You are on page 1of 20

รายงานการศึกษา

Politics in the Age of Mediation

โดย
นายสุระชัย ชูผกา
เลขทะบียน 5007300030

เสนอ

รศ.ดร. สุรัตน์ เมธีกุล


2

รายงานนี เ้ ป็ นส่วนหนึ่ งของการศึกษาวิชาการสื่อสาร


และความคิดทางการเมือง
(วส.811)

ภาคการศึกษาที่ 2 ปี การศึกษา 2550

Politics in The Age of Mediation∗


การเมืองในยุคการสื่อสารผ่านสื่อกลาง

ความนำ า
เรื่องการเมืองในยุคการสื่อสารผ่านสื่อกลางนี้อย่่ในบทที่ 1
ของหนั งสือ An Introduction To Political Communication
ของ Brain McNair โดยในส่วนแรกนี้ผู่เขียนมุ่งนำ าเสนอแง่คิด

ถอดความจาก Brian McNair. An Introduction To Political Communication. Fourth edition. 2007.


Routledge. NewYork. pp. 1-26.


3

มุมมองเกี่ยวกับเรื่องการสื่อสารทางการเมือง และมุ่งนิ ยามถึง


ความหมายทางการสื่อสารของกลุ่มตัวแสดงทางการเมือง
โดยทัว
่ ไปแลูวนั บเป็ นเรื่องยากที่จะนิยามความหมายของ
คำาว่า การสื่อสารทางการเมืองเพราะประกอบดูวย 2 คำา คือคำาว่า
การเมือง และการสื่อสาร นั กวิชาการอย่าง Denton และ
Woodward ใหูนิยามไวูว่าหมายถึงเรื่องที่ถกเถียงกันเกี่ยวกับ
การจัดสรรทรัพยากรของสาธารณะรวมไปถึงอำานาจในการบริหาร
จัดการประเทศและการจัดสรรบทลงโทษและการใหูรางวัลซึ่ง
รวมไปถึงเรื่องการสื่อสารชักจ่งใจดูวยภาษาพ่ดและภาษาเขียน
ทางการเมืองที่เป็ นสิ่งสำาคัญที่จะทำาใหูเขูาใจกระบวนการทางการ
เมือง(แต่ไม่ไดูรวมถึงดูานการสื่อสารสัญญลักษณ์)
แต่สำาหรับ Doris Graber นั กเขียนชาวอเมริกันมองว่าการ
สื่อสารทางการเมืองนั น
้ เป็ นเรื่องที่รวมการใชูภาษาทางการ
เมือง(Political Language) ซึ่งไม่ใช่เรื่องการชักจ่งใจทางการ
เมืองแต่เพียงอย่างเดียวแต่รวมไปถึงภาษาสัญญลักษณ์ อวัจนภา
ษา ปริภาษา ตลอดจนการแสดงออกทางการเมืองในร่ปแบบต่างๆ
Denton และ Woodward ยังมองอีกว่า การสื่อสารทางการ
เมืองเป็ นเรื่องของความมุ่งมัน
่ ของผู่ส่งสารที่จะมีอิทธิพลเหนื อ
สภาพแวดลูอมทางการเมืองโดยไม่ไดูมีปัจจัยสำาคัญอย่ท
่ ี่แหล่ง
สาร หากแต่อย่่วัตถุประสงค์และเนื้ อหาของตัวสารเป็ นสำาคัญที่จะ
เป็ นตัวชี้ขาดใหูการสื่อสารนั น
้ เป็ นไปในทางการเมือง (นั กการ
เมืองพ่ดสิ่งหนึ่ งสิ่งใดอาจจะไม่ใช่เรื่องการสื่อสารทางการเมือง
4

ยกเวูนว่าเรื่องนั น
้ มีนัยหรือผลกระทบทางการเมืองจึงถือเป็ นเรื่อง
สื่อสารทางการเมือง)
ดังนั น
้ ในตำาราเล่มนี้จึงเป็ นเรื่องการความสำาคัญต่อการ
สื่อสารทางการเมืองในแง่ของความตัง้ ใจและวัตถุประสงค์หรือ
เจตนารมณ์(Intentionality)ในการสื่อสารที่มีจุดมุ่งหมายทางการ
เมืองเป็ นสำาคัญ

ความหมายการสื่อสารทางการเมือง
การสื่อสารทางการเป็ นเรื่องที่หมายรวมลักษณะต่างๆ ดัง
ต่อไปนี้
1. ร่ปแบบการสื่อสารทุกอย่างที่กระทำาโดยตัวแสดงทางการ
เมืองเพื่อใหูบรรลุวัตถุประสงค์เฉพาดูานหนึ่ งๆ
2. การสื่อสารที่กระทำาเนู นยำ้าโดยกลุ่มที่ไม่ใช่นักการเมือง
อาทิ ผู่มีสิทธิลงคะแนน
3. การสื่อสารเรื่องราวของตัวแสดงต่างๆ ตลอดจนกิจกรรม
ต่างๆ ทีถ
่ ่กบรรจุลงส่่การรายงานข่าว หรือการสื่อสาร
มวลชนร่ปแบบต่างๆที่เป็ นเรื่องถกเถียงทางการเมือง
กล่าวโดยรวมไดูว่า เรื่องราวขูอถกเถียงทางการเมืองทัง้
หลายก็คือเรื่องราวของการ
5

