริ่มตั้งแตป ค.ศ. 1917 เมื่อมีการปฏิวัติบอลเชวิกขึ้นในรัสเซีย
แตโดยความเขาใจทั่วไปนั้น สงครามเย็นเริ่มกอตัวตั้งแตระหวางสงครามโลกครั้งที่ 2 ระหวางรัสเซียและ
พันธมิตรตะวันตกทั่ว ๆ ที่ยังอยูในระหวางการรวมมือตอตานนาซี และมาแตกแยกกลายเปนการเผชิญหนา
ระหวาง “ตะวันออก” และ “ตะวันตก” อยางชัดเจน ประมาณป ค.ศ 1946-1947 คําประกาศของสตาลิน ในป ค.ศ.
1946 เรียกระดมพลังในชาติเพื่อเตรียมการเผชิญหนากับฝายตะวันตก (ความจริงจุดมุงหมายในทางปฏิบัติ นาจะ
เพื่อฟนฟูบูรณะและพัฒนาประเทศอยางเรงรัด) นับเปนการ “ประกาศสงครามเย็น” โดยฝายคอมมิวนิสต และการ
ประกาศ “หลักการทรูแมน” ในปตอมาก็นับเปนการ “ประกาศสงครามเย็น” ของฝายตะวันตก
การลมสลายของระบอบปกครองคอมมิวนิสตในยุโรปตะวันออก และความเปลี่ยนแปลงในรัสเซียที่
เปนแมแบบของระบบปกครองแบบนี้ ที่สั่นคลอนไมพียงแตการผูกขาดอํานาจของพรรคคอมมิวนิสตรัสเซียแต
รวมไปถึง “จักรวรรดิ” รัสเซียเลยทีเดียว ซึ่งสงผลกระทบสําคัญยิ่งตอความสัมพันธทางอํานาจในโลกในชวงตอ
ระหวางป ค.ศ. 1989-1990 นักสังเกตการณทางการเมืองบางคนระบุอยางไมลังเลเลยวา “โลกไดเปลี่ยนไปแลวใน
ชวงเวลาเพียงหนึ่งป”
ในยุโรป นโยบายปฏิรูปในรัสเซีย ซึ่งนายมิคาอิล กอรบาชอฟ เห็นวาเปนความจําเปนที่หลีกเลี่ยงไมได
เปนตนตอสําคัญที่กอใหเกิดกระแสความเปลี่ยนแปลงขนาดใหญทั่วทั้งยุโรปตะวันออก กอรบาชอฟยอมรับวา
ประเทศอื่น ๆ ในกลุมองคการสนธิสัญญาวอรซอสามารถจะดําเนินรอยตามแนวทางปฏิรูปของรัสเซีย ผูนํารัสเซีย
เห็นวา มอสโกควรจะมีบทบาทสนับสนุนพัฒนาการไปในแนวทางนี้ดวยซ้ํา กลาวคือ ไมเพียงแตรัสเซียจะไมเขา
ไปแทรกแซงขัดขวางความเปลี่ยนแปลงในชาติพันธมิตรของตนเทานั้น แตอาจจะถึงกับเรียกรองกดดันผูนําชาติ
ยุโรปตะวันออกที่ยังมีหัวอนุรักษใหยอมรับการปฏิรูป ดังนั้นในแงหนึ่งแลว กอรบาชอฟกาวล้ําหนาไปกวาความ
เปลี่ยนแปลงในยุโรปตะวันออกเสียอีก
ผลประการสําคัญของการลมสลายของระบอบปกครองคอมมิวนิสตในยุโรปตะวันออก คือ การสลายตัว
ของการเผชิญหนาระหวางตะวันออกและตะวันตกที่ดํารงอยูตั้งแตชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นั่นเอง ดานหนึ่ง
นั้น ความขัดแยงทางอุดมการณยอมลดหรือหมดความสําคัญลงไป ตะวันตกยอมเห็นวานี่เปน “ชัยชนะ” ของฝาย
ตน ดังคํากลาวของนักวิชาการสําคัญคนหนึ่งของฝายนี้ที่วา “อเมริกาและพันธมิตรไดชนะสงครามเย็นแลว” หรือ
อาจจะมองในเชิงปรัชญาวา เปนพัฒนาการของความเปนสากลของคานิยมทางการเมือง หรือ “การสิ้นสุดของ
ประวัติศาสตร” แตไมวาจะพิจารณาในแงใด เหตุการณในชวงป ค.ศ. 1989-1990 หมายถึงการสิ้นสุดของระเบียบ
ทางการเมืองที่เกิดขึ้น และดํารงอยูเกือบครึ่งศตวรรษภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
เหตุการณที่เปนเครื่องชี้อยางเดนชัด โดยเฉพาะทางสัญลักษณของการสิ้นสุดดังกลาวคือการทําลาย
กําแพงเบอรลินและการรวมประเทศเยอรมัน เสนแบงการเผชิญหนาระหวางตะวันออกและตะวันตกอยูที่การแบง
เยอรมันออกเปนสองสวน การที่ทั้งสองฝายโดยเฉพาะอยางยิ่งการลดหยอนเงื่อนไขและทาทีของฝายรัสเซียยอม
ใหประเทศนี้ ซึ่งเปนจุดรวมหลักของความขัดแยงในยุโรปกลับมารวมกันไดยอมบงบอกถึงความเขาใจและไมตรี
ที่กลับคืนมา
