You are on page 1of 33

ศรชัย ฉัตรวิรยิ ะชัย 5080211622

การบริหารจัดการทางวัฒนธรรมทองถิ่นโดยชุมชน : กรณีศึกษาจากคณะมังกรทองเจาพอ-เจาแม
ปากน้ําโพ, ลิเก และหุนกระบอกโบราณ จังหวัดนครสวรรค.

บทคัดยอ

บทความนีเ้ ปนการศึกษาถึงการบริหารจัดการทางวัฒนธรรมทองถิ่นซึ่งมีชมุ ชนเปนผูริเริ่ม


โดยเลือกกรณีศึกษาที่มีความโดดเดนในแงของนวัตกรรมการสรางผลงานทางวัฒนธรรม เชน หุน
กระบอกของแมชะเวง ซึง่ เปนครูภูมิปญญาไทยทีส่ ืบทอดผลงานการเชิดหุน มาตั้งแตสมัยรัชกาลที่
5 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห ัว เนือ่ งจากมีลักษณะของการบริหารจัดการที่มีความ
งายดายไมมีอะไรซับซอน เปนลักษณะการจัดการแบบเจาของคนเดียว แตมีความโดดเดนแงมุม
ของการอนุรักษศลิ ปวัฒนธรรมพื้นบานที่ยังไมมีการเปลีย่ นแปลงในเนื้อหาและรูปแบบมากนัก
จนถึงทุกวันนี้ และการบริหารจัดการคณะลิเกของคณะไพศาล เพียรศิลป ซึ่งเปนคณะลิเกทีใ่ หญ
และเกาแกทส่ี ดุ คณะหนึ่งของจังหวัดนครสวรรค การจัดการของคณะไพศาล เพียรศิลปมีความ
นาสนใจในแงทเี่ ปนการจัดการคณะกลุมคนที่มขี นาดยอมกลาวคือมีลูกคณะอยูไมต่ํากวา 50 ชีวิต
รวมทั้งมีการจัดการสมัยใหมในลักษณะแบงแยกหนาที่กนั ทํางาน อีกทั้งยังนาสนใจในแงมุมของ
การดํารงรักษาศิลปะการแสดงพื้นบานของไทยคือ “ลิเก” ซึ่งเริ่มมีปรากฏอยูใ นบันทึกของจดหมาย
เหตุของ สมเด็จพระนางเจาสุนนั ทากุมารีรัตน ตั้งแตสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
เจาอยูหัว1 ซึ่งลิเกมีความสําคัญในแงของการตัวอยางของการผสมผสานศิลปวัฒนธรรมตางชาติ
ใหเขากับวิถขี องความเปนไทยไดอยางเปนเลิศ อีกทั้งยังมีความสามารถในการปรับตัวใหเขากับทุก
ยุคทุกสมัย และสุดทายการหยิบยกเรือ่ งราวของการแหมังกรทองทีจ่ งั หวัดนครสวรรคมาเปน
ประเด็นวิเคราะห เพื่อสรางมิตใิ หกับบทความทีจ่ ะสะทอนใหเห็นถึงการจัดการทางวัฒนธรรม
ทองถิ่นทีเ่ กิดขึน้ ในชุมชน ถึงแมวาจะมิไดมีรากเหงามาจากวัฒนธรรมของไทยแตชมุ ชนก็ไดรวมมือ
กันสรางสรรคขึ้นมาจนเปนสิ่งที่ตางชาติใหความสนใจในแงของการทองเทีย่ วในชั้นตน แลวรัฐจึง
ใหความสนใจที่จะยกระดับสนับสนุนในฐานะของเครือ่ งมือที่ตอบสนองนโยบายการทองเที่ยวใน
ภายหลัง แตก็มียังคงมีประเด็นปญหาดานการไดรับการยอมรับและยกระดับสูความเปน
ศิลปวัฒนธรรมที่มคี วามสําคัญในระดับชาติ และนานาชาติ ประเด็นการบริหารจัดการทาง
วัฒนธรรมที่เปนอยูใ นจังหวัดนครสวรรคน้ี จะไดถูกนํามาเปรียบเทียบกับการบริหารจัดการเชิง
วัฒนธรรมของภาครัฐซึ่งมีแนวปฏิบัติทเ่ี ปนเลิศ (Best Practices) ในกรณีของหุนน้ําเวียดนาม
และจะเปนแนวทางที่สําคัญในการศึกษาเปรียบเทียบเพือ่ นํามาสูก ารนําเสนอแนวทางการอนุรกั ษ
และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นโดยชุมชนอยางมีประสิทธิภาพ และมีความยัง่ ยืนตอไปใน
อนาคต

1
ความเปนมาของจังหวัดนครสวรรค

บริเวณที่ตั้งของจังหวัดนครสวรรคในปจจุบันนั้นมีประวัตคิ วามเปนมาเกาแกและยาวนาน
แตท่ปี รากฏหลักฐานใหเห็นเดนชัดนั้นนักวิชาการมักจะใหความสําคัญกับการสถาปนาพืน้ ที่
บริเวณนี้ขนึ้ เปนเมืองในสมัยทวารวดี โดยเมืองนี้มชี ื่อเรียกวา เมืองจันเสน ซึง่ สันนิษฐานวาเปน
มงคลนามมาจากภาษาอินเดียเดิมวา “จันทเสน”2

ประชากรทีอ่ าศัยในบริเวณพื้นทีน่ ้แี ตเดิมมาพูดภาษาใดไมมีใครทราบ อีกทั้งไมปรากฏวา


นับถือศาสนาใด จากขอมูลหลักฐานทางโบราณวัตถุทาํ ใหเราทราบเพียงวาชวงประมาณ 1900 ป
มาแลว ชุมชนในแถบนี้มีการติดตอคาขายกับประเทศอินเดีย และไดมกี ารรับเอาวัฒนธรรมการนับ
ถือพุทธศาสนาเขามาดวย3

ตอมาบทบาทของบริเวณพื้นทีข่ องจังหวัดนครสวรรคนั้นไดปรากฏในหลักศิลาจารึกกรุง
สุโขทัยหลายหลักในชือ่ ของ “เมืองพระบาง” ซึ่งมีบทบาทในแงของการเปนเมืองหนาดานทีส่ ําคัญ
ในการทําศึกสงคราม เรือ่ ยมาตั้งแตจนถึงสมัยอยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร4 สมเด็จฯ กรมพระ
ยาดํารงราชานุภาพครั้งทงดํารงตําแหนงเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยในป 2535 ไดทรงนิพนธ
เกี่ยวกับนครสวรรคเมือ่ ครั้งเสด็จตรวจราชการหัวเมืองวา

“เมืองนครสวรรคเดิมชือ่ วา เมืองพระบาง สรางแตครั้งกรุงสุโขทัย เมืองเดิมอยูทางฟาก


ตะวันตกแมน้ําเจาพระยาตรงหลังตลาดปากน้ําโพบัดนี้ ... ฤดูน้ํา ๆ ทวมไมถึงเมือนกับที่
แหงอืน่ ๆในแถวปากน้ําโพนั้น แตกระนั้นก็ตอ งทิ้งใหเมืองราง เห็นจะเปนเมื่อสมัยกรุงศรี
อยุธยาเพราะในแมนํา้ ตรงหนาเมืองเกิดหาดทรายรุกล้ําน้าํ ไกลออกไปเสมอ ที่ในเมืองฤดู
แลงก็กันดารน้ํา จนพวกชาวเมืองพากันยายไปอยูทอ่ี ื่น...เมื่อฉันไปครั้งนั้น เมือง
นครสวรรคคือหมูบานของเจาเมืองกรมการยายลงไปตั้งอยูท่ตี ําบลทางฟากตะวันอก
แมนํา้ เจาพระยาหางปากน้ําโพลงมาขางใตสกั 200 เสน...”

การยายเมืองขามฟากไปมาระหวางสองฝงแมน้ําเจาพระยา และการขึน้ ลงของน้ํานี้มนี กั วิชาการได


พูดถึงวามีประเด็นมาจากการทีล่ ําน้ํามีความคดเคี้ยว ในในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกลาเจาอยูหวั จึงโปรดใหยายตัวเมืองมายังฝงตะวันตกของแมนํา้ จนมาถึงบัดนี้ แลวเหตุท่ี
มีชื่อจังหวัดวา “นครสวรรค” สันนิษฐานวาเพราะออกเสียงผิดเพี้ยนมาจากคําวา “ชอนตะวัน” หรือ
“ทานตะวัน” ซึ่งเหตุเพราะบริเวณที่มาตั้งถิ่นฐานบานเรือนใหมทางตะวันตกของแมนํา้ นี้ ดวยความ

2
เปนที่ราบลุมไมมีภเู ขามาบดบัง ยามเชาพระอาทิตยเมื่อขึน้ ทั้งตัวเมืองจะไดรับแสงอาทิตยอยาง
เต็มที5่

ความสําคัญของจังหวัดนครสวรรคในการเปนเมืองสําคัญทางยุทธศาสตรการทหารนั้นได
ลดลงไปในชวงตั้งแตตน กรุงรัตนโกสินทรเปนตนมาเมือ่ ประเทศสยามมีความมั่นคงและรวมกันเปน
ปกแผนมากขึน้ ทวาจังหวัดนครสวรรคนั้นกลับไดทวีความสําคัญขึ้นในมิตขิ องเศรษฐกิจ เหตุเพราะ
เปนศูนยกลางของการคมนาคมซึ่งในสมัยกอนอาศัยเสนทางน้ําเปนสําคัญ

สภาพทางเศรษฐกิจ กับความเกีย่ วโยงกับศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น

สภาพของพื้นที่ราบลุม ณ บริเวณที่ตั้งจังหวัดนครสวรรค และจังหวัดใกลเคียงนั้นมีความ


เหมาะสมในการทําการเกษตรมาชานาน โดย ศิวรักษ ศิวารมย ไดทําการศึกษาหมูบานในจังหวัด
นครสวรรคในอดีต พบวาแตเดิมชาวบานมีการยังชีพโดยการทอผาปน ดายแตก็ไดคอ ยๆหมดไป
กอนสงครามโลกครั้งที่ 2 เพราะการปฏิวัติอตุ สาหกรรมสงผลใหการผาสําเร็จรูปมีราคายอมเยาว
และสะดวกในการซือ้ หา จากนัน้ ชาวบานจึงไดหนั มาทํานาปลูกขาวกันมาก6 โดยสะทอนใหเห็นใน
การละเลนพืน้ เมืองของชาวนาในจังหวัดนครสวรรคท่เี ปนที่รูจกั กันมากทีส่ ุดก็คอื การ “เตนรํากํา
เคียว” ซึ่งกําเนิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 57 โดยเลนกันหลังเวลาเกี่ยวขาว โดยชักชวนกันมาผอนคลาย
หลังความเหน็ดเหนือ่ ยของการทํานา โดยฝายชายและฝายหญิงจะยืนอยูคนละครึ่งวงกลม แตละ
คนถือเคียวเกี่ยวขาวกับรวงขาวไวคนละมือ พอเพลงแมเพลงจะเริ่มการละเลนโดยผลัดกันรองสง
รองรับวา

“มาเถิดเอย เอยละแมมา ก็มาหรือมา แมมา มาเตนกําย่ําหญากันเสียในนานีเ้ อย”


“มาแลวเอย เออลาพอมา มาหรือมาพอมา มาหรือกระไรมาแลว พอพุมพวงดวงแกว นอง
มาแลวนายเอย”

หรือใน “เพลงเกี่ยวขาว” ของ ต. มวงหัก อ. พยุหะคีรี ทีน่ ิยมเลนในฤดูเก็บเกี่ยวขาว เพือ่ ให


เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินดับความเหน็ดเหนือ่ ยเมื่อยลา ทีใ่ นเนือ้ บางทอนรองวา

“เปนเพลงเกี่ยวขาวองเราแนไซร ดูถาเปนของชาวไร (ฮาไฮ) ชาวนา ทั้งจังหวะจะโคนหรือ


ตางคนตางรอง ถาขาดตกบกพรอง (ฮาไฮ) รองวา ถาผิดบางพลัง้ ไปก็ใหอภัยกระผม นึกวาทานที่
ชม (ฮาไฮ) ไรนา เลนเพลงกันไปหรือเกีย่ วขาวกันไปเสียในกลางไร (ฮาไฮ) กลางนา”

3
ผูเ ขียนสันนิษฐานวาการละเลนพืน้ เมืองเหลานี้ มีปจจัยเกือ้ หนุนมาจากการที่บริเวณที่ราบ
ลุมแมน้ําเจาพระยาในแถบนี้มีความอุดมสมบูรณพอแกการพัฒนาใหประชาชนอยูกนั อยางสุข
สบายพอควร และถึงแมวาการประกอบอาชีพทํานา ทําไรนี้ จะตองเผชิญกับอุปสรรคในดานราคา
ขายที่ไมแนนอน และภัยธรรมชาติบาง แตการทํานาแตเดิมที่ทาํ เพียงปละครัง้ คงจะเอื้อใหเกิดมี
เวลาวางมากพอในการสรรคสรางกิจกรรมเพือ่ การหยอนใจ จึงเปนเหตุใหเกิดการสรรคสราง
ผลิตผลทางวัฒนธรรมทองถิ่น ในปจจุบนั การละเลนดังกลาวคอยๆหมดไป โดยอาจมีสาเหตุมา
จากความเจริญในแบบโลกาภิวัฒนทส่ี งผลใหเกษตรกรเปลี่ยนแปลงวิธีการทํานา โดยพึ่งพา
เทคโนโลยีสมัยใหม ประเพณีการลงแขกทีจ่ ะตองอาศัยการพึ่งพาของชาวบานในชนบท ก็
เปลี่ยนแปลงไปสูการใชเครื่องมือ เครือ่ งจักร สารเคมี หรือแมกระทั่งจางแรงงานชาวพมาในการ
เก็บเกี่ยวผลผลิต8

สังคมเกษตรกรรมสูส ังคมคาขาย

สังคมเกษตรกรรมทีม่ ีปจจัยเกื้อหนุนจากสภาพทางกายภาพของจังหวัดสงผลใหจงั หวัด


นครสวรรคมีความกินดีอยูดีพอสมควร แตเมือ่ เวลาผานไปกลจักรสําคัญทีข่ ับเคลือ่ นเศรษฐกิจของ
จังหวัดใหกาวหนาไปสูการเปนศูนยกลางความเจริญทางการคาในชวงหนึง่ รอยหาสิบปทผ่ี านมา
นั้นเกิดเพราะเหตุการณสําคัญสองเรือ่ งดวยกันที่เชื่อมโยงและเกี่ยวของกัน

ประเด็นที่ 1 การอพยพเขามาอยูอ าศัยของชาวจีนโพนทะเล จังหวัดนครสวรรคเปนเมืองที่


ชาวจีนโพนทะเลนิยมอพยพยายถิ่นฐานมาอาศัยกันมาตั้งแตสมัยอยุทธยาตอนปลาย และตนกรุง
รัตนโกสินทร เพราะเหตุวาทําเลที่ตั้งนัน้ มีความเหมาะสมในแงของการเปนชุมทางการคมนาคม
ประกอบกับการทีส่ ังคมศักดินาไมเปดโอกาสใหคนจีนมีกรรมสิทธิใ์ นที่ดิน ชาวจีนจึงตองหันมายึด
อาชีพคาขายเปนหลัก9