สื่อสารทางการเมืองไดูทัง้ สิ้น เพราะฉะนั น


้ การสื่อสารทางการ
เมืองจึงรวมทัง้ วัจนภาษา และอวัจนภาษาที่สามารถสังเกตเห็น
ไดู แต่ในงานเขียนของ McNair นี้ผู่เขียนเนู นว่าจะไม่รวมไปถึง
เรื่องการสื่อสารทางการเมืองระหว่างบุคคลซึ่งอย่่กระจัดกระจาย
ผ่านการพ่ดคุยถกเถียงของประชาชน หรือนั กการเมืองเพราะ
เป็ นสิ่งทีย
่ ากที่จะจับใหูนิ่งเป็ นหลักฐานที่ชัดเจนเพียงพอต่อการ
ศึกษา และไม่รวมไปถึงเรื่องการเมืองในระดับทูองถิ่น
ดังนั น
้ ขอบเขตการศึกษาเรื่องการสื่อสารทางการเมืองใน
ตำาราเล่มนี้จึงมุ่งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง 3 องค์ประกอบคือ
หนึ่ ง) องค์กรทางการเมือง(Political Organizations) สอง) สื่อ
(Media) สาม) ผู่รับสาร (Audiences)

องค์กรทางการเมือง (Political Organizations)


ตัวแสดงทางการเมืองสามารถนิ ยามไดูกวูางขวาง หากเป็ น
ความหมายแบบแคบก็หมายถึงคนที่มีความมุ่งที่จะเขูาไปมี
อิทธิพลเหนื อกระบวนการตัดสินใจในสถาบันทางการเมือง ผ่าน
องค์กรหรือสถาบันต่างๆ โดยเขาเหล่านั น
้ มุ่งจะเขูาไปมีอำานาจ
ทางการเมืองหรือในรัฐบาล รัฐสภา ซึ่งในทางตรงกันขูามก็มีจุด
มุ่งหมายที่จะเขูาไปแทนที่กลุ่มผู่ถืออำานาจเดิมนั น
้ เอง ไดูแก่
1. พรรคการเมือง (Political Party)ตัวแสดงนี้หมายถึง
การรวบรวมผู่คนเขูามาอย่่ร่วมกันดูวยโครงสรูางทางองค์กรและ
อุดมการณ์เดียวกันเพื่อวัตถุประสงค์เดียวกันในทางการเมืองอัน
จะเป็ นตัวสะทูอนถึงค่านิ ยม อุดมการณ์ต่างๆ เช่น พรรคอนุรักษ์
6

นิ ยมอังกฤษก็เนู นไปที่เสรีภาพของปั จเจกชนและเชื่อมัน


่ ในระบบ
กลไกตลาด ส่วนพรรคแรงงานก็มีลักษณะตรงกันขูาม หรืออย่าง
พรรคแดโมแครตในสหรัฐอเมริกาก็ใหูความสำาคัญต่อแนว
เสรีนิยมในทางสังคมและเนู นแทรกแซงระบบตลาดเสรีเพื่อใหู
กลไกตลาดขับเคลื่อนไดูดียิ่งขึ้น ขณะที่พรรครีพับรีกัน เชื่อมมัน

ว่ารัฐควรเขูาไปยุ่งเกี่ยวในระบบเศรษฐกิจนู อยทีส
่ ุด
ทัง้ ๆที่พรรคการเมืองต่างๆ มีอุดมการณ์ณ์ต่างกัน แต่ก็มีจุด
มุ่งหมายและใหูความสำาคัญต่อรัฐธรรมน่ญ และต่างก็พยายามที่
จะชักจ่งใจใหูประชาชนทัง้ หมดเลือกหรือสนั บสนุนพรรคของตน
เพื่อเขูาส่่ระบบการเมืองผ่านการเลือกตัง้ เหมือนๆ กัน โดย
พรรคการเมืองทัง้ หมดต่างๆเคารพในกติการัฐธรรมน่ญในระบบ
การเมืองนั น
้ ๆ การทำาหนู าที่ตามระบบไดูอย่างมีประสิทธิภาพก็มี
หลักพื้นฐานสำาคัญอย่่ทข
ี่ ีดความสามารถในการสื่อสารกับ
ประชาชนผู่มีสิทธิออกเสียงในการใหูอำานาจที่ชอบธรรมแก่บรรดา
พรรคการเมืองนั น
้ เอง
ทัง้ นี้หากสิทธิการเลือกตัง้ ในประเทศทุนนิ ยมจำากัดอย่่ใน
กลุ่มผู่นำาเล็กๆ หรือผู่ที่มีการศึกษาดี มันก็ง่ายสำาหรับ
พรรคการเมืองที่จะใชูร่ปแบบการสื่อสารระหว่างบุคคล เช่นการ
พบปะผู่คุยหรือการลงข่าวผ่านหนู าหนั งสือพิมพ์ก็สามารถเขูาถึง
ฐานเสียงเหล่านั น
้ แลูว แต่ในยุคของสังคมมวลชนประชาชน
จำานวนมามีสิทธิออกเสียงเลือกตัง้ การสื่อสารก็ตูองอาศัย
สื่อมวลชนเป็ นสำาคัญ ซึ่งตูองอาศัยเทคนิ ควิธีการต่างๆ ตลอดจน
หลักการแนวคิดทากงาตลาด หลักธุรกิจเพื่อไปครอบงำาหรือมี
7