ผลสืบเนื่องที่เห็นไดชัดที่สุดจากความเปลี่ยนแปลงของชวงป ค.ศ. 1989-1990 คือการที่ฝายรัสเซีย
สูญเสียสถานะความเปนขั้วอํานาจที่โดดเดนคูกับสหรัฐอเมริกามาโดยตลอดนับแตสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 2 ความ
เปลี่ยนแปลงในโครงสรางทางอํานาจระหวางชาติ เกี่ยวของกับความเปลี่ยนแปลงสําคัญอยางนอยสามดานดวยกัน
คือ ความตกต่ําของกําลังอํานาจทางทหารโดยทั่วไป การกระจายอํานาจทางเศรษฐกิจออกไปมากขึ้นกับการที่
ปจจัยดานนี้กลายมามีน้ําหนักความสําคัญมากขึ้น และความเสื่อมของอุดมการณ โดยเฉพาะในฐานะที่เปนปจจัย
กําหนดความสัมพันธระหวางชาติ
ความเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆที่เกิดขึ้นและปรากฏเดนชัดในเหตุการณของชวงป ค.ศ. 1989-1990ได
นําไปสูบรรยากาศแหงการผอนคลายความตึงเครียด โดยทั่วไป จนกอใหเกิดความมุงหวังกันวาสันติภาพที่แทจริง
และถาวร มีลูทางความเปนไปไดอยางที่มิเคยปรากฏมากอน พรอมกันนั้น ก็มีความเปลี่ยนแปลงในสถานะ
บทบาท ตลอดจนทาทีทางนโยบายของชาติตาง ๆในโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งที่เปนชาติมหาอํานาจหลัก
สหรัฐอเมริกาและรัฐเซียแมจะยังเขมแข็งที่สุดในแงของกําลังอํานาจทางทหาร แตในทางเศรษฐกิจและ
ความกาวหนาทางเทคโนโลยี กําลังถูกทาทายโดยญี่ปุน ยุโรปตะวันตก แมกระทั่งชาติอุตสาหกรรมใหมในเอเชีย
และอิทธิพลทางการเมืองของชาติที่เคยเปนผูนําทางทหารและอุดมการณ เชน สหรัฐอเมริกา รัสเซีย และจีน ก็
ตกต่ําไปดวย โดยมีมหาอํานาจทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งญี่ปุน เขามามีบทบาทและ
อิทธิพลทางการเมืองเพิ่มมากขึ้น จึงเปนธรรมดาอยูเอง ที่ชาติตาง ๆเหลานี้จะตองปรับทาทีหรือทิศทางนโยบาย
ของตนเสียใหม เพื่อใหสอดคลองกับสภาวการณที่เปลี่ยนไป และเพื่อฟนฟูสถานะสําหรับในกรณีที่ตกต่ําลงไป
กอนหนาเหตุการณที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน เมื่อเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1989 จีนอยูในสภาวะ “ปลอดการ
คุกคาม” มากที่สุดในประวัติศาสตรรวมสมัยของจีน การประชุมสุดยอดกับรัสเซียที่ปกกิ่งในเดือนพฤษภาคม ค.ศ.
1989 ซึ่งยุติความราวฉานที่ดําเนินมากวา 30 ป ก็นับวาเปนชัยชนะทางการทูตครั้งสําคัญของปกกิ่ง กระนั้นก็ตาม
เหตุการณที่เทียนอันเหมินและความเปลี่ยนแปลงสําคัญในยุโรปตะวันออกในชวงปเดียวกันนั้น สรางความ
หวั่นไหวใหแกผูนําจีนอยางมาก อยางไรก็ตามจะเห็นวาภายหลังเหตุการณที่เทียนอันเหมิน จีนและรัสเซียไดเพิ่ม
ความใกลชิดและความรวมมือกันมากยิ่งขึ้น เหตุผลสวนหนึ่งมาจากการที่สหรัฐอเมริกาเปลี่ยนทาทีของตนที่มีตอ
ปกกิ่งภายลังเหตุการณที่เทียนอันเหมินสถานะภายหลังสงครามเย็นของสองมหาอํานาจเอเชียอีกชาติหนึ่ง คือ
ญี่ปุน ก็นาสนใจไมนอยไปกวากรณีของจีน มักจะมองกันวา ญี่ปุนเปนอีกชาติหนึ่งในเอเชีย นอกเหนือไปจากจีน
หรืออินเดียที่อาจจะมีบทบาทและอิทธิพลเพิ่มมากขึ้นภายหลังความเปลี่ยนแปลงทางอํานาจในโลกและในภูมิภาค
อยางไรก็ดี ที่นาสังเกตประการหนึ่งในกรณีของญี่ปุน ก็คือ ความผูกพันดานความมั่งคงที่ญี่ปุนมีอยูกับ
สหรัฐอเมริกานาจะยังเปนตัวแปรหลักกําหนดสถานะและบทบาทในดานนี้ของญี่ปุนในอนาคตที่พอจะมองเห็น
ขางหนา

