You are on page 1of 6

ระบบหุ้นส่วนบริษท

ั ของประเทศฝรั่งเศส : การแบ่งประเภทหุ้นส่วนบริษท
ั โดยจิรวัฒน์ จงสงวนดี
(2546) 1

ระบบหุ้นส่วนบริษท
ั ของประเทศฝรัง่ เศส :
การแบ่งประเภทหุ้นส่วนบริษท

จิรวัฒน์ จงสงวนดี1

ความนำ า

ระบบหุน
้ ส่วนบริษท
ั ของไทยมีความคลุายคลึงกับระบบหุ้นส่วนบริษท

ของประเทศฝรั่งเศสหลายประการ แต่ก็มีหลายประการที่มีความแตกต่างกันมาก
หากจะศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายไทยกับฝรั่งเศสในเรื่องนี้ จำาเป็ นที่ผุ้ศึกษาตุอง
ทราบถึงระบบหุน
้ ส่วนบริษท
ั และองค์กรทางธ้รกิจร้ปแบบต่าง ๆ ของฝรั่งเศส เช่น
S.A., S.A.S.,S.A.S.U., S.A.R.L. โดยละเอียดดุวย มิฉะนั้นอาจทำาใหุเกิดความเขุาใจ
ที่ไม่ถ้กตุองในเรื่องดังกล่าวไดุง่าย บทความนี้ จึงจะศึกษาถึงระบบหุ้นส่วนบริษท
ั และ
องค์กรทางธ้รกิจร้ปแบบต่าง ๆ ของฝรั่งเศสโดยเฉพาะ โดยในตอนแรกนี้ จะ
กล่าวถึงประเภทของหุ้นส่วนบริษท
ั (personne morale) ส่วนเรื่องอื่นที่เกี่ยวขุองกับ
ระบบหุน
้ ส่วนบริษท
ั เช่น ประเด็นในเรื่องการควบค้มกิจการ อำานาจ และความรับผิด
ชอบของหุ้นส่วนหรือผุ้ถือหุ้น เป็ นตุน ผุ้เขียนจะไดุนำาเสนอในโอกาสต่อไป

การแบ่งประเภทของนิ ติบ้คคลในประเทศฝรัง่ เศส

นิ ติบ้คคลนั้นสามารถแยกออกไดุหลายประเภทซึ่งแต่ละประเภทก็จะมี
ความแตกต่างกันออกไป เพื่อความเขุาใจในเรื่องของหุ้นส่วน บริษท
ั จำาเป็ นที่จะตุอง
กล่าวถึงการแบ่งประเภทของ “นิ ติบค
้ คล” ในประเทศฝรั่งเศสก่อน อย่างไรก็ดีในการ
แบ่งประเภทของนิ ติบค
้ คลในประเทศฝรั่งเศสนั้นสามารถแบ่งไดุหลายวิธี ในที่น้ี ขอ
แยกโดยการพิจารณาตามประเภทของกฎหมายที่ใชุกับนิ ติบ้คคลนั้น ๆ จะสามารถ
แบ่งไดุเป็ น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

ประเภทแรก นิ ตบ
ิ ้คคลตามกฎหมายมหาชน (les personnes
morales de droit public) ไดุแก่ กล่ม
้ บ้คคลที่ใชุอำานาจรัฐ(puissance
publique)ซึ่งอย่้ภายใตุกฎหมายปกครองรัฐ และการพิจารณาคดีของศาลคดี

1
จิรวัฒน์ จงสงวนดี น.บ. (ธรรมศาสตร์) น.ม. (ธรรมศาสตร์) D.E.A. (Droit des Affaires) Institut
de Droit des Affaires, Universite Aix Marseille 3, นิ ติกร 5 สำานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
(ปัจจ้บันกำาลังศึกษาระดับปริญญาเอกที่ Institut de Droit des Affaires, Universite Aix
Marseille 3)
ระบบหุ้นส่วนบริษท
ั ของประเทศฝรั่งเศส : การแบ่งประเภทหุ้นส่วนบริษท
ั โดยจิรวัฒน์ จงสงวนดี
(2546) 2