อิทธิพลเหนื อพฤติกรรมการเลือกของประชาชนในสถานการณ์ที่
มีการแข่งขันกันอย่างส่ง
ตลาดการเมืองนั น
้ ความจริงแลูวก็คลูายกับระบบการตลาด
ในทางการคูาทัว
่ ไป องค์กรทางการเมืองก็เหมือนภาคธุรกิจที่ตูอง
จับกลุ่มล่กคูาเปู าหมายใหูไดูซ่ ึงก็คือผู่มีสิทธิเลือกตัง้ โดยใชูช่อง
ทางการสื่อสารมวลชนท่ามกลางสภาพแวดลูอมที่เต็มไปดูวยการ
แข่งขัน ประชาชนก็มีทางเลือกสินคูาต่างๆ มากมาย ต่างกันแต่
เพียงว่า พรรคการเมืองไม่ไดูมุ่งหวังกำาไรแต่มุ่งหวังคะแนนเสียง
และอำานาจที่ทรงพลัง ทีเ่ หลือการตลาดทางการเมืองก็เป็ น
เหมือนหลักการผลิตสินคูาบริการต่างๆ เพื่อใหูประสบผลสำาเร็จ
เหมือนกันหมด
อย่างเช่นการโฆษณาในทางการเมืองก็ใชูหลักการเดียวกัน
กับหลักการตลาดการคูาซึ่งใหูภาคธุรกิจมาคิดทำาใหู ในการคิด
และการหาวิธีการใชูส่ ือชักจ่งใจใหูไดูดีที่สุด โดยมุ่งเนู นใหู
สื่อมวลชนมาช่วยสรูางความโดดเด่นใหูกับสินคูาทางการเมือง
และใหูมความหมายด่ว่ามีความสำาคัญสำาหรับผู่บริโภคก็เหมือน
โรงงานผลิตสบ่่ต่างก็เนู นใหูตัวเองแตกต่างไปจากสบ่่ยี่หูออื่นใน
ตลาดที่มีสินคูาประเภทเดียวกันอย่่เป็ นจำานวนมาก
หรืออย่าเรื่องประชาสัมพันธ์ก็เช่นกัน กิจกรรมการสื่อสาร
ทางการเมืองของพรรคการเมืองก็นับเป็ นเรื่องเกี่ยวกับการมี
สัมพันธ์กับประชาชนตูองอาศัยเทคนคิการจัดการสื่อสารและ
ข่าวสารเพื่อทำาใหูพรรคการเมืองไดูรับความนิ ยมมากที่สุด และ
ถ่กเกลียดหรือไดูรับผลทางลบนู อยที่สุด กิจกรรมต่างๆ ในเรื่อง
8

เหล่านั น
้ จึงเกี่ยวกับเรื่องความพยายามสอดแทรกเพื่ออธิบาย
ความใหูประชาชนไดูซึมซับและกระตูุนใหูเกิดการรับรู่ถึง
กิจกรรมต่างๆ ตลอดจนการจ่งใจสื่อสารใหูผู่ส่ ือข่าวมาทำาข่าวและ
เผยแพร่ออกไป
ขระเดียวกันถูาเป็ นเรื่องที่จะสรูางความเสื่อมเสียต่อ
พรรคการเมืองก็จำาเป็ นตูองใชูเทคนิ คการประชาสัมพันธ์เพื่อลด
ผลกระทบไม่ว่าจะเป็ นการล๊อบบี้นักข่าว การปรับเปลี่ยนมุมมอง
การลดทอนขูอม่ลที่ไม่ไดูหรือบางทีก็ตูองใชูการปล่อยข่าวเพื่อ
บิดเบือนขูอม่ล ร่ปแบบการออกแบบแกูไขขูอม่ลข่าวสารในการ
สื่อสารทางการเมืองเหล่านี้เป็ นเรื่องของมืออาชีพเท่านั น
้ เช่นที่
ปรึกษาทางการเมือง นั กคิดผู่รู่หรืออย่างที่เรียกกันว่า Spin
Doctor ผู่สรูางภาพลักษณ์ซ่ ึงเพิ่งจะเกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 20
ที่พรรคการเมืองนิ ยมใชูบริการกันอย่างกวูางขวาง

2. องค์กรภาคสาธารณะ(Public Organization) ในระบบ


การเมืองแบบประชาธิปไตย พรรคการเมืองไม่ใช่ตัวแสดงสำาคัญ
อันเดียว หากแต่ยังมีตัวแสดงอื่นที่ลูอมรอบพรรคการเมือง ก็คือ
กลุ่มต่างๆ ที่แมูไม่ใช่พรรคการเมืองแต่มีจุดมุ่งหมายทางการ
เมืองเช่นในสหภาพการคูาในอังกฤษที่มีจุดยืนชัดเจนในการเชื่อม
โยงกับพรรคการเมืองเป็ นผู่ผลักดันใหูเกิดพรรคแรงงาน
นอกจากนั น
้ สมาคมผู่บริโภค องค์กรพัฒนาเอกชน กลุ่มกดดัน
จากภาคเอกชนซึ่งอย่่นอกระบบการเมืองหรือพวกที่ใกลูชิดกับ
9