การลมสลายของสหภาพโซเวียต
ดานนโยบายการตางประเทศและกลาโหม กอรบาชอฟไดตัดทอนลดงบประมาณดานการทหาร ริเริ่ม
นโยบาย "หยุดยิง" (Detente) และลดอาวุธนิวเคลียรกับฝายตะวันตกพรอมกับการถอนทหารออกจากการยึดครอง
ประเทศอัฟกานิสถาน (พ.ศ. 2532) กอรบาชอฟรอดจากการรัฐประหารเมื่อเดือนสิงหาคมป 2535 มาไดใน
ชวงเวลาสั้นๆ แตในที่สุดก็ถูกบังคับใหลาออกหลังจากการยุบพรรคคอมมิวนิสตและการสลายตัวของสหภาพ เมื่อ
เดือนธันวาคมป พ.ศ. 2535 นับตั้งแตป พ.ศ. 2536 เปนมา กอรบาชอฟไดดํารงตําแหนงประธานมูลนิธินานาชาติ
เพื่อการศึกษาดานเศรษฐกิจ-สังคมและการเมือง
ความขัดแยงและการประสานประโยชนทางการเมือง และเศรษฐกิจระหวาง
ประเทศ
ผลประโยชนของรัฐ ซึ่งผูกําหนดนโยบายเอามาเปนวัตถุประสงคในการกําหนดนโยบายของตน คือ
1. ความอยูรอดของชีวิต
2. ความมั่นคงของชาติ
3. การกินดีอยูดีของประชากร
4. ศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิของชาติ
5. อุดมการณของชาติ
6. อํานาจของชาติ