ประเด็นที่ 2 สนธิสัญญาเบาวริง

การลงนามในสนธิสัญญาเบาวริง ในป พ.ศ. 2398 ทีม่ ีผลทําใหประเทศสยามตองตกอยู


ในวงจรการคาระหวางประเทศอยางหลีกเลี่ยงไมได เปนสาเหตุหนึ่งทีท่ ําใหมีนายทุนชาวตางชาติ
และนายทุนชาวไทยจากกรุงเทพฯเขามาลงทุนในกิจการในจังหวัดนครสวรรคเพิ่มมากขึ้น และก็
เปนสาเหตุท่ที าํ ใหชาวจีนนัน้ ไดอพยพหลัง่ ไหลเขามาในบริเวณพื้นที่น้มี ากขึน้ โดยเริ่มจากการใช

4
แรงงาน และตอมาไดเลื่อนขยับฐานะทางสังคมขึ้นมาเปนเจาของกิจการ พอคา และนายทุนใน
เวลาตอมา

จะเห็นวาจากสองประการทีก่ ลาวมามีผลทําใหประชากรชาวจีนโพนทะเล ซึง่ สวนใหญ


เปนชาวแตจิ๋ว และไหหลําทีอ่ พยพเขามาอาศัยอยูในเขตจังหวัดนครสวรรคมจี าํ นวนมาก โดยการ
เก็บรวมรวมจากหลักฐานประมาณป พ.ศ. 2447 ชาวจีนทีม่ าอาศัยอยูในจังหวัดนครสวรรคมี
จํานวนเปนอันดับสามของประเทศรองจาก กรุงเทพมหานคร และจังหวัดภูเก็ต10 ชาวจีนที่มาอาศัย
อยูนี้ไดสรางผลกระทบแกระบบเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของจังหวัดนครสวรรค โดยจะได
กลาวถึงอยางละเอียดตอไป

จากเชิดหุน กระบอก ถึงเชิดสิงโต : การอยูรวมของวัฒนธรรมอันหลายหลาก

จากที่ไดกลาวไปแลววาอัตลักษณของชาวไทยในจังหวัดนครสวรรคนน้ั แตเดิมก็มีความ
ละมายคลายคลึงกับวิถีชวี ติ ของคนไทยภาคกลางที่มชี ีวิตความเปนอยูเ ชือ่ มโยงอยูกับการ
เกษตรกรรมเปนหลัก ครั้นเมื่อมีชาวจีนอพยพมาอาศัยอยูใ นบริเวณนี้จาํ นวนมากประกอบกับ
การคาและการลงทุนจากชาวตางประเทศทีข่ ยายตัวขึ้นจนเปนศูนยกลางของการคาขาย เราจะได
เห็นถึงพลวัตทีเ่ กือ้ กูลกันของวัฒนธรรมทีแ่ ตกตางกันระหวางวัฒนธรรมพื้นถิน่ และวัฒนธรรมที่
ชาวจีนโพนทะเลนําเขามาสืบสาน

เพื่อใหบรรลุจุดประสงคในการศึกษา ผูเ ขียนใครจะขอยกการแสดงที่เปนศิลปะวัฒนธรรม


พื้นถิ่นของจังหวัดนครสวรรคทอ่ี ิงกับวัฒนธรรมไทย อันไดแก การเชิดหุนกระบอก, ลิเก และ
วัฒนธรรมจีน อันไดแก การแหมังกร และเชิดสิงโต มาประกอบการพิจารณาในแงมุมของการ
จัดการทางวัฒนธรรม และความสําคัญของวัตถุทางวัฒนธรรม (Cultural Objects) ในบริบททาง
วัฒนธรรมทีแ่ ตกตางกันทั้งสองแบบดังกลาว

การเชิดหุนกระบอกแมชะเวง

แมชะเวง ออนละมาย ชาวจังหวัดนครสวรรค เปนผูส ืบทอดศิลปะการแสดงเชิดหุน


กระบอกพื้นบาน ทีส่ ืบสานมาเปนรุนที่ 4 นับจากหุนกระบอก “นายเหนง” ในสมัยรัชกาลที่ 5 (พ.ศ.
2436) ซึ่งเปนหุน กระบอกพื้นบานรุนแรกในประเทศไทย

5
โดยตามประวัติมอี ยูวา นายเหนงซึ่งพื้นเพเดิมเปนชาวดงมะฝอ อําเภอโกรกพระ จังหวัด
นครสวรรคนี้นยั วาเปนผูท่มี ฝี มอื ทางชางแกะสลัก เขาไดเคยไปเห็นหุนจีนไหหลําจัดแสดงอยูท ปี่ กษ
ใต ก็เลยคิดสนุกนํามาทําพัฒนาเปนหุนกระบอกแบบไทย ซึ่งถึงแมวาจะมีลักษณะไมปราณีต
บรรจงเหมือนหุน ในสมัยปจจุบัน แตก็มลี กั ษณะเฉพาะตัวมีความคิดสรางสรรคท่นี าสนใจศึกษาใน
ฐานะเปนวัตถุทางวัฒนธรรมในกาลสมัยหนึ่ง สําหรับเรื่องราวที่นํามาเลนนั้น เนือ่ งจากเปนการเลน
ใหผูชมซึ่งสวนใหญเปนชาวบาน ก็ไดดัดแปลงนําเรือ่ งพืน้ บานไทยมาเลนเชิดหุน เชนเรือ่ ง
พระอภัยมณี ขุนชางขุนแผน แกวหนามา เปนตน โดยมีปพ าทยเครื่องหาประกอบ และมีการแตง
เพลง บทรองดวยตนเองดวยภูมิปญญาของศิลปน โดยมิไดลอกเลียน หรือเลาเรียนมาจากทีใ่ ด

ผูเ ขียนสันนิษฐานวาเหตุท่หี ุนกระบอกเชิดมือมีแหลงกําเนิด และเจริญขึ้นทีจ่ ังหวัด


นครสวรรคนั้นมีสาเหตุมาจากสองประการ ประการแรกสืบเนือ่ งจากวิถีความเปนอยูใ นแบบของ
ชาวนาทีอ่ ยูกนั อยางพึ่งพาอาศัยกัน และเลี้ยงชุมชนของตัวเองไดในระดับหนึ่ง จึงมีเวลาเพียงพอ
สําหรับการสรางสรรคผลงานทางศิลปะ โดยเฉพาะศิลปะการแสดงพื้นบาน เชน การเตนรํากําเคียว
ที่กลาวมาแลว ความสามารถในการดนกลอนสด การออกทารําเปนเสมือนตนทุนทางวัฒนธรรมที่
ชาวบานมี และสืบทอดกันมาหลายชั่วอายุ ประการทีส่ องความเจริญทางเศรษฐกิจ เนือ่ งจาก
จังหวัดนครสวรรคกาวสูการเปนจุดศูนยกลางของภูมิภาคสงผลใหชาวจังหวัดนครสวรรคมคี วาม
กินดีอยูดใี นระดับหนึง่ ความเจริญทางเศรษฐกิจนี้มสี วนทําใหเกิดความตองการทางดานการ
บริโภคมหรสพทางวัฒนธรรม เพือ่ ความเพลิดเพลินเจริญใจ โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงเวลาทีส่ อื่
สมัยใหมเชน โทรทัศนนน้ั ยังไมมีบทบาทและอิทธิพลกับผูช มเชนในสมัยปจจุบัน

ลิเกในจังหวัดนครสวรรค

ลิเกในจังหวัดนครสวรรคจดั วามีความรุงเรืองมาก อาจารย สุรพล วิรุฬรักษ ไดกลาวถึงใน


งานคนควาทางดานลิเกวาจังหวัดนครสวรรคเคยมีคณะลิเกมากถึง 120 คณะ ในขณะทีจ่ งั หวัด
พิจิตร, อยุธยา และลพบุรีมจี ํานวนเทากันคือประมาณ 70 คณะ เปนทีน่ าสังเกตุวาในชุมชนที่มชี าว
จีนอาศัยอยูอ ยางหนาแนนเชนในจังหวัดภูเก็ตนัน้ ไมปรากฏมีคณะลิเกอยูเ ลย นี่จงึ เปนการอยู
รวมกันของวัฒนธรรมไทยกับจีนที่มลี กั ษณะเฉพาะตัวไมเหมือนกับจังหวัดอืน่ ใดในประเทศไทย

ขอสังเกตของคณะลิเกในจังหวัดนครสวรรคนน้ั มีการพัฒนาที่นา สนใจอยูส องประเด็น


ประเด็นแรกเปนเรือ่ งของการทีล่ ิเกมาอยูรวมกันเปนกลุม เปนชุมชน ซึ่งชาวบานในจังหวัด
นครสวรรคเรียกกันติดปากวา “ตรอกลิเก” การรวมกลุมกันดังกลาวนัน้ นัยวาเกิดขึน้ ในชวงป 2523

6
ประเด็นทีส่ องเปนประเด็นในการสรางระบบคณะ ซึ่งจากการสัมภาษณเจาของคณะลิเก นาย
ไพศาล เพียรศิลป พบวาสมัยกอนในจังหวัดนครสวรรคมกี ารผสมโรงกันแบบอิสระ กลาวคือ ลิเก
สมัยกอนไมไดมสี ังกัด ไมไดอยูเปนกลุม ไมไดเปนคณะ ผูแ สดงจะเลนวิกใดก็ได บางครั้งตัวเอกที่
ไดรับความนิยมมากจะเดินสายไปเลนตามงานตางๆทําใหผชู มไมรูสกึ ถึงความแตกตางระหวาง
ลิเกทีเ่ ลนในแตละสถานที่ เมือ่ ยายมาทีใ่ นตรอกลิเกแลวจึงไดเกิดมีระบบคณะซึ่งเปนความ
พยายามในการจัดการใหตัวแสดงอยูรวมกลุมกันเพื่อความสะดวกในการรับงาน และสรางจุดเดน
ของคณะซึ่งมีความจําเปนในแงของการพัฒนาการแสดงใหเขาขากัน

ประเพณีการแหมังกร

ชาวจีนโพนทะเลนั้นเมือ่ มาอยูเมืองไทยก็ไดนําเอาประเพณีการนับถือเทพเจามาดวย โดย


จะเห็นวาทีใ่ ดมีชาวจีนปกหลักอาศัยอยูกจ็ ะมีการตั้งศาลเจาไวเพื่อบูชาสักการะ ที่นครสวรรคก็
เชนกันความเชือ่ ดังกลาวไดกอใหเกิดการสืบสานงานประเพณีประจําปท่มี ชี ื่อเสียงทีส่ ุดของจังหวัด
นครสวรรคที่คนทั่วไปเรียกวางานแหมงั กรนครสวรรค แทจริงแลวมีชอื่ เต็มๆวา นั่นคืองานประเพณี
แหเจาพอ-เจาแมปากน้ําโพ

งานประเพณีแหเจาพอ-เจาแมปากน้ําโพ นัน้ เริ่มมาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 6 ในป พ.ศ. 2461


ตามประวัติเลาวาเกิดโรคระบาดรุนแรง มีผคู นเสียชีวิตเปนจํานวนมาก ชาวไทยเชือ้ สายจีนหลาย
ตระกูลจึงไดจดั ใหยายเทพเจาประจําเมือง เจาพอ-เจาแม ปุนเถากงมา11 มาแหรอบเมือง หลังจาก
นั้นโรครายนีก้ ็ไดหายไปและเกิดเปนประเพณีสืบสานกันมาจนถึงทุกวันนี้ในเทศกาลวันตรุษจีนของ
ทุกป โดยเริ่มตนนั้นมีเพียงการละเลน “เอ็งกอพะบู” ซึ่งเปนการแสดงออกถึงตํานานนักรบแหงเขา
เหลียงซาน 108 คน และลอโกว ซึ่งเปนการตีฆอ งจีน ในสมัยตอมาก็ไดเสริมขบวนสิงโต นางฟา
มังกร และอืน่ ๆ จนพัฒนามาเปนรูปแบบเชนในปจจุบัน

สําหรับการแหมังกรนั้นไดเริ่มตั้งแตป 2507 ซึ่งคณะผูจ ัดงานในสมัยนั้นไดมดี ําริท่จี ะ


พัฒนารูปแบบของขบวนแหโดยอยากใหมกี ารจัดอยางยิ่งใหญอลังการ จึงไดจดั ใหมกี ารสรางตัว
มังกรขึน้ โดยวาจางชางชาวจีนที่เยาวราช และเชื้อเชิญอาจารยชาวฮกเกีย้ นมาสอนวิธีการเชิดมังกร
เปนเวลาถึง 3 ป ติดตอกัน และไดพัฒนารูปแบบของมังกรใหมีความยาวถึง 36 เมตร และใชผู
แสดงถึง 50-60 คน เพือ่ ใหมีความเหมาะสมกับการใชจัดแสดงในขบวนแหซ่งึ จะตองจัดแสดงไป
ตามถนน12 ความสําเร็จของการนํามังกรมารวมขบวนแหเจาพอ-เจาแมน้ไี ดปรากฏเปนหลักฐาน

7
ชัดเจนอยูใ นคําขวัญประจําจังหวัดที่วา “เมืองสีแ่ คว แหมังกร พักผอนบึงบอระเพ็ด ปลารสเด็ด
ปากน้ําโพ”

นวัตกรรมทางวัฒนธรรม

เมื่อศึกษาถึงการกําเนิดสรางของกิจกรรมทางวัฒนธรรมทัง้ สามแบบของจังหวัด
นครสวรรคที่กลาวมาแลวนัน้ ผูเ ขียนพบวาคําอธิบายในแงของวัตถุทางวัฒนธรรม (Cultural
Objects) มีประโยชนในการทําใหเราทําความเขาใจถึงความหมายของปรากฏการณดังกลาวได

วัตถุทางวัฒนธรรม (Cultural Objects) หมายถึงนัยสําคัญรวมที่ฝากฝงอยูใ นรูปแบบใด


รูปแบบหนึ่ง13 ดังนัน้ ตามคําจํากัดความนี้ สิ่งใดทีจ่ ะเรียกไดวาวัตถุทางวัฒนธรรมนัน้ ควรจะเปน
เปนการแสดงออก หรือการเลาเรื่องราวบางอยางทีผ่ ูคนในสังคมสามารถใหความหมายกับสิ่งนัน้
ไมวาจะอยูใ นรูปแบบทีส่ ามารถไดยนิ ไดเห็น จับตองได หรืออธิบายใหเขาใจได

ยกตัวอยางเชน การแสดงหุนกระบอกของแมชะเวงนั้นเรือ่ งราวที่นํามาเลาขานถายทอดก็


คือเรือ่ งนิทานพื้นบาน เชน พระอภัยมณี ขุนชางขุนแผน แกวหนามา ซึ่งนิทานพื้นบานของไทยมี
ลักษณะของการเลาเรือ่ งราวที่มักจะมีแกนเรือ่ งการปฏิบัตติ ัวใหอยูในศีลธรรม ผนวกกับความสนุก
สานบันเทิงและสอดแทรกแงคิด คําสอน ซึ่งสะทอนมาจากความเชือ่ และคานิยมของคนไทยใน
สมัยนั้น ลักษณะการถายทอดที่ใชหนุ กระบอกแทนตัวละครนั้นมีขอ ดีในแงของการสรรคสรางตัว
ละครที่มลี ักษณะที่ไมใชมนุษย เชน ยักษ มามังกร เทพเจา สัตวในตํานาน ฯลฯ ตัวละครใน
จินตนาการเหลานี้คงจะตองใชทรัพยากรอยางมากในการผลิตสรางดวยรูปแบบการแสดงอื่นๆ แต
สําหรับหุนกระบอกแลวศิลปนสามารถใชความคิดสรางสรรคในการนําเสนอไดอยางเต็มที่โดยมิ
ตองใชตน ทุนที่มากมายอะไร สวนการนําเสนอโดยมีบทรอง และการบรรเลงเพลงปพาทยกเ็ ปนการ
ถายทอดเรือ่ งราว และความภาคภูมใิ จของเอกลักษณวัฒนธรรมของชาติผานทางเสียงดนตรี