ปกครอง(juridiction d’ordre administratif) เช่น รัฐ(État et ses subdivisions)


องค์กรของรัฐ(Établissements publics) เช่น มหาวิทยาลัยหรือโรงพยาบาลของรัฐ
นอกจากนี้ แลุวยังรวมถึง GIP หรือ Groupement d’Intérêt Public : loi de 1982
(ไดุแก่ กล่ม
้ ของนิ ติบ้คคลที่รวมกันตั้งแต่สองนิ ติบค
้ คลขึ้นไปอาจก่อตั้งขึ้นระหว่าง
นิ ติบ้คคลตามกฎหมายมหาชนกับนิ ติบค
้ คลตามกฎหมายเอกชน หรือระหว่าง
นิ ติบ้คคลบ้คคลตามกฎหมายมหาชนดุวยกันเอง มีสภาพนิ ติบค
้ ลทางกฎหมายใหม่
และมีระบบการเงินเป็ นอิสระของตนเอง เพื่อทำากิจกรรมที่มีลักษณะพิเศษเป็ นการ
บริการสาธารณะร่วมกันตามที่กฎหมายกำาหนดในระยะเวลาที่กำาหนด เช่น การทำา
วิจัย การพัฒนาทางดุานเทคโนโลยี กีฬา วัฒนธรรม และเยาวชน เป็ นตุน และเพื่อ
การสรุางหรือเพื่อจัดการเกี่ยวกับอ้ปกรณ์หรือการบริการที่สำาคัญ ร่วมกันในกิจการ
บริการสาธารณะดังกล่าว

ประเภททีส
่ อง ไดุแก่ นิ ติบ้คคลแบบผสม (les personnes
morales de droit mixte) ไดุแก่ กล่้มบ้คคลซึง
่ ประกอบจากองค์ประกอบของ
กฎหมายมหาชนและเอกชน ดังนี้

(1) นิ ติบ้คคลมหาชนที่อย่้ภายใตุกฎหมายแพ่ง โดยกิจกรรมของ


นิ ติบ้คคลนี้ ไดุพัฒนามาจากการปฏิบัติหนุาที่ของรัฐตามปกติ มาปฏิบัติในทาง
เศรษฐกิจและการคุา เช่น Société d’Économie Mixte ที่เรียกโดยย่อว่า SEM
ซึ่งประเภทนี้ รัฐจะถือหุ้นใหญ่ หรือ Etablissement public industriel et
commercial หรือ EPIC ซึ่งจะเป็ นกรณีท่ีรัฐมาทำาธ้รกรรมในทางอ้ตสาหกรรม
หรือการคุา เช่น การไฟฟุ าและก๊าซแห่งประเทศฝรั่งเศส (EDF) การรถไฟแห่ง
ประเทศฝรั่งเศส (SNCF) เป็ นตุน
(2) นิ ติบ้คคลตามกฎหมายเอกชนที่อย่้ภายใตุกฎหมายมหาชน เช่น
กล่้มองค์กรทางวิชาชีพ เช่น ทนายความ หรือแพทย์ เป็ นตุน ซึ่งเป็ นกล่้มวิชาชีพที่
ตุองมีการขึ้นทะเบียนวิชาชีพ เพื่อประโยชน์ของการวงการวิชาชีพนั้น ๆ (assurer la
«police interne de la profession»)

ประเภททีส
่ าม ไดุแก่ นิ ติบ้คคลตามกฎหมายเอกชน (les
personnes morales de droit privé) ซึ่งอย่้ภายใตุกฎหมายแพ่ง และการ
พิจารณาคดีของศาลย้ติธรรม สามารถแยกไดุเป็ น 2 ประเภท คือ กล่ม
้ ของบ้คคล
(les groupements des personnes) และกล่้มทางทรัพย์สิน(les groupments
des biens)
ระบบหุ้นส่วนบริษท
ั ของประเทศฝรั่งเศส : การแบ่งประเภทหุ้นส่วนบริษท
ั โดยจิรวัฒน์ จงสงวนดี
(2546) 3