สาเหตุของความขัดแยง
1. ความขัดแยงดานเศรษฐกิจ เชน สงครามโลกครั้งที่1 ระหวางฝรั่งเศส-เยอรมัน , เรื่องอัลซาส ลอเรน

2. ความขัดแยงทางการเมือง เชน สงครามเวียดนาม สงครามเกาหลี สงครามกลางเมืองนิการากัว ในคิวบาและชีลี

3. ความขัดแยงทางสังคม วัฒนธรรม
- ศาสนา เชน สงครามครูเสด สงคราม30ป สงครามซิกข-ฮินดู สงครามกลางเมืองเลบานอน
- ศาสนาและเชื้อชาติ เชน ศรีลังกา สิงหล(พุทธ)-ทมิฬ(ฮินดู)
4. ความขัดแยงดานจิตวิทยา เชน การขยายอํานาจของมองโกลและยุโรป พระเจานโปเลียนของฝรั่งเศสเขาสู
สงครามยุโรป

การแกไขความขัดแยงโดยสันติวิธี
1. วิธีทางการฑูตและทางการเมือง
- 1.1 การเจรจาโดยตรง
- 1.2 การเปนคนกลาง
- 1.3 การไกลเกลี่ย
- 1.4 การสืบสวนหาขอเท็จจริง
- 1.5 การประนีประนอม ทําบอยไมชี้ผิดชี้ถูก
2. วิธีทางกฏหมาย
- การตั้งศาลอนุญาโตตุลาการ จากผูพิพากษาคูกรณี
- การตัดสินของศาลยุติธรรมระหวางประเทศ ที่กรุงเฮก เนเธอรแลนด
3. การแกไขความขัดแยงโดยวิธีการบังคับ
- รีทอรชัน (retortion) ::ไมขัดตอกฎหมาย แตไมเปนมิตร เชน ตัดสัมพันธ
ทางการฑูต ตัดสิทธิพิเศษทางการคา
- รีไพรซอล :: การกระทําโดยไมถูกตองตามกฎหมายระหวางประเทศ เชน
การไมยอมปฏิบัติตามพันธกรณีในสนธิสัญญา การยึดทรัพยสินของรัฐผู
กอความเสียหาย, การบอยคอด(Boycott) การคว่ําบาตร, การหามเรือเขา
หรือออกจากเมืองทา ,การปดลอมทะเลอยางสันติ(Embargo)

สงครามจํากัดขอบเขต คือ สงครามที่มีจุดมุงหมายเฉพาะขอบเขตที่จํากัด เชน


สงครามเวียดนาม

สงครามตัวแทน คือ สงครามตัวแทนของมหาอํานาจ เชน สงครามเกาหลี

สงครามเบ็ดเสร็จ คือ สงครามที่มีจุดมุงหมายเพื่อสรางความเปนใหญใหกับตนเอง


เชน สงครามโลกครั้งที่1และ2

สงครามสั่งสอน คือ สงครามที่มหาอํานาจกระทําสั่งสอนไมใหประเทศหนึ่งเขา


ไปยุงกับอีกประเทศหนึ่ง เชน จีนสั่งสอนเวียดนามไมใหเขา
ไปยุงกับกัมพูชา

สงครามกองโจร คือ สงครามการซุมโจมตี เชน สงครามของกลุมคอมมิวนิสต

สาเหตุที่เกิดความรวมมือระหวางประเทศ
1. การเผยแพรความคิดของนักคิดบางคน
2. ความตองการพึ่งพาอาศัยกันทางเศรษฐกิจ
3. ความกาวหนาทางเทคโนโลยี
4. การรณรงคของคนบางกลุม
5. การมองเห็นปญหารวมกัน

องคการระหวางประเทศ แบงออกเปน4 ประเภท คือ


1. องคการระหวางประเทศ เพื่อความรวมมือทางการทหาร เชน NATO ,
WARSAW
2. องคการระหวางประเทศ เพื่อความรวมมือทางเศรษฐกิจ เชน EU , AFTAR ,
NAFTA , ASEAN
3. องคการระหวางประเทศ เพื่อความรวมมือทางสังคม และ อื่นๆ เชน UNESCO,
WHO , FAO
บทที่ 3 :: วิธีดําเนินการวิจยั
ขั้นตอนการดําเนินงาน วันที่
1. ไดรับมอบหมายงานจากอาจารย ใหทาํ โครงงานสงการเรียนรูรายวิชา 20 พ.ค.51
ส 40205 เรื่อง “ สงครามเย็น และ สภาวะหลังสงครามเย็น & ความขัดแยง
และการประสานประโยชนทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมระหวาง
ประเทศ”
2. ในกลุมปรึกษากันวางแผนโครงงาน 22 พ.ค.51