เมื่อพิจารณาถึงการแสดงมังกรทองในขบวนแหเจาพอ-เจาแมปากน้ําโพ นครสวรรคนน้ั
เรื่องราวทีผ่ กู ติดมาดวยก็คอื ความเชือ่ ตามคติของคนจีนในเรือ่ งของการนับถือเทพเจา ซึ่งเปน
ความเชื่อทางศาสนาในดั้งเดิมในเรือ่ งของเตา14 นั้นเปนความเชือ่ ในเรือ่ งของพหุเทวนิยม สําหรับ
มังกรนั้นก็ไดรับการนับถือวาเปนเทพเจาองคหนึ่งซึ่งมีอทิ ธฤทธิ์ และเปนพาหนะของเจาแม
กวนอิม15 ความหมายของมังกรนั้นจึงมีหลายนัย เชนแสดงออกถึงความสามารถในการปรับตัว
ดํารงอยูใ นทุกสถานการณเพราะมังกรสามารถที่จะอยูบ นดิน เหาะเหินเดินอากาศ และดําน้ําได

8
หรือแสดงออกถึงการแสดงความคารวะแกผูมพี ระคุณเพราะมังกรนั้นเปนสัญญลักษณของพระเจา
แผนดินมาตั้งแตสมัยพระเจาหวงตี้ หรือแมกระทั่งเปนการขอใหฝนตกตองตามฤดูกาล16 หรือใน
ปจจุบันอาจหมายถึงการอวยพรใหการทํามาคาขายเจริญกาวหนา แตในอีกมิติหนึ่งนัน้ การจัด
แสดงการแหมังกรอาจจะสะทอนใหเห็นถึงความเชือ่ และศรัทธาในศาสนาพุทธแบบจีนอันเปนจุด
รวมของชาวไทยเชือ้ สายจีนทีส่ ืบทอดกันมาหลายชั่วอายุคน การแสดงความเคารพสักการะแดเจา
พอ-เจาแมจงึ เปรียบเสมือนจุดรวมใจที่ย้ําเตือนใหชาวไทยเชือ้ สายจีนตระหนักในรากเหงาแหง
วัฒนธรรมของตนไมวาจะไปอยูอ าศัย ณ ที่ใดในโลกนี้

ความแตกตางระหวางหุน เชิดของแมชะเวง กับหุนเชิดมังกรนั้นจึงปรากฏเห็นไดชัดเจนใน


การแทนความหมายแหงวัตถุทางวัฒนธรรมที่ปรากฏ เพราะในขณะที่หนุ เชิดแมชะเวงเปนไปเพือ่
ความบันเทิง การสรางสรรคผลงานทางศิลปะ และสืบทอดวัฒนธรรมของวงศตระกูล แตหนุ เชิด
มังกรนั้นกลับมีความหมายทีเ่ ชือ่ มโยงไปสูปริมณฑลของความศรัทธาในสิ่งศักดิส์ ิทธิ์ทช่ี าวไทยเชื้อ
สายจีนใหความเคารพนับถือ หุนเชิดมังกรนัน้ จึงไมไดถกู มองวาเปนหุน กระบอกที่มีไวเชิดแตเปน
ตัวแทนของความภาคภูมใิ จในความเจริญกาวหนาของเผาพันธ แตในความแตกตางนั้นก็มีความ
เหมือนกันของหุน ทั้งสองแบบก็คอื การทีห่ นุ ทัง้ สองเปนตัวแทนของความเชื่อ คติธรรม และ
วัฒนธรรมซึ่งทีส่ งั คมเห็นวามีความสําคัญ และพึงรักษาเอาไวเพื่อธํารงรักษาอัตลักษณของชุมชน
ของตน

นโยบายทางดานวัฒนธรรมของรัฐ : สรางเสริมหรือฉุดรั้ง

เมื่อเกิดการสรางสรรคทางวัฒนธรรมโดยผูส รางวัฒนธรรม (Culture Creator) ประเด็น


ตอไปทีจ่ ะตองพิจารณาก็คือการดํารงอยูข องผลผลิตทางวัฒนธรรมดังกลาว ผลผลิตทาง
วัฒนธรรมที่เกิดขึ้นหากไดรับการสนับสนุนจากองคาพยพของสังคมใหเกิดการผลิตซ้ํา
(Reproduction) มากนอยเพียงใด จากขอสังเกตของผูรูทางดานการละคร พบวาวัฒนธรรมพืน้ ถิน่
หรือ Folk Culture ที่เจาหนาที่รฐั ไมไดใหความสําคัญก็มกั จะถูกละเลยในการจัดหางบประมาณ
เพื่อมาสนับสนุน แตหากวัฒนธรรมใดไดรับการยกระดับไปสูส ถานภาพใหม ซึ่งอยูใ นอุปถัมภแหง
รัฐ (Institutionalized Culture) ก็จะมีสถานภาพเปนวัฒนธรรมที่ไดรับการยกใหวาสะทอนตัวตน
ของความเปนชาติ และสมควรทีจ่ ะไดรับการสืบสานรวมทัง้ เผยแพรสูสากล แตผลผลิตทาง
วัฒนธรรมใดที่ไมไดรับความสนใจจากรัฐนัน้ ก็จะตองยอมจะตองหนทางในการสืบสานพัฒนาดวย
ตัวเอง ซึ่งหุน กระบอกพื้นบาน และลิเกก็จดั วาเปนงานศิลปวัฒนธรรมทองถิน่ ที่รฐั ไมมีนโยบาย
สงเสริมอยางจริงจัง

9
แตความแตกตางของหุนกระบอกพืน้ บาน กับลิเกก็มอี ยูในแงของความตองการของตลาด
ทางวัฒนธรรม (Cultural Markets) สําหรับหุน กระบอกพืน้ บานมีขอ จํากัดในเรือ่ งทีท่ างและจํานวน
ผูช มทีล่ ดนอยถอยไป โดยมีสาเหตุสําคัญในเรือ่ งของเทคโนโลยีใหมๆมาแยงพื้นที่ในการแสดงออก
ไมวาจะเปนภาพยนตรการตนู ญี่ปุนทีอ่ อกฉายทางโทรทัศน หรือจะเปนเรื่องของเนือ้ หาที่นํามาจัด
แสดงนั้นมิไดมกี ารเปลี่ยนแปลงไปตามยุคตามสมัย จึงเปนที่นาสนใจศึกษาวาเรื่องราวของนิทาน
พื้นบานยังคงมีพลังดึงดูดใหเยาวชน หรือผูช มในสมัยปจจุบันดื่มด่ําในสุนทรียรสของหุน กระบอก
แบบทีผ่ ูชมในสมัยหนึ่งใหการตอนรับหรือไม แตปญหาดังกลาวกลับเกิดขึ้นกับลิเกนอยกวา

ลิเกนัน้ เปนการแสดงที่เนนผูช มเปนชาวบานเปนหลัก ภาษาที่ใชรอ ง ทวงทาในการรําจึงมิ


ตองมีความประณีตเปนชั้นสูง ขอเพียงแตเปนที่ถูกอกถูกใจชาวบาน คณะลิเกนัน้ ก็จะไดรับความ
นิยม ในบางครั้งการเลนลิเกจึงมีความหยาบโลน ทะลึ่งตึงตัง ตลกลามก แตกเ็ ปนไปเพือ่ ใหตรงกับ
รสนิยมผูดู

“เมื่อออกมาจากฉากก็ตองดูคนดูเสียกอนวามีคนชั้นสูง หรือชัน้ กลาง หรือขั้นต่ํามาดูอยู


มาก ถามีคนชั้นสูงมาดูมาก ตองเลนใหขนั โดยละเมียด ไมเจือดวยหยาบ จึงจะถูกใจคน
ชั้นสูง ถาเห็นคนชั้นกลางมาดูตอ งเลนใหเปนสองงาม คือจะเปนดีก็ได เปนหยาบก็ไดจึงจะ
ถูกอกถูกใจคนดูช้นั กลาง ถาเห็นคนชัน้ ต่ํามาดูมาก ตองเลนใหหยาบงามเดียวจึงจะพึงใจ
เขา”17

ดวยเหตุนเ้ี องทําใหสมัยหนึ่งในชวงรัฐบาลในสมัยจอมพล ป. ไดออก พระราชกฤษฎีกากําหนด


วัฒนธรรมทางศิลปกรรมเกีย่ วกับการแสดงละครขึ้นเมือ่ พ.ศ. 2485 ซึ่งนโยบายดังกลาวนัน้
เปรียบเสมือนการกีดกันวัฒนธรรมพื้นถิ่นที่ดูไมสะทอนความเปนชาติไทยในแบบที่รัฐปารถนาจะ
เผยแพร พระราชกฤษฎีกาเปรียบเสมือนการสัง่ หามเลนลิเก เพราะมีกําหนดการขึน้ ทะเบียนศิลปน
อยางเปนกิจลักษณะ เมื่อหมดยุคจอมพล ป. แลวจึงไดกลับมาเลนลิเกไดตามปกติ

ดวยเหตุทลี่ เิ กนัน้ มีความยืดหยุนและสามารถปรับตัวใหเขากับยุคสมัย และปรับเปลี่ยน


เรื่องราวทีน่ ําเสนอไปใหเหมาะกับผูชมตางกาลสมัย ตางสถานที่ ลิเกจึงสามารถที่จะหาเลีย้ งชีพ
และดํารงอยูมาจนถึงปจจุบนั ดังพระดําหริของ กรมพระยาดํารงราชานุภาพฯ ที่เคยกลาวไววา “กิจ
ที่เลนยีเ่ กก็เพื่อจะหาเงินคาดู เลนอยางไรจะไดเงินมากก็ตอ งเลนอยางนัน้ ” ตางจากคณะหุน

10
กระบอกพื้นบานซึ่งมิไดมีการปรับปรุงเปลีย่ นแปลงใหทนั กับยุคสมัยเทากับลิเก ทําใหปจจุบนั นั้น
ไดรับความนิยมนอยลงเรือ่ ยๆ

สวนในกรณีของการแหมังกรนัน้ แรกเริ่มเดิมทีรัฐก็มิไดใหการสนับสนุนในรูปแบบทีเ่ ห็น


เดนชัด ก็มเี พียงสายสัมพันธทางออม ของชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดนครสวรรคซึ่งคอยๆมี
อิทธิพลทางดานการคา การเงิน และการปกครองสวนทองถิ่นในเวลาตอมา สิ่งนีเ้ องไดเอือ้ ใหเกิด
การทําซ้ําของผลผลิตทางวัฒนธรรมโดยมิตอ งพึ่งพาการสนับสนุนโดยตรงจากรัฐ ซึ่งหากพิจารณา
แลวเหตุทเี่ ปนเชนนั้นอาจจะมาจากความตระหนักถึงการเปนกลุมบุคคลตางดาวที่มาอาศัยพึ่ง
บารมีของประเทศไทย การจัดงานแทบทุกครั้งจึงมีการผนวกเรื่องราวของการเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระเจาอยูหัวไปในเนื้องาน อีกสาเหตุหนึ่งอาจจะเปนทัศนคติของชาวจีนในจังหวัด
นครสวรรคซึ่งพืน้ ฐานเปนชาวแตจ๋วิ ซึ่งมีความขยันขันแข็งในการคาขายแตพยายามทีจ่ ะไมเขาไป
ยุงเกีย่ วกับเรื่องการเมืองหรือรัฐ สวนเจาหนาที่รัฐเองก็มที ศั นคติวาการเฉลิมฉลองงานตรุษจีนนั้น
เปนการสืบสานประเพณีและวัฒนธรรมจีน การใหการสนับสนุนทางดานการเงิน หรืออื่นๆอยาง
ชัดเจนนั้นอาจจะมีปญหาในทางปฏิบตั ิ เพราะการสนับสนุนวัฒนธรรมอื่นที่นอกเหนือไปจาก
วัฒนธรรมไทยนัน้ เปนไปไดยาก อยางนอยที่สุดก็ในขัน้ ตอนเรือ่ งของความชอบธรรมในการใชจาย
งบประมาณของรัฐ
แตอยางไรก็ตามในชวงระยะเวลาสามปทผ่ี านมาในสมัยรัฐบาลของ นายทักษิน ชินวัตร
ไดมีการผลักดันใหมีการนํางบประมาณสงเสริมการทองเทีย่ วมาผลักดัน และเปลี่ยนโฉมงาน
เทศกาลตรุษจีนทีเ่ ยาวราช กรุงเทพมหานคร ผานทางการทองเที่ยวแหงประเทศไทย กระทรวงการ
ทองเทีย่ วและกีฬา โดยมีการจัดงานอยางยิ่งใหญผานทางสื่อของรัฐ และมีการทําตลาดในแนวรุก
เชนมีการแจกบาน แจกรถ แจกทองคํา อีกทัง้ มีการประสานงานกับเอกชนเชนบริษัทมือถือ
บริษัทผูผ ลิตอาหารชื่อดัง โดยการจัดงานนั้นประสบผลสําเร็จทางการตลาดเปนอยางดี มี
ประชาชนผูส นใจหลัง่ ไหลไปชมกันอยางเนืองแนน เหตุการณน้นี า จะเปนขอพิสูจนวาความกังวลใน
ดานทัศนคติของรัฐในการสนับสนุนงานที่มีรากวัฒนธรรมมาจากจีนนั้น ไมนา จะมีมลู ความจริง
เพราะเมือ่ ถึงเวลาทีห่ นวยงานตางๆมีความมุงมั่นในการรับนโยบายจากรัฐบาลไปปฏิบัตอิ ยาง
เขมแข็ง และเปนไปในเชิงรุก หนวยงานของรัฐเองก็สามารถสรางผลงานที่กอ ใหเกิดผลกระทบใน
วงกวางดังเชนงานตรุษจีนเยาวราชไดอยางงดงาม

11
การวิเคราะหกระบวนการจัดการ

หุนกระบอกแมชะเวง ลิเก คณะไพศาล แหมงั กร


เพียรศิลป
วิธีการบริหารจัดการ เจาของคนเดียว ธุรกิจในครอบครัว คณะกรรมการ
ผูบริหาร
(Non-profit
Organization)
แหลงเงินทุน รายรับจากการจาง รายรับจากการจาง ระดมทุนจากชุมชน,
แสดง, การเผยแพร แสดง บริษัทระดับชาติ,
วัฒนธรรม หนวยงานของรัฐ
(ททท.)
การสนับสนุนจากรัฐ ยกยองใหเปนศิลปน อยูใ นทําเนียบศิลปน ททท. ใหเงินทุน
ดีเดนจังหวัด พื้นบานของสํานักงาน สนับสนุนจํานวนหนึง่
นครสวรรค คณะกรรมการ และสนับสนุนดานการ
วัฒนธรรมแหงชาติ ประชาสัมพันธลงใน
สือ่
ความมีสวนรวมใน จัดแสดงในงานศพ, จัดแสดงตามหมูบาน ชุมชนเขารวมเปน
ชุมชน งานพิธ,ี ถายทอด เพื่อแสดงฐานะ และ กรรมการจัดงาน,
ใหกับนักเรียนชั้น บารมีของเจาของงาน, สถาบันการศึกษา
อนุบาล เทศกาลประจําป เชน หนวยงานทองถิ่น
งานวัด และงานพิธี ชุมชนเขารวมแสดงใน
ขบวนแห
ตารางที่ 1 : เปรียบเทียบการบริหารจัดการของการแสดงพื้นบาน จ .นครสวรรค