ฐานเสียงซึ่งมีมากมายหลากหลายก็นับอย่่ในกลุ่มเหล่านี้ดูวย ซึ่ง
สามารถแบ่งไดู 3 กลุ่มหลักๆ คือ
หนึ่ ง) กลุ่มทางการเคูา ไดูแก่ สหภาพการคูา กลุ่มผู่บริโภค
กลุ่มวิชาชีพต่างๆ และกลุ่อ่ ืนๆที่นิยามตนเองว่าเป็ นองค์กร
สาธารณะ กลุ่มพวกนี้แมูจะไม่ไดูรวมกันดูวยอุดมการณ์ที่ชัดเจน
แต่ก็รวมกันดูวยลักษณะที่คลูายคลึงบางอย่าง อาทิ อาจเป็ นกลุ่ม
ที่มาจากปั ญหาร่วมกันก็ไดู ซึ่งโดยปกติอย่างพวกกลุ่มธุรกิจก็จะ
เกี่ยวขูองกับเรื่องการสื่อสารทางการเมืองผ่านการล๊อบบี้หรือการ
พยายามเขูาไปมีอิทธิพลเหนื อการตัดสินใจของรัฐบาลในร่ปแบบ
ต่างๆ กลุ่มพวกนี้แมูว่าแต่ละคนจะไม่ไดูมารวมกันเพียงแค่ช่วย
กันแกูปัญหาเรื่องของพวกเขากันเองอันเป็ นเปู าหมายร่วม แต่
พวกเขาก็ยังไดูพยายามนำ าเสนอใหูสังคมไดูรับรู่และตระหนั กใน
ปั ญหาของเขาดูวยเพื่อใหูพวกนั กการเมืองไดูตระหนั กนำ าไป
แกูไขปั ญหาต่อไป
องค์กรเหล่านี้มักเป็ นองค์กรที่มีสถานะความเป็ นสถาบันที่
เป็ นทางการมีระบบชัดเจนและมีความชอบธรรมในการ
เคลื่อนไหวเรื่องที่เกี่ยวขูองกับสาธารณะซึ่งการเคลื่อนไหวก็จะ
รวมไปถึงการเขูาถึงตัวผู่กำาหนดนโยบาย การรูองเรียนต่อ
สื่อมวลชน การระดมทุนต่างๆ ซึ่งตูองอาศัยเทคนิ ควิธีการใน
กระบวนการสื่อสารทางการเมืองอย่างมากเพื่อใหูบรรลุเปู าหมาย
สอง) กลุ่มกดดัน ไดูแก่กลุ่มที่ไม่ใช่พรรคการเมืองแต่อาจ
เป็ นกลุ่มผลประโยชน์ ในเรื่องหนึ่ งเรื่องใดก็ไดู กลุ่มเหล่านี้จะมี
ลักษณะความเป็ นสถาบันนู อยกว่าแต่มีเปู าหมายวัตถุประสงค์ที่
10

เกี่ยวขูองทางการเมืองมากกว่า เช่นกลุ่มที่เรียกรูองเกี่ยวกับการ
อนุรักษ์ธรรมชาติ หรือกลุ่มอนุรักษืสัตว์ป่า กลุ่มพวกนี้มักมีการ
รณรงค์ในประเด็นใดประเด็นหนึ่ งอย่างเด่นชัด เช่นการต่อตูาน
อาวุธนิ วเคลียร์ ในช่วงตูนทศวรรษที่ 1980 การรณรงค์ต่อตูาน
การขึ้นภาษี
อย่างไรก็ตามกลุ่มเหล่านี้ไม่ชอบที่จะตัง้ ขึ้นเป็ น
พรรคการเมืองเพื่อการระดมการสนั บสนุนจากสังคมแต่จะดึงการ
สนั บสนุนจากทุกฝ่ าย ทุกเชื้อชาติศาสนา ขณะที่พรรคการเมือง
มักมีสัมพันธ์เชื่อมโยงกับกลุ่มเฉพาะอาทิ พรรคแรงงานกับกลุ่ม
แรงงาน เป็ นตูน หรืออีกตัวอย่างหนึ่ งที่ชัดเจนคือ กลุ่มกดดันใน
เรื่องการรณรงค์ดูานสิ่งแวดลูอมไดูมีการพัฒนาตัวเองไปส่่การจัด
ตัง้ พรรคการเมืองในนามพรรคกรีนทัว
่ ไปในยุโรป แต่ในอังกฤษ
พรรคนี้ไม่ประสบความำาสเร็จในการไดูรับการสนั บสนุน แต่อย่าง
ในเยอรมันหรือประเทศอื่นในยุโรปก็ไดูรับการเลือกตัง้ มาก อัน
สามารถสรูางผลกระทบต่อการกำาหนดวาระหรือนโยบายในระบบ
การเมืองไดู
การดำาเนิ นงานของกลุ่มกดดันเหล่านี้ลูวนเกี่ยวขูองโดยตรง
กับเรื่องการสื่อสาร ซึ่งไดูแก่ร่ปแบบการโฆษณาประชาสัมพันธ์ที่
หลากหลาย บางกลุ่มเช่น Friend of the Earth ไดูแสดงใหูเห็น
อย่างชัดเจนถึงความสามารถของกลุ่มในดูานการสื่อสารดูวย
เทคนิ คต่างๆ เหล่านี้ แต่เนื่ องจากพวกกลุ่มนี้มีความเป็ นสถาน
บันนู อยจึงไม่ค่อยไดูรับการสนั บสนุนทางการเงินและการยอมรับ
บทบาทแบบตัวแสดงทางการเมืองสำาคัญๆ ไดูรับ พวกนี้จึงตูอง
11