3. สมาชิกในกลุมชวยกันรางเคาโครงงาน 23 พ.ค.51

4. สงเคาโครงงานที่อาจารยและจดตัวอยางผลงานเพื่อนํามาใชทํารายงาน 30 พ.ค.51

5. แบงหัวขอเนื้อหาใหสมาชิกแตคนรับผิดชอบ 2-20 มิ.ย.51

6. นําเนื้อหาทีส่ มาชิกหาไดมาเรียบเรียง 22-25 มิ.ย.51


7. ปรึกษาอาจารยเกี่ยวกับวิธกี ารทํา e-book 24 มิ.ย.51

8. หารูปภาพทีเ่ กี่ยวของกับเนื้อหาเพื่อตกแตง e-book 25-28 มิ.ย.51

9. รวบรวมเนือ้ หา และรูปภาพทั้งหมด เพือ่ สงใหสมาชิกที่รับผิดชอบทํา 2-23 ก.ค.51


e-book
10. สมาชิกที่รับผิดชอบทํารูปเลมไปดูตัวอยางผลงานอีกครั้ง 25 ก.ค.51

11. สมาชิกแบงเนื้อหาเพื่อไปอัดเสียงใส e-book 23-28 ก.ค.51

12. สมาชิกไปปรึกษาอาจารยเกีย่ วกับวิธีการลงเสียงใน e-book 29 ก.ค.51

13. สมาชิกจัดทําแฟมเสนอผลงาน 30-31 ก.ค.51

14. นําเสนอผลงานในงานนิทรรศการ 6 ก.ค.51

15. ประเมินผลงานโดยผูเขาชมนิทรรศการ 6 ก.ค.51

16. วิเคราะหและสรุปผลการประเมินเปนแผนภูมิ 7 ก.ค.51


การบูรณาการกับ 8 กลุม สาระการเรียนรู
ภาษาไทย
- บทคัดยอภาษาไทย
- เรียบเรียงขอความใหถกู ตองตามอักขระวิธีทางภาษาไทย
ภาษาตางประเทศ
- แปลบทคัดยอจากภาษาไทยเปนภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร
- คํานวณคาทางสถิติ และ ทํากราฟ
วิทยาศาสตร
- ทฤษฎีสัมพันธภาพของไอนสไตน E = mc2
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
- ศึกษาเกี่ยวกับความขัดแยงและการประสานประโยชนทางการเมือง และ
เศรษฐกิจระหวางประเทศ
- ศึกษาเกี่ยวกับสงครามเย็น และความเปลี่ยนแปลงหลังสงครามเย็น
สุขศึกษา และพลศึกษา
- ใชวิธีทางจิตวิทยาในการโนมนาวจิตใจฝายตรงขามในภาวะสงคราม
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
- การนําโปรแกรมคอมพิวเตอรมาใชในการสรางชิ้นงาน(Powerpointและ
E-Book) และนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการสืบคนขอมูล
ศิลปศึกษา
- การตกแตงรูปเลมงานวิจัยใหมีความสวยงาม
บทที่ 4 :: การวิเคราะหขอมูล
แบบประเมินตนเอง
ดานผลงาน
1.เนื้อหาของผลงาน

2. ความนาสนใจของเนื้อหา

3. ความสวยงามของผลงาน
ดานการนําเสนอ
4 .ความพรอมในการนําเสนอ

5. ความนาสนใจในการนําเสนอ

6. ระยะเวลาในการนําเสนอ

.ดานคุณธรรม
7. ความรับผิดชอบ

8. การตรงตอเวลา

9. ความใสใจในการทํางาน
10. ความรวมมือในการทํางาน

.ดานอื่นๆ

11. ความรูที่ไดรับ

12. ความประทับใจตอผลงาน
แบบประเมินเพื่อน
ดานผลงาน
1.เนื้อหาของผลงาน
30

25

20

15

10

0
ดีม าก ดี พอใช ปรับปรุง

2. ความนาสนใจของเนื้อหา
25

20

15

10

0
ดีม าก ดี พอใช ปรับปรุง

3. ความสวยงามของผลงาน
35
30
25
20
15
10
5
0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
ดานการนําเสนอ
4 .ความพรอมในการนําเสนอ
30

25

20

15

10

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
5. ความนาสนใจในการนําเสนอ
35
30
25
20
15
10
5
0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง

6. ระยะเวลาในการนําเสนอ
25

20

15

10

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
.ดานคุณธรรม

7. ความรับผิดชอบ
30

25

20

15

10

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
8. การตรงตอเวลา
25

20

15

10

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง

9. ความใสใจในการทํางาน

20

15

10

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
10. ความรวมมือในการทํางาน
30

25
.
20
15

10

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง

ดานอืน่ ๆ
11. ความรูที่ไดรับ
35
30
25
20
15
10
5
0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง

12. ความประทับใจตอผลงาน
25

20

15

10

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
แบบประเมินผูชมงาน
ดานผลงาน
1.เนื้อหาของผลงาน
50

40

30

20

10

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
2. ความนาสนใจของเนื้อหา
40
35
30
25
20
15
10
5
0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
3. ความสวยงามของผลงาน
35
30
25
20
15
10
5
0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
ดานการนําเสนอ
4 .ความพรอมในการนําเสนอ
30
25

20
15
10

5
0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง

5. ความนาสนใจในการนําเสนอ
35
30
25
20
15
10
5
0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง

6. ระยะเวลาในการนําเสนอ
25

20

15

10

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
ดานคุณธรรม
7. ความรับผิดชอบ
30

25

20

15

10

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
8. การตรงตอเวลา
30

25

20

15

10

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
9. ความใสใจในการทํางาน
50

40

30

20

10

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
10. ความรวมมือในการทํางาน
50

40
.
30

20

10

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
ดานอืน่ ๆ
11. ความรูที่ไดรับ
40
35
30
25
20
15
10
5
0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง

12. ความประทับใจตอผลงาน
35
30
25
20
15
10
5
0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
แบบประเมินผูปกครอง
ดานผลงาน
1.เนื้อหาของผลงาน
5

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
2. ความนาสนใจของเนื้อหา
4
3.5
3
2.5
2
1.5
1
0.5
0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
3. ความสวยงามของผลงาน
5

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
ดานการนําเสนอ
4 .ความพรอมในการนําเสนอ
3

2.5

2
1.5

1
0.5

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
5. ความนาสนใจในการนําเสนอ
3
2.5

2
1.5

0.5

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
6. ระยะเวลาในการนําเสนอ
2

1.5

0.5

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
ดานคุณธรรม
7. ความรับผิดชอบ
5

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง

8. การตรงตอเวลา
4
3.5
3
2.5
2
1.5
1
0.5
0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
9. ความใสใจในการทํางาน
4
3.5
3
2.5
2
1.5
1
0.5
0
ดีม าก ดี พอใช ปรับปรุง
10. ความรวมมือในการทํางาน
5

4
.
3

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
ดานอืน่ ๆ
11. ความรูที่ไดรับ
5

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
12. ความประทับใจตอผลงาน
6

2
1

0
ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
แบบประเมินอาจารย
ดานผลงาน
1.เนื้อหาของผลงาน :: ดี
2. ความนาสนใจของเนื้อหา :: ดี
3. ความสวยงามของผลงาน :: ดีมาก
ดานการนําเสนอ
4. ความพรอมในการนําเสนอ ::
5. ความนาสนใจในการนําเสนอ ::
6. ระยะเวลาในการนําเสนอ ::

ดานคุณธรรม
7. ความรับผิดชอบ ::
8. การตรงตอเวลา ::
9. ความใสใจในการทํางาน ::
10. ความรวมมือในการทํางาน ::

ดานอื่นๆ
11. ความรูที่ไดรับ ::
12. ความประทับใจตอผลงาน ::

ขอเสนอแนะ
ควรปรับปรุงเรื่องเสียงที่อัดลงในE-Book ใหมีเสียงเพลงบรรเลง
และควรใหเสียงแตละหนามีความสม่ําเสมอ
บทที่ 5 :: สรุปผลการวิจัย
ความขัดแยงและการประสานประโยชนทางการเมืองและเศรษฐกิจระหวาง
ประเทศ & สงครามเย็นและความเปลี่ยนแปลงหลังสงครามเย็น