การจัดการขององคกรทีผ่ ลิตงานทางวัฒนธรรมนัน้ ยอมจะสงผลถึงความสําเร็จในการ


เผยแพรและสืบสานผลงานทางวัฒนธรรม โดยทีเ่ ราไดกลาวถึงไปแลววาความเหมือนกันของ
ผลผลิตทางวัฒนธรรมทัง้ สามแบบนัน้ ก็คอื การไมไดรับการสนับสนุนจากรัฐโดยตรงในดานของการ
สืบสานสรางผลงาน ประเด็นที่นา สนใจวิเคราะหคอื วิธีการ หรือกระบวนการจัดการทีอ่ งคกรที่ทาํ
หนาทีผ่ ลิตผลงานทางวัฒนธรรมวามีจดุ เดน หรือจุดดอยอยางไร มีความเหมาะสมเพียงใดกับ
ลักษณะของการผลิตผลงานของตน

12
โครงสรางการบริหาร

โครงสรางของการบริหารทีอ่ ยูในรูปแบบที่งายทีส่ ุดก็คอื การเปนเจาของคนเดียว ซึ่งเห็นได


ชัดในกรณีของนางชะเวงทีเ่ ปนผูท ่ดี แู ลจัดการบริหารงานทุกอยางดวยตนเอง ไมวาจะเปนการ
รับจางงานแสดง การติดตอทีมงานเชิดหุน ซึ่งมีท่พี ักอาศัยอยูบริเวณละแวกบานของตน หรือแมแต
การแสดงเชิดหุน ดวยตนเอง ในลักษณะเชนนี้นางชะเวงจึงตองทําหนาทีใ่ นการผลิตผลงาน หรือ
การเปนศิลปน ควบคูไปกับงานทางดานการบริหาร หรือการอํานวยการ สวนในกรณีของคณะลิเก
ของนายไพศาล เพียรศิลป นั้นไดมกี ารบริหารจัดการที่มีความกาวหนาขึ้นโดยอาจจะเรียกไดเปน
ธุรกิจในครอบครัว โดยนายไพศาลนั้นไดจดั ระบบการบริหารโดยไดมีการแบงคณะแสดงออกเปน
สองทีมงาน คือ ทีมงานที่ 1 และทีมงานที่ 2 ซึ่งแตละทีมงานจะมีจาํ นวนนักแสดงและทีมงานอยู
ประมาณ 20 คน สําหรับหัวหนาทีมงานก็ตั้งจากลูกหลานของหัวหนาคณะเอง โดยนายไพศาลนัน้
เปรียบเสมือนหนวยงานกลางทีค่ อยอํานวยการในดานการรับงาน จัดการแบงปนผลประโยชน การ
ที่ตัวศิลปนนั้นกาวขึน้ มาทํางานดานการบริหารและไดยกหนาทีใ่ นการผลิตงานศิลปะใหกับ
ลูกๆหลานๆและทีมงานนัน้ รวมทั้งการมีทมี งาน “นอนโรง” เอาไวถึงสองทีม เปนวิธกี ารที่ทาํ ใหการ
รับงานแสดงของคณะมีระบบบริหารจัดการทีส่ ามารถพึ่งพาได (Accountability) พอสมควร อีกทั้ง
การเปดโอกาสใหคนรุน หลังไดใชความสามารถในการสรางสรรคผลงานการแสดงนัน้ ก็เปนการ
เปดทางใหเกิดการสรางนวัตกรรมใหมๆที่เหมาะกับยุคสมัย อยางเชนในกรณีท่ลี ูกสาวของนาย
ไพศาลไดริเริ่มนําเอาการรองเพลงลูกทุงประกอบทาทางมาใชกอ นแสดงลิเก ทั้งๆที่ถือวาเปนการ
ผิดไปจากธรรมเนียมปฏิบตั ิ แตก็ไดรับการตอนรับจากผูชมจํานวนหนึ่งเปนอยางดี จึงไดนาํ มาเปน
สวนหนึ่งของการแสดงซึ่งแสดงใหเห็นถึงความสามารถในการปรับตัวของศิลปะแขนงนี้ทท่ี าํ ใหมัน
อยูรอดมาไดจนถึงปจจุบัน

สําหรับการบริหารองคกรของการจัดงานแหมังกรในงานประเพณีแหเจาพอ-เจาแมปากน้ํา
โพนั้น มีระบบบริหารงานทีม่ ีความซับซอนกวา โดยถึงแมวา ในนครสวรรคจะมีคณะมังกรอยูไมต่ํา
กวา 5 คณะ แตคณะที่ถอื วาเปนคณะที่ไดรับการสนับสนุนอยางเปนทางการจากคณะกรรมการจัด
งานฯมีเพียงคณะเดียว ซึ่งก็คือ “คณะมังกรทอง เจาพอ-เจาแมปากน้ําโพ” คณะมังกรทองเปน
สวนหนึ่งของมูลนิธสิ งเสริมประเพณีแหเจาพอ-เจาแมปากน้ําโพ ซึ่งมีที่ทาํ การอยูท ่ี 94/2 ถ. โกสีย
อ. เมือง จ. นครสวรรค ในแตละปคณะจะมีภารกิจในการฝกสอน และจัดการแสดงมังกรทองใน
ขบวนแหฯ โดยคณะมังกรทองจะไดรับเงินสนับสนุนจากมูลนิธฯิ เปนจํานวนประมาณ 300,000

13
บาทตอป ซึ่งเงินจํานวนนี้นนั้ เมือ่ เทียบกับคาใชจา ยแลวคุณ สุรชัย วิสุทธากุล ผูค วบคุมการฝกสอน
คณะมังกรทองฯ ไดใหขอ มูลวายังไมเพียงพอ ซึ่งเงินจํานวนที่เหลือนั้นคณะมังกรไดมาจากการรับ
เงิน “ซองแดง” บริจาค ที่ประชาชนใสซองเปนปจจัยใหเมือ่ มังกรเขาเยีย่ มคารวะตามบานในชวงที่
ขบวนแหผานบานเรือนของประชาชน

เงินสนับสนุนที่ไดรับจากมูลนิธิฯนั้นมีท่มี าจากการบริหารงานของคณะกรรมการจัดงานแห
เจาพอ – เจาแม ปากน้ําโพ ซึ่งเปนคณะผูบริหารที่ไดมาจากชุมชนทองถิ่นโดยคัดเลือกมาจากการ
เสี่ยงทายจากชือ่ ของรานคาจํานวน 40 รานคา แตละรานคาก็มักจะสงตัวแทนในครอบครัวเชนพอ
แม หรือลูกเขามารวมเปนตัวแทนในคณะกรรมการฯ หรือที่เรียกเปนภาษาจีนวา “เถานั้ง” นี้จะอยู
ในตําแหนงคราวละหนึ่งป โดยมีภารกิจในการสืบสานประเพณีทอ งถิ่นที่เกีย่ วของกับคนไทยเชือ้
สายจีน เชน ประเพณีเทกระจาด ประเพณีสมโภชศาลหลักเมือง เปนตน แตประเพณีทถ่ี ือวาเปน
ภารกิจหลักและมีความสําคัญทีส่ ุดของเถานัง้ ก็คอื การจัดงานประเพณีแหเจาพอ-เจาแมปากน้ํา
โพ ในวันตรุษจีนนั่นเอง

ระบบการคัดเลือกผูบริหารแบบเสีย่ งทายจากประชาชนในชุมชน และการดํารงตําแหนงใน


วาระสั้นๆเพียงหนึ่งป เปนลักษณะเดนของกระบวนการบริหารงานของงานประเพณีฯ ซึ่งมีลักษณะ
เปนองคกรที่ไมหวังผลกําไร ทีอ่ ยูใ นรูปแบบการดําเนินการผานคณะกรรมการผูบ ริหาร (Board of
Directors) โดยมีหนาที่หลักในการจัดหางบประมาณดําเนินการจากแหลงทุนตางๆ และ
ดําเนินการจัดงานเนื่องในประเพณี ซึ่งงานบางงานอาจจะทําการบริหารจัดการไดดวยตัวเอง แตใน
กิจกรรมในขอบเขตงานระดับประเทศ เชนงานแหเจาพอ-เจาแมปากน้ําโพ บอยครั้งทีเ่ ถานั้ง
ตัดสินใจจัดจางบริษัทเอกชนใหมารับจางดําเนินงานในสวนของการจัดกิจกรรม บริษัทเหลานี้
มักจะเปนบริษัทขนาดใหญท่มี ผี ลงานจัดงานพิธกี ารระดับประเทศมาแลว เถานั้งจึงทําหนาทีเ่ พียง
เปนตัวแทนของชุมชนในการคัดเลือก และตัดสินใหบริษัทเอกชนมาทําหนาทีแ่ ทนในการบริหารจัด
งาน หรือเรียกในภาษาธุรกิจวาเปนการ “Outsourcing”

การดํารงตําแหนงของเถานั้งในระยะเวลาสั้นๆเพียงหนึ่งปนี้มีผลใหลกั ษณะการบริหาร
ขององคกรมีความพิเศษหลายประการ

ประการที่หนึ่ง ระยะเวลาทีส่ ั้นและมีการผลัดเปลีย่ นหมุนเวียนรานคาเขามาทําหนาที่


บริหารนีส้ งผลใหไมมีการยึดติดกับเกาอี้ตําแหนง และอํานาจ ซึ่งถาเปนเชนนัน้ ในระยะยาวอาจจะ
ทําใหการพัฒนาเกิดการชะงักงัน แตในขณะเดียวกันเวลาที่อยูใ นตําแหนงนอยเกินไปก็ทาํ ใหไมมี

14
การวางแผนระยะยาว การวางกลยุทธเพื่อการพัฒนารูปแบบของงานจึงไมเห็นเปนรูปธรรม
เทาที่ควร เพราะผูบริหารยอมจะคํานึงถึงผลสัมฤทธิ์ทจ่ี ะเกิดขึน้ ในวาระของตนเปนหลัก

ประการทีส่ อง สืบเนือ่ งมาจากการที่เถานั้งมีการทํางานในลักษณะเปนโครงการที่มุงไป


ขางหนา เปนกิจกรรมทีจ่ ะตองดําเนินไปเกือบทุกเดือนตลอดทั้งป และแตละกิจกรรมนัน้ จะเกิด
เพียงครั้งเดียวในชวงระยะเวลาทีอ่ ยูใ นตําแหนงบริหาร สงผลใหการทํางานนัน้ ไมมีระบบปอนกลับ
ขอมูล ซึ่งเปนกลไกทีส่ ําคัญในการเรียนรู กลาวคือเมื่อทํางานใดสําเร็จลุลวงไปแลวก็ผานเลยไป
มิไดมีการจดบันทึกเพือ่ ถายทอดถอดบทเรียนการเรียนรู เพื่อทีจ่ ะใหเถานั้งรุนตอไปไดใชเปน
บทเรียนเพื่อแกไขหรือปรับปรุงความผิดพลาดทีเ่ ห็น ซึ่งเหตุท่ไี มมีการทํากันอยางจริงจังนัน้ อาจจะ
เพราะ(1) ไมมีเวลาที่จะทบทวนเพราะตองเตรียมทํางานในกิจกรรมตอไป (2) ไมเชื่อวาคณะ
กรรมการฯรุนตอไปจะนําขอมูลที่รวบรวมไปใชประโยชนอยางจริงจัง (3) ไมใชเปนลักษณะนิสัยที่
อยูใ นวัฒนธรรมการทํางานของผูประกอบการในจังหวัดนครสวรรคในการมองยอน จดบันทึก แต
จะใหคุณคากับการแกไขปญหาเฉพาะหนาดวยไหวพริบมากกวา

ประการทีส่ าม อยูทภ่ี ารกิจหลักของคณะกรรมการฯซึ่งก็คอื การประกอบอาชีพ ซึ่งสวน


ใหญมอี าชีพคาขายและมีธุรกิจหางรานที่จะตองดูแลบริหาร การเขามาบริหารงานประเพณี
ดังกลาวทุกคนมาดวยความศรัทธาตอองคเจาพอ-เจาแมปากน้ําโพ เปนงานอาสาสมัครมิไดมี
ผลประโยชนตอบแทนในรูปของเงินเดือน การสรางทีมงานจากตัวแทนของรานคามีลักษณะพิเศษ
ดังนี้ (1) สัดสวนของผูเ ขารวมเปนคณะกรรมการมีความละมายคลายคลึงกันในแงของการ
ประกอบอาชีพเปนเจาของกิจการ การสรางทีมงานจากผูท ี่มีพื้นฐานคลายคลึงกันจนเกินไปมิใช
หลักเกณฑท่ดี ใี นการสรางทีมงานที่มปี ระสิทธิภาพ เพราะการมีความคิดคลายกันอาจจะสรางสิ่งที่
นักวิชาการสายบริหารธุรกิจเรียกวาเปน “Group Think” กลาวคือทําใหการตัดสินใจในประเด็น
ใดๆนั้นอาจจะไมใชการตัดสินใจที่ดีทส่ี ุด แตตดั สินใจไปตามเสียงสวนใหญของกลุม (2) การขาดผู
ที่มีความรูความสามารถในดานของการบริหารงานทางวัฒนธรรม หรือคณะที่ปรึกษาที่มีมุมมอง
ทางดานศิลปะ และวัฒนธรรม อยูในทีมงานซึ่งจะตองไปบริหารงานทางดานวัฒนธรรม ซึ่งยอมจะ
มีลักษณะเฉพาะตัวที่มคี วามแตกตางในดานการบริหารธุรกิจ (3) การอยูในตําแหนงในเวลาไม
นานนัน้ ก็มลี ักษณะที่เปรียบไดกับกรณีของ รัฐบาล กับขาราชการ หากรัฐบาลไมเขมแข็งหรือ
เปลี่ยนแปลงบอย ระบบราชการก็เรียนรูทจ่ี ะพัฒนาอํานาจและองคาพยพของตน ในกรณีของการ
จัดงานเจาพอ-เจาแมก็เชนกัน เมือ่ เถานั้งซึ่งอยูใ นวาระเพียงปเดียวอีกทั้งทําหนาที่บริหารโดยมิไดมี
อํานาจเบ็ดเสร็จเปนเสมือนเพียงผูประสานงานเทานั้น หนวยงานทีเ่ กี่ยวของก็เรียนรูท่จี ะสราง
ความเขมแข็ง และลดการพึ่งพา มีความเปนเอกเทศ จึงเปนประเด็นทีน่ า สงสัยอยูวาถึงแมทาง

15
มูลนิธิซึ่งเปนหนวยงานที่รบั ผิดชอบในการสืบสานประเพณีน้โี ดยตรง จะออกแนวนโยบายในการ
พัฒนาเปลีย่ นแปลงรูปแบบการจัดงานอยางใดอยางหนึ่ง แนวทางดังกลาวจะไดรับการสนับสนุน
มากนอยเพียงใด จากคณะศิลปนทีมงานเชน ทีมมังกร ทีมสิงโต เอ็งกอ ฯลฯ ซึ่งมีความเปนเอกเทศ
ในองคกรของตัวเองในระดับหนึ่ง