ทำาการสื่อสารทางการเมืองดูวยวิธีที่มีตูนทุนถ่ก อาทิ การสื่อสาร


ดูวยการประทูวง
สาม) องค์กรดูานการก่อการรูาย ตัวแสดงทางการเมือง
แบบที่ไม่ใช่พรรคการเมืองกลุ่มนี้ มักถ่กใหูคุณค่าไปในทางลบ
เพราะใชูคำาว่า ก่อการรูาย ขณะที่ตัวกลุ่มเหล่านี้อยากใหูเรียก
พวกเขาว่าเป็ นกลุ่มปลดปล่อย หรือกลุ่มต่อสู่เพื่อเสรีภาพ
มากกว่า แต่ที่ใชูคำาว่ากลุ่มก่อการรูายเพื่อจะไดูศึกษาถึงวิธีการ
เทคนิ คการสื่อสารในร่ปแบบการก่อการรูายเป็ นสำาคัญ เช่น การ
ระเบิดกลางเมือง การจับตัวประกัน การลักพาตัว ซึ่งเป็ นร่ปแบบ
การสื่อสารใหูไดูมาซึ่งความสำาเร็จในเปู าหมายทางการเมืองของ
กลุ่ม อันเป็ นทีไ่ ม่พึงปราถนาของรัฐบาลในหลายประเทศ
ลักษณะร่วมบางประการอันสำาคัญของลุ่มก่อการรูายไม่ว่า
จะเป็ น Irish Repulican Army ในไอร์แลดน์ เหนื อ กลุ่มฮามาส
และกลุ่มฮีสเงอเลาะในตะวันออกกลาง กลุ่ม ETA ในสเปน
เครื่องข่ายอัลกออิดะที่ถล่มตึกเวริลเทรดเมื่อปี ค.ศ. 2001 ลูวน
เป็ นกลุ่มที่มีคำามัน ์ ิทธิ(Holy war) ทัง้
่ สัญญาการทำาสงครามศักดิส
สิ้น กลุ่มเหล่านี้มีเปู าหมายที่อย่่นอกเหนื อกระบวนการทาง
กฎหมายเหมือนกันหมด เป็ นเรื่องการต่อสู่เพื่อความชอบธรรม
โดยใชูความรุนแรงเป็ นเครื่องมือในการชักจ่งใจ กลุ่มพวกนี้จะ
พยายามทำาการเรียกรูองสรูางความสนใจต่อสื่อมวลชน เพื่อทำาใหู
สาธารณชนกลุ่มเปู าหมายตระหนั กในการดำารงอย่ของพวกเขา
แมูว่าการกระทำาของกลุ่มเหล่านี้จะเนู นความรุนแรงที่มีต่อ
ประชาชนทัว
่ ไปเพื่อเป็ นเครื่องมือสื่อสารทางการเมือง แต่จุด
12

ประสงค์สำาคัญก็คือเพื่อส่งเนื้ อหาตัวสารถึงกลุ่มฐานเสียงโดย
เฉพาะที่สามารถถอดรหัสนั น
้ ๆ ไดู นอกจากนั น
้ ในองค์กรก่อการ
รูายสมัยใหม่ก็นิยมใชูวิธีการประชาสัมพันธ์ หรือเทคนิ ค การ
บริหารจัดการสื่อเหมือนกับพวกนั กการเมืองหรือกลุ่มการเมือง
กระแสหลักที่นิยมใชูแบบแถลงข่าว ส่งข่าวแจกหรือการปล่อย
ข่าวดูวยเช่นกัน

ผููรับสารในการสื่อสารทางการเมือง(The Audiences)
ผู่รับสารนั บเป็ นองค์ประกอบอันดับสองรองจากองค์กร
ทางการเมืองผู่ส่งสาร ทัง้ นี้ วัตถุประสงค์หลักของการสื่อสาร
ทางการเมืองก็เพื่อชักจ่งใจผู้รับสารซึ่งถือเป็ นองค์ประกอบที่มี
ความสำาคัญอันดับสอง ในกระบวนการสื่อสารทางการเมือง ถูา
ไม่มีผู่รับสาร ตัวสารทางการเมืองก็ไม่มีความหมาย ผู่รับสารใน
กระบวนการสื่อสารเมืองนั น
้ อาจกวูางขวางมาก แต่ถูาเป็ นเรื่อง
ของการกระจายเสียงทางการเมืองอย่างในประเทศอังกฤษหรือ
เรื่องการสื่อสารของคณะกรรมการการเลือกตัง้ กลุ่มผู่รับสารก็จะ
มีลักษณะเฉพาะแคบลงมาคือมุ่งสื่อสารจ่งใจผู่มีสิทธิออกเสียง
หรือถูาเป็ นบทบรรณาธิการหนั งสือพิมพ์ที่เสนอเรียกรูองใหู
พรรคการเมืองเปลี่ยนผู่นำาพรรคก็มีกลุ่มผู่รับสารเป็ นผู่อ่าน ดัง
นั น
้ ผู้รับสารจึงมีไดูทัง้ ในความหมายกวูางและแคบ
อย่างเช่นกรณีการระเบิดของกลุ่ม IRA ในปี ค.ศ. 1995 ก็มี
ความหมายในเชิงการสื่อสารทางการเมือง 2 ระดับต่อผู้รับสาร
แบ่งไดูเป็ น 2 กลุ่ม คือหนึ่ งกลุ่มคนในอังกฤษทัง้ หมดเพื่อที่จะ
13

บอกว่าคนอังกฤษไม่ควรมองความขัดแยูงใน North Irish เป็ น


เรื่องที่ไม่เกี่ยวกับคนอังกฤษจริงๆ มันเกี่ยวขูอง และอีกกลุ่มหนึ่ ง
คือ รัฐบาล การระเบิดเป็ นการสื่อสารเพื่อที่จะบอกรัฐบาลอังกฤษ
ว่ากลุ่ม IRA มีความสามารถที่จะทำาอันตรายเช่นนี้อีกไดูหาก
รัฐบาลไม่ปรับการดำาเนิ นนโยบายใหูเหมาะสมสำาหรับการเลือกตัง้
แต่ไม่ว่ากลุ่มเปู าหมายจะเป็ นอย่างไรก็ตาม การสื่อสารทางการ
เมืองนั น
้ ก็มุ่งใหูผู่รับสารไดูรับสารนั น
้ ไดูตามเปู าประสงค์ในทางใด
ทางหนึ่ ง ซึ่งเรื่องการสื่อสารใหูเกิดผลกระทบอย่างใดอย่างหนึ่ ง
เป็ นเรื่องยากที่จะหาหลักฐานยืนยันลงไปใหูชัดเจนว่าอะไรทำาใหู
เกิดอะไร แต่จุดสนใจในดูานการสื่อสารทางการเมืองก็คือ อะไร
คือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการสื่อสารทางการเมืองในร่ปแบบนี้
นภายในกระบวนการทางประชาธิปไตย