- อภิปรายผลการประเมินของเพื่อนและตนเอง
จากการวิเคราะหใบประเมินการนําเสนอโครงงาน เรื่อง ความขัดแยงและการ
ประสานประโยชนทางการเมืองและเศรษฐกิจระหวางประเทศ และ สงคราม
เย็นและความเปลี่ยนแปลงหลังสงครามเย็นตออาจารยและเพื่อนๆพบวายังมี
อุปสรรคในการนําเสนออยูบาง เนื่องจากความไมพรอมของสื่อที่ใชในการ
นําเสนอ แตเกณฑทั่วไปอยูในระดับที่ดี ไดแก ความสมบูรณและความถูกตอง
ของเนื้อหา ความนาสนใจของเนื้อหา ความคิดริเริ่มสรางสรรค สวนความ
พรอมในการนําเสนอ กลวิธีในการนําเสนอ และระยะเวลาในการนําเสนอ อยู
ในระดับดีมาก

จากการประเมินตนเองทางดานเนื้อหาของผลงาน ซึ่งประกอบดวย สวนที่เปน


เนื้อหาของผลงาน ความนาสนใจของเนื้อหา ความสวยงามของผลงาน อยูใน
ระดับดี ดานการนําเสนอ ซึ่งประกอบดวยความพรอมในการนําเสนอ อยูใน
ระดับพอใช ความนาสนใจและระยะเวลาที่ใชในการนําเสนอ อยูในระดับที่ดี
มาก สวนดานคุณธรรม ประกอบดวย ความรับผิดชอบ ความตรงตอเวลาอยูใน
ระดับที่ดี ความเอาใจใสในการทํางานและความรวมมือ อยูในระดับพอใช ดาน
อื่นๆ อาทิ ความรูท่ไี ดรับอยูในระดับดีและความประทับใจตอผลงานอยูใน
ระดับที่ดีมาก
• ขอเสนอแนะ
ควรใหสมาชิกศึกษาวิธีการใช E-bookมากอน เพื่อความรวดเร็วใน
การทํางาน

ขอจํากัดทางการวิจัย
การเรียงหนาและอัดเสียงลง E-book ไมสามารถทําไดรวดเร็วตามที่
คิดไว เพราะจํานวนหนาที่เรียงดวยโปรแกรม E-book นี้ตองใชความ
ละเอียดมาก

- อภิปรายผลการประเมินของผูปกครอง
จากการวิเคราะหใบประเมินการนําเสนอโครงงาน เรื่อง ความขัดแยง
และการประสานประโยชนทางการเมืองและเศรษฐกิจระหวางประเทศ และ
สงครามเย็นและความเปลี่ยนแปลงหลังสงครามเย็น ตอผูปกครอง พบวาเกณฑ
ทั่วไปอยูในระดับที่ดี ไดแก เนื้อหาของผลงาน ความรวมมือและความสามัคคี
ในการทํางาน ความประทับใจตอผลงาน อยูในระดับที่ดีมาก ดานความ
นาสนใจของเนื้อหา และความสวยงามของเนื้อหา ความพรอมในการนําเสนอ
ความรับผิดชอบและความตรงตอเวลา อยูในระดับที่ดี ความเอาใจใสในการ
ทํางาน อยูในระดับพอใช

• ขอเสนอแนะ
การทําโครงการวิจัยนั้น ทําใหนักเรียนไดรูจักคนควาและรูจักการทํางาน
เปนทีม ซึ่งนับวาเปนประโยชนอยางมาก
บรรณานุกรม
สงครามเย็นและสภาวการณหลังสงครามเย็น
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B
8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A2%E0%B9%87%E0%B8%99 (2 มิย. 2551)

http://isc.ru.ac.th/data/PS0000822.doc (4 มิ.ย. 2551)

วิกฤตการณคิวบาและเหตุการณในตะวันออกกลาง
www.social.nu.ac.th/file_download/gobal/ch2.ppt (4 มิ.ย.2551)

สงครามตัวแทน
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B
8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A5
%E0%B8%B5 (7 มิ.ย. 2551)

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B
8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%94
%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1 (7 มิ.ย. 2551)

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B
8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%9F%E0%B8%81%E0%B8%B2
%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99
(7 มิ.ย. 2551)

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B
8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A
D%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%8B%E0%B8%AD (7 มิ.ย. 2551)

ความขัดแยงและการประสานประโยชนทางการเมือง
http://www.pil.in.th/Upload/images/Contents/Content268/02/mclass/social/Social16.pdf
(7 มิ.ย. 2551)

You might also like