(1) กล่้มของบ้คคล (les groupements des personnes) จะเป็ นการ


รวมกันของบ้คคลธรรมดา หรือนิ ติบ้คคล(ในทางปฏิบัติมีนอ
ุ ย)ตั้งแต่สองคนขึ้นไป
แยกเป็ น

1.1 กล่้มที่ต้ง
ั ขึ้นเพื่อแสวงหากำาไร(but lucratif) ไดุแก่ กล่้ม
บ้คคลตั้งแต่สองขึ้นนำาทรัพย์สน
ิ มาร่วมกันหรือการทำางานร่วมกันเพื่อนำาผลประโยชน์
ที่ไดุรับมาแบ่งปั นกัน หรือเพื่อผลประโยชน์ในทางเศรษฐกิจที่จะไดุรับ แบ่งเป็ น

(ก) หุ้นส่วน บริษท


ั เอกชน (société civile) ไดุแก่ หุ้น
ส่วน หรือบริษท
ั ที่ต้ังขึ้นโดยวัตถ้ประสงค์ในทางแพ่ง ไม่ใช่เพื่อวัตถ้ประสงค์ในการ
ทำาการคุา เช่น หุางหุ้นส่วนที่จัดตั้งเพื่อจัดการเกี่ยวกับกิจการเกษตรกรรม(เกษตรกร
ถือว่าเป็ นผุ้ผลิตแมุจะผลิตไปขายต่อก็ไม่ถือเป็ นพ่อคุา เพราะการจะเป็ นพ่อคุาตุองมี
การกระทำา actes de commerce เช่น การซื้อมาเพื่อขายต่อ การธนาคาร การซื้อ
ขายหุน
้ การใหุประกัน และกิจการนายหนุา เป็ นตุน) อย่างไรก็ดีอาจมีลักษณะของ
การแบ่งปั นผลประโยชน์ในทางเศรษฐกิจระหว่างสมาชิกไดุ อาจจัดตั้งตามกฎหมาย
ทั่วไป(des société des droit commun) และเกิดจากกฎหมายพิเศษ เช่น S.C.P.
(Société Civile Professionnelle หรือ บริษท
ั ประกอบวิชาชีพ SCP ทนายความ),
S.C.I. (Société Civile Immobilière ซึ่งเป็ นกรณีท่ีร่วมลงท้นในการสรุางตึกโดยใหุ
หุน
้ ส่วนมีผลประโยชน์ในตึกนั้น แมุจะด้ว่าควรจะเป็ นเรื่องทางการคุาแต่เนื่ องจากเป็ น
สิทธิเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ท่ีโดยลักษณะแลุวถ้กพิจารณาเป็ นเรื่องทางแพ่งมา
ตลอด ดังนั้น ในเรื่องนี้ จึงถ้กนำาแยกมาไวุรวมกับสิทธิเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์อ่ ืน ๆ
ดุวย)

(ข) หุ้นส่วน บริษท


ั การคุา(société commerciale)
ไดุแก่ หุ้นส่วนหรือบริษท
ั ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อวัตถ้ประสงค์ในการทำาการคุา เช่น SNC,
SCS,SA เป็ นตุน บริษท
ั ต่าง ๆ ที่จะกล่าวถึงนี้ เป็ นบริษท
ั ที่อย่้ในจำาพวกบริษท
ั การคุา
หรือ société commerciale ตามมาตรา 110-1 แห่งประมวลกฎหมายการคุา
(code de commerce) ซึ่งแยกไดุเป็ น