จะเห็นไดวาโครงสรางของการบริหารนัน้ จะมีระดับของความซับซอนเพียงใดก็ขึ้นอยูกบั
ขนาดของผลงานทางวัฒนธรรมวาจะอยูในขอบเขตระดับใด แตท้งั นี้ก็มิไดหมายความวาจะมีแบบ
ใดที่ดที ส่ี ุด เพียงแตการเลือกระบบการบริหารนัน้ ตองเลือกใหสอดคลองกับความตองการ และ
ความเหมาะสม การบริหารงานอยูในระดับที่เปนเจาของเพียงคนเดียวอาจจะมีขอ เสียในแงของ
การขยายกิจการ การสรางตลาดของผูชมงานวัฒนธรรม และความอยูรอดของตัวศิลปนเอง แตก็มี
ขอดีในแงของการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมเอาไวใหมสี ภาพคงเดิม เปนมรดกแหงวัฒนธรรมที่
คนรุนหลังไดศึกษาเรียนรูดวยความภาคภูมิ สวนการบริหารงานแบบของคณะไพศาล เพียรศิลป ก็
มีขอ ดีในแงของความยืดหยุน และสามารถทีข่ ยับขยายสเกลของงานใหใหญโตขึ้นกวาคณะหุน
กระบอกของแมชะเวง แตกจ็ ะตองยอมทีจ่ ะสูญเสียอํานาจในการควบคุมกํากับงานทางศิลป
เพื่อที่จะไดใชเวลาไปกับงานทางดานการบริหารและอํานวยการ

สวนการบริหารงานในรูปแบบของคณะกรรมการบริหารในกรณีของ “เถานั้ง” ผูจัดงาน


ประเพณีเจาพอ-เจาแมปากน้ําโพนั้น เนือ่ งจากการรวมตัวของคณะกรรมการนัน้ มีการสุมเลือกมา
จากชุมชนในทองถิ่น จึงมีขอดีในแงของการสรางเสริมความมีสวนรวมของชุมชนในการจัดการ
ศิลปวัฒนธรรมทองถิน่ ของตนเอง สวนประเด็นในการอยูใ นตําแหนงในลักษณะเฉพาะกิจเปน
ระยะเวลาสั้นๆ การจัดงานที่มขี นาดใหญจงึ ตองใชวิธกี ารบริหารงานแบบกระจายอํานาจ ซึ่งก็มี
ขอดีท่ที าํ ใหแตละฝายผูผ ลิตผลงานทางวัฒนธรรมไดพัฒนาผลงานของตนอง แตก็มขี อ เสียที่วา
หากการพัฒนานั้นเปนไปแบบแบบสะเปะสะปะไรรูปแบบและแนวทาง ซึ่งจะสงผลตอคุณคา
ผลงานวัฒนธรรม และงานประเพณีโดยรวม แตในบางครั้งคณะกรรมการนั้นเองก็มสี วนในการ
สรางความแปลกแยกทางวัฒนธรรม โดยการนําวัฒนธรรมการแสดงบางอยาง “อิมพอรต” เขามา
จากประเทศจีน เชนการแสดงกายกรรม นัยวาเพือ่ สรางความแปลกใหม เปนการดึงดูดผูช ม
ประเด็นการหาจุดลงตัวระหวางภารกิจในการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีทอ งถิน่ กับการสราง
ความนิยมใหกับประเพณีนใ้ี นฐานะงานเทศกาลทองเที่ยวระดับประเทศ จึงเปนวาทกรรมที่
นาสนใจที่ควรใหการศึกษาคนควาตอไป

วัฒนธรรมในบทบาทการสรางสรรคสังคม

16
การแสดงศิลปวัฒนธรรมทั้งสามรูปแบบ ไมวาจะเปนหุนกระบอกแมชะเวง, ลิเก ในตรอก
ลิเก ถ.สวรรควิถี จ. นครสวรรค รวมทั้งการแหมังกร เชิดสิงโตในงานประเพณีแหเจาพอ-เจาแม
ปากน้ําโพก็ดี ลวนแลวแตมบี ทบาทในการเปนเครื่องสะทอนถึงจิตวิญญานของชุมชนไดในระดับ
หนึ่ง การสะทอนสังคมของวัฒนธรรมนี้เปนแนวคิดที่ยอ นหลังไปในยุคของเพลโต (430-347 B.C.)
ที่ใหแนวคิดในเรือ่ งทฤษฎีวาดวยแบบซึ่งมองวาวัฒนธรรมที่มีแสดงออกในรูปแบบของการแสดง
หรือวัตถุน้นั แทจริงเปนการสะทอนถึงความจริงสัมบูรณบางอยางที่เขาเรียกวา form ซึ่งเปนรูปแบบ
ในอุดมคติ ถามองเชนนี้วัฒนธรรมก็จะบอกเราถึงความจริงของรูปแบบทางสังคมของชุมชนนัน้ ๆ

แตถาเราหันมาพิจารณาแนวคิดของอริสโตเติล (384-322 B.C.) ที่วาศิลปนัน้ สะทอนถึง


ความเปนสากลแหงมนุษย ซึง่ เปนที่มาของรากฐานของความคิดของ Matthew Arnold ที่ใหคํา
จํากัดความของวัฒนธรรมไววาเปน “สิ่งที่ดที ส่ี ุดที่มนุษยคดิ ได และรูจกั ”18 ก็อาจจะมองไดวา
วัฒนธรรมที่มอี ยูน้เี ปนสิ่งที่มีความดีงามทีส่ ุดทีม่ นุษยไดเคยคิดคนเอาไว ซึ่งนั่นยอมมีความหมาย
บงไปถึงสถานภาพของวัฒนธรรมที่มลี ักษณะ “ขึ้นหิ้ง” และยากตอการเปลี่ยนแปลงไปตามใจ
ยกตัวอยางเชนถาหากมองวาวัฒนธรรมของการแหมังกรทองของนครสวรรคนั้น เปนการนําเอา
ความยิ่งใหญของชนชาติจนี มาสืบทอดตอในพื้นแผนดินไทย ก็จะเปนความคิดทีส่ ุมเสีย่ ง และมี
ความเปนชาตินยิ มที่นกั วิชาการเรียกวาลัทธิจกั รวรรดินยิ มทางวัฒนธรรม (Cultural Imperialism)
แตถาหากวาเราพิจารณาวาการกําเนิดขึ้นของมังกรทองนครสวรรคนนั้ เปนประดิษฐกรรมทีเ่ กิดขึน้
ในทองถิน่ และเจริญเฟอ งฟูอยูทใ่ี นตําบลปากน้ําโพ จ.นครสวรรคมาเปนเวลาสีส่ บิ กวาปแลว โดย
แมแตในประเทศจีน และประเทศในเอเซียที่มีชาวจีนอาศัยอยูเ ปนสวนใหญกย็ ังไมมีการแหมังกร
ทองที่มีความยิ่งใหญเชนเดียวกันนี้ ทัง้ ในแงของความยาวของตัวมังกร และลักษณะของการแหท่มี ี
การขึน้ เสา ลงน้ํา พนไฟ และประดับประดาดวยแสงไฟตามตัวมังกร ถาเปนเชนนีแ้ ลวจะกลาวได
หรือไมวาวัฒนธรรมดังกลาวถูกผลิตสรางขึน้ โดยไดรับแรงบันดาลใจจากรากเหงาของวัฒนธรรม
เดิม เพียงอยางเดียว โดยมิไดจาํ เปนทีจ่ ะตองสะทอนถึงการโหยหาทีจ่ ะไดมาซึ่งอารยธรรมจีนจาก
ประเทศจีนแหลงกําเนิด

แนวความคิดทั้งสองแบบนั้นถึงแมจะมีความแตกตางกันอยูบางแตมหี ลักการแลวมีความ
เหมือนกันตรงที่มองวาวัฒนธรรมนั้นสะทอนตัวตนของสังคม ซึ่งเปนแนวทางตอมาของนักวิชาการ
สายมารซ และสํานักความคิดเรือ่ งหนาที่นยิ ม (Functionalism) ซึ่งแนนอนวาวาทกรรมของการ
สะทอนสังคมนีย้ ังมีอีกหลายแงมุมใหโตแยง แตถาจะลองนํามาอธิบายในบริบทของบทความนี้
แลว ก็อาจจะมองไดวาการที่การแหมงั กรทองไดรับการสืบสานและไดรับการสนับสนุนจากชุมชน

17
ชาวจังหวัดนครสวรรคอยางกวางขวางกวา หุน กระบอกโบราณ และลิเกนี้ คงมิใชประเด็นเรื่อง
คุณคาทางศิลป หรือสุนรียรส แตเปนเรือ่ งของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมซึ่งไปมีผลตอการสราง
ผลงานทางวัฒนธรรมดังนี้
(1) การเปลีย่ นแปลงทางสังคมจากสังคมที่ยังชีพอยูดวยเกษตรกรรม มาสูส ังคมแหง
การคาขาย สงผลใหเรื่องราวพื้นบานที่ถายทอดโดยหุน กระบอกโบราณ หรือแมกระทัง่ ลิเกมีเนื้อ
เรื่องไมเขากับยุคสมัย ไมตอบรับตอรสนิยมของผูชมที่เปลีย่ นแปลงไป
(2) เปลีย่ นแปลงจากชุมชนทีอ่ ยูกนั อยางใกลชดิ หรือครอบครัวขยาย มาสูก ารโยกยาย
แรงงานออกนอกถิ่นฐาน และการละทิ้งถิน่ ฐานไปเพราะเหตุผลทางเศรษฐกิจ และไปมีผลตอ
โครงสรางของสังคมใหชุมชนไมไดอยูก ันอยางใกลชิด และไปมาหาสูก ันเปนระยะเวลานาน
เพียงพอ การหาผูเ ลนที่จะมาสืบทอดงานศิลปะอยางเชน หุนกระบอกแมชะเวงจึงเปนไปไดยาก
ในทางปฏิบัติ เพราะการจัดแสดงยังพึ่งพาอยูก ับครอบครัวขยาย หรือเพือ่ นบานทีอ่ าศัยอยูใ น
ละแวกบานเดียวกัน
(3) นโยบายการเมือง การปกครองทีใ่ หความสําคัญการรวมศูนยอํานาจ ซึ่งตางจากการ
ดูแลอยูก ันอยางใกลชดิ ระหวางผูใหญบาน กํานัน กับลูกบาน เปลี่ยนมาพึ่งพาเจาหนาทีจ่ าก
สวนกลาง พื้นทีข่ องความเปนประชาสังคม (Public Sphere) จึงลดขนาดลง จึงสงผลทําใหสังคม
ไมมีท่วี างสําหรับการละเลน หรือนันทนาการทีส่ รางสรรคโดยคนในชุมชนนั้นเอง การละเลน และ
นันทนาการจึงถูกกํากับจากรัฐโดยทางออมในรูปแบบของการจัดตั้ง และใหงบประมาณใน
กิจกรรมที่รัฐเห็นวาเหมาะสม และกีดกันหรือไมสงเสริมในกิจกรรมที่รัฐเห็นวาไมเกิดประโยชน
(4) เทคโนโลยีสมัยใหม และสือ่ ยุคใหม เชนภาพยนตร โทรทัศน วิทยุ อินเตอรเนต ทําให
การชมหุน กระบอก สามารถถูกแทนที่ไดดวย การตูนแอนนิเมชัน หรือการเลนเกมสออนไลน หรือ
ลิเกก็ถูกแทนที่ไดดวยละครทีวี ตลกคาเฟ หรือมหรสพแบบอื่นๆ แตการแหมังกรนั้นมีลกั ษณะเปน
การแสดงสดที่มีบรรยากาศเปนเทศกาล (Carnival & Festival) ซึ่งไมสามารถที่จะถายทอดหรือ
ทําซ้ําไปสูส ื่อมวลชนโดยไมสูญเสียอรรถรสในการรับชมได

ถอดบทเรียนการอนุรกั ษศลิ ปวัฒนธรรมจากตางประเทศ: กรณีศึกษาหุนน้ําเวียดนาม

บทสรุปของการวิเคราะหในประเด็นของการจัดการทางดานวัฒนธรรมซึ่งมีสวนสัมพันธ
เกี่ยวของโดยตรงกับชุมชนนัน้ คงยังไมสามารถที่จะหาขอชีช้ ดั ลงไปถึงกระบวนการและวิธกี ารที่จะ
กอใหเกิดผลสัมฤทธิ์ทเ่ี ปนที่ยอมรับสําหรับทุกๆฝาย แตหากเราไดลองพิจารณาการบริหารจัดการ

18
วัฒนธรรมของเพือ่ นบานในกรณีของหุน น้ํา เวียดนาม ผูเ ขียนเชื่อวาเราอาจจะไดแนวคิด และ
คําตอบบางประการใหกับการจัดการทางวัฒนธรรมทองถิน่ ในสังคมไทย

หุนน้ําเวียดนามตามตํานานของชาวบานบอกวามีการเลนกันมาตั้งแตสมัยตั้งบานเมือง
กวา 4,000 ปมาแลว โดยนักวิชาการของเวียดนาม โต แซง19 กลาววาเดิมทีหนุ น้ําเปนการละเลนที่
จํากัดอยูเ ฉพาะในครอบครัวของสามัญชน ไมไดเปนการละเลนทีแ่ พรหลายนัก ตอมาภายหลังเมื่อ
มีการจัดการแขงขันในงานเทศกาลใหญๆ ทําใหแตละคระเริ่มหันมาแขงขันกัน และพยายามคิดคน
รูปแบบการแสดงใหมเพื่อชือ่ เสียงของคณะตนเอง เรื่องราวที่นําเสนอนั้นมีเนือ้ หาเกี่ยวกับวิถชี ีวิต
ของชาวบาน เชนการสีขาว ตําขาว เลี้ยงควาย เลนวาว นีแมวปา จับปลา, สัตวศักดิส์ ทิ ธิ,์ บุคคล
สําคัญของชาติ และนิยายอิงประวัติศาสตร

ความนาสนใจของหุนน้ําก็คอื การชูเชิดจารีตของชาวบานใหกาวไปสู “ศิลปะของทาง


ราชการ” (Official Art) เพราะเหตุวาหุน น้ําแตเดิมมิไดมีรปู แบบการแสดงเหมือนอยางในปจจุบัน
แตเปนที่เรียกไดวาเปน “ประเพณีประดิษฐ” (Invented Tradition) เฉกเชนกับประติมากรรม
แกะสลักหินสบูข องชาวเอสกิโมซึ่งแทจริงแลว ก็มิไดเปนของดั้งเดิมที่มคี วามหมายทางวัฒนธรรม
กับชาวเอสกิโมแตอยางใด เพราะเปนเพียงการแกะสลักไมทาํ เปนรูปจี้ หรือเครือ่ งประดับที่ทําใน
เวลาวางถือเปนการพักผอนหยอนใจเทานัน้ แตตอ มาพอคาชาวตะวันตกนั้นชักชวนใหชาวเอสกิโม
หันไปแกะสลักลงบนหินสบูซ ึ่งหางาย และคงทนตอการเคลือ่ นยาย และการจําหนาย ใหนกั สะสม
ชาวตางชาติทส่ี นใจซือ้ หาเก็บไวเพราะแตเดิมคิดวาเปนศิลปกรรมดั้งเดิม (Original) ของชนเผา
เอสกิโม
หุนน้ํานั้นเกือบจะสูญหายไปหมดในสมัยหนึ่งทีฝ่ รั่งเศษปกครอง แตก็ไดยอนกลับมาอยูใน
ความสนใจของรัฐตั้งแตป ค.ศ. 1984 โดยไดมีการจัดตัง้ เปน “โรงหุนแหงชาติ” โดยมีงบประมาณ
สนับสนุนอยางเปนทางการ โดยไดแนวคิดมาจากการทีต่ องนําคณะหุนไปจัดแสดงทีป่ ระเทศ
ฝรั่งเศษเพือ่ เผยแพรวัฒนธรรม หุน น้ําทีท่ างรัฐบาลใหการอุปถัมภน้มี ีการเพิ่มเติมองคประกอบ
ตางๆ เชน ตัวหุน สีสนั ดนตรี ฯลฯ ทําใหมีความประณีตงามขึ้น แตจะเห็นวารัฐมิไดมีความ
พยายามทีจ่ ะเปลี่ยนแปลงเนื้อหาดั้งเดิมในประเด็นของวิถชี วี ิตที่มีความสงบสุขของชาวนา เพือ่
เบี่ยงเบนไปรับใชอดุ มการณแหงชาติอยางชัดเจน หรืออาจจะกลาวไดวามันไดทาํ หนาทีข่ องมัน
อยางลับๆในการฉายภาพอีกภาพหนึ่งทีเ่ ปนสังคมชนบททีส่ งบสุข ซึ่งขัดแยงกับสภาพที่แทจริงของ
ประเทศเวียดนามซึ่งมีแตความวุนวายทางการเมืองการปกครองสมัยหนึ่ง