สื่อ(The Media)
องค์กรสื่อถือเป็ นองค์ประกอบที่ 3 ที่สำาคัญในกระบวนการ
สื่อสารทางการเมือง ซึ่งประกอบดูวยสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อกระจายเสียง
องค์กรทางการ
สื่ออินเตอร์เน็ ต ในระบอบประชาธิ
เมืป ไตยแก่สื่อมีหนู าที่ทัง้ ดูานการ
องไดู
ถ่ายทอดการสื่อสารเรื่องทางการเมื องทีเกิอดงขึ้นทัว
พรรคการเมื ่ ไป และยังทำา
หนู าที่ในการประกอบสรูางตัวสารทางการเมื
องค์กรภาค องเพื่อส่งออกไปส่่
สาธารณะ
สังคมดูวย ดังที่ปรากฏในตารางต่ อไปนีกล่
้ที่แุมสดงใหูเห็นถึงบทบาท
กดดัน องค์กร
อันสำาคัญของสื่อ
ก่อการรูาย
รัฐบาล
14

รายงานวิเคราะห์
วิจารณ์ บทบรรณาธิการ รูองขอ
โฆษณา
สื่อ
ประชาสัมพันธ์

โพล
รายงานข่าว บทความ จดหมาย
บทวิเคราะห์ เว็ปบล็อก

พลเมือง

จากแผนภาพนี้เห็นไดูว่า ตัวแสดงทางการเมืองตูองอาศัย
สื่อในการส่งสารของตนเพื่อติดต่อสื่อสารกับผู่รับสารเปู าหมาย
ความเคลื่อนไหวทางการเมือง เนื้ อหาในนโยบายต่างๆ การ
ประกาศการเลือกตัง้ การณรงค์ของกลุ่มกดดันต่างๆ และการ
ดำาเนิ นการของกลุ่มก่อการรูาย ลูวนมีนัยทางการเมือง และมี
ศักยภาพเพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพทัง้ สิ้น ซึ่งต่างก็รอบการ
ขยายผลใหูถ่กรายงานส่่ประชาชนที่เปิ ดรับสื่อต่างๆ
ดังนั น
้ เมื่อตูองการเช่นนี้นักการสื่อสารทางการเมืองจึงตูอง
พยายามหาช่องทางในการเขูาถึงสื่อดูวยวิธีการต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ น
ช่องทางที่ถ่กตูองตามกฎหมาย เช่นตามระเบียบการสรูางสมดุล
15

ในการรายงานสาระทางการเมืองของการกระจายเสียงในอังกฤษ
หรือการทำาใหูส่ ือหันมาใหูความสำาคัญในการรายงานเรื่องต่างๆ
ดูวยวิธีที่แตกต่างกันไป ซึ่งบางครัง้ ลักษณะทางองค์กรผู่ผลิตสื่อ
ก็อาจจะต่อตูานพวกนั กสื่อสารทางการเมืองที่เขูามาแทรกแซง
ก็ไดู เรื่องเช่นนี้ก็เป็ นขูอจำากัดและแรงกดดันในการเลือกผลิต
และนำ าเสนอข่าวเช่นกันเพราะโดยปกติส่ ือไม่ใช่ว่าจะรายงานเรื่อง
ต่างๆ อย่างง่าย แบบชนิ ดที่เป็ นกลางในการเปิ ดกวูางสำาหรับการ
เป็ นเวทีทางการเมืองสำาหรับทุกฝ่ าย แต่ไดูมีการศึกษามาแลูว
การนำ าเสนอเรื่องต่างๆ ของสื่อมักมีความโนู มเอียงมีการใชูตัวเอง
หรืออคติของผู้นำาเสนอเขูาไปตัดสิน
ลักษณะดังกล่าวเป็ นไปตามที่มีการบอกไวูว่าความจริง
ทางการเมืองมักประกอบดูวย 3
ดูานคือ หนึ่ ง)ความจริงทางการเมืองตามที่เหตุการณ์มันเป็ นอย่่
สอง) ความจริงทางการเมืองที่ถ่กรับรู่โดยประชาชนคนกลุ่มต่างๆ
สาม) ความจริงที่ถ่กสรูางขึ้นหรือใหูความหมายจากสื่อ
อย่างไรก็ตามแมูว่ามีขูอถกเถียงถึงความตัง้ ใจหรือไม่ตัง้ ใจ
ในการทำางานของสื่อและผลผลิตจากสื่อแต่กูเป็ นที่ยอมรับกัน
อย่างยิ่งว่าสื่อเป็ นบทบาทหลักในกระบวนการสื่อสารทางการ
เมืองทัง้ ในการขยายผล ตีความเหตุการณ์ณ์ที่เกิดขึ้นใน
ปริมณฑลทางการเมือง ตลอดจนนำ าเสนอแง่คิดมุมมองต่างๆ
ของตนส่ส
่ าธารณะ ดังนั น
้ อคติของสื่อก็จึงมีความสำาคัญทางการ
เมืองดูวยอย่างยิ่ง
16