บริษท
ั แบบผสม : S.A.R.L
หุางหุ้นส่วน (ท้นเป็ นสำาคัญ)
(บ้คคลเป็ นสำาคัญ) (Société des Capitaux)
ระบบหุ้นส่วนบริษท
ั ของประเทศฝรั่งเศส : การแบ่งประเภทหุ้นส่วนบริษท
ั โดยจิรวัฒน์ จงสงวนดี
(2546) 4

(Société des
personnes)

- หุางหุ้นส่วน (Société des personnes) เป็ นกล่้มบริษท


ั ที่ตัวหุ้นส่วนมี
ความสำาคัญเพราะ เป็ นกล่้มที่บ้คคลตุองรับผิดชอบในหนี้ ร่วมกับบริษท
ั เช่น SNC
(Société en Nom Collectif) SCS (Société en Commandite Simple) เป็ นตุน

- บริษท
ั (Société des Capitaux) เป็ นการนำาท้นมารวมกัน โดยบริษท

ประเภทนี้ ค้ณสมบัติของผุ้ถือหุ้น(actionnaires)จะไม่ใช่สาระสำาคัญ และหุ้นส่วนไม่
ตุองรับผิดในหนี้ ของบริษท
ั เกินกว่าหุ้นของตน เช่น SA (Société Anonyme) SAS
(Société par actions simplifiées) SCA (Société en commandite par
actions) เป็ นตุน

- บริษท
ั แบบผสม เป็ นทั้งการรวมของบ้คคลและการรวมกันของท้น เช่น
des SARL (Société à responsabilité limitée) des EURL (Entreprise
unipersonnelle à responsabilité limitée) เป็ นตุน

- สร้ปความแตกต่างระหว่างองค์กรทางธ้รกิจทั้ง 3 ประเภทดังกล่าวไดุดังนี้

หุางหุ้นส่วน บริษท

(บ้คคลเป็ นสำาคัญ) (ท้นเป็ นสำาคัญ)
(Société des personnes) (Société des Capitaux)

ไดุแก่ ไดุแก่

- SNC(Société en Nom -SA (Société Anonyme)


Collectif) อาจเทียบไดุกับหุางหุน
้ -SAS (Société par actions
ส่วนสามัญ simplifiées)
- SCS (Société en -SCA (Société en commandite par
Commandite Simple)อาจเทียบ actions)
ระบบหุ้นส่วนบริษท
ั ของประเทศฝรั่งเศส : การแบ่งประเภทหุ้นส่วนบริษท
ั โดยจิรวัฒน์ จงสงวนดี
(2546) 5

ไดุกับหุางหุ้นส่วนจำากัด

ลักษณะสำาคัญ
ลักษณะสำาคัญ
- ตัวของผุ้เป็ นหุ้นส่วนไม่ใช่ส่วน
- สภาพของหุ้นส่วน(les associés)
สำาคัญ(indifférente) ตัวผุ้เป็ นหุ้นส่วน
แต่ละคนมีลักษณะเฉพาะตัว
อาจไม่รุ้จักกันก็ไดุ
(l'intutius personae)ส่วนสำาคัญ
- สิทธิของผุ้เป็ นหุ้นส่วนเป็ นไปที่กำาหนดไวุ
จะขาดคนใดคนหนึ่ งไม่ไดุ
ในใบหุ้น(actions négociables)
- การจะโอนหุน
้ จะตุองไดุรับความ
- ในหนังสือบริคณห์สนธิ(les statuts)
ยินยอมจากหุน
้ ส่วนคนอื่น
สามารถกำาหนดว่าการโอนใหุบ้คคลที่สาม
- หุ้นส่วนของ SNC และหุ้นส่วนที่
ตุองไดุรับความยินยอมจากผุ้ถือหุน
้ อื่น
ไม่จำากัดความรับผิดของ SCS (les
ก่อนไดุ
commandités de SCS) ถือว่า
- ผุ้เป็ นหุ้นส่วนของ S.A. ไดุแก่ ผุ้ถือ
เป็ นพ่อคุา และตุองร่วมรับผิด(est
หุน
้ (actionnaires)จะรับผิดไม่เกินจำานวน
solidaire)ในหนี้ ของหุางฯ อย่างไม่
ท้นในส่วนของ(leur apport) และไม่
จำากัด
ถือว่าเป็ นพ่อคุา