19
ตอมาในป 1990 ที่รัฐบาลเวียดนามประกาศใหเปนปการทองเทีย่ ว หุนน้ําเวียดนามจึงได
กาวสูการเปนที่รูจกั ของชุมชนโลกในฐานะฑูตทางวัฒนธรรมของเวียดนาม ซึ่งเปนการขยับขยาย
มาสูท่ที างของการทองเที่ยวซึ่งชาวตางชาติใหความสนใจอยางสูง คลายกับกับการเชิดสิงโต และ
แหมงั กรของจังหวัดนครสวรรคที่ปจ จุบนั ก็เปนงานที่มีความสําคัญในแงของการทองเที่ยวใน
ระดับประเทศ แตเพียงแตยังไมไดแพรหลายไปสูระดับโลก จนกระทั่งทางการทองเที่ยวแหง
ประเทศไทยไดเปลี่ยนทาทีตอ งานเทศกาลตรุษจีน และไดมีความพยายามทีจ่ ะทําใหงานตรุษจีนที่
เยาวราชกาวเขาสูระดับสากลโดยเผยแพรใหกับนักทองเทีย่ วชาวตางชาติ โดยตั้งใจจะทําใหเปน
“World Event” ในอนาคต20

จะเห็นไดวาในขณะทีป่ ระเทศเวียดนามพยายามทีจ่ ะสรางภาพพจนของชาติใหมดวยการ


ทองเทีย่ วทีอ่ ิงอยูกับรากเหงาของศิลปะวัฒนธรรมเดิม แตแนวทางในการเลือกพัฒนานัน้ กลับใช
วิธีการยกระดับวัฒนธรรมชาวนา ใหขึ้นสูวัฒนธรรมชาติ และก็ประสบความสําเร็จในการ
ดําเนินการในระดับทีส่ ามารถผลักดันใหหนุ น้ําเปนที่รูจกั ของนักทองเที่ยวชาวตางชาติ และ
ประชาคมโลก หุน กระบอกแมชะเวงเองก็นา จะเปนกรณีท่รี ัฐนาจะหันกลับมาทบทวน ถึงความ
จริงใจในการอนุรักษศลิ ปวัฒนธรรมของชาติ โดยไมเลือกกรองหรือตีคาวาสิ่งใดควรคาหรือไมควร
คา เพราะวัฒนธรรมก็เปนเครือ่ งสะทอนถึงวิถชี ีวิตของชุมชนนัน้ ๆ ปจจุบนั นี้หนุ กระบอกแมชะเวง
รับจางเลนในงานศพ หรือถาหากหนวยงานราชการในทองถิ่นเชิญไปออกงานก็ไดรับคาจางใสซอง
มาใหเพียงรอยสองรอยบาท ในขณะที่ประเทศเวียดนามใชงบประมาณของรัฐในการจัดสรางโรง
ละครหุน แตพนื้ ที่ในการจัดแสดงของคุณยายชะเวงยังตองแบงใชพื้นทีข่ องศาลาวัด หรือโรงลิเกใน
บางครั้ง ปจจุบันการสืบทอดไปสูรุนตอไปก็เปนปญหาเพราะบรรดาลูกหลานไดเขาเรียนตามระบบ
การศึกษาสมัยใหม และประกอบอาชีพสวนตัว หรือรับราชการไปหมด จึงเปนที่นา เสียดายวาใน
อนาคตเราอาจจะไมไดเห็นการแสดงในลักษณะนีอ้ กี

หรือถามองในดานของการแสดงลิเกซึ่งมีที่มาจากการสวดบูชาพระอัลลาห ของมุสสิม
นิกายเจาเซ็น21 ซึ่งมักจะถูกมองจากรัฐวามิใชศิลปวัฒนธรรมของไทยอันดีที่ควรจะตองสนับสนุน
สงเสริม เพราะเปนเพียงวัฒนธรรมชาวบาน ถึงแมจะยังคงอยูไดในปจจุบนั แตก็มิไดมคี วาม
แพรหลายเหมือนเกา คุณลุงไพศาล เพียรศิลป กลาวแสดงความคิดเห็นไววาตั้งแตลดคาเงินบาทป
2540 งานแสดงก็ไมชกุ เหมือนเกา อาจจะมาจากสาเหตุทว่ี าเศรษฐกิจไมดเี หมือนเดิม และชวง
กอนหนานั้นมีกระแสของการขายแรงงานไปตางประเทศทําให งานชุกชุมเหตุเพราะมีการสงเงิน
กลับมาเปนกอนสรางความมั่งคั่งร่ํารวยใหกับชุมชนก็แสดงออกโดยการจัดจาง มหรสพเพือ่ เฉลิม
ฉลองกัน คุณลุงไพศาลยังแสดงความเปนหวงในสภาพของชุมชนจังหวัดนครสวรรคท่ไี มไดใหการ

20
สนับสนุน ถึงจะมีสภาวัฒนธรรมจังหวัด ที่เคยการจัดงานแสดงลิเกประชันกันแตก็เปนเพียงครั้ง
เดียว มิไดมีความจริงใจที่จะสงเสริมพัฒนาทีเ่ ปนรูปธรรม สวนชุมชนพอคาประชาชนในเขตเมืองก็
ประกอบดวยชุมชนชาวไทยเชือ้ สายจีนที่ไมใครความสนใจกับศิลปการแสดงในรูปแบบลิเก
เทาที่ควร

ถาหากสืบสาวราวเรื่องกลับไปตั้งแตสมัยกอนเราจะไดเห็นความแตกตางระหวาง
“แนวคิด” และทาทีของรัฐที่มีตอ การแสดงพืน้ บานอยางชัดเจน อยางเชนความพยายามทีจ่ ะจํากัด
บทบาทของลิเก โดยเปลี่ยนใหเปนนาฏดนตรี เพือ่ ใหชาวตางชาติน้นั มองวาประเทศไทยก็มคี วาม
ศิวิไลซ ดังที่ ดร.แถมสุข นุมนนท ไดกลาวไวในวารสาร มธ. เลมที่ 6 หนา 138

“ในระหวางที่นายหอมหวลมีชอ่ื เสียงนัน้ ตรงกับยุคที่จอมพล ป. พิบลู สงครามมีนโยบาย


สรางชาติไทยใหยิ่งใหญ สิ่งใดไมใชศลิ ปะของไทยมาแตเดิม หรือเปนศิลปะพื้นบานที่ดวย
สุนทรียรสก็ใหยกเลิกเสีย เชน ละคอนชาตรี ลิเก และหุนกระบอก” 22

ซึ่งนโยบายดังกลาวมีผลทําใหละครชาตรี และหุน กระบอกจํานวนมากตองเลิกเลนและหันไป


ประกอบอาชีพอื่น สวนนโยบายของรัฐก็บังคับดวยกฏหมายวาดวยการแสดงที่อนุญาตใหแสดงได
ซึ่งมีอยูส ามแบบก็คอื อุปรากร นาฏกรรม และนาฏดนตรี ซึ่งคณะลิเกหลายคณะไดยึดเอา
ขอกําหนดของ นาฏดนตรี นี้เปนแนวทางดัดแปลงการแสดงของตนเพือ่ สืบทอด อีกทั้งรัฐยังได
บังคับใหศลิ ปนผูมีบัตรที่ตองมีการขึ้นทะเบียน โดยตองสอบผานแบบทดสอบความรูดานนาฏศิลป
จากกรมศิลปากรเสียกอน จากตัวอยางทีก่ ลาวมาเห็นไดชดั วารัฐไดเขามาใชอํานาจเพื่อมากําหนด
รูปแบบของศิลปะที่รบั ใชตอ เจตนารมณในการสรางชาติ แตในวิธีการทีแ่ ตกตางจากกรณีหนุ น้ํา
ของเวียดนามอยางสิน้ เชิง

ประเด็นเรือ่ งของการสนับสนุนใหหนุ น้ําเวียดนามเปนผลผลิตทางวัฒนธรรมที่สามารถ


รองรับกับตลาดของนักทองเที่ยวชาวตางชาติไดนก้ี ็เปนกรณีศึกษาที่นา สนใจ เพราะในขณะที่
ประเพณีแหเจาพอ-เจาแมปากน้ําโพนี้ไดรับความสนใจจากนักทองเทีย่ วชาวตางชาติท่มี ีเชือ้ สาย
จีน เชน ชาวฮองกง ชาวสิงคโปร ชาวมาเลเซีย เดินทางมาชม23 หรือมีสํานักขาวตางประเทศใหการ
ยอมรับโดยยกกองถายมาถายทําไปนําเสนอขาวทั่วโลก24 การสืบสานประเพณีแหเจาที่นครสวรรค
นีร้ ัฐบาลยังมีนโยบาย หรือกลยุทธท่ไี มชดั เจนในการสนับสนุนใหกาวสูส วนหนึ่งของวัฒนธรรมชาติ
ที่สมควรไดรับการเผยแพรสูนกั ทองเที่ยวชาวตางชาติ นอกเหนือไปจากการสนับสนุนงบประมาน
ซึ่งก็ถกู ตัดทอนลงเรือ่ ยๆ25 และไมเพียงพอตอการจัดงานที่มคี วามยิ่งใหญในลักษณะนี้

21
ในขณะเดียวกันยังดําเนินนโยบายทีข่ ดั แยงในตัวเองโดยหันไปสนับสนุนสงเสริมประเพณีตรุษจีนที่
เยาวราช กรุงเทพมหานคร ในรูปแบบลดแลกแจกแถมแบบที่ไมเคยเปนมากอน เปนการสง
สัญญานทีส่ ับสนวานโยบายแหงชาติในการเรื่องของวัฒนธรรมนี้สามารถที่นําไปรับใชตอ
แนวนโยบายของผูทมี่ ีอํานาจในขณะนั้น แทนทีจ่ ะสงเสริมนวัตกรรม และการสรางสรรคผลิตผล
ทางวัฒนธรรมที่ไดดําเนินมาหยั่งรากในทองถิ่นนั้นๆใหเขมแข็งยิ่งขึ้น ตราบใดที่ประเทศของเรายัง
ไรผูใหความสนใจวางแผนและวางนโยบายทางวัฒนธรรมอยางจริงจัง อยางเปนระบบ และตราบ
ใดผูทเ่ี กี่ยวของกับงานทางดานวัฒนธรรมยังไมมีทศั นคติ และความเขาใจในคําวาวัฒนธรรมของ
ชาติอยางเพียงพอ ภาพดังกลาวก็คงจะเกิดขึ้นซ้ําแลวซ้ําเลาโดยปราศจากหนทางแกไข

แนวทาง และขอเสนอแนะการบริหารจัดการวัฒนธรรมทองถิ่นโดยชุมชน

แผนภูมิที่ 1. กราฟแสดงความสัมพันธระหวางการจัดการเชิงสถาบันโดยภาครัฐ กับการวางตําแหนงทางการตลาดของ


ผลิตภัณฑทางวัฒนธรรมเปรียบเทียบระหวาง ศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นของจังหวัดนครสวรรค โขนไทย และหุนกระบอก
น้ําเวียดนาม

ปญหาในดานการบริหารจัดการวัฒนธรรมทองถิ่นดังที่กลาวมาแลวในประเด็นของ
การศึกษาวัฒนธรรมทองถิ่นสามรูปแบบคือ คณะหุนกระบอกแมเชวง, คณะลิเก ไพศาล เพียรศิลป
รวมทั้งชุมชนตรอกลิเก นครสวรรค และคณะมังกรทอง จังหวัดนครสวรรค นัน้ ประเด็นสําคัญที่
ผูเ ขียนเห็นวายังเปนพืน้ ทีส่ เี ทาก็คอื บทบาทของรัฐในการเขามารวมสรางเสริม และอนุรักษ
ประเพณีและวัฒนธรรมอันทรงคุณคาของทองถิ่น โดยผูเ ขียนพยายามจะยกกรณีศึกษาที่เปน แนว
ปฏิบัตทิ ่เี ปนเลิศ (Best Practices) ของการอนุรักษศลิ ปวัฒนธรรมพื้นบาน คือ หุนน้ําของประเทศ

22
เวียดนามไวเปนแนวทาง และเปดมุมมองทีส่ รางสรรคใหมๆใหกับปญหาทางดานการอนุรักษ
วัฒนธรรม และเพือ่ ใหเห็นภาพทีช่ ดั เจนผูเ ขียนใครขอเสนอแผนภูมิในแผนภูมิที่ 1 เพื่อเปนการสรุป
ความคิดของบทความนี้

ในแผนภูมิดังกลาวมีจุดมุงหมายที่จะแสดงการเปรียบเทียบระหวางมิตขิ องการวาง
ตําแหนงในใจของผูบริโภค (Positioning) ของผลผลิตทางวัฒนธรรมทองถิ่น กับมิตขิ องการจัดการ
เชิงสถาบันโดยภาครัฐในระดับตางๆ เชน ยังไมมสี วนรวม, มีสวนรวมในระดับองคการปกครองสวน
ทองถิ่น และระดับชาติ หรือระดับประเทศ

1. แนวทางการอนุรักษและพัฒนา : หุนกระบอกแมเชวง

กรณีของหุนกระบอกแมเชวงนั้น ตําแหนงในปจจุบนั มีความชัดเจนในแงของ


ศิลปวัฒนธรรมเกาแกท่คี วรอนุรกั ษไว ไมวาจะเปนเนื้อหา รูปแบบและวิธีการนําเสนอนัน้ มีคุณคา
สูงอยูแ ลว ไมวาจะมองในแงมุมทางสุนทรียศาสตร นาฎยศาสตร หรือมุมมองในแงของการสะทอน
ถึงจิตวิญญานของความเปนคนไทย ผานการบอกเลาเรือ่ งราวที่มีสัญญะอันผูกพันเชือ่ มโยงอยูก ับ
ชีวิต และวัฒนธรรมไทยในสมัยหนึง่ จากมุมมองของชาวบาน กอนทีจ่ ะถูกลัทธิการเผยแพร
วัฒนธรรมแบบจักรวรรดินยิ มเขามาทําใหเสือ่ มคลายความนิยมลงไป การอนุรักษศลิ ปะการแสดง
ดังกลาวจึงควรเนนไปในดานของการดูแลรักษาคุณคาดังกลาวเอาไว โดยมีเจตนารมณท่จี ะรักษา
ซึ่งความหมาย และความสําคัญของศิลปะการแสดงดังกลาวเปนอันดับแรก โดยไมคิดที่จะมุงไปที่
การเผยแพรใหทนั สมัย และใหเปนที่นยิ มโดยปรับปรน เปลี่ยนแปลงจนกระทั่งหาคุณคาเดิมมิได