จริงๆ แลูวบางครัง้ อคติหรือความเอนเอียงของสื่อเป็ นตัว


กำาหนดขอบข่ายในการนำ าเสนอข่าวเพราะทุกเหตุการณ์ตูองผ่าน
การเลือก และอคติก็นับเป็ นคุณลักษณะที่เป็ นขูอจำากัดใน
กระบวนการรวบรวมข่าวสาร อย่างหนั งสือพิมพ์ในอังกฤษหรือใน
ประเทศทุนนิยมก็มักจะเปิ ดกวูางใหูกับพรรคการเมืองที่องค์กร
สื่อนั น
้ สนั บสนุน แต่ส่ อ
ื วิทยุโทรทัศน์ ก็มี้อจำากัดมากกว่า
ขณะที่ขอบข่ายและทิศทางในดูานความเอนเอียงของสื่อก็
มักมีความหลากหลายในสังคมประชาธิปไตย แมูกระนั น
้ ก็ตามใน
ความเป็ นจริงก็ยังคงยืนยันเสมอว่าสื่อเป็ นตัวแสดงที่มีความ
สำาคัญมากในกระบวนการทางการเมือง สื่อเป็ นตัวกลางระหว่าง
การส่งสารทางการเมืองและการรับรู่ข่าวสารของผู่รับสาร เป็ นสื่อ
ระหว่างกลางในกระบวนการที่มีหลายสิ่งหลายอย่างเกิดขึ้น แต่
ขณะเดียวกันสิ่งที่เกิดขึ้นระหว่างกระบวนการผลิตข่าวสารของ
สื่อก็สามารถมีความหมายต่อการรับรู่ของผู่รับสารดูวย
ดังนั น
้ สื่อจึงมีความสำาคัญมากไปกว่าการถ่ายทอดและการ
สรูางการรับรู่ สื่อไดูรับการย่องย่องว่าเป็ นเสียงสาธารณะโดย
เฉพาะอย่างยิ่งหนั งสือพิมพ์ อย่างบทบรรณาธิการก็เป็ นแหล่ง
รวบรวมความคิดเห็นทางการเมือง บางทีส่วนก็ช่วยนำ าเสนอเสียง
ของผู่อ่านที่มีความเห็นต่อนโยบายต่างๆ ตลอดจนเป็ นการส่ง
เสียงจากบรรณาธิการที่มีมุมมองต่อความเป็ นไปในทางการเมือง
ดูวย บทบรรณาธิการจึงทำาหนู าที่แสดงความคิดเห็น วิเคราะห์
วิจารณ์ เปรียบเสมือนตัวแทรกแซงทางการเมืองอย่างตัง้ ใจ
เขูาไปทำาการสื่อสารไปถึงรัฐบาลหรือพรรคการเมืองต่างๆ
17

ขณะเดียวกันดูวยพัฒนาการอันรวดเร็วของระบบ
อินเตอร์เน็ ต พื้นที่ในบล็อกของอินเตอร์ก็เป็ นอีกส่วนหนึ่ งที่ช่วย
ทำาหนู าที่ในการสื่อสารทางการเมืองของแต่ละคน ในเหตุการณ์
แต่ละวันก็เปิ ดโอกาสใหูผู่คนนำ าเสนอความคิดเห็น ขูอวิเคราะห์
วิจารณ์ไดูมากมาย อย่าง Andrew Sullivan นั กข่าวมืออาชีพไดู
เปิ ดบล็อกของเขาเพื่อจะส่งเสริมและสื่อสารสิ่งที่นำาเสนอจากสิ่ง
พิมพ์ใหูกับผู่อ่ ืนกลุ่มต่างๆ บล็อกจึงกลายเป็ นพื้นที่ใน
อินเตอร์เน็ ตที่มีประโยชน์ ในการเสนอแง่คิดมุมมอง ขูอวิพากษ์
วิจารณ์ต่างๆ ที่เป็ นขูอถกเถียงทางการเมืองอย่างมาก และหลาย
ต่อหลายครัง้ ประเด็นเหล่านั น
้ ไดูมีอิทธิพลต่อเนื้ อหาของ
หนั งสือพิมพ์ซ่ ึงเป็ นสื่อกระแสหลักอย่าง เดอะการ์เดียน ไดูผลิต
หนู าแสดงความคิดเห็นต่างๆ ทีถ
่ ่ายทอดมาจากบล็อกอีกทีหนึ่ ง ที่
ผ่านมาทัง้ บล็อก วีดีโอ ในอินเตอร์เน็ ต ลูวนเป็ นองค์ประกอบ
สำาคัญของนั กข่าวหรือของสื่อสายการเมือง
จุดสำาคัญอีกประเด็นหนึ่ งคือ สื่อมวลชนมีความสำาคัญต่อ
ระบบการเมืองในฐานะผู่ส่งสารจากพลเมืองไปยังผู่นำาทากงาร
เมือง เช่น ในการรายงานผลของโพลซึ่งถือว่าเป็ นการนำ าเสนอ
ความคิดเห็นของสาธารณชนที่สะทูอนความเขูาใจหรือช่วย
ประเมินสถานการณ์ทางการเมือง ตลอดจนแสดงความเห็นต่อ
การกระทำาของนั กการเมือง เป็ นการสื่อสารจากล่างขึ้นบนซึ่งมัก
จะเห็นผลของมันไดูจากการยอมรับโดยพรรคการเมืองต่างๆ
นอกจากนั น
้ แลูวสื่อมวลชนก็ยังเป็ นเวทีใหูประชาชนไดูเขียนหรือ
แสดงความคิด คำาวิจารณ์ต่างๆ ส่ส
่ าธารณะดูวย หนั งสือพิม์พบาง
18

ฉบับ เช่น เดอะไทม์ มีหนู าจดหมายจากผู่อ่านที่บรรดานั กการ


เมืองนิ ยมติดตามอ่านซึ่งเป็ นการช่วยสำารวจตรวจด่ความคิดเห็น
สาธารณะอันมความสำาคัญต่อการกำาหนดนโยบายของพวก
นั กการเมืองเหล่านั น