แบบผสม : S.A.R.L

ลักษณะสำาคัญ

-ผุถ
้ ือหุ้นรับผิดไม่เกินท้นที่ตนนำามาลงไวุ
-หุน
้ สามารถโอนไดุ แต่ไม่ใช่แบบ négociable(หุน
้ ประเภทนี้ สามารถโอนใหุ
แก่กันไดุง่ายและเร็วกว่าการโอนดุวยวิธีทางกฎหมายแพ่ง)

1.2 กล่้มที่ต้ง
ั ขึ้นไม่แสวงหากำาไร(but non-lucratif) แบ่งไดุ
ดังนี้

(ก) สมาคม (associations) นิ ยามโดย la loi du 1


juillet 1901 ที่กำาหนดเรื่อง เสรีภาพในการสมาคม โดยที่เนื้ อหาเป็ นการรวมกันของ
กล่้มบ้คคลธรรมดาที่มีลักษณะร่วมกันอย่างใดอย่างหนึ่ ง หรือมีกิจกรรมร่วมกันเพื่อ
วัตถ้ประสงค์อ่ ืนที่ไม่ใช่เป็ นการแสวงหากำาไร สมาคมแตกต่างจากหุ้นส่วนบริษท
ั ดังนี้
ระบบหุ้นส่วนบริษท
ั ของประเทศฝรั่งเศส : การแบ่งประเภทหุ้นส่วนบริษท
ั โดยจิรวัฒน์ จงสงวนดี
(2546) 6

หุน
้ ส่วนบริษท
ั (société) สมาคม (associations)

1. แสวงหากำาไร และ 1. ไม่แสวงหากำาไร และ


2. มีการแบ่งผลประโยชน์ 2. ไม่มีการแบ่งผลประโยชน์

(ข) สหภาพแรงงาน (syndicats professionnels) ตั้ง


ขึ้นเพื่อพิทักษ์ผลประโยชน์ของคนในกล่้มเช่น กล่ม
้ ล้กจุาง เป็ นตุน โดยจะยังไม่มี
สภาพบ้คคลตามกฎหมายจนกว่าจะไดุจดทะเบียนที่ mairie โดยกลไกการดำาเนิ นการ
ต่าง ๆ เป็ นไปตามกฎหมายแรงงาน

(ค) กล่ม
้ ทางศาสนา (congrégations religieuses)
เป็ นส่วนทีสองของโบสถ์สรุางก่อตั้งโดยปราศจากอำานาจรองรับ แต่อย่างไรก็ดีจะมี
สภาพเป็ นนิ ติบค
้ คลไดุก่อต่อเมื่อมี décret ของ Conseil d'Etat ออกมากำาหนดใหุมี
สภาพนิ ติบค
้ คล

(2) กล่้มทางทรัพย์สิน (les groupments des biens) กรณีท่ีเจุา


กรรมสิทธิใ์ นทรัพย์สินนำาทรัพย์สินของตนไปใหุจัดการ ทั้งนี้ อาจเป็ นกรณีท่ีเจุาของ
ทรัพย์ยังมีชีวต
ิ อย่้ เช่น การตั้งม้ลนิ ธิ (fondation) อย่างไรก็ดี หากเป็ นกรณีท่ี
กองท้น (faire une donation)หรือ กองมรดก(legs)ซึ่งเป็ นกรณีบ้คคลธรรมดานำา
ทรัพย์สินเพื่อใหุจัดการตามที่กำาหนดไวุ กรณีน้ี จะไม่ใช่นิติบ้คคล

You might also like