แตท้งั นีท้ ้งั นั้นการอนุรักษศลิ ปวัฒนธรรมดังกลาวจะไมสามารถดําเนินการไดโดยผาน


กลไกของการบริหารจัดการแบบครอบครัว เฉกเชนกรณีของหุน กระบอกแมเชวงอยางทีเ่ ปนอยูใ น
ปจจุบัน เพราะวิธีการถายทอดวัฒนธรรมในลักษณะถายทอดกันทางตรงดังกลาวนั้น ยอมจะไม
สามารถสืบสานศิลปวัฒนธรรมนี้ไดอยางยั่งยืน หุน กระบอกแมเชวงนี้ถาหากพิจารณาโดยแทจริง
แลวเปนมรดกทางวัฒนธรรมอันมีคุณคายิ่งของชาติ มิใชของใครคนใดคนหนึ่ง การเขามามีสวน
รวมในการสงเสริม และบริหารจัดการโดยภาครัฐจึงไมใชเหตุผลเรือ่ งความเหมาะสมเพียงอยาง
เดียว แตยังเปนความจําเปนอยางยิ่งยวดอีกดวย เพราะถาหากไมมีการสงเสริมอยางจริงจัง
ประชาชนรุนหลังก็จะขาดโอกาสในการเรียนรูถึงวัฒนธรรมทองถิ่นอันจะสรางความภาคภูมใิ จ
ใหกับตนเอง และหากประชาชนขาดทุนวัฒนธรรมทีเ่ ขมแข็ง ก็ยอมตกเปนเหยือ่ ของการครอบงํา
ทางวัฒนธรรมไดงายในโลกทีจ่ กั รวรรดิวัฒนธรรมทุนนิยมนั้นมาในรูปแบบตางๆทีแ่ ฝงเรน

23
สวนการหันไปพึ่งพิงองคกรเอกชนนั้นเลา ก็เห็นวายังประสบปญหาเนือ่ งจากใน
ตางจังหวัดองคกรเอกชนขนาดใหญท่ใี หความสําคัญกับการธํารงรักษาศิลปวัฒนธรรมยังมีจํานวน
ไมมาก สวนเอกชนรายยอยนั้นก็มีนอ ยรายที่จะใหความสําคัญกับกิจกรรมเชิงศิลปวัฒนธรรม และ
การเขาไปสงเสริมในเรื่องดังกลาวก็มกั จะมีประเด็นเรือ่ งความคุมคา และผลประโยชนตอบแทน
ทางเศรษฐกิจเปนหลัก จึงยังเปนองคาพยพของสังคมที่งานทางดานศิลปวัฒนธรรมยังไมสามารถ
เขาไปพึง่ พิงไดอยางสะดวกใจนัก

ดวยความจําเปนดังกลาว กลยุทธในการอนุรักษหุนกระบอกแมเชวงจึงควรถูกขับเคลือ่ น
โดยองคกรภาครัฐ แตภาครัฐในทีน่ ้กี ็มใิ ชวาเราจะสามารถจะขับเคลื่อนไปในลักษณะเดียวกับของ
รัฐบาลเวียดนามทีด่ ําเนินการในเรือ่ งดังกลาวผานทางการบริหารจัดการเชิงสถาบันโดยรัฐบาล
กลาง เหตุเพราะสําหรับในกรณีของประเทศไทยนัน้ วัฒนธรรมบางอยางไดรับการสถาปนาเขาสู
การเปนวัฒนธรรมหลวงไปตั้งแตสมัยตน และกลางกรุงรัตนโกสินทรแลว เชน กรณีของโขน เปนตน
ดวยเหตุที่มคี วามเหมาะสมในแงของบริบททางสังคม และประวัติศาสตรในสมัยนัน้ ๆ แตหุน
กระบอกแมเชวงซึ่งมีลักษณะเปนวัฒนธรรมราษฏรน้นั มีความสําคัญในฐานะทุนทางวัฒนธรรม
ทองถิ่นทีผ่ กู พันกับชีวติ และจิตใจของทองถิ่น และสังคมนัน้ การดูแลบริหารจัดการจากภาครัฐจึง
ควรจะดําเนินการในระดับขององคกรปกครองสวนทองถิน่ จะมีความเหมาะสมมากกวา

เหตุท่อี งคกรปกครองสวนทองถิน่ ควรจะเขามามีบทบาทในเรือ่ งดังกลาวนั้น เปนเพราะ


เหตุวาองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้นมีความใกลชดิ กับชุมชนมากกวา จึงยอมมีความเขาใจถึง
ความตองการ ความจําเปน และขอจํากัดของชุมชนอยางลึกซึ้งประการหนึ่ง และอีกประการหนึ่ง
เปนเพราะการทะนุบํารุงและสงเสริมศิลปวัฒนธรรมนั้นยังเปนพันธกิจโดยตรงขององคกรปกครอง
สวนทองถิ่นที่กําหนดไวโดยกฏหมายอีกดวย การจัดการวัฒนธรรมโดยองคกรปกครองสวนทองถิ่น
ถึงแมวาจะเปนเรื่องใหมแตก็มีตัวอยางของความสําเร็จใหเห็นเปนที่ประจักษแลว อาทิ การอบรม
เยาวชนเพือ่ อนุรักษกลองยาว ของเทศบาลตําบลนางัว จังหวัดอุดรธานี, การจัดลานดนตรี ลาน
วัฒนธรรม ของเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา หรือการสืบสานภูมิปญญาจากพออุยแมอุย
ขององคการบริหารสวนตําบลปาแดด จังหวัดเชียงราย26 เปนตน

ผูเ ขียนโครขอเสนอแนวทางที่เปนไปไดการบริหารจัดการอนุรักษศลิ ปวัฒนธรรม ในกรณี


ของหุน กระบอกแมเชวง โดยองคกรปกครองสวนทองถิ่น ไวพอสังเขปดังนี้

24
1. การจัดใหมสี ถานที่ในการแสดงหุนกระบอกเชิงอนุรักษในลักษณะถาวร หรือกึ่ง
ถาวร โดยการสนับสนุนงบประมาณโดยขององคกรการปกครองสวนทองถิ่นไมวา
จะเปน เทศบาล หรือองคกรบริหารสวนจังหวัด
2. ประสานงานกับสถาบันการศึกษาสวนทองถิน่ เพือ่ เผยแพร สืบสานภูมิปญญา
ทองถิ่นสูเยาวชนในรูปแบบที่เหมาะสมกับการดําเนินงานในสถาบันการศึกษาขัน้
พื้นฐาน หรือในระดับอุดมศึกษา
3. สงเสริมการมีสวนรวมในกับชุมชนโดยผานเครือขายอื่นๆนอกเหนือจากภาครัฐ
เชน ชมรม สมาคมในทองถิ่น อาทิ สมาคมแมดเี ดนประจําจังหวัดนครสวรรค,
กลุมผูพ ิพากษาสมทบ ซึ่งมักมาจากกลุมพอคาประชาชนซึ่งมีศักยภาพทาง
เศรษฐกิจซึ่งอยูอ าศัยในทองถิ่น, สโมสรไลออนส โรตารี และอื่นๆ

2. แนวทางการอนุรักษและพัฒนา : ชุมชนลิเกในจังหวัดนครสวรรค

สําหรับชุมชนลิเก ในตรอกลิเกจังหวัดนครสวรรคน้นั เมื่อพิจารณาจากแผนภูมิท่ี 1 แลว


พบวาตําแหนงอยูท ่บี ริเวณที่ยงั ไมไดรับการดูแลจัดการเชิงสถาบันจากภาครัฐ แตมีศักยภาพที่
จะรองรับผูบริโภคในจังหวัด และผูบ ริโภคตางจังหวัด ซึ่งลิเกยังเปนการแสดงพืน้ บานที่ไดรับ
ความสนใจจากประชาชนทั่วไปเสมอมา และมีกลุมผูดลู ิเกอยูจ าํ นวนหนึ่งซึ่งถึงแมวาปริมาณ
งานแสดงจะเริ่มลดนอยถอยลงไปมากในปจจุบันดวยเหตุผลทางเศรษฐกิจดังที่กลาวมาแลว
แตศลิ ปะการแสดงแขนงนี้มขี อ ดีที่มคี วามยืดหยุน และสามารถปรับตัวใหเขากับยุคสมัยที่
เปลี่ยนแปลงไปไดอยางดีตลอดมา ผูเ ขียนจึงคิดวาจุดเดนของการปรับตัวเปลีย่ นแปลงการ
แสดงใหเขากับยุคสมัย การนํานวัตกรรมการแสดงใหมๆเขามาประยุกตใชจงึ นาจะเปนหนทาง
ที่จะทําใหลเิ กครองใจผูบริโภครุนใหมๆไดโดยไมตกยุค และสูญหายไปตามกาลเวลา อยางไรก็
ตามมีผูรใู นวงการใหความเห็นเอาไวมากเรือ่ งของความเสือ่ มของลิเกจากวัฒนธรรมการเอา
อยาง และไมสรางสรรคนวัตกรรมใหมๆ ไมวาจะเปนเรือ่ งการเนนการแตงกายที่เนนในเรื่อง
ของการแตงองคอยางวิจติ รพิศดารประดับประดาดวยเพชรเทียม โดยไมเลือกวาเปนตัวไพร
หรือตัวพระนาง หรือเอาอยางการแตงกายในแบบพมา จนไมสามารถแยกออกวาเปนตัวละคร
มีสัญชาติไทย พมา หรือสัญชาติใด

ในบริบททางสังคมของจังหวัดนครสวรรคนนั้ ผูเขียนคิดวายังมีความจําเปนที่ ชุมชนตรอก


ลิเกควรจะไดรับการสนับสนุนอยางเปนรูปธรรมจากภาครัฐ แตไมใชการสนับสนุนในแงของ
การอนุรกั ษศลิ ปวัฒนธรรมทองถิน่ แตเนนหนักในสองประเด็นตอไปนี้

25
1. การรักษาความแตกตางหลากหลายทางวัฒนธรรมในชุมชน – การดํารงรักษาไวซึ่ง
พหุวัฒนธรรมในสังคมใดๆยอมแสดงถึงทุนทางสังคมอันเขมแข็ง ความสามารถในการ
ยอมรับความแตกตางทางวัฒนธรรม และการจัดใหมี “พื้นที”่ ในการแสดงออกซึ่ง
วัฒนธรรมทีแ่ ตกตางยอมสงผลใหชุมชนเรียนรูท ่จี ะสรางความสมัครสมานสามัคคี และ
การเคารพความแตกตางยอมเปนรากฐานของจิตวิญญานแหงการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย
2. การสงเสริมในแงการสรางชุมชนศิลปน หรือ Art Community
การเปดพืน้ ที่ และการจัดการใหมอี าณาบริเวณสําหรับอยูอ าศัย และแสดงออกของชุมชน
ศิลปนอยูในเขตเมืองนัน้ เปนวิธีการทีใ่ ชไดผลในตางประเทศในการรื้อฟน ความนาอยูของ
ชุมชนเมือง (Reviving Urban Space) ซึ่งไดการสรางชุมชนศิลปนที่ไดผลนั้น ไดรับการ
พิสูจนวาจะสงผลดีตอ เศรษฐกิจของชุมชนเมืองนัน้ ๆในเวลาตอมา รัฐ โดยการนําของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถที่จะเขามามีบทบาทในการรวมสรางชุมชนลิเก อยาง
เปนรูปธรรมไดดังตอไปนี้
• สรางปายบอกสถานที่ หรือซุมโครงเหล็กเพือ่ บริเวณปากซอยของชุมชนลิเกทั้ง
สองดาน (คลายกับการสรางซุมปายบอกทางเขาออกเพื่อบอกอาณาเขตของ
ชุมชนบางโพ ถนนสายไม เขตประชาชื่น กรุงเทพมหานคร)
• จัดมหกรรมการแสดงลิเก หรือเทศกาลลิเกประจําป โดยสนับสนุนงบประมาณ
และสถานทีจ่ ากองคกรปกครองสวนทองถิ่น และ/หรือ สภาวัฒนธรรมจังหวัด โดย
ปลอยใหการบริหารจัดการเทศกาลลิเกนัน้ เปนเรื่องของชุมชนลิเก หรือองคกรไม
หวังผลกําไรในทองถิ่น จัดการบริหารกันเอง โดยอาจจะมีการประสานงานรวมกับ
กระทรวงพัฒนาสังคมฯ เพือ่ ขอความรวมมือเทาที่จะเปนไปได
• จัดพื้นที่ในบริเวณชุมชนลิเก หรือใกลเคียงเพื่อเปนสถานทีเ่ รียนรูแ ลกเปลีย่ น
วัฒนธรรมชุมชนของศิลปนอาสาสมัคร ที่เปดโอกาสใหประชาชน หรือเยาวชน
ผูส นใจทั่วไปสามารถเขามาศึกษาหาความรูทง้ั ในเรือ่ งศิลปะการแสดงลิเก, การ
ถายทอดพื้นฐานดนตรีไทยใหกับเยาวชนและผูส นใจ, แหลงขอมูลความรูเกี่ยวกับ
ศิลปะการแสดงพืน้ บานของไทย และกิจกรรมอืน่ ๆที่ชุมชนสามารถเขารวมเพือ่ จัด
กิจกรรมตอเนือ่ งตลอดทัง้ ป เปนการบมเพาะใหเกิดการถายทอดศิลปะการแสดง
สูช ุมชนอยางเปนรูปธรรม และเปนการสรางคืนความมีชวี ติ และความเอือ้ อาทร
ใหกับสังคมอีกรูปแบบหนึง่

26
3. แนวทางการปรับปรุงการบริหารจัดการ : คณะมังกรทองจังหวัดนครสวรรค

การบริหารจัดการของคณะมังกรทองจังหวัดนครสวรรค และงานตรุษจีนของจังหวัด
นครสวรรคน้นั อยูใ นรูปแบบของการดําเนินการโดยชุมชน ซึ่งมีความเขมแข็งในการบริหาร
จัดการมาเปนระยะเวลานานหลายทศวรรษ ประเด็นที่ยังคลุมเครือและรอความชัดเจนจะเปน
เรื่องของ
• การมีสวนรวมของภาครัฐ บทบาทของการทองเที่ยวแหงประเทศไทย
• ศักยภาพในการกาวไปสูงานเทศกาลระดับชาติ และระดับนานาชาติ

จึงสงผลใหในแผนภูมิที่ 1 ตําแหนงของงานตรุษจีน นครสวรรคจึงอยูบริเวณความก้ํากึง่


ของการสนับสนุนจากรัฐบาลสวนกลาง ซึ่งไดแก การทองเที่ยวแหงประเทศไทย และองคกร
ปกครองสวนทองถิ่น ซึ่งก็ไดแกการสนับสนุนงบประมาณ และการอํานวยการดานสถานที่
และอุปกรณจากเทศบาลนครนครสวรรค สวนภาพพจนของงานในสายตาของผูบ ริโภคนั้นมี
ความเดนในฐานะงานที่ประชาชนคนไทยทั้งประเทศใหความสนใจ ถึงแมจะลดลงไปมากในป
ที่ผานๆมา แตความชัดเจนในแงของการดึงดูดผูบ ริโภค หรือนักทองเที่ยวชาวตางประเทศยังไม
เปนที่ชัดเจนนัก โดยอาจจะมีสาเหตุมาจากความไมชดั เจนในการวางตําแหนง (Position) ของ
งานวาจะรับใชผูบริโภค หรือกลุมเปาหมายกลุมใด สื่อที่ออกสูส าธารณชนจึงไมมีจุดมุงหมาย
ที่เดนชัด (Focus) เพียงพอทีจ่ ะดึงดูดผูบริโภคกลุมเปาหมายได