ขณะเดียวกัน วิทยุโทรทัศน์ ก็กำาลังเป็ นพื้นที่สำาหรับการถก
เถียงทางการเมือง ร่วมไปถึงการโตูวาทีทางการเมือง และเป็ น
พื้นที่สาธารณะที่สามารถเขูาถึงไดูในการนำ าเสนอแง่คิดมุมมอง
ต่างๆ เช่น ในเดือนมกราคมปี ค.ศ. 1997 ไอทีวีของอังกฤษไดู
จัดใหูมีการถกเถียงแลกเปลี่ยนทางการเมืองและเปิ ดใหู
ประชาชนทัง้ ที่สนับสนุนและไม่สนั บสนุนมานำ าเสนอแง่คิดมมอง
ของตนที่มีต่อระบบราชวงศ์ทัง้ ในอดีต ปั จจุบันและในอนาคต
นอกจากนั น
้ การเกิดขึ้นของอินเตอร์เน็ ตซึ่งถือเป็ นสื่อใหม่นับ
เป็ นการเปิ ดโอกาสใหม่ใหูประชาชนไดูเขูามามีส่วร่วมในการถก
เถียงประเด็นทางการเมืองกัน ทัง้ ในเว็ปไซด์อย่างย่ทบ
่ ก็ไดู
อนุญาตใหูกลุ่มการเมืองต่างๆ เสนอแง่คิดมมุมองต่างๆ ของตน
สื่อออกไปยังประชาคมโลกไดู
จากที่กล่าวจะเห็นไดูว่า การที่จะเขูาใจกระบวนการทางการ
เมืองจะละเลยการทำาความเขูาใจเรื่องของสื่อไม่ไดูอย่างเด็ดขาด

เวทีระหว่างประเทศ (The International Stage)


19

ในศตวรรษที่ 20 เวทีการเมืองไดูมีความเป็ นสากลเพิ่มมาก


ขึ้น เนื่ องจากสื่อมวลชนไดูถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ ส่ส
่ ายตา
นานาชาติ ใหูไดูรับรู่ ดังนั น
้ ในศตวรรษที่ 21 นี้ผู่รับสารจากสื่อที่
เป็ นกลุ่มเปู าหมายของการสื่อสารทางการเมืองจึงไม่ใช่มีแต่เพียง
ผู่รับสารในประเทศแต่รวมไปถึงในต่างประเทศ รัฐบาลใน
ประเทศต่างๆ องค์กรธุรกิจต่างๆ กลุ่มก่อการรูาย ก็ต่างใชูเครือ
ข่ายและระบบขูอม่ลข่าวสารในระบบโลกเพื่อส่งความตูองการ
ทางการเมืองของตนออกไป
ร่ปแบบทางการท่ตในลักษณะการเจรจาซึ่งหนู าแบบดัง้ เดิม
แมูจะยังคงอย่่แต่สงครามที่ทันสมัยแบบใหม่ การต่อสู่เพื่อ
เสรีภาพ ขูอขัดแยูงในการก่อการรูายต่างก็จะมีการต่อสูุผ่านทาง
สื่อต่างๆ เพิ่มมากขึ้นโดยมีความคิดเห็น และเสียงประชามติจาก
นานาชาติเป็ นรางวัลใหูหากกลุ่มนั น
้ ๆสามารถสื่อสารจนไดูชัยชนะ
ในเวทีนี้ เหมือนเช่นที่ Walter Lippmann ตระหนักมาตลอด
ตัง้ แต่ ค.ศ. 1920 ว่ารัฐบาลต่างๆ ไม่ว่าจะทำาหน้าที่ได้ดีเพียงใดก็
ไม่เพียงพอที่จะปกครองพลเมืองของตนได้ดี แต่ต้องได้รับการ
สนับสนุนจากมติมหาชนของคนทัง้ โลกนับเป็ นสิ่งสำาคัญต่อการ
ดำาเนินการของรัฐบาลเหล่านัน
้ ด้วย
ความพยายามที่จะมีอท
ิ ธิพลเหนื อมติมหาชนจากนานาชาติ
นั น
้ ถือไดูว่าเป็ นเรื่องของการสื่อสารทางการเมืองอย่างชัดเจน
เช่นประสบการณ์การทำาสงครามโฟลค์แลน สงครามอิรัก หรือ
สงครามในย่โกสลาเวีย หรือแมูแต่การโฆษณาชวนเชื่อในยุค
สงครามเย็นไปจนถึงเหตุการณ์911 และควันหลงจากการปลด
20

ปล่อยอัฟกานิสถานหรืออิรักก็ลูวนแสดงใหูเห็นถึงความสำาคัญ
ของอิทธิพลของกระบวนการสื่อสารทางการเมืองทัง้ สิ้น
กล่าวโดยสรุปแลูว ความหมายของการสื่อสารทางการเมือง
ที่ผู่เขียนไดูเนู นนำ าเสนอนี้เป็ นเรื่องของการสื่อสารทางการเมือง
ในความหมายกวูาง อันเป็ นเรื่องเกี่ยวกับแนวทางในการสื่อสาร
ขององค์กรทางการเมืองทัง้ หลายในระดับประเทศและนานาชาติ
แมูว่าโดยแทูจริงแลูวการศึกษาปรากฏการณ์ทางการเมืองจะตูอง
มองถึงร่ปแบบการปกครองในดูานต่างๆ แต่ในการศึกษาการ
สื่อสารทางการเมืองก็ยังคงใหูความสำาคัญกับร่ปแบบการปกครอง
ในแบบประชาธิปไตยซึ่งความหมายของประชาธิปไตยในทีน
่ ี้ก็คือ
ระบบสังคมที่รัฐบาลปกครองโดยยึดถือการไดูรับความยินยอม
จากประชาชนเป็ นที่ตัง้ มากกว่าการใชูกำาลังเขูาบังคับข่มข่่ ผู่นำา
ทางการเมืองจึงไดูรับความชอบธรรมในการปกครองประชาชน

You might also like