เมื่อพิจารณาจากประเด็นดังกลาวแลวจะเห็นไดวาประเด็นของการบริหารจัดการนั้นมิใช
ประเด็นที่นา หวงใย แตประเด็นที่คณะผูจดั การตรุษจีน จังหวัดนครสวรรคจะตองให
ความสําคัญใหมากก็คอื การวางกลยุทธทางการตลาด (Marketing Strategy) ที่ชัดเจน นั่น
หมายความถึงความเขาใจในเรือ่ งความตองการของผูบริโภค และการกําหนดกลุม เปาหมาย
ของงานใหเดนชัด ซึง่ จะสามารถดําเนินการไดผานทางการสนับสนุนใหทุนการศึกษาวิจยั
ทางดานการตลาดของงานเทศกาลดังกลาวอยางกวางขวาง และเปนรูปธรรม โดย
อาจจะอาศัยความชวยเหลือจากสถาบันการศึกษาในทองถิ่น หรือเครือขายนักวิชาการใน
ชุมชน ชวยกันวางแผนรวมกันเพือ่ ใหแนใจวาสิ่งที่จะจัดทําการศึกษาวิจยั นั้นสอดคลองกับ
เปาประสงคท่ตี อ งการพัฒนา เมื่อเห็นภาพอันชัดเจนกลุมเปาหมายดังกลาวแลวการวางแผน
ดําเนินการในอนาคตก็ยอมที่จะสามารถทําไดอยางมีประสิทธิผลมากยิ่งขึน้ ไมวาจะเปนการ
ขอความรวมมือจากภาครัฐ โดยมีเปาหมายทีห่ นวยงานของรัฐบาลกลาง ก็จะสามารถทีจ่ ะ
ชี้แจงถึงความสําคัญของโครงการไดอยางมีหลักมีฐาน และมีขอ มูลการศึกษายืนยัน ยอมทํา

27
ใหการยอมรับจากภาคราชการในฐานะเทศกาลที่มีความสําคัญในระดับประเทศ เปนไปได
อยางงายดายมากยิ่งขึ้น

แตท้งั นีท้ ้งั นั้นคณะผูจ ดั ทําจะตองไมลืมทีจ่ ะรักษาเจตนารมณของชุมชนทองถิ่นในเรือ่ ง


ของการสืบสานศรัทธา และความเชือ่ ของชุมชนที่มีตอสิง่ ศักดิส์ ิทธิท์ ่เี ปนทีเ่ คารพบูชาของ
ชุมชนซึ่งเปนหัวใจหลักในเทศกาลเอาไวเปนสิ่งสําคัญสิ่งแรก และประเด็นของการพัฒนาการ
ทองเทีย่ วเปนเรือ่ งรองลงมา

เมื่อไดใหคําอรรถาธิบายถึงแนวทางการอนุรักษ และพัฒนาดังกลาวมาแลวโดยสังเขป
ผูเ ขียนคาดวาหากมีการดําเนินการตามแนวทางตางๆที่ไดนาํ เสนอไวแลว วัฒนธรรมทองถิน่ ไม
วาจะเปนหุนกระบอกแมเชวง ชุมชนลิเก และงานตรุษจีน นครสวรรค จะเลื่อนเขาสูตําแหนง
อันพึงประสงค ในแผนที่แหงการพัฒนา ซึ่งแทนดวยรูปดาว («) ดังที่ไดแสดงไวในแผนภูมิท่ี
2 ดานลาง ซึง่ เปนตําแหนงที่เหมาะสมทีส่ ุดในการขับเคลือ่ นการพัฒนาศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น
อยางยัง่ ยืนในอนาคต

แผนภูมิที่ 1. กราฟแสดงความสัมพันธระหวางการจัดการเชิงสถาบันโดยภาครัฐ กับการวางตําแหนงทางการตลาดของ


ผลิตภัณฑทางวัฒนธรรมเปรียบเทียบระหวาง ศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นของจังหวัดนครสวรรค โขนไทย และหุนกระบอก
น้ําเวียดนาม : ตําแหนงอันพึงประสงค เปรียบเทียบกับตําแหนงเดิม

28
เชิงอรรถ

1
สุรพล วิรุฬหรักษ. ลิเก. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพหอ งภาพสุวรรณ, 2522 : 22.
2
นิจ หิญชีระนันท. “จันทเสน : เมืองทวารวดีท่ถี กู ลืม.” ใน สุภรณ โอเจริญ, บรรณาธิการ.
นครสวรรค : รัฐกึ่งกลาง. 35-48. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยครูนครสวรรค, 2528 : 39.
3
ศิวะลีย ภูเพ็ชร. “การขุดคนทีจ่ ันเสน พ.ศ. 2511-2512.” แปลจากรายงานเรือ่ ง
Excavations at Cansen, 1968-1969. ของ Bennet Bronson and Gearge F. Dales.
University of Pennsylvania. ใน สุภรณ โอเจริญ, บรรณาธิการ. นครสวรรค : รัฐ
กึ่งกลาง. 59-78. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยครูนครสวรรค, 2528.
4
ใบจันทน. “นครสวรรคในวันแหงอดีตกาล” นิตยสาร อสท. 24, 7 (2527)
5
วิเชียร อชิโนบุญวัฒน. ภูมินามจังหวัดนครสวรรค. โครงการศึกษาคนควาวิจัยทางวัฒนธรรม
สหวิทยาลัยพุทธชินราช ศูนยศลิ ปวัฒนธรรม วิทยาลัยครูนครสวรรค 2536.
6
ศิวรักษ ศิวารมย. “ความแตกตางทางชนชั้นในชาวนา การศึกษาวิเคราะหในหมูบานแหงหนึ่ง
ในนครสวรรค.” ใน สุภรณ โอเจริญ, บรรณาธิการ. นครสวรรค : รัฐกึ่งกลาง. 225-236.
กรุงเทพฯ : วิทยาลัยครูนครสวรรค, 2528: 227.
7
สมัยที่เลิกทาส กําเนิดครั้งแรกที่บานสระทะเล ตําบลสระทะเล อําเภอพยุหคีรี จังหวัด
นครสวรรค. วิเชียร เกษประทุม. “การละเลนพืน้ บานจังหวัดนครสวรรค” , ใน สุภรณ
โอเจริญ, บรรณาธิการ. นครสวรรค : รัฐกึ่งกลาง. 287-314. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยครู
นครสวรรค, 2528: 287.
8
วาสนา อัศรานุรักษ ประธานมูลนิธสิ งเสริมประเพณีแหเจาพอ-เจาแมปากน้ําโพ. สัมภาษณ
วันที่ 15 กันยายน 2550.
9
“บทบาทชาวจีนตอภาวะเศรษฐกิจไทยในสมัยกรุงรัตนโกสินทร” คนจีน 200 ป ภายใตพระ
บรมโพธิสมภาร, เสนทางเศรษฐกิจ, 2527: 107.
10
ชาญวิทย เกษตรศิริ “อภิปรายทั่วไปและสรุปผลการสัมมนา.” ใน สุภรณ โอเจริญ,
บรรณาธิการ. นครสวรรค : รัฐกึ่งกลาง. 539-550. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยครูนครสวรรค,
2528:543.
11
พรพรรณ จันทโรนานนท, วิถีจีน. กรุงเทพฯ : ประพันธสาสน, 2537 : 30. “เทพเจาที่คนจีน
ใหความเคารพนับถือคือ เทพเจา ปุนเถากง ซึง่ นักวิชาการชาวตางชาติใหความเห็นเปน
สองสายคือ สายแรกอางวานาจะเปน เทพทีน่ กั เดินเรือสมัยราชวงศซง (ซอง) กราบไหว
กัน โดยมีช่อื เดิมวา โตวกง สวนอีกสายหนึ่งเห็นวาเทพนีเ้ ปนองคเดียวกับ ตาเปอกง ซึง่

29
เปนเพียงชือ่ ตําแหนง ซึ่งนาจะเพี้ยนมาจากคําวา ถูตกี้ ง ซึง่ มีฐานะทางเทพเทียบเทา
กับตาเปอกง ซึ่งผูดํารงตําแหนงนีอ้ าจจะเปนใครก็ได จึงอาจจะหมายความวาผูท ่เี ปน
ใหญในเขตนัน้ ๆ ซึ่งทําประโยชนใหกับเขตแควนทีอ่ ยูอาศัยของตนมากอน เมื่อตายลงก็
ไดรับการยกยองใหเปนเทพ ซึ่งเรียกวา เปน โถวกง ซงหมายความวา ผูเ ปนใหญแหงเขต
นั้นนัน่ เอง.”

12
สุรชัย วิสทุ ธากุล ผูควบคุมการฝกสอนคณะมังกรทอง เจาพอ-เจาแมปากน้ําโพ. มูลนิธิ
สงเสริมประเพณีแหเจาพอ-เจาแมปากน้ําโพ, สัมภาษณ 20 สิงหาคม 2550.
13
Griswold, Wendy 1986. “Renaissance Revivals : City Comedy and Revenge
Tragedy in the London Theatre 1576-1980” Chicago : University of Chicago
Press. Quoted in Griswol, Wendy. Cultures and Societies in a Changing
World. CA:Pine Forge Press, 1994.
14
ความเชื่อเรือ่ งเทพตางๆเหลานี้ คงเขามาสูประเทศไทยพรอมๆกับชาวจีนอพยพ แต
เนือ่ งจากศาสนาเตา มีความเชื่อที่รับสืบตอจากความเชือ่ โบราณ จึงทําใหมอี ิทธิพลตอ
การดํารงชีวิตของชาวจีนมากกวาศาสนาพุทธ. พรพรรณ จันทโรนานนท, อางแลว : 28.
15
เจริญ ตันมหาพราน. “เชิดสิงโต แหมังกร สัญลักษณแหงมงคลและการอวยพร.” สารคดี. 5,
49 (2532) : 195-196.
16
เจริญ ตันมหาพราน. อางแลว หนา 195
17
บันทึกเรื่องความรูตางๆ : สมเด็จเจาฟากรมพระยานริศรานุวัติวงศ หนา 107. อางถึงใน สุ
รพล วิรุฬหรกั ษ. ลิเก. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพหอ งภาพสุวรรณ, 2522.
18
Arnold, Matthew. (1869) 1949. “Culture and Anarchy.” In the Partable matthew
arnold. Lionel Trilling, ed. New York: Viking. Quoted in Griswol, Wendy.
Cultures and Societies in a Changing World. CA:Pine Forge Press, 1994.
19
To Sanh, Nghe Thuat Mua Roi Nuoc (Hanoi: Nha Xuat Ban Van Hoa, 1976.) อางถึง
ใน ศิลปกิจ นีข่ นั ติกลุ . หุน น้ําเวียดนาม. กรุงเทพฯ : กองทุนอินทร-สมเพือ่ การวิจยั ทาง
มานุษยวิทยา, 2546:15 .
20
การทองเทีย่ วแหงประเทศไทย. “แผนการตลาดการทองเที่ยวป 2549.” [ออนไลน] เขาถึงได
จาก : www2.tat.or.th/tat/e-journal/upload/112/MAP_49.pdf 2549. สืบคน 1
ตุลาคม 2550.
21
เดิมเรียก ดจิเก, สุรพล วิรุฬหรกั ษ. อางแลว, หนา 21.

30
22
อางถึงใน สุรพล วิรุฬหรักษ. อางแลว, หนา 84.

23
สุรินทร คลายจินดา. “แหเจาทีน่ ครสวรรค.” อสท. 24, 7 (2527) : 75.
24
อัมพร สโมสร และ Timothy Singnoi. “นครสวรรค : เมืองตนทางสูภ าคเหนือและจุดเริ่ม
แหงเจาพระยาสูที่ราบภาคกลาง.” กินรี. 4, 2 (2530) : 47-48.
25
400,000 บาท เปนงบประมาณเมือ่ ป 2548 ที่ไดรับจากททท. ซึ่งนอยลงกวาทีเ่ คยไดรับสมัย
หนึ่งเคยไดรับประมาณ 1 ลานบาท. วาสนา อัศรานุรักษ. อางแลว.
26
วีระศักดิ์ เครือเทพ, 2548 : 104-108.

31
บรรณานุกรม

ภาษาไทย
การทองเทีย่ วแหงประเทศไทย. “แผนการตลาดการทองเทีย่ วป 2549.” [ออนไลน] เขาถึงไดจาก :
www2.tat.or.th/tat/e-journal/upload/112/MAP_49.pdf 2549. สืบคน 1 ตุลาคม 2550.
เจริญ ตันมหาพราน. “เชิดสิงโต แหมังกร สัญลักษณแหงมงคลและการอวยพร.” สารคดี. 5, 49
(2532) : 195-196.
ตรัสวิน จิตติเดชารักษ, สารคดี 36 ป 3 กุมภาพันธ 2531 หนา 130-134
ใบจันทน. “นครสวรรคในวันแหงอดีตกาล” นิตยสาร อสท. 24, 7 (2527)
ประธานมูลนิธิสงเสริมงานประเพณีแหเจาพอ-เจาแมปากน้ําโพ
พรพรรณ จันทโรนานนท. วิถีจีน. กรุงเทพฯ : ประพันธสาสน, 2537.
วิเชียร อชิโนบุญวัฒน. ภูมนิ ามจังหวัดนครสวรรค. โครงการศึกษาคนควาวิจยั ทางวัฒนธรรม สห
วิทยาลัยพุทธชินราช ศูนยศลิ ปวัฒนธรรม วิทยาลัยครูนครสวรรค 2536.
วีระศักดิ์ เครือเทพ. นวัตกรรมสรางสรรคขององคกรปกครองสวนทองถิ่น. กรุงเทพฯ: สํานักงาน
กองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2548.
ศิลปกิจ นีข่ ันติกลุ . หุนน้ําเวียดนาม. กรุงเทพฯ : กองทุนอินทร-สมเพื่อการวิจยั ทางมานุษยวิทยา,
2546:15 .
สัมภาษณ วาสนา อัศรานุรกั ษ ประธานมูลนิธสิ งเสริมประเพณีแหเจาพอ-เจาแมปากน้ําโพ. วันที่
15 กันยายน 2550.
สุภรณ โอเจริญ, บรรณาธิการ. นครสวรรค : รัฐกึ่งกลาง. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยครูนครสวรรค,
2528.
สุรชัย วิสุทธากุล ผูควบคุมการฝกสอนคณะมังกรทอง เจาพอ-เจาแมปากน้ําโพ. มูลนิธสิ งเสริม
ประเพณีแหเจาพอ-เจาแมปากน้ําโพ, สัมภาษณ 20 สิงหาคม 2550.
สุรพล วิรุฬหรกั ษ. ลิเก. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพหอ งภาพสุวรรณ, 2522.
สุรินทร คลายจินดา. “แหเจาทีน่ ครสวรรค.” อสท. 24, 7 (2527) : 75.
อัมพร สโมสร และ Timothy Singnoi. “นครสวรรค : เมืองตนทางสูภ าคเหนือและจุดเริ่มแหง
เจาพระยาสูท ่รี าบภาคกลาง.” กินรี. 4, 2 (2530) : 47-48.
เอนก นาวิกมูล. หุนเมืองไทย. กรุงเทพฯ : พิมพคํา, 2547.

ภาษาอังกฤษ

32
Griswold, Wendy. Cultures and Societies in a Changing World. CA:Pine Forge Press,
1994.
Girard, Augustin, and Gentil, Genevieve. Cultural Development: Experiences and
Policies. 2nd Ed. Paris: United Nations Educational, 1972.

33

You might also like